หน่วยที่ 01
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการควบคุม และการตรวจงานก่อสร้าง
รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ บุณย์เพิ่ ม สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1
หน่วยที่ 01 ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับการควบคุมและการตรวจงานก่อสร้าง 1.1 การควบคุมงานก่อสร้าง 1.2 การตรวจงานก่อสร้าง 1.3 การประสานงาน ในการควบคุมและการตรวจงานก่อสร้าง
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2
การควบคุมงานก่อสร้าง 1) ความหมายและขัน ้ ตอน ของการควบคุมงานก่อสร้าง 2) คุณสมบัติของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง 3) หลักปฏิบต ั ิและหน้าที่ ของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3
การควบคุมงานก่อสร้าง
• การที่จะได้มาซึ่งคุณภาพของงานก่อสร้าง จะต้องมีกระบวนการตรวจสอบการดําเนินการทุกขั้นตอน กระบวนการนั้น คือ การควบคุมงานก่อสร้าง • การควบคุมงานก่อสร้างเป็นกระบวนการ ที่ต้องดําเนินการเพื่ อควบคุมคุณภาพของงาน เพื่ อ ทํ า ให้ เ จ้ า ของโครงการมั่ น ใจได้ ว่ า จะได้ ง านก่ อ สร้ า ง ที่มีคุณภาพตามต้องการ ได้ใช้ประโยชน์ของสิ่ งก่อสร้าง ตามวัตถุประสงค์ มีความคุ้มค่าในการลงทุน และผู้ใช้ประโยชน์จากสิ่งก่อสร้างนั้นมีความปลอดภัย • การควบคุมงานก่อสร้างที่ดําเนินการตามวิธีการ และหลักวิชาการที่ดี จะเป็นหลักประกันได้ว่าผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะได้ผลงานที่ดี มีคุณภาพตามที่ตนเองต้องการ และผู้ที่ใช้ประโยชน์สิ่งก่อสร้างเหล่านัน ้ มีความปลอดภัย รวมทัง ้ มีความปลอดภัยในระหว่างทําการก่อสร้าง ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4
ความหมายของการควบคุมงานก่อสร้าง การควบคุมดูแล
การทํางานก่อสร้างให้ถูกต้อง ตาม แบบรูปและรายการละเอียด ตาม ข้อกําหนดต่างๆ ตาม หลักการทางวิชาการที่ดี
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5
ผู้ควบคุมงาน เป็นตัวแทนของ 2 ฝ่าย ต่างฝ่ายต่างก็ต้องรักษาผลประโยชน์ให้กับฝ่ายของตน คือ ฝ่ายเจ้าของโครงการ • สามารถสั่งระงับการทํางานของผูท ้ ํางานก่อสร้างได้ หากเห็นว่าการปฏิบัติงานนัน ้ ไม่ถูกต้องตามแบบรูปและ รายการละเอียด หรือไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการที่ดี • ผู้ควบคุมงานจะไม่มีหน้าที่ในการอนุมัติ หรือ สั่งแก้ไขปัญหาต่าง ๆ โดยพลการ โดยไม่ผ่านการพิจารณาของผู้จัดการโครงการหรือผู้มี อํานาจสั่งการในกรณีท่เี ป็นงานของเอกชน หรือโดยไม่ ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจการจ้างในงาน ของส่วนราชการ ฝ่ายผู้ทําการก่อสร้าง • ควบคุมการทํางานของช่างและคนงาน • ควบคุมการทํางานของผูร ้ บ ั เหมาช่วง ถ้าโครงการนั้นมีงานบางส่วนใช้บริการของผู้รับเหมาช่วง ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6
ผู้ทําหน้าที่ควบคุมงานก่อสร้าง ให้กับเจ้าของโครงการ
• หน่วยงานผู้ออกแบบ • หน่วยงานที่ปรึกษา หรือ หน่วยงานที่ให้บริการ ในการจัดการโครงการ • หน่วยงานราชการ
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7
ขั้นตอน
ของ การควบคุมงานก่อสร้าง 1) การควบคุมงานขัน ้ ตอน ก่อน ทําการก่อสร้าง 2) การควบคุมงานขั้นตอน ระหว่าง ทําการก่อสร้าง 3) การควบคุมงานขั้นตอน หลัง ทําการก่อสร้าง
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 8
