Module 09 การจัดการของเสียในงานก่อสร้าง

Page 1

Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

Module 09 การจัดการของเสียในงานก่อสร้าง 40

อาจารย์ จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์ สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

ในโมดูลนี้ จะกล่าวถึง . . . ่ วกับของเสียในงานก่อสร้าง ü แนวคิดเกีย ü การจัดการของเสียเพื่ อการก่อสร้างอย่างยั่งยืน 40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

2


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

่ วกับของเสียในงานก่อสร้าง แนวคิดเกีย 1) ความหมายและประเภทของเสีย ในงานก่อสร้างและรื้อถอน 2) สาเหตุที่ก่อให้เกิดของเสียในงานก่อสร้าง 3) ปัญหาและผลกระทบจากของเสี ยในงานก่อสร้าง 40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

3


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

ความหมายและประเภทของเสีย ในงานก่อสร้างและรื้อถอน ของเสียจากการก่อสร้าง คือ วัตถุท่เี กิดขึ้น จากกระบวนการก่อสร้างอาคาร ถนนหรือสาธารณูปโภค เช่น ถนน และสะพาน ที่ไม่สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ ภายในโครงการและถูกนําไปทิง ้ แปรสภาพ หรือนํากลับมาใช้ใหม่นอกโครงการ 40 ของเสียจากการรื้อถอน คือ วัตถุที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน อาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง ไม่ว่าวัตถุเหล่านั้น จะสามารถนําไปแปรสภาพหรือนํากลับมาใช้ใหม่ได้หรือไม่

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

4


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

ความหมายและประเภทของเสีย ในงานก่อสร้างและรื้อถอน

แหล่งกําเนิดของของเสีย จากการก่อสร้างและรื้อถอนในประเทศไทย 1) ของเสียจากการก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างใหม่ 2) ของเสียจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือซ่อมแซมอาคารหรือสิ40 ่งปลูกสร้างต่าง ๆ 3) ของเสียจากโรงงานผลิตวัสดุก่อสร้างสําเร็จรูป 4) ของเสียจากการก่อสร้าง ซ่อมแซม และรื้อถนนและสะพาน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

5


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

ความหมายและประเภทของเสีย ในงานก่อสร้างและรื้อถอน ประเภทของของเสีย จากการก่อสร้างและรื้อถอน 1) ของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนอาคาร 2) นํ้าเสียจากการก่อสร้าง

a) นํา้ ผิวดินขณะทําการก่อสร้าง b) นํ้าเสียจากการล้างรถในสถานที 40 ่ก่อสร้าง c) นํ้าเสียจากห้องสุขา โรงอาหาร และอาคารสํานักงานชั่วคราวในสถานที่ก่อสร้าง d) นํ้าเสียที่เกิดจากกิจกรรมการก่อสร้าง

3) อากาศเสียจากการก่อสร้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

6


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

สาเหตุทก ี่ ่อให้เกิดของเสียในงานก่อสร้าง ü ü ü ü ü ü ü ü ü

สัญญา การออกแบบ การจัดซื้อ การขนส่ง การจัดการและวางแผน 40 การจัดเก็บวัสดุ การเคลื่อนย้ายวัสดุ การดําเนินการ ส่วนเหลือ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

7


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

ปัญหาและผลกระทบจากของเสีย ในงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน 1) ปัญหาและผลกระทบต่อสิง ่ แวดล้อม a) ปริมาณของเสียจากการก่อสร้าง ที่มีปริมาณเพิ่ มขึ้นตามการพั ฒนาของเมือง b) พื้ นที่ฝังกลบที่มีอยู่จํากัด 40 c) ลักลอบทิง ้ ในพื้ นที่ห้ามทิง ้ d) ปริมาณของเสียมากขึ้น หมายความว่าปริมาณวัตถุดิบจากธรรมชาติ ที่ใช้ในการผลิตวัสดุก่อสร้างก็เพิ่ มขึ้น

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

8


ปัญหาและผลกระทบจากของเสีย ในงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน

2) ปัญหาและผลกระทบต่อสังคม a) ของเสียจากการก่อสร้างที่มีต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งในพื้ นที่ก่อสร้าง b) ของเสียจากการก่อสร้างที่มีต่อชุมชน ที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกับโครงการ c) ของเสียจากการก่อสร้างที่มีต่อชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง กับพื้ นที่ฝังกลบของเสียที่ทง ั้ ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ü กลิ่นรบกวน ü การปลิวกระจายของเศษของเสีย ที่ไม่ได้ถูกปกคลุม ü ฝุ่นละอองจากของเสีย ü มลพิ ษทางนํ้าและดิน ü ผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ทํางาน และชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง 3) ปัญหาและผลกระทบต่อเศรษฐกิจ


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

การจัดการของเสียเพื่ อการก่อสร้างอย่างยั่งยืน 1) แนวทางการจัดการของเสียในงานก่อสร้าง อย่างยั่งยืนและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2) ปัจจัยที่ส่งผลให้การจัดการของเสีย ในงานก่อสร้างประสบความสําเร็จและประโยชน์ 40ย 3) การดําเนินการจัดการของเสี เพื่ อการก่อสร้างอย่างยั่งยืน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

10


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

แนวทางการจัดการของเสีย ในงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน การลดปริมาณของเสีย

