Module 11 กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่อความยั่งยืน

Page 1

Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Module 11 กระบวนการทดสอบ ระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่งยืน อาจารย์ ดร. ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

การทดสอบและปรับแต่งระบบ ประกอบอาคารอย่างยั่งยืน ü ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบ ปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ü งานทดสอบ ปรับแต่งระบบประกอบอาคาร อย่างยั่งยืน ü การทดสอบ ปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ที่สําคัญ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

2


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ความรู้เกี่ยวกับ การทดสอบ

ปรับแต่งระบบประกอบอาคารอย่างยั่งยืน

ประกอบด้วย

ü ความหมาย ขอบเขตและประเภท ü ความสําคัญและประโยชน์ ü หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ü กิจกรรมหลักและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

3


Module

11

การทดสอบ

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ปรับแต่งระบบประกอบอาคารอย่างยั่งยืน

ü จําเป็นต้องทราบถึงต้นทุนที่เกี่ยวข้อง จากการทดสอบ ปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ü ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบของอาคาร ü ปัญหาและข้อเสนอแนะ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

4


Module

11

การทดสอบ

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ปรับแต่งระบบประกอบอาคารอย่างยั่งยืน

ประกอบด้วย

• ระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ • ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง • ส่วนของการทดสอบและปรับแต่งอุปกรณ์ตู้สวิทช์ บอร์ดไฟฟ้า • อุปกรณ์ระบบแจ้งเหตุ เพลิงไหม้

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

5


กระบวนการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร (the commissioning process) ตามที่ระบุใน ASHRAE Guideline ระบุคําจํากัดความ

“การทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร” คือ

ü กระบวนการที่ให้ความสําคัญต่อการกําหนดในแง่คุณภาพ ü ทั้งนี้เพื่ อยกระดับต่อการส่งมอบงานอาคารโครงการ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1) การตรวจสอบ 2) การจัดการในระบบงานเอกสาร 3) การทําแผนการดําเนินการออกแบบ 4) การประกอบติดตั้ง 5) การทดสอบ 6) การใช้งานและการบํารุงรักษา เพื่ อให้เป็นไปตามความต้องการของเจ้าของโครงการ หรือเจตนารมณ์ของกลุ่มเจ้าของโครงการ (Owner's Project Requirements : OPR) ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการดําเนินการ


ASHRAE Standard 202-2013 (American Society of Heating, Refrigerating and Air-Conditioning Engineers : ASHRAE) ระบุในกระบวนการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร (the commissioning process) ASHRAE Guideline ถือเป็นแนวทางปฏิบัติตาม มาตรฐานงานระบบวิศวกรรม HVAC

http://www.smfi.com/expertise/pre-commissioning


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

การทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร (Commissioning: Cx)

ประโยชน์ที่ได้รับ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

8


ขอบเขตของการให้บริการ การทดสอบและปรับแต่ง ระบบประกอบอาคาร

การตรวจสอบ ในส่วนของงานติดตั้ง (Installation Inspection)

การทดสอบสมรรถนะ หรือประสิทธิภาพการทํางานของระบบ (Performance Test)


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

การตรวจสอบในส่วนของงานติดตั้ง (Installation inspection) ü เกี่ยวข้องกระบวนการประกอบติดตั้ง ในหน้างาน ก่อนดําเนินการเปิดระบบ เพื่ อการใช้งาน ü ดําเนินการตรวจสอบโดยจะใช้รูปแบบ ของ checklists ตรวจสอบผลการดําเนินการ ว่าเป็นไปตามข้อกําหนด แบบรูป รายการประกอบแบบ และรายการคู่มือข้อกําหนดหรือไม่ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