การควบคุมงาน
ขั้นตอน ก่อนทําการก่อสร้าง
• การเตรียมพื้ นที่ก่อสร้าง
การกําจัดวัชพืช การปรับระดับพื้นที่ การตัดโค่นต้นไม้ การถมดิน ตัดดินตามแบบรูป และรายการที่วิศวกรกําหนด
• การวางผังสิ่งก่อสร้างชั่วคราว
ให้ถูกต้องตามแบบที่วิศวกรได้อนุมัติเอาไว้แล้ว เช่น การสร้างโรงงาน บ้านพักคนงาน สํานักงานชั่วคราว การทํารั้ว การจัดการเรื่องสาธารณูปโภค โรงเก็บวัสดุ ลานกองวัสดุ ถนนภายในชั่วคราว เป็นต้น
• งานปักผัง
ต้องแสดงขอบเขตของงาน การหาตําแหน่งหลุมฐานราก และการตรวจสอบระดับต่าง ๆ ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูป
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 9
การควบคุมงาน
ขั้นตอน ระหว่างทําการก่อสร้าง
การควบคุมงานก่อสร้างด้านเทคนิค เพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามแบบรูปและรายการ และ ควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามสัญญา มี วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่ อการควบคุมงานให้ดําเนินไปโดยเรียบร้อย ตามแบบรูปที่กําหนดทุกประการ เพื่อความเป็นธรรมทั้งสองฝ่าย 2) เพื่ อการแก้ไขงานที่เกิดความผิดพลาด และมีอุปสรรคตั้งแต่เนิน ่ ๆ โดยงานไม่หยุดชะงักและเสียเวลา นอกจากการควบคุมงาน ผู้ควบคุมงานมีหน้าที่ ดังนี้ 1) เขียนรายงานต่าง ๆ 2) ตรวจสอบแบบขยายจริง ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 0
การควบคุมงาน
ขั้นตอน หลังทําการก่อสร้าง
• การตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้อง ของงานครั้งสุดท้าย • การทดสอบงานระบบต่าง ๆ ของงานก่อสร้าง โดยเฉพาะการทํางานของเครื่องจักรอุปกรณ์ เตรียมความพร้อมในการศึกษารายละเอียด ของเครื่องจักรอุปกรณ์ท่ต ี ้องทําการทดสอบ ควรศึกษาจากคู่มือการติดตั้ง การทดสอบ และการบํารุงรักษาที่โรงงานผู้ผลิตส่งมาให้ ต้องให้ผู้ทําการก่อสร้างจัดส่งแบบฟอร์ม การทดสอบมาให้ตรวจสอบเพื่ออนุมัติแต่เนิน ่ ๆ ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 1
การควบคุมงาน
ขั้นตอน หลังทําการก่อสร้าง
• ทําการทดสอบและปรับแต่งการทํางานของงานระบบ แต่ละระบบให้สองคล้องกับแนวคิดการออกแบบ ของผู้ออกแบบ • เตรียมคู่มือการดูแลและบํารุงรักษา งานระบบและเครื่องจักรอุปกรณ์เหล่านั้น ให้กับเจ้าของโครงการ • ตรวจสอบความถูกต้องของแบบสร้างจริง ที่ผู้ทําการก่อสร้างจะต้องส่งมอบ ให้เจ้าของโครงการ
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 2
คุณสมบัติพื้นฐาน
ของผูค ้ วบคุมงานก่อสร้าง ทั้ง 1) 2) 3)
ของฝ่ายเจ้าของโครงการ และ ผู้ทําการก่อสร้าง มีความรอบรู้ในหลักวิชาการที่ดี รู้บทบาทและหน้าที่ของตนเอง มีความตั้งใจ ความสนใจในการศึกษางาน
ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ของหน่วยงานผู้ทําการก่อสร้าง 1) มีการตัดสินใจที่แน่วแน่ 2) มีความสามารถในการสาธิตงาน เป็นตัวอย่างได้ดี 3) มีความตั้งใจ ความสนใจ และยอมรับความคิดเห็นของลูกน้อง ช่าง และ คนงาน ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 3
คุณสมบัติ
ของ ผูค ้ วบคุมงานก่อสร้าง
