[pdf 31401] หน่วยที่ 10 งานสุขาภิบาล

Page 1

หน่วยที่ 10 งานสุขาภิบาล

อาจารย์ จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1


หน่วยที่ 10 งานสุขาภิบาล 10.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบสุขาภิบาล 10.2 การตรวจสอบก่อนการก่อสร้าง 10.3 การตรวจสอบขณะทําการก่อสร้าง

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2


ความรู้ทั่วไป

เกี่ยวกับระบบสุขาภิบาล

ความหมายและขอบเขตของระบบสุขาภิบาล ประเภทของท่อที่ใช้ในงานสุขาภิบาล การต่อท่อ และการยึดท่อ ความรู้ประกอบการตรวจงานสุขาภิบาล

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3


ความหมายและขอบเขต

ของระบบสุขาภิบาล

• เกี่ยวข้องกับการเดินท่อ Piping or Plumbing Work • งานติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง • ดําเนินการโดยผู้รับเหมาช่วง (Plumbing Subcontractor) • การดําเนินการต้องวางแผนการทํางานควบคู่ไปกับเฟส ในงานก่อสร้าง เพื่ อป้องการเกิดปัญหาในภายหลัง

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4


ขอบเขต

ของระบบสุขาภิบาล • ระบบนํา้ ดี (Cold Water Supply System) • ระบบนํ้าดื่ม (Drinking Water Sub-system) • ระบบนํ้าเพื่ อการชําระ (Service Water Sub-system) • ระบบนํ้าเสียและนํ้าโสโครก (Waste Water And Soil System) • ระบบอากาศสําหรับท่อนํ้าเสียและระบบนํ้าโสโครก (Vent System) • ระบบระบายนํ้าฝน (Storm Drainage System)

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5


ขอบเขต

ของระบบสุขาภิบาล • ระบบบําบัดนํ้าเสีย (Waste water treatment system) • ระบบนํ้าร้อน (Hot water system) • ระบบป้องกันเพลิงไหม้ (Fire protection system) • ระบบปรับคุณภาพนํ้า (Water purification system) • ระบบท่อไอนํ้า (Steam system) • ระบบท่อแก๊ส (Gas System)

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6


ขอบเขต

ของระบบสุขาภิบาล • งานก่ อสร้า งที่ ต้อ งดํ าเนิน การควบคู่ จะเป็ น การศึ กษาตรวจสอบแนวการเดิน ท่อ การฝัง ปลอกร้อยท่อ (Sleeve) ในพื้ น -คาน การทํา ช่องเปิด (Block out) ในผนัง หรือ การเผื่อ งานเดินท่อในช่อง Shaft • การยึดการแขวนท่อ การติดตั้งวาล์วควบคุม แรงดั น มาตรการวั ด อั ต ราการไหล เกจวั ด แสดงความดันหรืออุณหภูมิ

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7


ขอบข่าย ในการตรวจสอบ งานสุขาภิบาล

• อนุมัติการใช้วัสดุอุปกรณ์ • ตรวจสอบการติดตั้ง • ทําการทดสอบตามเกณฑ์มาตรฐาน หรือ ตามแบบรูปรายการ • ตรวจสอบการจัดเตรียมเครื่องมือ และอุปกรณ์อํานวยความสะดวก • พิ จารณามาตรฐานงาน เช่น วสท. ,หนังสือมาตรฐานการเดินท่อ ภายในอาคาร, มอก. ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 8


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ตัวอย่างแบบก่อสร้างระบบสุขาภิบาล


ประเภทของท่อ

ที่ใช้ในงานสุขาภิบาล

• ท่อเหล็กกล้าชนิดอาบสังกะสี

(Galvanized Steel Pipe) ใช้ในงานเดินท่อนํ้าเย็น (นํ้าดีในอาคาร) ท่อนํ้าทิง ้ ภายในอาคาร และงานท่ออากาศ

• ท่อเหล็กหล่อ

(Cast Iron Pipe) ท่อขนาดเล็กอาบยางมะตอย เพื่อป้องกันสนิม ใช้ในงานท่อระบายนํ้าโสโครก