10


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

การทดสอบสมรรถนะหรือประสิทธิภาพการทํางาน ของระบบ (performance test) “การทดสอบฟังก์ชั่นการใช้งาน (functional testing)” • เป็นขั้นตอนการดําเนินการภายหลังจาก องค์ประกอบต่าง ๆ ทั้งหมดของระบบ ได้รับการประกอบติดตั้งแล้วเสร็จ • มีวัตถุประสงค์ เพื่ อตรวจสอบระบบทั้งหมด ว่ามีการทํางานที่เป็นไปอย่างเหมาะสม เป็นไปตามสภาพปกติภายใต้เงื่อนไข ของภาระการใช้งานที่เต็มกําลังประสิทธิภาพ หรือเมื่อเปิดใช้งานบางส่วน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

11


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ลําดับของการทดสอบ ต้องดําเนินการภายใต้โหมดงานที่เป็นไปได้ทั้งหมด 1) เปิดระบบเพื่ อการใช้งาน การสั่งปิดระบบ 2) การปรับแต่งค่าตามกําลังประสิทธิภาพ 3) ดําเนินการในกรณีฉุกเฉิน 4) ตรวจสอบสัญญาณการแจ้งเตือนต่าง ๆ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

12


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ลําดับของการทดสอบจะต้องดําเนินการภายใต้

โหมดงานที่เป็นไปได้ทั้งหมดของการใช้งาน (ต่อ)

5) การตรวจสอบสัญญาณการแจ้งเตือนต่าง ๆ ขณะที่อาจมีข้อผิดปกติต่างๆ 6) การตรวจสอบข้อต่อในงานระบบท่อ และงานระบบไฟฟ้ากําลังสําหรับการเชื่อมต่อ ระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งหมดถือเป็นการตรวจสอบผลของการประกอบติดตั้ง และการทดสอบฟังก์ช่น ั การใช้งานหรือประสิทธิภาพการ ทํางานของระบบทั้งระบบ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

13


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ประเภทย่อยของการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบ อาคาร (Cx) ตาม ASHRAE Guideline 0-2005 การทดสอบและปรับแต่งระบบซํ้า (Re-Commissioning Process) กระบวนการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร เคยผ่านการทดสอบและปรับแต่ง ระบบมาแล้วก่อนหน้านี้

การทดสอบและปรับแต่งระบบย้อนหลัง (Retro-Commissioning Process) สําหรับอาคารที่ผ่านการใช้งานมาแล้ว 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

14


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ประเภทย่อยของการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบ อาคาร (Cx) ตาม ASHRAE Guideline 0-2005 (ต่อ) การทดสอบและปรับแต่งระบบโดยต่อเนื่อง (Ongoing Commissioning Process) คือ กระบวนการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ซึ่งมีความต่อเนื่องถึงขั้นตอนการเข้าพั กอาศัยหรือเข้าอยู่อาศัย เพื่ อการใช้งานและดําเนินการ โดยที่มีการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกลุ่มเจ้าของโครงการ (Owner’s Project Requirements : OPR) ทั้งในปัจจุบันและต่อเนื่องถึงในอนาคต Ongoing Commissioning Process เกี่ยวข้อง โดยตลอดวัฏจักรอายุของอุปกรณ์สิ่งอํานวย ความสะดวกต่าง ๆ พิ จารณาร่วมกับความหมายของ Continuous Commissioning Process ที่ให้ความหมายที่ใกล้เคียงกัน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

15


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ประเภทย่อยของการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบ อาคาร (Cx) ตาม ASHRAE Guideline 0-2005 (ต่อ) การทดสอบและปรับแต่งระบบอย่างต่อเนื่อง (Continuous Commissioning Process) คือ กระบวนการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ซึ่งมีความต่อเนื่องถึงขั้นตอนการเข้าพั กอาศัยหรือเข้าอยู่อาศัย เพื่ อการใช้งานและดําเนินการ โดยที่มีการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกลุ่มเจ้าของโครงการ ทั้งในปัจจุบันและต่อเนื่องในอนาคต ต้องพิ จารณาร่วมกับความหมาย ของ Ongoing Commissioning Process (ASHRAE, 2005) กระบวนการดําเนินการโดยต่อเนื่องเพื่ อแก้ไขซํา้ สําหรับปัญหาที่ ้ จากการดําเนินงาน การปรับปรุงสภาวะความสบาย เกิดขึน และการใช้พลังงานอย่างเหมาะสมสําหรับระบบสาธารณูปโภคที่มีอยู่ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

16


Building Commissioning: It’s a Process For a Reason Presented by Rick Scivally CHFM, CHSP, CBCP, LEED AP.


