Module 10 การจัดการสวัสดิการ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในงานก่อสร้าง

Page 1

Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

Module 10 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย อย่างยั่งยืนในงานก่อสร้าง 40

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ บุณย์เพิ่ ม สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1


ในโมดูลนี้ จะกล่าวถึง . . . • แนวคิด การอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง • วัฒนธรรมความปลอดภัย • การอาชีวอนามัย ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน • นโยบาย อาชีวอนามัย ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน • แผนงาน อาชีวอนามัย ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน • การสื่อสารเพื่ อความปลอดภัยอย่างยั่งยืน • การฝึกอบรมความปลอดภัยอย่างยัง ่ ยืน • การจัดการความเสี่ยงเพื่ อความปลอดภัย อย่างยั่งยืน


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

การอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

งเสริม ควบคุม ดูแล ❝ การส่ ดํารงรักษาสุขภาพอนามัย

และความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพ รวมถึงการป้องกันโรค40 และป้องกันอันตราย ของผู้ประกอบอาชีพ ให้ผู้ประกอบอาชีพ มีความปลอดภัย มีสภาพร่างกายและจิตใจ ที่สมบูรณ์ ตลอดจนมีสภาพความเป็นอยู่ ทางสังคมที่ดี

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

3


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

วัตถุประสงค์ • เพื่ อปรับปรุงสภาพการทํางาน ป้องกัน และควบคุม การบาดเจ็บ หรืออุบัติเหตุเนื่องจากการทํางาน • เพื่ อป้องกัน และควบคุมโรค อันเนื่องจากการทํางาน • เพื่ อปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ และสภาวะทางจิตใจ 40 ของผู้ปฏิบัติงาน • เพื่ อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของผู้ปฏิบัติงาน ให้มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

4


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

องค์ประกอบของการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย • • • •

คน กระบวนการทํางาน 40 เครื่องมือ สิ่งแวดล้อมในการทํางาน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

5


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

ขอบเขตของการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย • • • • •

การส่งเสริม (Promotion) การป้องกัน (Prevention) การปกป้องคุ้มครอง (Protection) การจัดสภาพแวดล้อมในการทํ 40 างาน (Placing) การปรับสภาพงานให้เหมาะสม กับลักษณะผู้ปฏิบัติงาน (Adaptation of Work)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

6


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

ความสําคัญของการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย • • • • •

ต้นทุนการทํางานลดลง ผลิตภาพเพิ่ มขึ้น 40 ผลกําไรมากขึ้น รักษาทรัพยากรมนุษย์ จูงใจผู้ปฏิบัติงาน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

7


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

ข้อพิ จารณาในการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในงานก่อสร้าง • ความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ก่อสร้าง และสภาพแวดล้อม • ความปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ 40 • ความปลอดภัยเกี่ยวกับวัสดุก่อสร้าง • ความปลอดภัยเกี่ยวกับลูกจ้าง • การกําหนดแผนป้องกันเหตุฉุกเฉิน • การจัดสวัสดิการแก่ลูกจ้าง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

8


แนวคิดแบบเดิม VS แนวคิดแบบใหม่ แบบเดิม

แบบใหม่

งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นค่าใช้จ่าย (Cost)

งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นการลงทุน (Investment)

มุ่งที่การแก้ไข (Reaction) เมื่อเกิดอุบัติเหตุแล้วก็แก้ไขสาเหตุ ที่เกิดในขณะนั้น

ควบคุมอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแล้ว และควบคุมอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น แต่ยังไม่ถึงกับเป็นอุบัติเหตุ เพื่ อหาทางป้องกัน (Prevention)

มุ่งความเสียหายจากการบาดเจ็บ และทรัพย์สินเสียหาย

มุ่งที่ความสูญเสียทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นทัง ้ หมด

มุ่งเน้นวัดผลของโปรแกรมที่เกิดขึ้น (Output) วัดสถิติอุบัติเหตุ เป็นสําคัญ

มุ่งน้นวัดโปรแกรมหรือกิจกรรม ที่ใส่เข้าไป (Input) ว่ามีประสิทธิภาพ หรือไม่ ครบถ้วน และเพี ยงพอหรือไม่

หน้าที่ความรับผิดชอบ ตกอยู่กับผู้ปฏิบัติงาน ด้านความปลอดภัยอย่างเดียว

หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยตรงของการบริหาร


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

วัฒนธรรมความปลอดภัย ่ สดงให้เห็นถึงลักษณะ พฤติกรรมของคนในองค์การทีแ ่ วข้องกับความปลอดภัยในระดับต่าง ๆ และทัศนคติทเี่ กีย แบ่งออกเป็น 3 ระดับ • ระดับสามัญสํานึก (Basic Assumption Level) 40 • ระดับหลักการสนับสนุน (Espoused Value Level) • ระดับที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม (Artifact Level)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

