Module 08 การจัดการวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน

Page 1

Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

Module 08 การจัดการวัสดุก่อสร้าง อย่างยั่งยืน 40

รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิก สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

ในโมดูลนี้ จะกล่าวถึง . . . 1) ความรู้ท่ว ั ไปเกี่ยวกับวัสดุก่อสร้าง อย่างยั่งยืน 2) แนวทางการจัดการวัสดุก่อสร้าง 40 อย่างยั่งยืน 3) การประเมินวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

2


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

ความรู้ท่ว ั ไปเกี่ยวกับวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน 1) ความหมายและคุณสมบัติของวัสดุก่อสร้าง อย่างยั่งยืน 2) ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ของวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน 40 3) แนวทางการวัดความยั่งยืนของวัสดุก่อสร้าง และการพิ จารณาเลือกใช้วัสดุก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

3


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

ความหมายและคุณสมบัติ ของวัสดุก่อสร้างอย่างยัง ่ ยืน วัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน หมายถึง วัสดุก่อสร้างและผลิตภัณฑ์ที่ . . . ü ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ü มีผลกระทบต่อระบบนิเวศน้40อย ü ไม่ทําอันตรายต่อสุขภาพอนามัยมนุษย์ และต่อสภาพแวดล้อม ü ช่วยส่งเสริมนโยบายด้านการก่อสร้าง อย่างยั่งยืน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

4


หลักเกณฑ์ท่ใี ช้ในการพิ จารณาความยั่งยืน ของวัสดุก่อสร้าง หลักเกณฑ์ความยั่งยืน ระหว่างกระบวนการ ผลิตวัสดุ

ระหว่างการก่อสร้าง

• การลดการเกิด ของเสีย • การป้องกัน การเกิดมลภาวะ ทางสิ่งแวดล้อม • การใช้วัสดุรีไซเคิล • การลดการใช้ พลังงาน • การใช้วัตถุดิบ จากธรรมชาติ

• ประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน • ประสิทธิภาพ ในการใช้น้าํ และลดการใช้น้าํ • ความไม่เป็นพิ ษ • การผลิตพลังงาน ทดแทน • อายุการใช้งาน ยาวนาน

หลังหมดอายุ การใช้งาน • • • •

การย่อยสลายได้ ตามธรรมชาติ รีไซเคิลได้ นํามาใช้ซํ้าได้ อื่น ๆ


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

คุณสมบัติของวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน 1) เป็นวัสดุที่ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 2) เป็นวัสดุก่อสร้างที่ใช้พลังงานน้อย และคาร์บอนสะสมน้อย 3) ไม่เป็นวัสดุก่อสร้างที่สามารถทําอันตราย 40 ต่อสุขภาพอนามัยมนุษย์และสภาพแวดล้ อม ตลอดช่วงวัฏจักรชีวิต 4) เป็นวัสดุก่อสร้างที่จะช่วยสนับสนุนนโยบาย การก่อสร้างอาคารอย่างยัง ่ ยืน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

6


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

ปัญหาผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากวัสดุก่อสร้าง 1) การทําให้ภูมิอากาศของโลกเปลี่ยนแปลงเพิ่ มสูงขึ้น 2) การบริโภคเชื้อเพลิงฟอสซิลปริมาณมาก 3) การเกิดกระบวนการเจริญเติบโตเกินขอบเขต ในธรรมชาติ 40 4) การลดลงของชัน ้ โอโซน 5) การเกิดมลพิ ษทางอากาศ 6) การเกิดสม็อก (smog)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

7


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

การวัดความยั่งยืนของวัสดุก่อสร้าง • • • •

ค่าพลังงานสะสม การกักเก็บคาร์บอน ปริมาณการนํากลับมาใช้ใหม่ 40 ความคงทน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

