Module 07
มาตรการจั ด การสภาพแวดล้ อ มในหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล
Module 07 มาตรการจัดการสภาพแวดล้อม ในหน่วยงานก่อสร้างอย่างยัง ่ ยืน 40
อาจารย์ พิ มพ์ ชนก ศรีรัชตระกูล สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
1
Module 07
มาตรการจั ด การสภาพแวดล้ อ มในหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล
ในโมดูลนี้ จะกล่าวถึง . . . • ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากการพั ฒนาโครงการ • การจัดการมลภาวะทางอากาศและฝุ่นละออง • การจัดการมลภาวะทางนํ้า คุณภาพนํ้า และนิเวศวิทยาทางนํ้า 40 • การจัดการมลภาวะทางเสียงและแรงสั่นสะเทือน • การจัดการขยะภายในหน่วยงานก่อสร้าง
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
2
แนวคิดเบื้องต้น
1
2
ทําการศึกษาและวิเคราะห์ประเมินผล กระทบสิง ่ แวดล้อมจากการพั ฒนา โครงการโดยละเอียด
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ผู้บริหารโครงการจึงจําเป็นต้องทํา การควบคุมและป้องกันการเกิด มลภาวะทางอากาศและฝุ่นละออง
แนวคิดเบื้องต้น (ต่อ)
3
4
5
ผู้บริหารโครงการควรทําการควบคุม กิจกรรมที่ทําให้เกิดนํ้าเสียภายใน หน่วยงานก่อสร้าง
ผู้บริหารโครงการมีแผนการควบคุม การเกิดมลภาวะทางเสียงและ แรงสั่นสะเทือน
ผู้บริหารโครงการจึงจําเป็นต้องทํา การควบคุมปริมาณขยะและจัดการ อย่างถูกวิธี
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมกับการพั ฒนาโครงการ แนวคิดพื้ นฐานในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมนี้ ü ถือเป็นการแสดงออกถึงความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกฝ่ายของโครงการ ü สามารถสร้างความสําเร็จให้ผลการทํางานมีประสิทธิภาพ ü เป็นการมุ่งหน้าสู่การพั ฒนาโครงการอย่างยั่งยืนอย่างแท้จริง • การประเมินผลกระทบสิง ่ แวดล้อม
(Environmental Impact Assessment : EIA)
1. ทรัพยากรธรรมชาติ
ผู้บริหารโครงการต้องทําการประเมินความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากร ด้านต่าง ๆ ภายในพื้ นที่โครงการและหน่วยงานก่อสร้าง ว่าลักษณะของภูมิประเทศและระบบนิเวศวิทยาจะได้รับผลกระทบอย่างไร
2. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ่ ีสาเหตุมาจาก ผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ในประเด็นต่าง ๆ ทีม การเกิดขึ้นของหน่วยงานก่อสร้างหรือการพั ฒนาโครงการ
3. คุณค่าคุณภาพชีวิต ผู้บริหารโครงการต้องแสดงความรับผิดชอบ ต่อคุณภาพชีวิตของบุคคลที่เกี่ยวข้องและอาจได้รับผลกระทบ
Module 07
มาตรการจั ด การสภาพแวดล้ อ มในหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล
ความสําคัญของการประเมินผล กระทบสิง ่ แวดล้อม 1) เป็นการคาดการณ์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของการพั ฒนาโครงการในอนาคต 2) เป็นแนวทางและกรอบในการวางแผนป้องกันไม่ให้เกิด ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่รุนแรง 3) เป็นแนวทางและกรอบในการวางแผนแก้ไขผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นให้เหลือน้อยที่สุด 40 ดตามตรวจสอบ 4) เป็นแนวทางและกรอบการวางแผนติ มาตรการสําหรับการจัดการผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่ได้กําหนดไว้ 5) เพื่ อเป็นข้อมูลให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการพั ฒนาโครงการ 6) เป็นหลักประกันในการใช้ทรัพยากรที่ยาวนานอีกด้วย (long-term sustainable development) 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