10


แบบจําลองการบูรณาการด้านความปลอดภัย (Integral Model for safety) ปัจเจกบุคคล ความตั้งใจ - ความเชื่อ - คุณค่า - ทัศนคติ - ความมุ่งมั่น - การเพิ่ มขีด - ความสามารถ คุณค่ารวม - การรับรู้ร่วมกัน - บรรทัดฐาน - การตัดสิน และความยุติธรรม - จริยธรรม - คุณธรรม

พฤติกรรม - การกระทํา - สมรรถนะ - ทักษะ - การฝึกอบรม - การตัดสินใจ ระบบ - องค์การ - ทรัพยากร - แนวปฏิบัติ - สารสนเทศ - เมทริกซ์

โดยรวม

สิ่งที่ทํา

ภายนอก

ภายใน

สิ่งที่เป็น


ที่มาของวัฒนธรรมความปลอดภัย SMS Safety Management System Performance

TQM Total Quality Management

QA Quality Assurance

QC Quality Control Time


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

การจัดการเพื่ อให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย 1) กําหนดความรับผิดชอบด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยให้แก่บุคลากรทุกระดับในองค์กร 2) กําหนดคณะกรรมการและความรับผิดชอบตามหน้าที่ 3) แต่งตั้งผู้จัดการที่รับผิดชอบวัฒนธรรม ความปลอดภัยเรื่องนั้น ๆ โดยตรง 4) พั ฒนารูปแบบของการรายงานความรุนแรง 40 หรืออันตรายที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน 5) ปรับปรุงการดําเนินงานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย และนําสู่การปฏิบัติพร้อมกัน ทั้งองค์การ 6) ประเมินผลการดําเนินการด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยพร้อมให้การกระตุ้นและจูงใจ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

13


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

การจัดการเพื่ อให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย 7) สนับสนุนให้คณะกรรมการอาชีวอนามัย และ ความปลอดภัยทํางานได้ดี มีความคล่องตัว และ มีอํานาจอย่างเต็มที่ในการดําเนินการ 8) สร้างช่องทางการสื่อสารหลายช่องทางที่มีความสะดวก รวดเร็ว ในการสื่อสารด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย 9) สร้างระบบงานที่กําหนดเวลาแน่นอน ในการตรวจสอบและป้องกันอุบ40 ัติภัยโดยมีระบบงานที่ดี

10) มั่นใจได้ว่าการรายงานอุบัติการณ์ที่อาจเกิดขึ้น จะได้รับการช่วยเหลือที่ทําได้รวดเร็ว เพราะบุคลากรมีความรู้ที่เต็มที่และพร้อมอยู่ตลอดเวลา 11) ประเมินผลโครงการและปรับปรุงใหม่หาวิธีแก้ไขใหม่ โดยไม่ตําหนิบุคคล แต่เป็นการร่วมมือกันหาแนวทาง ปรับปรุงแก้ไขร่วมกัน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

14


กรอบแนวคิดเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยกับความยั่งยืน สิง ่ แวดล้อม

การพั ฒนา อย่างยั่งยืน เศรษฐกิจ

สังคม ชุมชน ความหลากหลาย สิทธิมนุษยชน อาชีวอนามัย และความปลอดภัย • การกํากับดูแลกิจการ • คุณภาพชีวิต • ความเสมอภาค • • • •

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย • คนงานก่อสร้าง • ผู้ใช้อาคาร • สาธารณชน


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

VISION ZERO 1) การเป็นผู้นําและให้คํามั่น 2) การบ่งชี้อันตรายและความเสี่ยง 3) การกําหนดเป้าหมายด้านความปลอดภัยและสุขภาพ 4) การมีระบบงานที่ปลอดภัยและดี ต่อสุขภาพอนามัย 40 5) การใช้เทคโนโลยีที่ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพอนามัย 6) การปรับปรุง/พั ฒนาคุณภาพและสมรรถนะ 7) การลงทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

16


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

หลักการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยอย่างยั่งยืน ในงานก่อสร้าง

1) การกําหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ นโยบาย และแผนงาน 2) การกําหนดเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ่อง 3) การปรับปรุงอย่างต่อเนื40 4) การสื่อสาร 5) การฝึกอบรม 6) การจัดการความเสี่ยง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

