Module 15 การก่อสร้างแบบลีน

Page 1

Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

Module 15

การก่อสร้างแบบลีน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาสมา สุทธิพงศ์ สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

1


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

ในโมดูลนี้ จะกล่าวถึง . . . ü แนวคิดแบบลีน ü การก่อสร้างแบบลีน ü การนําการก่อสร้างแบบลีนไปปฏิบัติ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

2


Module 15

ความรู้ ü ü ü ü

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

แนวคิดแบบลีน

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดแบบลีน ระบบการผลิตแบบโตโยต้า แนวคิดแบบลีน วิธีการและเครื่องมือแบบลีน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

3


Module 15

ความเป็นมา

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

แนวคิดแบบลีน

ü การผลิต: แบบงานฝีมือ – แบบจํานวนมาก – แบบลีน ü FORD : MASS PRODUCTION ü TOYOTA : TOYOTA PRODUCTION ü Jim Womack : • The Machine that Changed the World • Lean Thinking

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

4


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

่ วข้องกับแนวคิดแบบลีน นิยามทีเ่ กีย ลีน (LEAN) แนวคิดแบบลีน (LEAN THINKING) การผลิตแบบลีน (LEAN PRODUCTION) การก่อสร้างแบบลีน (LEAN CONSTRUCTION) ü องค์การแบบลีน (LEAN ENTERPRISE)

ü ü ü ü

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

5


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

ระบบการผลิตแบบโตโยต้า วิถีโตโยต้า หมายถึง ปรัชญาการทํางานร่วมกัน ขององค์การ ü การพั ฒนาอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย • ความท้าทาย • ไคเซ็นหรือการพั ฒนาอย่างต่อเนื่อง • เก็นจิ เก็นบุตสึหรือไปดูให้เห็นด้วยตนเอง ü การให้ความนับถือ ประกอบด้วย • การให้ความนับถือ • การทํางานเป็นทีม

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

6


ระบบการผลิตแบบโตโยต้า


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

ระบบการผลิตแบบโตโยต้า ความสูญเปล่าในกระบวนการผลิต 7 ประเภท 1) การผลิตมากเกินไป 2) การรอคอย 3) การขนส่งที่ไม่จําเป็น 4) การมีกระบวนการมากเกินไป 5) การมีสินค้าคงคลังเกินความจําเป็น 6) การเคลื่อนไหวที่ไม่จําเป็น 7) การผลิตของที่ไม่ได้คุณภาพ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

8


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

แนวคิดแบบลีน

หลักการ 5 ประการ 1. คุณค่า 2. กระแสคุณค่า 3. การไหล 4. การดึง 5. การมุ่งสู่ความสมบูรณ์แบบ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

9


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

แนวคิดแบบลีน

ความสูญเปล่า 8 ประการ 1) การผลิตมากเกิน 2) การรอคอย 3) การขนส่งที่ไม่จําเป็น 4) กระบวนการที่มากเกิน 5) สินค้าคงคลังที่มากเกิน 6) การเคลื่อนไหวที่ไม่จําเป็น 7) ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพ 8) การไม่ได้ใช้ความสามารถของบุคลากร 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

10


วิธีการและเครื่องมือแบบลีน ü วิธีการและเครื่องมือเกี่ยวกับคุณค่า :Target value design,Concurrent Engineering ü วิธีการและเครื่องมือเกี่ยวกับกระบวนการและคุณภาพ • การผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just in Time) • การปรับเรียบการผลิต, การวางแผนโดยการดึง, 5s • การจัดการโดยการมอง • การกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ • การตรวจสอบคุณภาพในตัวเอง • การจัดการคุณภาพทั่วองค์การ

ü วิธีการและเครื่องมือเกี่ยวกับการมุ่งสู่ความสมบูรณ์แบบ • วงจร Plan-Do-Check-Act (PDCA) • 5 Why


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

การก่อสร้างแบบลีน ü ü ü ü

ความรู้เบื้องต้นของการก่อสร้างแบบลีน หลักการก่อสร้างแบบลีน วิธีการและเครื่องมือทั่วไปของการก่อสร้างแบบลีน วิธีการและเครื่องมือเฉพาะของการก่อสร้างแบบลีน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