6
Module 07
มาตรการจั ด การสภาพแวดล้ อ มในหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล
ลักษณะการเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1) เกิดผลกระทบ เฉพาะบางพื้ นที่ บางส่วน
40
2) เกิดผลกระทบ กระจายไปทั่วบริเวณ
3) เกิดผลกระทบ แบบลูกโซ่
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
7
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการ พั ฒนาโครงการ
(Environmental Impact Assessment: EIA)
โดยโครงการจะต้องคํานึงถึงผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ต่อสิง ่ แวดล้อมรอบข้างในทั้ง 4 ด้าน หรือที่เรียกว่า “Four-tier System” ได้แก่ 1) ทรัพยากรกายภาพ (Physical Resources) 2) ทรัพยากรชีวภาพและระบบนิเวศ (Ecological Resources) 3) คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ (Human Use Values) 4) คุณค่าคุณภาพชีวิต (Quality of Life) ซึ่งโครงการจะนําผลการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาเป็นกรอบการดําเนินงาน ผู้บริหารโครงการก็ควรจัดทํา การวิเคราะห์และประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมโดยสังเขป ตามความเหมาะสมและความเสี่ยงของการเกิดผลกระทบทางลบ ต่อสิ่งแวดล้อมของโครงการนั้น ๆ
กฎหมายและข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับการจัดทํา รายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมี 3 ฉบับ ดังนี้
1
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 1. ประกาศกระทรวงเรื่องกําหนด ประเภทและขนาดของโครงการหรือ กิจการซึ่งต้องจัดทํารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิง ่ แวดล้อม (EIA) 2. ประกาศกระทรวง เรื่องกําหนดเขตและมาตรการการจัดทํารายงาน วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
2
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2555 และ 2557)
3
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 13 กันยายน 2537 เกี่ยวกับการอนุญาต ให้เข้าทําประโยชน์หรืออยู่อาศัยภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติ
แนวคิดพื้ นฐานในการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม ลักษณะของรายงานวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม (EIA) สามารถสรุปได้โดยสังเขป มีดังนี้ 1. การศึกษาสภาพ สิง ่ แวดล้อมในปัจจุบัน และความเสี่ยงต่อการเกิด ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5. ข้อสรุปและ กรอบการ ดําเนินการ
2. มาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ การชดเชยความเสียหาย ที่เกิดขึ้น 4. เอกสารการ ประสานงานกับ หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. มาตรการติดตาม ตรวจสอบ ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม
ผู้มีสิทธิในการจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
จากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเท่านั้น โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการขอและการออกใบอนุญาตฯ นั้นถูกระบุไว้ใน กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2527) ตามมาตรา 19 และ 28 แห่งพ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518
การจัดการมลภาวะทางอากาศและฝุ่นละออง แนวทาง 1) ทางเข้าออกของ สถานที่ก่อสร้าง
2) ขอบเขตของพื้ นที่ ก่อสร้าง
มาตรการ กําหนดเส้นทางการสัญจรหลักภายในโครงการ ก่อสร้าง และทําการปรับพื้ นที่ให้เหมาะสม เส้นทางสัญจรหลักของโครงการ อาจใช้แผ่น เหล็กปู พื้ น โรยหินกรวด หรือเทถนนคอนกรีต
การจัดการมลภาวะทางอากาศและฝุ่นละออง แนวทาง
3) ขอบเขตของพื้ นที่ ก่อสร้าง
มาตรการ จัดทํารั้วผ้าใบกับฝุ่นรอบโครงการก่อสร้าง จัดทํารั้วผ้าใบกับฝุ่น สูง 6 เมตร รอบพื้ นที่ ก่อสร้างและ ตรวจสอบความแข็งแรง ของรั้วตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง
การจัดการมลภาวะทางอากาศและฝุ่นละออง แนวทาง 4) พื้ นที่ก่อสร้าง อาคาร 5) การทําฐานราก อาคาร 6) การผสมคอนกรีต หรือการผสมสิ่งที่ ใช้ในการก่อสร้าง 7) การเจาะ การตัด การขัดผิววัสดุ ที่มีฝุ่น
มาตรการ ควบคุมฝุ่นไม่ให้กระจายออกจากพื้ นที่ก่อสร้าง ฉีดพรมนํ้าภายในพื้ นที่ก่อสร้าง บริเวณถนนและ หน้าดิน เพื่ อลดการฟุ ง ้ กระจายของฝุ่นละออง
การจัดการมลภาวะทางอากาศและฝุ่นละออง แนวทาง
1)
รถบรรทุกวัสดุ หรือเศษวัสดุ ก่อสร้างต้องมี ผ้าใบคลุม
มาตรการ มีมาตรการป้องกันฝุ่นจากการขนย้าย รถบรรทุกวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง หรือ รถขนเศษวัสดุท่เี หลือจากการก่อสร้าง ต้องจัดให้มี ผ้าใบคลุมมิดชิด มีเชือกโยงยึดแข็งแรง
การจัดการมลภาวะทางอากาศและฝุ่นละออง แนวทาง
2) มีการควบคุม ความเร็วที่ใช้ใน หน่วยงาน ก่อสร้าง
มาตรการ ควบคุมความเร็วของยานพาหนะภายในโครงการ ควบคุมความเร็วของยานพาหนะที่ใช้ภายใน โครงการ ให้ไม่เกิน 25 กิโลเมตร/ชั่วโมง หรือ อ้างอิงตามที่ระบุ ในรายงานวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม
การจัดการมลภาวะทางอากาศและฝุ่นละออง แนวทาง
มาตรการ ล้างล้อและตัวรถก่อนออกนอกโครงการ
3) จัดเตรียม อุปกรณ์และ สถานที่สําหรับ ล้างทําความ สะอาดล้อและ ตัวถังรถก่อน ออกจากสถานที่ ก่อสร้าง
จัดให้มีบ่อล้างล้อรถบริเวณทางเข้าออกหลักของ โครงการ และจัดให้มีคนงานคอยทําความสะอาดล้อ และตัวรถโดยใช้ สายฉีดนํ้าแรงสูง (Water jet) ฉีดล้าง
Module 07
มาตรการจั ด การสภาพแวดล้ อ มในหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล
แนวทางการจัดการมลภาวะทางนํ้า คุณภาพนํ้า และนิเวศวิทยาทางนํ้า 1) นํ้าทิ้งจากกระบวนการผลิต
นํ้าเสียจากกิจกรรมการก่อสร้างโดยตรง จําเป็นต้อง ได้รับการบําบัดก่อนจนกระทั่งมีคุณภาพเป็นไปตามที่ กําหนดไว้ในมาตรฐานนํ้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม 2) นํ้าทิ้งจากกิจกรรมของพนักงาน
นํ้าเสียที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจําวันของผู้ปฏิบัติงาน 40 ภายในโครงการ นํ้าเสียส่วนนี้จําเป็นต้องได้รับการ บําบัด จนกระทั่งมีคุณภาพเป็นไปตามที่กําหนดไว้ใน มาตรฐานนํ้าทิ้งจากชุมชน 3) นํ้าที่ไหลล้นจากบริเวณหน่วยงานก่อสร้าง