17


การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย อย่างยั่งยืนในงานก่อสร้าง ü ความรับผิดชอบของผู้บริหารองค์การก่อสร้าง ในการจัดให้มีระบบการจัดการที่ดี มีการกําหนดโครงสร้างองค์การด้านความปลอดภัยที่ชัดเจน กําหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ นโยบาย และแผนการกําหนดเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การสื่อสาร การฝึกอบรม การจัดการความเสี่ยง และการมีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้น เพื่ อให้ผู้ปฏิบัติงานทํางานด้วยความปลอดภัย และเพื่ อพั ฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ปฏิบัติงาน ü การกระทําหรือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่ อความปลอดภัย และอาชีวอนามัยนั้น จะไม่ได้ทําเพราะมีข้อกําหนดและกฎหมาย บังคับไว้ แต่จะต้องเป็นไปโดยจิตสํานึก หรือการตระหนักรู้ ของตัวผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกภาคส่วนเอง


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

ระบบการจัดการความปลอดภัยในงานก่อสร้าง 1) กําหนดนโยบายด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทํางาน 2) การจัดองค์การด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในหน่วยงาน และการกําหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ 3) กฎหมายและข้อกําหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 40

4) กําหนดมาตรการป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ 5) การตรวจความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง 6) การกําหนดกฎความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง 7) การควบคุมดูแลความปลอดภัยของผู้รับเหมาช่วง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

19


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

ระบบการจัดการความปลอดภัยในงานก่อสร้าง 7) การควบคุมดูแลความปลอดภัยของผู้รับเหมาช่วง 8) การตรวจสอบ และการติดตามผลความปลอดภัย 9) การรายงาน การสอบสวน และการวิเคราะห์อุบัติเหตุ 40มความปลอดภัย 10) การฝึกอบรมและรณรงค์ส่งเสริ

11) การปฐมพยาบาล 12) การวางแผนฉุกเฉิน 13) การจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้อง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

20


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

แนวคิดในการกําหนดนโยบาย อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ü จะต้องประกาศให้ทราบเป็นลายลักษณ์อักษร ü ผู้ปฏิบัติงานทุกฝ่ายทุกระดับทราบถึงการปฏิบัติตน ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่ชัดเจน ว่าควรดําเนินการในเรื่องใดอย่างไร 40ความสําคัญ ü ผู้ปฏิบัติงานทุกคน ทุกระดับให้ และทราบถึงภาระหน้าที่รับผิดชอบของตน ที่ต้องปฏิบัติตาม

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

21


สาระสําคัญของนโยบาย อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1) กําหนดเป็นลายลักษณ์อักษร แจ้งให้ทุกคนทราบ และปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ 2) กําหนดภาระหรือเรื่องที่จะคุ้มครองความปลอดภัย ให้ครอบคลุมทุกประเภทของงาน 3) กําหนดให้ทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบ และต้องให้ความร่วมมือในกิจกรรมความปลอดภัย 4) กําหนดกิจกรรมหลักที่สําคัญไว้ เช่น การอบรม การตรวจความปลอดภัย การส่งเสริมความปลอดภัย เป็นต้น 5) กําหนดให้มีคณะกรรมการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารความปลอดภัย ขององค์การและหน่วยงานก่อสร้าง 6) กําหนดให้มีการติดตามประเมินผล ให้เป็นไปตามนโยบายที่วางไว้


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

หลักการกําหนดนโยบาย อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1) การพิ จารณาข้อกําหนดของกฎหมายและมาตรฐาน เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง 2) การสร้างความร่วมมือในการปฏิบัติงาน เพื่ อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ 3) การพิ จารณากระบวนการทํางานและวิธีปฏิบัติงาน 40 4) การเลือกวิธีการที่เหมาะสมในการเสริ มสร้าง ความปลอดภัยให้เกิดขึ้นในหน่วยงานก่อสร้าง 5) การกําหนดจุดยืนขององค์การในด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทํางาน 6) การกําหนดข้อตกลงด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยให้กับผู้รับเหมาช่วง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

23


แผนความปลอดภัยในงานก่อสร้าง

จะครอบคลุมรายละเอียดด้านความปลอดภัย 2 ส่วน แผนความปลอดภัย ในงานก่อสร้าง

ความปลอดภัย โดยรวมขององค์การ

ความปลอดภัย ของหน่วยงานก่อสร้าง


แผนงานด้านความปลอดภัยในงานก่อสร้าง แผนงานด้านความปลอดภัย ในการทํางานก่อสร้าง แผนรณรงค์ส่งเสริม ความปลอดภัย ในการทํางาน

แผนควบคุมดูแล ความปลอดกัย ในการทํางาน

แผนการฝึกอบรม ให้ความรู้

พื้ นที่ ดําเนินการ

อบรม ลูกจ้างใหม่

Morning Talk

บุคคล

อบรม เฉพาะงาน

5 ส.