1) มีคุณวุฒิหรือพื้ นฐานการศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง 2) มีประสบการณ์ในการทํางาน 3) มีความประพฤติท่ด ี ี และปฏิบัติตามจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด • มีความซื่อสัตย์ตอ ่ วิชาชีพและหน้าที่ • ไม่ใช้ความรู้ในทางที่ผิด • ไม่ใช้อารมณ์ส่ังการในการปฏิบัติงาน • ให้ความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย • ไม่แทรกแซงงานภายในของผู้ทําการก่อสร้าง • มีความรับผิดชอบ • มีมนุษยสัมพันธ์ทด ี่ ี 4) มีความสมบูรณ์ท้ง ั ทางร่างกายและจิตใจ ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 4
หลักปฏิบัติและหน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงานก่อสร้าง
ลักษณะของโครงการแบ่ง 2 ประเภท • เจ้าของโครงการเป็นหน่วยงานเอกชน • เจ้าของโครงการเป็นส่วนราชการ
❝ . . . งานราชการจะต้องยึดถือระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 เป็นหลักปฏิบัติ . . . ❞
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 5
หลักปฏิบัติ
ในการควบคุมงานก่อสร้าง
1) ศึกษาแบบรูปและรายการ ข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสัญญาอย่างละเอียด 2) ศึกษาค่าความคลาดเคลื่อน ที่ยอมให้ได้อย่างละเอียด 3) ตรวจสอบคุณสมบัติและคุณภาพของวัสดุ ที่ใช้ในการก่อสร้าง ว่าตรงตามตัวอย่างที่ได้รับอนุมต ั ิหรือไม่
ถ้าไม่ตรงตามทีอ ่ นุมัติจะต้องสั่งเปลีย ่ นโดยทันที
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 6
หน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงานก่อสร้าง
1) ควบคุมดูแลให้การก่อสร้าง ให้ดําเนินไปตามแบบรูปและรายการ ข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง และถูกต้องตามหลักวิชาการ 2) ควบคุมดูแลการใช้วัสดุทุกประเภท ให้ถูกต้องตามที่ได้รับอนุมัตจ ิ ากผู้ท่ม ี ีอาํ นาจสั่งการ 3) เป็นผู้ประสานงาน ระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในโครงการที่รับผิดชอบ 4) ทํารายงานที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ 5) ทํารายงานความก้าวหน้าของโครงการ ในรูปของแผนงานแสดงความก้าวหน้าของโครงการ
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 7
หน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงานก่อสร้าง
6) ทํารายงานสรุปผลความก้าวหน้าของงาน แต่ละเดือนหรือแต่ละงวด 7) รวบรวมผลการทดสอบคุณภาพวัสดุทางวิศวกรรม ที่ผู้ทําการก่อสร้างเสนอ หากพบว่าคุณภาพตํา่ กว่าที่กําหนด ต้องรายงานต่อวิศวกรโครงการทันที 8) ตรวจสอบผลงานทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ ในแต่ละงวดตามที่กําหนดในสัญญา ก่อนจะมีการตรวจรับงาน 9) รวบรวมปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เสนอต่อผู้เกี่ยวข้องและผู้มีอาํ นาจสั่งการ 10) ตรวจสอบเรื่องความปลอดภัย และสุขลักษณะในหน่วยงาน ่ าจจะเกิดขึ้น รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทีอ ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 8
หน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงาน
ตามระเบียบ ฯ พัสดุ
1) ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานที่ที่กําหนดไว้ในสัญญา หรือ ที่ตกลงให้ทํางานจ้างนั้น ๆ ทุกวัน ให้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญาทุกประการ 2) ในกรณีท่ป ี รากฏว่าแบบรูปรายการละเอียด หรือ ข้อกําหนดในสัญญามีข้อความขัดกัน หรือ เป็นที่คาดหมายได้ว่า ถึงแม้ว่า งานนั้นจะได้เป็นไปตามแบบรูปรายการ ละเอียด และข้อกําหนดในสัญญา แต่เมื่อสําเร็จแล้ว จะไม่ม่น ั คงแข็งแรง หรือ ไม่เป็นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือ ไม่ปลอดภัย ให้สั่งพักงานนัน ่ น ้ ไว้กอ แล้วรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างโดยเร็ว ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 9