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Gillis & Cudney (2015) ระบุการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร คือ • • • •

กระบวนการทางด้านคุณภาพ สร้างระดับความเชื่อมั่นต่อกลุ่มเจ้าของโครงการ หรือเป็นไปตามเจตนารมณ์ของกลุ่มเจ้าของโครงการ ปรากฏความสอดต่อผลงานการออกแบบ การก่อสร้าง ขั้นตอนสุดท้าย การสนับสนุนทั้งในแนวทางการสื่อสารและการส่งผ่าน องค์ความรู้จากแต่ละขั้นตอนการดําเนินการ

Objective of testing and commissioning activities is to check accuracy, completeness and safety of the executed works, and accordingly to produce Test Records and Manuals including the As-built drawings. 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

18


ปรับจาก: hpengineeringinc. (N.D.) commissioning สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2561, จาก http://www.hpengineeringinc.com/commissioning/


ประโยชน์ที่ได้จากการคาดการณ์ผลลัพธ์ จากกระบวนการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ผ่านเจ้าหน้าที่ CxA ü ลดต้นทุนจากการใช้งานพลังงาน ที่เพิ่ มประสิทธิภาพขึ้น ระหว่าง 5%-10% ü เพิ่ มผลิตภาพของคณะผู้ปฏิบัติงานรวมทั้งผู้ใช้อาคาร ü ปรับปรุงผลลัพธ์ของเอกสารเพื่ อการก่อสร้าง จากการเข้ามามีส่วนร่วมของ ü เจ้าหน้าที่ CxA ในการทบทวนกระบวนการ ระหว่างขั้นตอนของการออกแบบ

ü ความผิดพลาดเกิดขึ้นลดน้อยลง ในการสั่งประกอบติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ส่วนควบต่างๆ

ü พบว่าวัสดุอุปกรณ์ส่วนควบต่างๆเสียหายลดน้อยลง เพราะการปรับตั้งค่า ตลอดจนการสอบเทียบวัดค่า (calibration) ü มีการส่งมอบระบบงานทางด้านวิศวกรรมประกอบอาคาร และระบบงานเอกสารที่เสร็จสมบูรณ์


เจ้าหน้าที่ CxA หรือผู้รับผิดชอบด้านการทดสอบ และปรับแต่งระบบประกอบอาคาร จะเข้ามาเกี่ยวข้องตั้งแต่ ü ขั้นตอนการดําเนินการวางแผน ü การกําหนดรูปแบบขององค์กรผู้เกี่ยวข้อง ü การตรวจสอบการดําเนินการของระบบ ü การตรวจสอบฟังก์ชั่นการใช้งานหรือการทดสอบประสิทธิภาพ การทํางานของระบบ ü เอกสารที่เกี่ยวข้องต่อขั้นตอนการดําเนินการทดสอบและ ปรับแต่งระบบประกอบอาคาร โดยเป็นการนําหลักการและแนวปฏิบัติมาประยุกต์ใช้กับระบบเครื่องกล ประกอบอาคาร ระบบวิศวกรรมไฟฟ้าในอาคาร ระบบควบคุม ระบบโทรคมนาคม และการสื่อสารในอาคารและระบบอื่น ๆ


แผนผังแสดง รายละเอียดของกิจกรรมหลักด้านการทดสอบ และปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ที่เกี่ยวข้อง ในแต่ละขั้นตอนการดําเนินโครงการ จากการนําเสนอ ใน ASHRAE Guideline 0-2005 ขัน# ตอนก่อนการออกแบบ (Pre-design phase)

พัฒนารวบรวมเจตนารมณ์ความ ต้องการเจ้าของโครงการ (OPR)