วิธีการทํางาน

อบรม ดับเพลิง

เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์

อบรม ปฐมพยาบาล

แผนฉุกเฉิน กรณีเกิดอุบัติเหตุ ในการทํางาน แผนฉุกเฉิน กรณีอุบัติเหตุ

แผนการตรวจสอบ วิเคราะห์และรายงาน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

การสื่อสารเพื่ อความปลอดภัย กระบวนการส่งหรือถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับความปลอดภัยจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร โดยผ่านช่องทางหรือสื่อต่าง ๆ เพื่ อให้เกิดสภาวะที่เป็นอิสระหรือปราศจากภั ยคุกคาม 40 ไม่มีอันตราย ไม่เกิดการบาดเจ็บและการสูญเสีย รวมถึงไม่มีความเสี่ยงใด ๆ เกิดขึ้น

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

26


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

วัตถุประสงค์ของการสื่อสารเพื่ อความปลอดภัย • เพื่ อแจ้งให้ทราบถึงข่าวสารด้านความปลอดภัย โดยมุ่งให้เกิดการรับรู้ที่ถูกต้อง • เพื่ อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านความปลอดภัย • เพื่ อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัย แก่บุคลากรทุกระดับ • เพื่ อจูงใจให้เกิดการร่วมมือในการปฏิ 40 บัติงาน หรือพฤติกรรมที่ปลอดภัย • เพื่ อเป็นการตักเตือนให้ปฏิบัติตนตามระเบียบ ความปลอดภัย • เพื่ อเสริมสร้างความน่าเชื่อถือ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ทางด้านความปลอดภัยขององค์การ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

27


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

ความสําคัญของการสื่อสารเพื่ อความปลอดภัย ในงานก่อสร้างอย่างยั่งยืน 1) การสื่อสารเป็นองค์ประกอบสําคัญในการบูรณาการ ความรู้จากหลายสาขาวิชา 2) การสื่อสารเป็นหนึ่งในข้อกําหนดที่ระบุไว้ในกฎหมาย และอนุกรมมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง 40 3) การสื่อสารช่วยสร้างความสัมพั นธ์ระหว่างบุคคล a) ความสัมพั นธ์ ระหว่างบุคคลภายในหน่วยงานก่อสร้าง b) ความสัมพั นธ์ ระหว่างบุคคลภายนอกหน่วยงานก่อสร้าง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

28


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

การฝึกอบรมความปลอดภัยอย่างยั่งยืน ในงานก่อสร้าง กระบวนการจัดการเรียนรู้หรือกิจกรรม เกี่ยวกับความความปลอดภัยในการทํางานอย่างเป็นระบบ เพื่ อให้พนักงานหรือบุคลากรในองค์กรเกิดการเรียนรู้ หรือเพิ่ มพู นความรู้ (knowledge) สร้างเสริมทักษะ (skill) 40 และทัศนคติ (attitude) ที่ถูกต้องและเหมาะสม อันจะนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (practice) ให้เกิดความปลอดภัยในการทํางาน รวมทั้งสามารถดูแล รักษาสุขภาพของตัวเองให้ปลอดภัยจากการทํางานได้ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

29


การวางแผนจัดการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย การวิเคราะห์ความต้องการ การฝึกอบรม การกําหนดวัตถุประสงค์

การป้อนกลับ

การออกแบบโครงการ ฝึกอบรม การเตรียมการ และการดําเนินการฝึกอบรม การประเมินผลสรุปรายงาน


ความเสี่ยงเพื่ อความปลอดภัยอย่างยั่งยืน ในงานก่อสร้าง ความเสี่ยงต่ออันตรายของผู้ปฏิบัติงานก่อสร้าง จะแตกต่างกันไปตามลักษณะงาน ประเภท และขนาดของโครงการ ตลอดจนมาตรการทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ของหน่วยงานก่อสร้าง ü การบาดเจ็บ หรือ อุบัติเหตุเนื่องจากการทํางาน (Occupational injuries or accidents) เช่น การได้รับอันตรายจากเครื่องจักรกล การพลัดตกจากที่สูง ถูกวัสดุกระเด็นใส่ ถูกสารเคมีหกรด เป็นต้น ü โรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational diseases) เช่น โรคปอด โรคผิวหนังจากการประกอบอาชีพ ฯลฯ ü เหตุฉุกเฉิน เช่น เพลิงไหม้ การระเบิด และสารเคมีรั่วไหล เป็นต้น