หน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงาน
ตามระเบียบ ฯ พัสดุ
3) จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผูร ้ ับจ้าง และ เหตุการณ์แวดล้อมเป็นรายวัน พร้อมทั้งบันทึกผลการปฏิบัติงาน หรือการหยุดงาน และสาเหตุที่มีการหยุดงานอย่างน้อย 2 ฉบับ เพื่อรายงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบ ทุกสัปดาห์ และเก็บรักษาไว้ เพื่อมอบให้แก่เจ้าหน้าที่พัสดุ เมื่อเสร็จงานแต่ละงวด โดยถือว่าเป็นเอกสารสําคัญของทางราชการ เพื่อประกอบการตรวจสอบของผู้มีหน้าที่ 4) ในวันกําหนดลงมือทําการของผูร ้ บ ั จ้างตามสัญญา และ ในวันถึงกําหนดส่งมอบงานแต่ละงวด ให้รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ว่าเป็นไปตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบ ภายใน 3 วันทําการ นับแต่วันถึงกําหนดนั้น ๆ ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 0
หน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงาน
โครงการของเอกชน
1) ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผูท ้ ําการก่อสร้าง ให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามแบบรูปรายการ และสัญญาทุกประการ 2) ตรวจสอบ และอนุมัติแบบขยายจริง (Shop Drawing) ที่ผู้ทําการก่อสร้างจัดทําขึ้นเพื่อใช้ในการก่อสร้างโดย ประสานงานกับผู้ออกแบบงานแต่ละระบบ 3) ตรวจสอบ และอนุมัติวัสดุท่น ี ํามาใช้ในการก่อสร้าง ให้ได้คุณภาพตามทีร่ ะบุไว้ในแบบรูป และรายการก่อสร้าง
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 1
หน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงาน
โครงการของเอกชน
4) ตรวจสอบ และสั่งการ ให้ผู้ทําการก่อสร้างส่งตัวอย่างวัสดุท่ร ี ะบุ ให้ทําการทดสอบก่อนนํามาใช้ในการก่อสร้าง และ ส่งผลให้ผู้ออกแบบพิจารณาต่อไป 5) ตรวจสอบความพร้อม ของผู้ทําการก่อสร้าง ในการดําเนินงานก่อสร้าง ด้านกําลังคน เครื่องมือ เครื่องจักร และปริมาณวัสดุ ที่จะต้องใช้ในการก่อสร้าง เพื่อให้การก่อสร้างเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ตามแผนงานของโครงการ ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 2
หน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงาน
โครงการของเอกชน
่ งความปลอดภัย 6) ตรวจสอบ และสั่งการเรือ ในการปฏิบัติงานของผู้ทาํ การก่อสร้าง 7) ตรวจสอบผลงานและมูลค่าของงานที่แล้วเสร็จ ของผู้รับจ้างในแต่ละงวด เพื่อเสนอเจ้าของโครงการ สําหรับการจ่ายเงินแต่ละงวด
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 3
หน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงาน
โครงการของเอกชน
8) ทําบันทึกรายงานการก่อสร้างประจําวัน เพื่อไว้เป็นหลักฐาน และไว้ประเมินผลการทํางาน ของผู้ทําการก่อสร้าง ซึ่งประกอบด้วย • รายละเอียดการทํางานแต่ละวันของผู้ทําการก่อสร้าง • จํานวนคนงานของผู้ทาํ การก่อสร้างแต่ละสาขาอาชีพ • จํานวนเครื่องมือ และเครื่องจักร ที่ใช้ในแต่ละวัน • จํานวนวัสดุ ที่เข้ามายังหน่วยงานก่อสร้างประจําวัน • ปัญหาและการแก้ไขที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน • รายงานด้านเอกสารต่าง ๆ ที่อนุมัติให้ผู้ทําการก่อสร้างดําเนินการ หรือ ผู้ทําการก่อสร้างเสนอขออนุมต ั ิ 9) สรุปเป็นรายงานประจํางวด เพื่อประกอบการรับรองการจ่ายเงินงวด ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 4