ขัน# ตอนการออกแบบ (Design phase)

ตรวจสอบแนวทาง หลักการออกแบบพืน# ฐาน (Basis of Design :BOD) สอดคล้องกับ OPR

ทบทวน การออกแบบ

ขัน# ตอนการก่อสร้าง (Construction phase)

ตรวจสอบเอกสารการส่ง เสนอสอดคล้อง OPR

พัฒนา การทดสอบ ฟั งก์ชนการ ัH ใช้งาน

ขัน# ตอนการใช้งาน การดูแลรักษาและซ่อม บํารุง (O&M phase)

การทดสอบตามช่วงเวลา (Seasonal testing)

ทบทวน การรับประกัน (Warranty review)

วางแผนด้าน Commissioning (Cx)

พัฒนารวบรวม ข้อกําหนด Cx

ตรวจสอบความ สมบูรณ์ของ รายการก่อสร้าง

พัฒนาร่างการ ตรวจสอบ รายการก่อสร้าง

ตรวจสอบระบบ โดยตลอดการ ทดสอบฟั งก์ชนั H การใช้งาน

บทเรียนทีไH ด้รบั (Lessons learned)

จําแนกความ ต้องการฝึกอบรม

ตรวจสอบ โปรแกรมการ ฝึกอบรมของ บุคลากร ด้าน O&M


EAp1 Fundamental Commissioning

EAc3 Enhanced Commissioning

ต่อเนื3 องจาก

เจ้าของโครงการกําหนดให้เจ้าหน้าทีq CxA เข ้ามาดําเนินการช่วงก่อน การกําหนดเอกสารเพือq การก่อสร้าง กําหนดทีq 50% ส่วนแรก

ขัน# ตอนการออกแบบ

สถาปนิก วิศวกรงานระบบ MEP วิศวกรและมัณฑนากรผูอ้ อกแบบไฟฟ้ าแสงสว่างดําเนินการจัดเตรียม BOD*

เจ้าหน้าทีq CxA ตรวจสอบความต้องการฝึ กอบรม เมีอq องค์ประกอบของงานระบบวิศวกรรมแล ้วเสร็จสมบูรณ์

ทีมงานโครงการร่วมมือกําหนดแนวทางการดําเนินการ สําหรับกระบวนการ Cx และความต้องการต่างๆ ไปยังเอกสารเพือq การก่อสร้าง

เจ้าหน้าทีq CxA ทบทวน OPR และ BOD เจ้าหน้าทีq CxA จัดการทบทวนการออกแบบ สําหรับ 50%ของ เอกสารเพือq การก่อสร้าง

ขัน# ตอนการกําหนดเอกสารเพือ3 การก่อสร้าง

เจ้าของโครงการกําหนดให้เจ้าหน้าทีq CxA เข ้ามาดําเนินการ

เจ้าหน้าทีq CxA พัฒนาและนําเสนอ แผนงาน Commissioning บนพืyนฐานของ OPR และ BOD

เจ้าหน้าทีq CxA ทบทวนการส่งมอบเอกสารของผูร้ บั เหมาก่อสร้าง

เจ้าหน้าทีq CxA ดําเนินการทดสอบประสิทธิภาพการทํางานของระบบวิศวกรรมประกอบงานอาคาร โดยเฉพาะการทดสอบฟังก์ชนั q การใช้งานของระบบ

ขัน# ตอนการติดตัง#

เจ้าหน้าทีq CxA ตรวจสอบผลการดําเนินการติดตังy และสมรรถนะทีปq รากฏภายหลังการประกอบติดตังy สําหรับระบบวิศวกรรมประกอบงานอาคาร

เจ้าหน้าทีq CxA ทบทวนผลการดําเนินงาน การใช้งานอาคารและระบบวิศวกรรมงานอาคาร ภายหลัง 8-10 เดือน จากการส่งมอบโครงการก่อสร้าง

ขัน# ตอนภายหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ (ขัน# ตอนการส่งมอบ)