นํ้าหรือนํ้าฝนที่ไหลล้นจากภายในหน่วยงานก่อสร้าง หากไม่ทําการควบคุมอาจก่อให้เกิดผลกระทบทางลบ ต่อคุณภาพแหล่งนํ้าและบริเวณพื้ นที่ข้างเคียง
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
17
การจัดการมลภาวะทางนํ้า คุณภาพนํ้า และนิเวศวิทยาทางนํ้า แนวทาง 1) จํากัดพื้ นที่ที่ใช้ สารเคมีในการ ก่อสร้าง แยกบ่อรับนํ้าทิ้ง 2) พยายามลด ปริมาณนํ้าทิ้ง และทําการบําบัด คุณภาพเบื้องต้น ตั้งแต่จุดกําเนิด ของนํ้าทิ้ง
มาตรการ จัดทําพื้ นที่สําหรับล้างและ ผสมสารเคมีแยกออกมาโดยเฉพาะ จัดให้มีพื้นที่เฉพาะสําหรับการผสมสารเคมี อย่างเป็นสัดส่วน หลังคาสามารถป้องกันแดดและ ฝนได้ (ผนังสามารถใช้ตาข่ายเหล็กได้) มีขนาด ตามความเหมาะสม พื้ นห้องต้องเป็นคอนกรีต
การจัดการมลภาวะทางนํ้า คุณภาพนํ้า และนิเวศวิทยาทางนํ้า แนวทาง
3) จัดให้มีบ่อ ตกตะกอน ชั่วคราว เพื่ อ รองรับนํ้าเสีย จากกิจกรรม การก่อสร้าง
มาตรการ ตรวจสอบและกําจัดตะกอนที่ทางระบายนํ้า และบ่อพั กนํ้า จัดให้มีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบปริมาณ ตะกอน ที่บ่อพั กนํ้าและท่อระบายนํ้า และ ดําเนินการกําจัด ตะกอนเมื่อมีปริมาณ สูงเกินครึ่งบ่อ ตรวจสอบคุณภาพนํ้าทิ้งที่ปล่อยออกสู่สาธารณะ ให้ได้มาตรฐาน ตรวจสอบคุณภาพนํ้าทิ้ง ภายในบ่อพั กให้เป็นไปตาม ค่ามาตรฐานที่กฎหมาย กําหนด
การจัดการมลภาวะทางนํ้า คุณภาพนํ้า และนิเวศวิทยาทางนํ้า แนวทาง 4) จัดทําทาง ระบายนํ้ารอบ บริเวณพื้ นที่ ก่อสร้างเพื่ อ ป้องกันไม่ให้นํ้า ภายในพื้ นที่ ก่อสร้างที่อาจมี สิ่งปนเปื้อนไหล ออกไปสู้พื้นที่ ข้างเคียงได้
มาตรการ ทําระบบป้องกันไม่ให้นํ้าจากการก่อสร้างไหล ไปสู่พื้นที่ภายนอก จัดทําระบบระบายนํ้าชั่วคราวรอบพื้ นที่ก่อสร้าง โดยพิ จารณาจากสภาพภูมิประเทศ ลักษณะ ความลาดชันของพื้ นที่ และต้องไม่กีดขวาง การไหลของนํ้าที่มี
การจัดการมลภาวะทางนํ้า คุณภาพนํ้า และนิเวศวิทยาทางนํ้า แนวทาง 5) งดการใช้ สารเคมีที่เป็น อันตรายต่อ สภาพแวดล้อม เลือกใช้สารเคมี ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมใน การก่อสร้าง
มาตรการ
การจัดการมลภาวะทางนํ้า คุณภาพนํ้า และนิเวศวิทยาทางนํ้า แนวทาง 1) บริเวณพื้ นที่ก่อสร้าง จัดให้มีห้องนํ้าจํานวน เพี ยงพอสําหรับ คนงาน พร้อมติดตั้ง ระบบบ่อเกรอะ-บ่อ 2) สําหรับนํ้าทิ้งจาก บริเวณโรงครัว ที่มี การปนเปื้อนไขมัน เศษอาหาร และนํ้ายา ล้างจานนั้น ควรมี การติดตั้งบ่อดัก ไขมัน เพื่ อเป็น การบําบัดนํ้าเสีย เบื้องต้น
มาตรการ ตรวจสอบคุณภาพนํ้าทิง ้ ที่ปล่อยออกสู่สาธารณะ ให้ได้มาตรฐาน ตรวจสอบคุณภาพนํ้าทิ้งภายในบ่อพั กให้เป็นไปตาม ค่ามาตรฐานที่กฎหมายกําหนด
การจัดการมลภาวะทางเสียงและแรงสั่นสะเทือน แนวทาง 1) เข้าพู ดคุยกับเจ้าของ พื้ นที่และผู้อยู่อาศัย ในบริเวณข้างเคียง เรื่องกระบวนการ ก่อสร้างที่อาจส่งผล กระทบด้านมลภาวะ ทางเสียงและ แรงสั่นสะเทือน 2) กําหนดเขตกันชน ของพื้ นที่ประกอบ กิจกรรมการก่อสร้าง
มาตรการ จัดพื้ นที่เฉพาะในการทํากิจกรรมที่ ก่อให้เกิดเสียงและแรงสั่นสะเทือน เช่น โรงตัดเหล็ก ห้องตัดกระเบื้อง ติดตั้งแผ่นกั้นเสียงชั่วคราวชนิด เคลื่อนย้ายได้ทั้ง 3 ด้าน เพื่ อป้องกัน ผลกระทบด้านเสียงรบกวน