หน้าที่
ของ ผูค ้ วบคุมงาน
โครงการของเอกชน
10) จัดให้มีการประชุมระหว่างผูค ้ วบคุมงาน ผู้ทําการก่อสร้าง ผู้ออกแบบ และตัวแทนเจ้าของโครงการ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการก่อสร้าง และ เพื่อเร่งรัดงานก่อสร้างของผู้ทําการก่อสร้าง ให้เป็นไปตามระยะเวลาของโครงการที่กําหนดไว้ 11) จัดทํารายงานประจําเดือน เพื่อสรุปผลให้เจ้าของโครงการทราบ • ผลงานก่อสร้างประจําเดือน • รายงานการประชุมในระหว่างเดือน • แผนงานก่อสร้างที่ทําได้เปรียบเทียบกับแผนงาน ที่วางไว้ของแต่ละเดือน • ภาพถ่ายแสดงงานก่อสร้างในระหว่างเดือน • การส่งงวดงานที่ผ่านมา • รายงานเอกสารที่ขออนุมต ั ิทผ ี่ า่ นมา • สรุปการดําเนินงาน ปัญหา และการแก้ไข ในระหว่างเดือนนัน ้ ๆ
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 5
การตรวจงานก่อสร้าง 1) ความหมายและขัน ้ ตอน ของการตรวจงานก่อสร้าง 2) การตรวจงานก่อสร้างของส่วนราชการ
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 6
การตรวจงานก่อสร้าง
่ ะต้องปฏิบัติ • กระบวนการทีจ ควบคู่ไปกับการควบคุมงาน งานก่อสร้างจะดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุประสิทธิผลที่ต้องการ จะต้องมีการปฏิบัติครบถ้วนทั้งสองกระบวนการ • ผู้ท่ท ี ําหน้าที่ในการตรวจงานนี้ จะเป็นตัวแทนของฝ่ายเจ้าของโครงการโดยตรง และจะต้องดูแลและรักษาผลประโยชน์ ของเจ้าของเพียงอย่างเดียว • ผู้ตรวจงานมีอํานาจสั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม หรือ ตัดทอนงานจ้างได้ ตามที่เห็นสมควรและตามหลักวิชาการที่ดี • การตรวจงานเป็นกระบวนการที่มีความสําคัญ สําหรับเจ้าของโครงการ ในแง่ของการรักษาผลประโยชน์ของเจ้าของ ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 7
การตรวจงานก่อสร้าง
• มีความสําคัญต่อโครงการก่อสร้าง ในแง่ของการควบคุมดูแลการปฏิบัติงาน ของผู้ทําการก่อสร้างให้ถูกต้อง ตามแบบรูป รายการข้อกําหนด และเงื่อนไข ในสัญญา รวมทั้งถูกต้องตามหลักวิชาการที่ดี เพื่อให้ได้ผลงานที่ดีมีคุณภาพ • มีความสําคัญต่อผู้ทําการก่อสร้าง คือ ถ้างานก่อสร้างงวดงานใดได้ผ่านการพิจารณา ตรวจสอบของผู้มีหน้าที่ในการตรวจงาน ย่อมหมายถึงผู้ทําการก่อสร้างจะได้รับ การจ่ายค่างานงวดนั้น
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 8
ความหมาย
ของ การตรวจงานก่อสร้าง
การตรวจงานก่อสร้าง คือ การตรวจผลงานทั้งทางคุณภาพและปริมาณ เพื่อการรับงานเป็นครั้งคราวหรือตามงวดงาน ตามจังหวะหรือขั้นตอนที่สําคัญๆ การตรวจงานจะไม่ทําการตรวจตลอดเวลา แต่จะใช้ผลจากรายงานของผู้ควบคุมงาน ซึ่งจะจัดทํารายงานเป็นประจําทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน และทุกงวดงานเป็นเกณฑ์ ❝ . . . การควบคุม งานเป็ นงานที่ต้อ งรับ ผิด ชอบ ดูแล ตรวจสอบ การทํางานของผู้ทําการก่อสร้างอย่างใกล้ชิด ส่ วนการตรวจงานนั้น จะใช้ผลการรายงานจากการควบคุม งาน ตามช่วงระยะเวลาที่กําหนดไว้ และจะต้องพิ จารณาแก้ปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นในระหว่างการก่อสร้างให้ลุล่วงไป . . . ❞ ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 9
ขั้นตอน
ของ การตรวจงานก่อสร้าง