8


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

การพิ จารณาเลือกใช้วัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน 1) เลือกวัสดุที่มาจากการรีไซเคิลในปริมาณที่ต้องการ 2) เลือกใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ยังมีปริมาณมาก 3) เลือกใช้วส ั ดุที่ผลิตมาจากกระบวนการอุตสาหกรรม ที่ประหยัดพลังงาน 4) เลือกใช้วัสดุที่ผลิตมาจากกระบวนการอุ ตสาหกรรม 40 ที่ลดการทิ้งของเสียด้วยการนําไปใช้ซํ้าหรือใช้ต่อ 5) เลือกใช้วัสดุในท้องถิน ่ เพื่ อลดการใช้พลังงาน ในการขนส่ง 6) เลือกใช้วัสดุที่มีอายุการใช้งานได้นาน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

9


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

วัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน เหล็ก • ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม ü ขยะของเหลือใช้เป็นศูนย์ ü การก่อสร้างที่สะอาดและรวดเร็ว 40 ü การออกแบบให้มีสิ่งแวดล้อม น่าอยู่ทําได้ง่าย • ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ • ปัจจัยด้านสังคม

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

10


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

วัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน ไม้ • • • • •

ส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยกักเก็บคาร์บอน 40 การรักษาทรัพยากรของโลก ช่วยยืดอายุการใช้งาน เป็นวัสดุกันความร้อน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

11


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

วัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน กรีนคอนกรีต • แข็งแรงและสมรรถนะที่ได้มาตรฐาน ในระหว่างการใช้งานของอาคาร • สัดส่วนของซีเมนต์และคาร์บ40 อนฟุ ตพรินต์ ต่อหน่วยของคอนกรีตที่ผลิตตํ่ากว่าคอนกรีตทั่วไป

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

12


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

แนวทางการจัดการวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน • กรอบแนวคิดการจัดการวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน • ข้อพิ จารณาในการจัดการวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน • การจัดการวัสดุก่อสร้างในหน่วยงานก่อสร้าง อย่างยั่งยืน 40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

13


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

กรอบแนวคิดการจัดการวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน • ระบบนิเวศ (ecological systems) • ระบบอุตสาหกรรม (industrial systems) • ระบบสังคม (societal systems) 40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

14


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

ข้อพิ จารณาในการจัดการวัสดุก่อสร้าง อย่างยั่งยืน

• การจัดเก็บและรวบรวมวัสดุท่ส ี ามารถหมุนเวียน นํากลับมาใช้ได้ใหม่ • การใช้ซํ้าองค์ประกอบของอาคารที่มีอยู่ ประเภทผนัง พื้ น และหลังคา40 • การใช้ซํ้าองค์ประกอบของอาคารที่มีอยู่ ประเภทองค์ประกอบภายในที่ไม่ใช่ส่วนของโครงสร้าง • การจัดการกากของเสียและขยะจากการก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

15


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

ข้อพิ จารณาในการจัดการวัสดุก่อสร้าง อย่างยั่งยืน (ต่อ) • • • •

การใช้งานวัสดุใช้แล้ว การใช้งานวัสดุที่มีองค์ประกอบรีไซเคิล การใช้วัสดุในพื้ นถิน ่ 40 การใช้วัสดุที่สามารถสร้างขึ้นใหม่อย่างรวดเร็ว

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

16


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

การจัดการวัสดุก่อสร้าง ในหน่วยงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน การสูญเสียวัสดุในกระบวนการก่อสร้าง ü การสูญเสียวัสดุจากการออกแบบ ü การสูญเสียวัสดุจากการกําหนดรายละเอียด และการสํารวจปริมาณ40 ü การสูญเสียวัสดุจากกระบวนการจัดส่ง ü การสูญเสียวัสดุจากการก่อสร้างในสนาม

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

17


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

กระบวนการจัดการวัสดุก่อสร้าง ในหน่วยงานก่อสร้าง • • • •

การรับมอบวัสดุก่อสร้าง การขนถ่าย และเคลื่อนย้ายวัสดุก่อสร้าง การเก็บรักษาวัสดุก่อสร้าง 40 การควบคุมวัสดุก่อสร้างในหน่วยงานก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