การจัดการมลภาวะทางเสียงและแรงสั่นสะเทือน แนวทาง 1) หากไม่สามารถ กําหนดเขตกันชนได้ และมีการร้องเรียน ด้านเสียงรบกวน ควรสร้างกําแพงกั้น เสียงประชิดติดกับ แหล่งกําเนิดเสียงให้ มีความสูงเพี ยงพอ 2) ควรหลีกเลี่ยง กิจกรรมที่ทําให้เกิด เสียงในเวลา กลางคืน
มาตรการ ควบคุมระดับเสียงและแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น ภายในหน่วยงานก่อสร้าง ควบคุมกระบวนการหรือกิจกรรมการก่อสร้างที่ ก่อให้เกิดเสียงดังอย่างใกล้ชิด หลีกเลี่ยงการทํา กิจกรรมที่ก่อให้เกิดเสียงดังเกิน
การจัดการมลภาวะทางเสียงและแรงสั่นสะเทือน แนวทาง 1) บํารุงรักษาสภาพ เครื่องมือ เครื่องจักรให้อยู่ใน สภาพดีอยู่เสมอ 2) ออกกฎระเบียบให้ พนักงานทุกคนต้อง สวมใส่เครื่อง ป้องกันเสียงอย่าง เคร่งครัด
มาตรการ บํารุงรักษาสภาพเครื่องมือ เครื่องจักร ให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ
เลือกใช้เครื่องมือที่มีอุปกรณ์เก็บเสียง และ ตรวจสอบสภาพอุปกรณ์ให้พร้อมใช้งานเสมอ
การจัดการมลภาวะทางเสียงและแรงสั่นสะเทือน แนวทาง พิ จารณาใช้วิธีการก่อสร้าง ที่สร้างผลกระทบด้านเสียง และแรงสั่นสะเทือนน้อย a. การเว้นระยะระหว่างตําแหน่ง ตอกเสาเข็มกับอาคารต่าง เจ้าของ b. ควรเจาะดินเป็นหลุมก่อนตอก เสาเข็ม c. ควรใช้หมอนรองหัวเสาเข็ม ที่ทําด้วยวัสดุที่อ่อน d. ควรจัดลําดับการตอกเสาเข็ม โดยพิ จารณาจากสิ่งปลูกสร้าง ข้างเคียงของพื้ นที่ก่อสร้าง e. ควรตอกเข็มพื ด และขุดคูดิน ร่วมกับแนวทางป้องกันเสียง รบกวน
มาตรการ ควบคุมกระบวนการหรือกิจกรรมการก่อสร้าง ที่ก่อให้เกิดเสียงดังอย่างใกล้ชิด หลีกเลี่ยง การทํากิจกรรมที่ก่อให้เกิดเสียงดังเกิน
การจัดการมลภาวะทางเสียงและแรงสั่นสะเทือน แนวทาง 1) จัดพื้ นที่เฉพาะในการทํากิจกรรม ที่ก่อให้เกิดเสียงและ แรงสั่นสะเทือนให้อยู่ห่างจาก พื้ นที่ที่มีผู้อยู่อาศัยมากที่สุด 2) หากเป็นอาคารที่เข้าข่ายจะต้อง จัดทํารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ต้องมี การบันทึกสถิติและข้อมูล แสดงผลการตรวจวัดเสียงและ แรงสั่นสะเทือน 3) มีการตรวจวัดระดับเสียงและ ความสั่นสะเทือนให้เป็นไปตามวิธี และกฎเกณฑ์ที่กฎหมายได้ กําหนด
มาตรการ มีการตรวจวัดระดับเสียงและ ความสั่นสะเทือน ทําการตรวจสอบเสียงและ แรงสั่นสะเทือนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
การจัดการขยะภายในหน่วยงานก่อสร้าง เป้าหมายคือ การลดปริมาณขยะทีเ่ กิดจากการก่อสร้าง ซึ่งเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในวงกว้าง โดยการคัดแยกและรวบรวมวัสดุที่สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้ ระบุผู้รับเหมาในการจัดบริหาร จัดการขยะอย่างเป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายหลัก ดังนี้ 1.
2.
3.
ลดปริมาณขยะที่จะ ออกนอกโครงการ ก่อสร้าง บริหารจัดการขยะ ที่เกิดขึ้น และนําไปกําจัด อย่างถูกวิธี เพื่ อการใช้ทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดการขยะภายในหน่วยงานก่อสร้าง แนวทาง 1. การลดปริมาณขยะจากแหล่งกําเนิด (Reduction) การออกแบบอาคารและใช้เทคนิควิธีการ ก่อสร้างที่ทําให้เกิดเศษวัสดุหรือขยะจาก การก่อสร้างน้อยที่สุด หรือการเลือกใช้ วัสดุในการก่อสร้างที่คงทนถาวร 2. การนํากลับมาใช้ใหม่ (Reuse) การนําเศษวัสดุที่เหลือภายในหน่วยงาน กลับมาใช้อีกครั้ง แทนที่จะทิ้งเศษวัสดุ เหล่านั้นไป 3. การนําไปแปรรูปใหม่ (Recycle) การนําเศษสิ่งของหรือวัสดุเหลือทิ้งต่างๆ ภายในหน่วยงานก่อสร้างกลับไปแปรรูป เพื่ อนํากลับมาใช้ประโยชน์ในกระบวนการ เดิมหรือในกระบวนการอื่นอีกครั้ง