1) การตรวจงานระหว่างการก่อสร้าง การตรวจทุกขั้นตอนตามช่วงระยะเวลาต่าง ๆ ของงาน ตรวจงานย่อย ๆ จุดสําคัญเพื่อการแก้ปัญหา ก่อนที่งานจะต้องหยุดชะงักหรือต้องแก้ไข 2) การตรวจงานตามงวดงาน เมื่องานแล้วเสร็จตามงวดงานที่กําหนดไว้ จะต้องมีการตรวจงานอีกครั้ง เพื่อการรับงาน
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 0
การตรวจงานก่อสร้าง ของ ส่วนราชการ
คณะกรรมการตรวจการจ้าง
ประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน และ คณะกรรมการ อย่างน้อย 2 คน
้ ไป โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึน ควรแต่งตั้งผู้ชํานาญการ หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิท่เี กี่ยวข้องกับงานที่ จ้างเข้าร่วมเป็นกรรมการด้วย
ในกรณีการตรวจการจ้างงานก่อสร้าง ควรจะเป็น สถาปนิก หรือ วิศวกร
่ ูแลการก่อสร้างแทนหน่วยงานเจ้าของโครงการ ทําหน้าทีด ่ ค ตามระเบียบ ฯ ดังกล่าว ตามหน้าทีผ ู้ วบคุมงาน เป็นผู้ทเี่ ห็นการทํางานของผู้ทาํ การก่อสร้างตลอดเวลา อยู่ประจําสถานที่ก่อสร้างทุกวัน เขียนรายงานผลงาน ผลการทดสอบต่าง ๆ จึงควรเป็นผู้สรุปผลงาน ความก้าวหน้า ความสมบูรณ์เรียบร้อย เพื่อเป็นหลักฐานในการตรวจรับของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 1
หน้าที่
ของ คณะกรรมการตรวจการจ้าง
(1) ตรวจสอบรายงานการปฏิบัติงานของผูร ้ บ ั จ้าง และเหตุการณ์แวดล้อมที่ผู้ควบคุมงานรายงาน โดยตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญาทุกสัปดาห์ (2) การดําเนินการตาม (1) ในกรณีมีข้อสงสัยหรือมีกรณีท่เี ห็นว่า ตามหลักวิชาการช่างไม่น่าจะเป็นไปได้ ให้ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ที่กําหนดไว้ในสัญญา โดยให้มีอํานาจสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้ตามทีเ่ ห็นสมควร และ ตามหลักวิชาการช่าง เพื่อให้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญา ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 2
หน้าที่
ของ คณะกรรมการตรวจการจ้าง
(3) โดยปกติให้ตรวจผลงานที่ผู้รบ ั จ้างส่งมอบภายใน 3 วันทําการ นับแต่วันที่ประธานกรรมการได้รับทราบการส่งมอบงาน และให้ทําการตรวจรับให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สุด (4) เมื่อตรวจเห็นว่าเป็นการถูกต้องครบถ้วน เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและข้อกําหนดในสัญญาแล้ว ให้ถือว่าผู้รับจ้างส่งมอบงานครบถ้วน ตั้งแต่วันที่ผู้รับจ้างส่งงานจ้างนั้น และให้ทําใบรับรองผลการปฏิบัติงานทั้งหมด หรือ เฉพาะงวด แล้วแต่กรณี เพื่อทําการเบิกจ่ายเงินและรายงานให้หวั หน้าส่วนราชการทราบ (5) ในกรณีที่กรรมการตรวจการจ้างบางคนไม่ยอมรับงาน โดยทําความเห็นแย้งไว้ ให้เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาสั่งการ ถ้าหัวหน้าส่วนราชการสั่งการให้ตรวจรับงานจ้างนั้นไว้ จึงจะดําเนินการตาม (4) ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 3
หน้าที่ที่คณะกรรมการ
ตรวจการจ้างงานก่อสร้าง
1) การศึกษาแบบรูป รายการละเอียด สัญญา และข้อกําหนดต่าง ๆ • วันแรกของการทํางานในสัญญา • จํานวนงวดงาน • ปริมาณงานของแต่ละงวด 2) การอ่านรายงานของผู้ควบคุมงาน 3) การตรวจอย่างไม่เป็นทางการ 4) การประชุม เพื่อแก้ไขข้อขัดแย้ง ระหว่างแบบรูป และรายการละเอียด หรือกับข้อเท็จจริง 5) การประชุมเลือกวัสดุ 6) การพิ จารณาเพื่ อการต่ออายุสัญญาจ้าง ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 4