12


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

ความรู้เบื้องต้นของการก่อสร้างแบบลีน การก่อสร้างแบบลีน คือ ü การนําเอาแนวคิดแบบลีนมาปรับใช้ในการก่อสร้าง ü เพื่ อเพิ่ มประสิทธิภาพและผลิตภาพของการก่อสร้าง ü มุ่งเน้นการกําจัดความสูญเปล่า ออกจากกระบวนการก่อสร้าง ü ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ü การมุ่งสู่ความสมบูรณ์แบบ โดยการพั ฒนาอย่างต่อเนื่อง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

13


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

ข้อดีของการก่อสร้างแบบลีน

ü คุณภาพงานก่อสร้างดีขึ้น ü ลดการทํางานซํ้า

ü ความพึ งพอใจของลูกค้าสูงขึ้น ü ลดระยะเวลาโครงการ ü ช่วยปรับปรุงด้านเวลาการส่งมอบ ü ความน่าเชื่อถือของแผน

ü เพิ่ มความน่าเชื่อถือของโครงการ

ü การจัดการความเสี่ยงดีขึ้น

ü ความสามารถในการแข่งขัน ü โครงการสําเร็จตามงบประมาณที่ตั้งไว้ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

14


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

ข้อดีของการก่อสร้างแบบลีน ü ผลิตภาพสูงขึ้น

ü ผลกําไรสูงขึ้น

ü ค่าใช้จ่ายลดลง

ü ความปลอดภัยในการทํางานมากขึ้น ü เพิ่ มแรงจูงใจและความพึ งพอใจในงานของผู้ปฏิบัติงาน ü การจัดระบบการทํางานที่ดี

ü ผลการตอบรับที่ดีต่อการทดลองนําไปใช้ ü ลดความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ü เสริมสร้างการคิดแบบสร้างสรรค์และนวัตกรรม ü เสริมสร้างความสัมพั นธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

15


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

ข้อด้อยของการก่อสร้างแบบลีน ü ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการก่อสร้างแบบลีน และแนวคิดแบบลีน ü ไม่ตระหนักถึงปัญหาของโครงการก่อสร้าง ทั้งด้านระยะเวลาโครงการ คุณภาพ งบประมาณ และความไม่มีประสิทธิภาพในการผลิต ü ท้าทายต่อการเผยแพร่วัฒนธรรมแบบลีน ü การต่อต้านเมื่อเริม ่ นํามาใช้ ü มีค่าใช้จ่ายด้านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้อง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

16


ลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมก่อสร้าง

หัวข้อ ระยะเวลา/วงจรชีวิต ลักษณะการผลิต สถานที่ทํางาน วัสดุประกอบ การจัดหาวัตถุดิบ

อุตสาหกรรมก่อสร้าง ระยะสั้น ลักษณะพิ เศษเฉพาะโครงการ เปลี่ยนแปลง ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ตามแผนงาน

อุตสาหกรรมการผลิต ระยะยาว ลักษณะซํ้าๆกัน ถาวรอยู่กับที่ เป็นมาตรฐานเดียวกัน ตามคําสั่งซื้อ