ü การใช้วัสดุทดแทน ü การทดแทนหรือการกําจัดกระบวนการ ü การดูแลทําความสะอาด และบํารุงรักษาอุปกรณ์ที่ดี 40 ü การลดปริมาณของเสีย ด้วยการออกแบบและวางแผนที่ดี ü การฝึกอบรมและการให้ความรู้ กับผู้ปฏิบัติงาน/คนงาน ü การวิเคราะห์วงจรชีวิต ü การควบคุมและดูแลวัสดุ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

11


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

แนวทางการจัดการของเสีย ในงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน • การนําขยะกลับมาใช้ซํ้า ü อัพไซเคิล (Upcycle) ü ดาวน์ไซเคิล (Downcycle) • การนําขยะกลับไปเป็นส่40 วนผสมของวัสดุใหม่ • การกู้คืนสภาพ • การนําของเสียไปทิ้งยังหลุมฝังกลบ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

12


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

ปัจจัยที่ส่งผลให้การจัดการของเสีย ในงานก่อสร้างประสบความสําเร็จ 1) การกําหนดนโยบาย เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ขององค์กรที่ชัดเจน 2) ความมุ่งมั่นของผู้บริหารองค์กร 3) การสื่อสารที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพภายในองค์กร 40 4) ของเจ้าหน้าที่อาวุโสที่อยู่ภาคสนาม 5) ให้การสนับสนุนแก่พนักงาน/แรงงาน/กรรมกร 6) เพิ่ มความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมในการทํางาน 7) แรงสนับสนุนจากเจ้าของโครงการ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

13


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

ปัจจัยที่ส่งผลให้การจัดการของเสีย ในงานก่อสร้างประสบความสําเร็จ แรงสนับสนุนจากทีมผู้ออกแบบและที่ปรึกษา ความร่วมมือจากผู้รับเหมาช่วง มีการฝึกอบรมและการศึกษาที่เหมาะสม มีแรงงานที่มีทักษะ แรงสนับสนุนจากภาครัฐ40 มีผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการของเสีย ในงานก่อสร้าง 14) แผนการดําเนินการจัดการของเสีย ที่ประสบความสําเร็จ 8) 9) 10) 11) 12) 13)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

14


ประโยชน์จากการจัดการของเสียในงานก่อสร้าง ลดของเสียจากการก่อสร้าง การอนุรักษ์ทรัพยากร ลดค่าใช้จ่าย การเพิ่ มขีดความสามารถในการแข่งขัน ปฏิบัติตามข้อกําหนดด้านคุณสมบัติ ก่อนการเสนอราคา 6) เข้าสู่ตลาดต่างประเทศ 7) การปฏิบัติตามกฎหมาย 8) เพิ่ มความตระหนักด้านสิง ่ แวดล้อม 9) การเสริมสร้างภาพลักษณ์สาธารณะ 10) ลดการขนส่งของเสีย 11) การเพิ่ มมาตรฐานด้านสุขภาพ และความปลอดภัย 1) 2) 3) 4) 5)


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย ในการจัดการของเสียจากการก่อสร้าง 1) 2) 3) 4) 5)

ผู้ลงทุน/เจ้าของกิจการ ชุมชน พนักงาน 40 ลูกค้า หน่วยงานที่กํากับดูแล

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

16


องค์ประกอบของแผนการจัดการของเสีย จากโครงการก่อสร้างอย่างยั่งยืน 1) การประเมินโอกาสในการลดของเสียในโครงการ 2) การประเมินโอกาสในการนําของเสียกลับมาใช้ใหม่ หรือรีไซเคิล 3) การตรวจสอบการก่อให้เกิดของเสีย 4) ระบบในการเก็บของเสีย 5) ระบบในการคัดแยกของเสีย 6) วิธีการในการกําจัดของเสีย 7) นโยบายการควบคุมการสูญเสียของวัสดุ 8) ระบบในการจัดเก็บวัสดุ


องค์ประกอบของแผนการจัดการของเสีย จากโครงการก่อสร้างอย่างยั่งยืน 9)

แนวทางในการดูแลทําความสะอาด และการบํารุงรักษา

10) นโยบายการจัดการวัสดุ 11) ระบบการจัดการข้อมูลและบันทึก 12) คณะกรรมการจัดการของเสีย 13) วิธีการก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 14) ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 15) การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่

16) การอนุรักษ์นํ้า

17) โปรแกรมแลกเปลี่ยนของเสีย


การดําเนินการจัดการของเสีย การก่อสร้างอย่างยั่งยืน


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

การดําเนินการจัดการของเสีย การก่อสร้างอย่างยัง ่ ยืน แผนการจัดการของเสียจากการก่อสร้าง 1) ลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้น 40 ย 2) เพิ่ มปริมาณสัดส่วนของเสี ที่สามารถนํามาใช้ใหม่หรือรีไซเคิล 3) ลดปริมาณของเสียที่ส่งไปยังหลุมฝังกลบ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

20


Module 09

การจั ด การของเสี ย ในงานการก่ อ สร้ า ง อาจารย์ จั ก รกฤษณ์ เหลื อ งเจริ ญ รั ต น์

Module 09 การจัดการของเสียในงานก่อสร้าง 40

อาจารย์ จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์ สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

21


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.