การประสานงาน
ในการควบคุมและการตรวจงานก่อสร้าง 1) 2) 3) 4) 5)
ผู้ประสานงาน การประชุมเพื่อการประสานงาน การเตรียมการประชุมเพื่อการประสานงาน การเตรียมเอกสารที่ใช้ในการประสานงาน การเพิ่มประสิทธิภาพในการประสานงาน
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 5
ผู้ประสานงาน 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)
เจ้าของโครงการ ผู้ทําการก่อสร้าง หรือผู้รับเหมาช่วง สถาปนิก และวิศวกรผู้ออกแบบ เจ้าหน้าที่ของหน่วยราชการ ช่างและคนงาน ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้าง
❝ . . . ผู้ทําหน้าทีป ่ ระสานงานควรเป็นผู้ทม ี่ ีความเข้าใจในบทบาท หน้าทีใ่ นการประสานงาน รวมทั้งเข้าใจกระบวนการประชุม และสามารถใช้เอกสารและแบบฟอร์มต่างๆ เพื่อการประสานงานได้เป็นอย่างดี . . . ❞ ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 6
การประชุม
เพื่ อการประสานงาน
1) 2) 3) 4)
การประชุมเพื่อรายงาน การเพื่อการตัดสินใจ การประชุมเพื่อการเข้าใจร่วมกัน การประชุมเพื่อร่วมกันคิดค้น
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 7
การเตรียมการประชุม
เพื่ อการประสานงาน 1) 2) 3) 4)
งานเอกสาร การดําเนินงาน การประชุม หลังการประชุม
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 8
การเพิ่ มประสิทธิภาพ
ในการประสานงาน
❝ . . . การประสานงานจะมีประสิทธิภาพได้น้ัน
จําเป็นต้องใช้การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ . . . ❞
การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ในการประสานงาน
1) ทําให้เกิดการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทํางานพร้อมกันได้ 2) สามารถใช้ข้อมูลต่าง ๆ ร่วมกัน ้ ทําให้องค์กรได้ประโยชน์มากขึน 3) สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น การใช้ข้อมูลร่วมกัน ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ร่วมกัน 4) ลดค่าใช้จ่ายในการลงทุน สามารถเลือกขนาดของเครือข่ายให้เหมาะสมกับขนาดหน่วยงาน ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 9
ประโยชน์
ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในการประสานงาน
1) ประหยัดค่าใช้จ่าย • ในการพิมพ์และการแจกจ่ายเอกสารต่าง ๆ • ในการรักษาดูแลเอกสาร และใช้พื้นที่ในการเก็บรักษาน้อยกว่ามาก 2) ประหยัดเวลา ในการดําเนินการ 3) ทําให้การสื่อสารและการประสานงานระหว่างกลุ่มดีข้น ึ ลดอุปสรรคในการประสานงาน และ ทําให้ทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องสามารถติดตามความก้าวหน้า ของงานก่อสร้าง ได้รับทราบปัญหาและอุปสรรคในการทํางาน 4) ผู้เกี่ยวข้องและผู้รับผิดชอบในโครงการทั้งหมด สามารถตรวจดูและให้ขอ ้ มูลแผนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การประชุมประสานงาน สามารถทําได้โดยผ่านทางเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเช่นกัน ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 0
หน่วยที่ 01
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการควบคุม และการตรวจงานก่อสร้าง
รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ บุณย์เพิ่ ม สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ห น่ ว ย ที่ 0 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 1