• ท่อทองแดง

(Copper Pipe) ใช้ในงานท่อส่งนํ้าร้อนในอาคาร

• ท่อกระเบื้องใยหิน

(Asbestos Cement Pipe) ใช้ในงานท่อระบายนํ้าทิ้ง

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 0


ประเภทของท่อ

ที่ใช้ในงานสุขาภิบาล

• ท่อคอนกรีต

(Concrete Pipe) ใช้ในงานท่อระบายนํ้าภายนอกอาคาร

• ท่อพี วีซี

(Polyvinyl Chloride Pipe) ใช้เป็นท่อนํ้าดีหรือระบายนํ้าทิ้ง

• ท่อพี บี

(Polybutylene Pipe) ใช้เป็นท่อส่งนํ้าประปา

• ท่อพี อี

(Polyethylene Pipe) ใช้สําหรับส่งนํ้าเย็นและท่อในงานเกษตรกรรม

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 1


การต่อท่อ

และการยึดท่อ

• การต่อแบบอัดแน่น โดยใช้นาํ้ ยาประสาน • การต่อแบบอัดแน่น โดยใช้แหวนยางหรือแหวนวัตถุอื่น ที่มีคุณภาพคล้ายคลึงกัน • การต่อโดยใช้ปากระฆังยาด้วยซีเมนต์ • การต่อแบบพอกด้วยวัสดุตัวเชื่อม • การต่อแบบใช้เกลียว • การต่อด้วยการเชื่อมหรือบัดกรี ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 2


ความรู้ประกอบ

การตรวจงานสุขาภิบาล

• • • • •

ขอบเขตของงานก่อสร้าง ประเภทของท่อ การยึดต่อท่อ สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบรูปงานสุขาภิบาล ความรู้พื้นฐานทางชลศาสตร์

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 3


ความรู้ประกอบ

การตรวจงานสุขาภิบาล

• • • • •

ขอบเขตของงานก่อสร้าง ประเภทของท่อ การยึดต่อท่อ สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบรูปงานสุขาภิบาล ความรู้พื้นฐานทางชลศาสตร์

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 4


การตรวจสอบก่อนการก่อสร้าง 1) การศึกษาและตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2) การตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์งานสุขาภิบาล

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 5


การศึ กษาและตรวจสอบ

เอกสารทีเ่ กีย ่ วข้อง

โดยทั่วไปเอกสารจะประกอบไปด้วย

• แบบแผนภาพในแนวดิ่งของระบบต่าง ๆ (Riser Diagram) • แบบแผนภาพในแนวราบแสดงการเดินท่อและอุปกรณ์ (Schematic Diagram) • แบบแปลนการเดินท่อนํ้าชั้นต่าง ๆ (Piping Layout) • ภาพไอโซเมตริกแสดงรายละเอียดการเดินท่อ (Isometric Diagram) • แบบรายละเอียดแสดงการติดตั้งอุปกรณ์ระบบสุขาภิบาลต่าง ๆ • แบบระบบบําบัดนํ้าเสีย • ผังท่อระบายนํ้าและบ่อพักรอบอาคาร • รายการประกอบแบบ ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 6


การตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์

งานสุขาภิบาล

• เป็นการตรวจสอบคุณภาพของวัสดุอุปกรณ์ ที่ระบุในแบบรูป รายการ รายละเอียด (DWG. & Spec.) อาทิเช่น  ชนิดของท่อ  ระดับชั้นคุณภาพ (Class) ของท่อ  ข้อต่อ  ขนาด  ความหนา  นํ้าหนัก (kg/m.) • เป็นการตรวจสอบตามมาตรฐานเทียบกับมาตรฐาน มอก. (มาตรฐานผลิตภัณฑ์อต ุ สาหกรรม) ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 7


การตรวจสอบขณะทําการก่อสร้าง 1) การตรวจสอบเฉพาะระบบ 2) การตรวจสอบทั่วไป 3) การตรวจสอบขั้นสุดท้ายเพื่ อการส่งมอบงาน

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 8


การตรวจสอบเฉพาะระบบ • จํ า เป็ น ต้ อ ง ตรวจสอบควบคู่ ไ ปในขั้ น ตอนการก่ อ สร้ า ง โดยฉพาะการเดินท่อในอาคาร ที่เกี่ยวข้องกับงานโครงสร้าง และส่วนประกอบของอาคาร เช่น การทํา Block-out/Sleeve • ต้องเข้าใจ เรื่องการจัดวางตํา แหน่ง ถัง นํ้า ดีใ ต้ดิน (Under Ground Water Supply Tank) มีรายละเอียดทั้งถัง คสล. หรือ ถัง Fiber Glass เป็นต้น • รายละเอียดการส่งระบบนํ้าประปาในอาคาร ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 9