ข้อกําหนดด้านความปลอดภัย

เข้มงวดน้อยกว่า

เข้มงวดมาก

ลักษณะแรงงาน

ชั่วคราว ความมั่นคงในงานตํ่า

มีความมั่นคงในงาน

ค่าจ้างแรงงาน

เปลี่ยนแปลงตามความสามารถความรู้ ความชํานาญ ประสบการณ์ และ เจ้าของงาน

ได้รับเงินเดือนอย่างเป็นระบบ

ส่งผลต่อผลิตภาพมาก

ส่งผลน้อยกว่า

สภาพแวดล้อมการทํางาน


ลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมก่อสร้าง หัวข้อ

อุตสาหกรรมก่อสร้าง

อุตสาหกรรมการผลิต

การประกอบและการผลิต

ประกอบและผลิตกับที่ ณ สถานที่ก่อสร้าง

ประกอบและผลิตในโรงงาน

เทคโนโลยี

ใช้เครื่องจักรระบบอัตโนมัติน้อย และไม่นิยมใช้

ใช้เครื่องจักรระบบอัตโนมัติ โดยเทคโนโลยีขั้นสูง

คุณภาพ

ขึ้นอยู่กับข้อกําหนดของงาน การแก้ไขงานเป็นเรื่องปกติ

ถูกควบคุมโดยกระบวนการ หลีกเลี่ยงการแก้ไขงาน

ความเกี่ยวข้อง ของเจ้าของ

มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก

มีส่วนเกี่ยวข้องน้อยกว่า

วัฒนธรรมองค์กร

ไม่สามารถระบุได้ คนงานไม่มีความรู้เกี่ยวกับ ระบุชัดเจนเพื่ อให้บุคลากร ปรัชญาการบริหารงาน มีสํานึกถึงปรัชญาขององค์การ ขององค์กร

การบังคับตามข้อกฎหมาย หรือข้อกําหนด กฎระเบียบ ต่าง ๆ

การก่อสร้างมีข้อบังคับทางกฎหมายต่าง ๆ มากมาย นอกจากนี้การแก้ปัญหา ต้องการการตรวจสอบ การออกแบบและงานในขั้นตอนต่าง ๆ และอนุมัติน้อยกว่า ในโครงการก่อสร้าง จําเป็นต้องได้รับ การตรวจสอบและอนุมัติ จากผู้มีอํานาจก่อน


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

หลักการก่อสร้างแบบลีน • หลักการ : คุณค่า กระแสคุณค่า การไหล การดึง และการมุ่งความสมบูรณ์แบบ • สิ่งที่ต้องพิ จารณาเพื่ อกําจัดออกไป : ความสูญเปล่า ภาระงานที่มากเกินไป และความไม่สมํ่าเสมอของงาน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

19


หลักการของการก่อสร้างแบบลีน การไม่ได้ใช้ ความสามารถ ของบุคลากร

ผลผลิต ที่ไม่ได้ คุณภาพ

การผลิต เกิน ความจําเป็น สินค้าคลัง ที่มากไป

ความ สูญเปล่า (Waste)

การเคลื่อนไหว ที่ไม่จําเป็น

การรอคอย

การขนถ่าย ที่ไม่จําเป็น กระบวนการ ที่มากไป


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

วิธีการและเครื่องมือของการก่อสร้างแบบลีน ได้รับการพั ฒนาขึ้นใน 3 รูปแบบ 1. การปรับใช้วิธีการและเครื่องมือ จากการผลิตแบบลีนมาใช้ในการก่อสร้าง 2. การขยายขอบเขตของวิธีการ และเครื่องมือการผลิตแบบลีน 3. การพั ฒนาวิธีการและเครื่องมือ ที่เหมาะสําหรับบริบทที่มีลักษณะเฉพาะ ของการก่อสร้าง ทั้งที่มีอยู่เดิมและเหมาะสม กับแนวคิดแบบลีน และที่พัฒนาขึ้นใหม่ 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

21


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

วิธีการและเครื่องมือทั่วไป

1) การกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ (Quality Function Deployment : QFD) 2) การผลิตตรงตามเวลาพอดี (Just in Time : JIT ) การตรวจสอบในตัวเอง (jidoka) 3) การจัดการที่เห็นได้ด้วยตา (Visual management) 4) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Kaizen)

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

22


ตัวอย่าง การกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ


ตัวอย่าง การจัดการด้วยการมองเห็น


ตัวอย่าง การป้องกันความผิดพลาด


ตัวอย่าง Error proof system


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

วิธีการและเครื่องมือเฉพาะ 1) Last Planner System 2) การสร้างแบบจําลองข้อมูลอาคาร (Building Information Model)

3) การประสานทางพิ กัด และการก่อสร้างโดยใช้ระบบชิ้นส่วนสําเร็จรูป

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

27


ตัวอย่าง Last Planner


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

การนําแนวคิดการก่อสร้างแบบลีนไปสู่การปฏิบัติ • การนําการก่อสร้างแบบลีนไปปฏิบัติ • การก่อสร้างแบบลีนและการพั ฒนาอย่างยั่งยืน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