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

มาตรฐานการจัดการความเสี่ยง • หลักการทั่วไปในการจัดการความเสี่ยง • กรอบการจัดการความเสี่ยง • กระบวนการในการจัดการความเสี่ยง 40

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

32


มาตรฐานการจัดการความเสี่ยง ก) สร้างคุณค่าขององค์กร ข) ต้องผนวกเข้าในทุกส่วน ของการดําเนินการขององค์กร ค) เป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินใจ ง) ใช้ในการจัดการ กับความไม่แน่นอน จ) เป็นระบบ มีรูปแบบที่ชัดเจน และทันต่อสถานการณ์ ฉ) อยู่บนพื้ นฐานข้อมูลที่ดีที่สุด ที่สามารถหาได้ ช) ต้องทําให้เหมาะสมกับองค์กร ซ) คํานึงถึงปัจจัยด้านบุคคล และวัฒนธรรมองค์กร ฌ) ต้องมีความโปร่งใส และมีส่วนร่วม ญ) ต้องมีการดําเนินการ อย่างต่อเนื่องต้องทําซํ้า และ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ฎ) ช่วยให้องค์กรเกิดการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง หลักการทั่วไป

ความมุ่งมั่นและความรับผิดชอบ การกําหนดบริบท

P A

การกําหนดกรอบ การบริหารความเสี่ยง

การปรับปรุง กรอบการบริหาร ความเสี่ยง อย่างต่อเนื่อง

C

D

การนํา การบริหาร ความเสี่ยง ไปปฏิบัติ

การติดตาม ตรวจสอบ และการทบทวน กรอบการบริหาร ความเสี่ยง

กรอบการจัดการความเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

การชี้บ่งความเสี่ยง การ สื่อสาร และ การ ปรึกษา

การวิเคราะห์ ความเสี่ยง การเปรียบเทียบผล การวิเคราะห์ ความเสี่ยงกับเกณฑ์

การ สื่อสาร ตรวจ สอบ และ ทบทวน

การแก้ไข ความเสี่ยง

กระบวนการจัดการความเสี่ยง


กรอบการจัดการความเสี่ยง ข้อบังคับและความมุ่งมั่นของผู้บริหาร

การออกแบบกรอบการบริหารความเสี่ยง • การทําความเข้าใจองค์กรและบริบทขององค์กร • การจัดทํานโยบายการบริหารความเสี่ยง • ภาระรับผิดชอบ • การบูรณาการเข้ากับการดําเนินการขององค์กร • ทรัพยากร • การจัดทําวิธีการสื่อสารและการรายงานภายในองค์กร • การกําหนดวิธีการสื่อสารและการรายงานภายนอกองค์กร การปรับปรุงกรอบการบริหาร ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง

การนําการบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติ • การนํากรอบการบริหารความเสี่ยง • ไปปฏิบัติเพื่ อบริหารความเสี่ยง • การนํากระบวนการบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติ

การเฝ้าติดตาม และการทบทวนกรอบการบริหารความเสี่ยง


กระบวนการจัดการความเสี่ยง การกําหนดบริบท การประเมินความเสี่ยง

การชี้บ่งความเสี่ยง การสื่อสาร และการปรึกษา

การวิเคราะห์ผลความเสี่ยง

การประเมินผลความเสี่ยง

การจัดการความเสี่ยง

การเฝ้าติดตาม และทบทวน


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

สรุป • การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยอย่างยั่งยืน ในงานก่อสร้างนั้น ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้บริหาร องค์การก่อสร้างในการจัดให้มีระบบการจัดการที่ดี มีการกําหนดโครงสร้างองค์การด้านความปลอดภัย ที่ชัดเจน เพื่ อให้ผู้ปฏิบัติงานทํางานด้วยความปลอดภัย และเพื่ อพั ฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ปฏิบัติงาน 40

• การจัดกิจกรรมนั้นจะไม่ได้ทําเพราะมีข้อกําหนด และกฎหมายบังคับไว้ แต่จะต้องเป็นไปโดยจิตสํานึก หรือการตระหนักรู้ของตัวผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนเอง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

36


Module 10

การจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย อย่ า งยั่ ง ยื น ในงานก่ อ สร้ า ง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ พ วรรณ บุ ณ ย์ เ พิ่ ม

Module 10 การจัดการสวัสดิการ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในงานก่อสร้าง 40

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ บุณย์เพิ่ ม สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

37


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.