เจ้าหน้าทีq CxA ดําเนินการจัดทํารายงานกระบวนการทดสอบและปรับแต่งระบบอาคาร

เจ้าหน้าทีq CxA ทบทวน OPR และ BOD

ขัน# ตอนการติดตัง#

เจ้าหน้าทีq CxA พัฒนาคู่มอื งานระบบวิศวกรรม ประกอบการดําเนินการ สําหรับกระบวนการ Cx

เจ้าของโครงการพัฒนา เจตนารมณ์ของกลุม่ เจ้าของโครงการ (Owner’s Project Requirements : OPR)




Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

กรณีศึกษา ü ปริมาณพลังงานที่ประหยัดได้ต่อปี ü มูลค่าของเงินที่ประหยัดลงได้ต่อปี ü แม้ว่าจะมีค่าใช้จ่ายในการดําเนินการว่าจ้างกลุ่มเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบด้านการทดสอบ และปรับแต่งระบบประกอบอาคาร อย่างไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบเป็นผลประโยชน์และคุณค่าที่ได้รับ ไม่ว่าจะเป็นด้านการประหยัดพลังงาน ความมีประสิทธิภาพของงาน วิศวกรรมระบบประกอบอาคาร ü การลดลงของต้นทุนด้านการดูแลรักษาและซ่อมบํารุง ü การดําเนินการที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการออกแบบ ü จะเห็นถึงความคุ้มค่าต่อการพิ จารณาดําเนินงาน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

26


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

• กระบวนการทดสอบและปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ยิ่งเข้าไปเกี่ยวข้อง ตั้งแต่ระยะเวลาเริ่มต้นมากเท่าใด การดําเนินการตามขอบเขตของงานวิศวกรรมระบบ ประกอบอาคารก็จะปรากฏความถูกต้องแม่นยํา มากยิ่งขึ้นในลักษณะของการแปรผันตาม ่ วชาญ ตัวอย่าง ทีมงาน CxA ทีเ่ ป็นกลุ่มผู้เชีย ด้านงานวิศวกรรมระบบประกอบอาคาร พร้อมกับประสบการณ์ที่มี สามารถจะให้การวินิจฉัย เกี่ยวกับการพิ จารณาคัดเลือกผลิตภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ และการให้ความเชื่อมั่นต่อความสมบูรณ์ของเอกสาร ประกอบการดําเนินการต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่ อสนับสนุน ต่อทิศทางของการตัดสินใจในการออกแบบร่วมกัน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

27




ü Kibert (2013) อาคารเขียวสมรรถนะสูงที่ได้มีการนําเทคโนโลยี ประกอบอาคารสมัยใหม่มาใช้ ทําให้มีความต้องการที่จะปรับตั้งค่า การสอบวัดเทียบค่าเพื่ อให้การใช้งานของวัสดุอุปกรณ์ ประกอบอาคารต่าง ๆ เป็นไปตามเจตนารมณ์ของการออกแบบ ü กระบวนการทดสอบ และปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ü มีบทบาทสําคัญที่จะให้การรับรองระดับคุณภาพของอาคาร ü เป็นไปในระดับสูงที่เกี่ยวข้องกับระบบการจัดการ และระบบของการใช้พลังงานของอาคาร ที่ต้องเป็นไปตามมาตรฐานของการให้การรับรองอาคารเขียว สมรรถนะสูง ü ได้รับการขยายขอบเขตเข้าไปสู่ระบบประกอบอาคารอื่น ๆ ร่วมด้วย อาทิเช่น องค์ประกอบของเปลือกอาคาร และแม้กระทั่งเป็นส่วนของงานตกแต่งภายใน และรวมหัวข้อรายการอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น ประตู ลูกบิดบานประตู บานพั บ หน้าต่าง งานประกอบติดตัง ้ ที่ปรากฏในแบบก่อสร้างและรายการประกอบแบบ