การตรวจสอบเฉพาะระบบ

การตรวจสอบงานสุขาภิบาล ระบบประปา และสุขภัณฑ์ • การตรวจสอบเครื่องสูบนํ้า และถังเก็บนํ้า ให้เป็นไปตามแบบรูป รายการ หรือคําแนะนําผู้ผลิต • การตรวจสอบวิธีการติดตั้ง การจัดวางตําแหน่งของถังเก็บนํ้า • การตรวจสอบแนวการเดินท่อ การป้องกันท่อ และการจัดวางปลอกร้อยท่อ • การวางแนวท่อนํ้าดีและนํ้าเสียแยกออกจากกัน มีระยะห่างไม่น้อยกว่า 1 ฟุ ต (การจัดวางต่างระดับ) ควรมีรอยต่อจากการหักเลี้ยวให้น้อยที่สุด กําหนดตามมาตรฐานการเดินท่อ ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 0


การตรวจสอบเฉพาะระบบ

การตรวจสอบงานสุขาภิบาล ระบบประปา และสุขภัณฑ์ • ระบบท่อจ่ายนํ้าในอาคารสูงจะมีแรงดันในเส้นท่อมาก ต้องติดตั้ง Air Chamber / Shock Absorber ที่ปลายสุดของท่อแยกจ่ายนํ้า • การตรวจสอบวัสดุข้อต่อและอุปกรณ์ เป็นไปตามมาตรฐาน • การต่อท่อแยก ต้องมี Elbow Swing Joint (Shrinkage or Extended Condition)

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 1


การตรวจสอบเฉพาะระบบ

การตรวจสอบงานสุขาภิบาล ระบบประปา และสุขภัณฑ์ • การติดตั้ง Gate Valve / Globe Valve เพื่อควบคุมการไหลของนํ้าในแต่ละชั้น • ข้อต่อบรรจบท่อ (Union) จะต้องไม่ฝังในพื้นหรือคานหรือผนัง จะต้องถอดได้เมื่อมีการตัดต่อท่อภายใน • Gate Valve Flow Record Meter ต้องสะดวกในการตรวจสอบและการเข้าถึง • การตรวจสอบข้อต่อแบบเกลียว จะต้องอัดแน่น ใช้การพันเกลียวด้วยเทปลอนพันเกลียว ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 2


การตรวจสอบเฉพาะระบบ

การตรวจสอบงานสุขาภิบาล ระบบประปา และสุขภัณฑ์ • ขันเกลียวจะต้องแน่น และจะต้องป้องกันสนิมโดยเฉพาะท่อเหล็ก • ทดสอบระบบการจ่ายนํ้าแต่ละส่วน เช่น ระบบนํ้าดีทดสอบที่แรงดัน 100 psi 30 นาที ท่อนํ้าร้อนเพิ่มแรงดันเป็น 150 psi ตรวจสอบหาการรั่วซึม การทดสอบในจุดที่ฝังผนังจะต้องแยกทดสอบก่อน เฉพาะตําแหน่งก่อนงานทั้งหมดแล้วเสร็จ • การเดินท่อประปา เดินในแนวตรง ขนานแนวอาคาร แนวท่อจะต้องได้ระดับทั้งทางดิ่งทางตรง ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 3


การตรวจสอบเฉพาะระบบ

การตรวจสอบระบบนํา้ เสีย นํา้ โสโครก • ระบบท่อนํ้าเสียและนํ้าโสครก ต้องแยกกัน • การใช้ขอ ้ ต่อแบบ 3 ทาง Y หรือข้อต่อ Tee • การกําหนดความลาดเอียง ท่อขนาด 3” ลงมากําหนด slope 1:50 ท่อขนาด 4” ขึ้นไป slope 1:100 • ตําแหน่งของ FCO (Floor Clean out) @ 15 m. or 30 m. up to size of soil pipe • การตรวจสอบแนวการเดินท่อคอนกรีต หรือ ท่อซีเมนต์ใยหินนอกอาคาร การจัดวาง Manhole ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 4


การตรวจสอบเฉพาะระบบ

การตรวจสอบระบบนํา้ เสีย นํา้ โสโครก • การตรวจสอบการรั่วซึม โดยการทดสอบด้วยนํ้าหรือแรงดันอากาศ • ช่องระบายนํ้าจากพื้น (FCO) จะต้องทําจากเหล็กหล่อ หรือ ทองเหลือง หรือ โลหะชุบโครเมี่ยม เป็นไปตามมาตรฐาน ของข้อกําหนด • นํ้าทิง ้ จากห้องอาหาร โรงครัว จะต้องมีการติดตั้งบ่อ หรือ ถังดักไขมัน ก่อน ระบายลงท่อรวม • การกําหนดตําแหน่งของ FCO หรือ FD ในขั้นตอนการก่อสร้าง • การทดสอบหารอยรั่วซึม จะใช้แรงดันอากาศที่ 5 psi ความดันไม่ลดลงใน 15 นาที ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 5