มาตรการ คัดแยกขยะที่เกิดขึ้นภายใน หน่วยงานก่อสร้าง คัดแยกขยะหรือเศษวัสดุที่เกิดขึ้นภายใน หน่วยงานก่อสร้าง โดยแยกเป็น 1. ขยะทั่วไป (General Waste) 2. เศษวัสดุที่นํากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ (Reuse) 3. ขยะที่นํากลับมาแปรรูปใหม่ได้
การจัดการขยะภายในหน่วยงานก่อสร้าง แนวทาง 4. การกําจัดทิง ้ (Disposal) • การนําเศษวัสดุที่การจัดเก็บขยะมูลฝอย และเศษวัสดุจากการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่ อส่งไปกําจัดนั้น ควรจัดเก็บไว้ใน สถานที่เก็บขยะเพื่ อรอพนักงานหรือ เทศบาลมาจัดเก็บ • กระบวนการกําจัดขยะที่เหลือทิ้งจากการ ก่อสร้างที่ไม่สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้ที่ แพร่หลายกันในวงกว้าง คือ การฝัง กลบอย่างถูกสุขาภิบาล โดยขยะจาก การก่อสร้างที่นํามาฝังกลบได้จะต้องมี คุณสมบัติดังต่อไปนี้ a. ไม่ทําให้บริเวณที่กําจัดขยะเป็น แหล่งอาหาร แหล่งเพาะพั นธุ์สัตว์ b. ไม่ทําให้เกิดการปนเปื้ อนแก่แหล่ง นํ้าและพื้ นดิน c. ไม่ทําให้เกิดมลพิ ษต่อสิ่งแวดล้อม d. ไม่เป็นสาเหตุแห่งความรําคาญ
มาตรการ ตรวจสอบจุดทิ้งขยะ และจุดพั กขยะ ให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ ดูแลควบคุมจุดทิ้งขยะและถังขยะ ให้อยู่ในสภาพดี ถังขยะควรมีฝาปิดเพื่ อ ป้องกันกลิ่นและขยะกระจายออกสู่ ภายนอก จุดทิ้งขยะควรมีการยกพื้ น รางระบายนํ้าโดยรอบ เพื่ อป้องกันไม่ให้ นํ้าจากขยะไหลออกนอกพื้ นที่หรือ ปนเปื้ อนไปยังสภาพแวดล้อมภายนอก
การจัดการขยะภายในหน่วยงานก่อสร้าง แนวทาง ขยะจากการก่อสร้างหรือเศษวัสดุ ก่อสร้าง สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดช่วง ระยะเวลาพั ฒนาโครงการ ผู้บริหาร โครงการ ควรจัดทําแผนบริหารจัดการ ขยะจากการก่อสร้างเบื้องต้น ดังนี้ 1. แผนผังแสดงจุดทิ้งขยะ ภายในโครงการก่อสร้าง และ เส้นทางการเดินรถขนถ่ายขยะ ออกนอกโครงการ 2. จัดพื้ นที่สําหรับกองเก็บขยะ แต่ละประเภทแยกชนิดกัน
มาตรการ ่ องเก็บ จัดพื้ นที่ทิ้งขยะ และพื้ นทีก ให้เพี ยงพอต่อความต้องการ 1) ขยะทั่วไป 2) คอนกรีต 3) เหล็กเส้น เหล็กรูปพรรณ โลหะต่าง ๆ 4) แผ่นไม้ 5) กระจก 6) ขยะอันตราย
การจัดการขยะภายในหน่วยงานก่อสร้าง แนวทาง 3. รายงานบันทึกข้อมูลขยะจากการ ก่อสร้างทุก ๆ 2 สัปดาห์ หรือตามความ เหมาะสม โดยชนิดของขยะหรือเศษวัสดุ ที่จะต้องทําบัญชี
มาตรการ ทําการขนย้ายขยะออกนอกโครงการ ตามความเหมาะสม ขนย้ายขยะออกนอกหน่วยงานก่อสร้าง ตามความเหมาะสม ไม่กองเก็บจนเกิด ความไม่เป็นระเบียบเรียนร้อย โดย กําหนดวันขนย้ายขยะชนิดต่างๆ ให้ชัดเจน และทําการบันทึกรายชื่อ ของหน่วยงานที่นําขยะแต่ละชนิด ไปจัดการต่อ
Module 07
มาตรการจั ด การสภาพแวดล้ อ มในหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
อาจารย์ พิ มชนก ศรี รั ช ตระกู ล
Module 07 มาตรการจัดการสภาพแวดล้อม ในหน่วยงานก่อสร้างอย่างยัง ่ ยืน 40
อาจารย์ พิ มพ์ ชนก ศรีรัชตระกูล สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น
33