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

รายละเอียดในการทดสอบ และปรับแต่งระบบประกอบอาคาร ü การทดสอบและปรับแต่งอุปกรณ์ ระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ ü การทดสอบและปรับแต่งอุปกรณ์ ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ü การทดสอบและปรับแต่งอุปกรณ์ ตู้สวิทช์บอร์ดไฟฟ้า ü การทดสอบและปรับแต่งอุปกรณ์ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

31


Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ระบบปรับอากาศที่ต่างกัน จําเป็นต้องศึกษา ระบบปรับอากาศ ถึงอุปกรณ์หลัก ที่แตกต่างกัน ระบบปรับอากาศแบบแปรผันสารทําความเย็น VRF สําหรับรองรับอาคาร ในรูปแบบของแนวทางด้านความยั่งยืน เน้นถึงประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงาน พิ จารณาในการดูแลบํารุงรักษา และการปรับแต่งระบบดังกล่าว ่ รวมถึงระบบระบายอากาศ ซึง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

32




การเปรียบเทียบระหว่างระบบผลิตนํ้าเย็นแบบรวมศูนย์ กับ ระบบ VRF

ส่วนระบบ VRF ใช้ระบบนํา้ ยาโดยตรงในการหมุนเวียนถ่ายเท ความร้อนออกจากอาคาร ทัง ้ นี้ระบบเองก็จะต้องใช้ระบบท่อนํ้ายา และการควบคุมที่ซับซ้อนกว่า เนื่องจากระบบจะต้องสามารถควบคุมปริมาณการไหล ของนํ้ายา ไปยัง Evaporator แต่ละตัวได้อย่างอิสระ

การควบคุมปริมาณการไหลของนํ้ายา โดยการใช้ Variable Speed Compressor


การปรับเปลี่ยนระดับการทํางานของคอมเพรสเซอร์ในระบบ VRF

ระบบหลักของเครื่องปรับอากาศระบบนี้ทํางานผ่านอุปกรณ์ ที่เรียกว่า Variable Speed Compressor ทําให้คอมเพรสเซอร์ของระบบนี้ สามารถปรับเปลี่ยนการทํางานเป็นขั้นๆ ตามภาระการทําความเย็นที่ต้องการ




การทํางานร่วมกันระหว่าง CDU 1 UNIT กับ FCU หลาย UNIT ที่มีความหลากหลาย


การดูแลรักษาและซ่อมบํารุง

ระบบ VRF จะมีลักษณะที่คล้ายกับระบบ Split Type มาก

การดูแลรักษาสําหรับระบบควบคุม และอิเล็คทรอนิกส์ อาจจะต้องพึ่ งพาบริษัทผู้ผลิต




Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

ระบบที่ต้องทําการทดสอบการใช้งาน (Commissioning Systems) ü ระบบปรับอากาศ ระบบระบายอากาศ ระบบทําความร้อน และเครื่องทําความเย็น และระบบควบคุมที่เกี่ยวข้อง (HVAC&R System and Associated Controls) ü การควบคุมระบบไฟฟ้าแสงสว่าง (Lighting Controls) ü การควบคุมแสงสว่างจากธรรมชาติ (Daylight Controls) 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

43


ข้อแนะนําตีตาราง (Gridline) กําหนดพื้ นที่ในห้องหรือบริเวณ ที่ต้องการวัดความส่องสว่าง ทุก ๆ 1 ตารางเมตร หรือถ้าพื้ นที่ ใหญ่มาก อาจกําหนดเป็น ทุก ๆ 2 หรือ 5 ตารางเมตรก็ได้ ซึ่งถ้ายิ่งกําหนดจุดวัดมากเท่าใด ความละเอียดก็จะสูงขึ้นตามด้วย รวมทั้งควรกําหนดจุดวัด อยู่ตําแหน่งกลางของพื้ นที่ด้วย



Module

11

กระบวนการทดสอบระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่ ง ยื น

อาจารย์ ดร.ณั ฐ ศิ ษ ฏ์ ใจสอาด

Module 11 กระบวนการทดสอบ ระบบประกอบอาคารเพื่ อความยั่งยืน อาจารย์ ดร. ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

46


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.