18


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

การประเมินวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน • วัฏจักรชีวิตวัสดุก่อสร้าง • แรงขับดันที่ทําให้เกิดการประเมิน วัฏจักรชีวิตวัสดุก่อสร้าง 40 • การประเมินวัฏจักรชีวิตวัสดุก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

19


ช่วงต่างๆ ของวัฏจักรชีวิตของวัสดุก่อสร้าง


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

ปัจจัยนําเข้าและของเสียนําออก ของวัสดุก่อสร้าง • ปัจจัยนําเข้า • วัตถุดิบ • ทรัพยากรที่นํากลับมาใช้ • พลังงาน 40 • นํ้า • ของเสียนําออก • อากาศเสีย • นํ้าเสีย • ของเสียที่มีจัดการเป็นอย่างดี • ตัววัสดุก่อสร้างเอง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

21


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

แรงขับดันที่ทําให้เกิดการประเมิน วัฏจักรชีวิตวัสดุก่อสร้าง 1) แรงขับดันด้านสิง ่ แวดล้อม • ภาวะโลกร้อน (global warming) • การลดลงของปริมาณโอโซน ในชั้นบรรยากาศ • การเกิดสารพิ ษ • การลดลงของทรัพยากร 40 ที่ไม่สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้ • การเกิดสม็อก 2) แรงขับดันด้านผู้บริโภค 3) แรงขับดันด้านการค้า 4) แรงขับดันด้านการเมือง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

22


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

เป้าประสงค์หลัก ของการประเมินวัฏจักรชีวิตวัสดุก่อสร้าง ü การพยายามลดผลกระทบทางลบของผลิตภัณฑ์ ที่มีอยู่แล้วผ่านนโยบายของรัฐ หรือการตระหนักรู้ของผู้บริโภค ü การปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิม40 ให้ดีขึ้น โดยให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมลดลงมากที่สุด ü การออกแบบผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ เพื่ อทดแทนผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมสูง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

23


ความหมายและขอบเขตของ LCA

กระบวนการวิเคราะห์และประเมินค่าผลกระทบของผลิตภัณฑ์ ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดช่วงชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ • การสกัดหรือการได้มาซึ่งวัตถุดิบ • กระบวนการผลิต • การขนส่งและการแจกจ่าย • การใช้งานผลิตภัณฑ์ • การใช้ใหม่ / แปรรูป • การจัดการเศษซากของผลิตภัณฑ์หลังการใช้งาน การพิ จารณาผลิตภัณฑ์ตั้งแต่เกิดจนตาย (Cradle to Grave) โดยมีการระบุถึง . . . • ปริมาณพลังงานและวัตถุดิบที่ใช้ • ของเสียที่ปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม • การประเมินโอกาสที่จะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ และสุขอนามัยของชุมชน เพื่ อที่จะหาวิธีการในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้เกิดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด


ขอบเขตการประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

ขั้นตอนการประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ • การกําหนดเป้าหมายและขอบเขตของการศึกษา • การจัดทําบัญชีรายการสิ่งแวดล้อม • การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์40 • การตีความและการวิเคราะห์ เพื่ อการปรับปรุงด้านสิ่งแวดล้อม

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

26


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

ขอบเขตการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง • gate to gate: พิ จารณาเฉพาะกระบวนการใดกระบวนการหนึ่ง จากทั้งสายโซ่การผลิต • cradle to gate: การประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิต ของผลิตภัณฑ์ตั้งแต่การสกัดเพื่ อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบ จนกระทั่งได้ผลิตภัณฑ์ 40

• cradle to grave: เป็น LCA เต็มรูปแบบที่ประเมิน ผลกระทบตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบมาผลิตสินค้า การผลิตสินค้า การนําไปใช้งานตลอดจนการกําจัดซาก หลังหมดอายุการใช้งาน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

27


Module 08

การจั ด การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิ ก

Module 08 การจัดการวัสดุก่อสร้าง อย่างยั่งยืน 40

รองศาสตราจารย์ นพพร โทณะวณิก สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

28


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.