การตรวจสอบเฉพาะระบบ การทดสอบระบบท่ออากาศ

• เพื่อให้อากาศช่วยในการไหลของนํ้าเสีย ทําหน้าที่ระบายก๊าซในเส้นท่อออกสู่ด้านนอก • ตรวจสอบการติดตั้ง Vent Pipe โดยเฉพาะปลายล่างของท่อ ต้องไม่ให้นํ้าเสียถูกชะไหลเข้าสู่ Vent Pipe • การต่อปลายท่ออากาศให้สูงกว่าระดับหลังคา 1 ฟุ ต จะต้องป้องกันนํ้าฝนไหลย้อน หรือ แมลง โดยการงอปลายโค้ง • การต่อท่ออากาศเข้าไปในท่อระบายนํ้าแนวระดับ ให้ต่อจากด้านบนท่อระบายนั้น ๆ โดยเอียงทํามุมจากแนวดิง ่ ไม่เกิน 45 องศา ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 6


การตรวจสอบเฉพาะระบบ ระบบป้องกันเพลิงไหม้

• มีทั้งระบบใช้สายสูบฉีดนํ้าจากท่อยืน หรือ ระบบ Sprinkler • ระบบประกอบด้วย ประตูนํ้า เครื่องตรวจจับเพลิงไหม้ ระบบควบคุม Sprinkler หัวจ่ายนํ้าดับเพลิง สายสูบ • ท่อ และ อุปกรณ์จะใช้ สีแดง • มีการตรวจสอบแนวการเดินท่อ ท่อแยกย่อย ท่อเมนหลัก • การตรวจสอบประสิทธิภาพของหัวสปริงเกลอร์ โดยเฉพาะที่อุณหภูมิปกติ Ambient Temperature • ตรวจสอบการยึดแขวนท่อ ใส่ Sway bar etc. • ตรวจสอบเกี่ยวกับแรงดันในเส้นท่อดับเพลิง • ตรวจสอบการรั่วซึม ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 7


การตรวจสอบทั่วไป • ตรวจสอบขนาด ตําแหน่งของท่อ ตรงตามแบบรูป รายการหรือไม่ • การติดตั้งตาม Shop DWG. มีการผูกเหล็กก่อนการเทพื้นหรือคาน • ขนาดของ Sleeve / Block out รวมความหนาของฉนวนหรือข้อต่อ • แนวการเดินท่อจริงผ่าน Sleeve / Block out ไม่สูญเสียระดับ Slope ของท่อ • ตรวจสอบแนวการเดินท่อและขนาดท่อ ตามตาม Shop DWG. • การใช้ข้อต่อที่เหมาะสมในการหักเลี้ยว หักมุม เปลี่ยนระดับ • แนวการเดินท่อขนานและตั้งฉากกับอาคาร • การยึดแขวนท่อ การรองรับท่อ ใช้วัสดุและวิธีการที่ระบุใน Spec. ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 8


การตรวจสอบทั่วไป • การตรวจสอบความลาดเอียงของเส้นท่อ • การเดินท่อต้องเกาะกับตัวอาคาร เพื่อป้องกันการทรุดตัวของดิน ทําให้ท่อเกิดการแตกร้าว หลีกไม่ได้ต้องใช้ข้อต่อ Flexible Connector • การ Plug ท่อระหว่างการก่อสร้าง เพื่อมิให้ท่ออุดตัน • การบดอัดดินให้มีความแน่นตัว โดยการอัดเป็นชั้นฝั่งกลบตลอดความยาวท่อ

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 9


การตรวจสอบขั้นสุดท้าย

เพื่ อการส่งมอบงาน

• การตรวจสอบแนวการเดินท่อ การยึดท่อ การแขวนท่อ รอยต่อ การหักโค้งงอ การหุ้มฉนวนท่อนํ้าร้อน การติดตั้งวาล์ว และ FCO • Combination& Integrate กับระบบต่าง ๆ ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ • การตรวจเรื่องความสะอาดของเครื่องสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ • การตรวจสอบการใช้งานระบบ การรั่วซึม การสูญเสียแรงดัน • การระบุคําแนะนําหรือคู่มือ สําหรับการใช้งานและการบํารุงรักษา ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 0


หน่วยที่ 10 งานสุขาภิบาล

อาจารย์ จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 0 ง า น สุ ข า ภิ บ า ล ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 1


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.