29


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

การนําการก่อสร้างแบบลีนไปปฏิบัติ ü การนํามาใช้ในองค์การก่อสร้าง • การเป็นองค์การแบบลีน ü การนํามาใช้ในโครงการก่อสร้าง • การใช้การจัดจ้างโครงการ โดยใช้การจัดจ้างโครงการแบบลีน • การทําสัญญาเชิงสัมพั นธ์ • การออกแบบและก่อสร้างแบบลีน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

30


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

การนําแนวคิดแบบลีนไปสู่การปฏิบัติ ในองค์การก่อสร้าง ü การนําเครื่องมือแบบลีนแบบใดแบบหนึ่ง มาใช้เพี ยงอย่างเดียวโดยไม่ได้เชื่อมโยง กับหลักการแบบลีน ü การนําหลักการของแนวคิดและเครื่องมือแบบลีน มาประยุกต์ใช้ในสถานที่ก่อสร้างอย่างเป็นระบบ ü การประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนในสถานที่ก่อสร้าง และ องค์การ เป็นการเปลี่ยนแปลงทั้งองค์การ

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

31


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

การเป็นองค์การแบบลีน ü เพิ่ มความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพของกระบวนการ ü เพิ่ มความพึ งพอใจให้แก่ลูกค้า ü ลดค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ü เพิ่ มความพึ งพอใจในงาน และเพิ่ มขวัญกําลังใจแก่บุคลากร ü เน้นกระบวนการโดยให้ความสําคัญ แก่บุคลากรและทีมงาน ü สนับสนุนกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

32


การเป็นองค์การแบบลีน การจัดการแบบลีน

การจัดการทั่วไป

กระบวนการที่เรียบง่ายและมองเห็นได้ด้วยตา

กระบวนการซับซ้อน

บริหารจัดการด้วยสิ่งที่ตามองเห็น

บริหารจัดการจากรายงาน

วางแผนโดยระบบดึง (Pull System)

วางแผนโดยระบบผลัก (Push System) เน้นการเร่งงานที่สร้างคุณค่า หรือมีความสําคัญ

เน้นการกําจัดหรือลดงานที่ไม่สร้างคุณค่า ระบบผลิตแบบชิน ้ เดียว (Single Item Flow)

ระบบผลิตจํานวนมาก (Batch Production)

เน้นกระบวนการที่ถูกต้อง เพราะย่อมสร้างผลงานที่ถูกต้อง

เน้นการได้ผลงาน

คุณภาพตั้งแต่เริม ่ ต้น

คุณภาพจากการตรวจสอบ

ถามคําถาม เพื่ อช่วยให้บุคลากรสามารถตอบปัญหาได้เอง

ตอบคําถามของบุคลากร


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

แนวทางในการเปลี่ยนแปลงองค์การ ไปสู่องค์การแบบลีน ü กําหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ระยะยาว ปรับปรุงกระบวนการทํางาน เป็นแบบลีน พั ฒนาความสามารถของบุคลากรให้เหมาะสม จัดหาระบบการจัดการที่เหมาะสม มุ่งมั่นตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลง

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

34


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

การนําการก่อสร้างแบบลีนมาใช้ในโครงการ จัดจ้างโครงการแบบลีน ทําสัญญาเชิงสัมพั นธ์ ออกแบบและก่อสร้างแบบลีน • รูปแบบของข้อตกลงแบบบูรณาการ I F o A

IFOA

• สมาชิกหลักในทีมมีสัญญาระหว่างกัน

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

35


การก่อสร้างแบบลีนและการก่อสร้างอย่างยั่งยืน การพั ฒนาอย่างต่อเนื่อง

เศรษฐกิจ

สิ่งแวดล้อม

สังคม


Module 15

การก่ อ สร้ า งแบบลี น ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภาสมา สุ ท ธิ พ งศ์

Module 15

การก่อสร้างแบบลีน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาสมา สุทธิพงศ์ สาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

31410 การจั ด การงานก่ อ สร้ า งอย่ า งยั่ ง ยื น

37


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.