[pdf 31401] หน่วยที่ 05 งานเหล็กเสริมคอนกรีต

Page 1

หน่วยที่ 05 งานเหล็กเสริมคอนกรีต รองศาสตราจารย์กมลวรรณ ลิมปนาทร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาสมา สุทธิพงศ์

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1


หน่วยที่ 05 งานเหล็กเสริมคอนกรีต 5.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเสริมเหล็ก 5.2 การตรวจสอบเหล็กเสริมก่อนการติดตั้ง 5.3 การตรวจสอบการติดตั้งเหล็กเสริม

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2


ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเสริมเหล็ก

1) ความรู้เกี่ยวกับเหล็กเสริม 2) พฤติกรรมของโครงสร้างกับการเสริมเหล็ก

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3


ความรู้เกี่ยวกับเหล็กเสริม • ความสําคัญของเหล็กเสริม • ประเภทของเหล็กเสริม

1) เหล็กเส้นกลม มอก. 20-2543 2) เหล็กข้ออ้อย มอก.24-2548 3) ลวดเหล็กสําหรับเสริมในคอนกรีตอัดแรง มอก.420-2540 4) เหล็กรูปพรรณ

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4


คุณสมบัติของเหล็กเสริม 1) โมดูลัสยืดหยุ่น (Modulus of Elasticity : Es) Es = 2.04 × 106 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร 2) กําลังรับแรงดึง (Tensile Strength: fs) 3) กําลังจุดคราก (Yield Strength: fY) 4) ชนิดและขนาดของเหล็กเสริม

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5


ตารางคุณสมบัติทางกลของเหล็กเสริม ชนิดของเหล็กเสริม

ขนาด (มม.)

เหล็กเส้นกลม (RB)

6,9,12,15,19 22,25,28,34

เหล็กข้ออ้อย (DB)

10,12,16, 20,22,25, 28,32,52

ชั้นคุณภาพ

กําลังจุดคราก 2 (ก.ก./ซ.ม. )

กําลังดึงประลัย 2 (ก.ก./ซ.ม. )

ความยืด (%)

SR 24

2,400

3,900

21

SD 30

3,000

4,900

17

SD 40

4,000

5,700

15

SD 50

5,000

6,300

13


พฤติกรรมของโครงสร้าง กับการเสริมเหล็ก

• ตําแหน่งการเสริมเหล็กในโครงสร้าง ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของโครงสร้างเมื่อรับนํ้าหนัก • ตรวจสอบตําแหน่งของเหล็กเสริมให้ถูกต้อง ก่อนเทคอนกรีตโดยเฉพาะเหล็กเสริมพิ เศษ • ตรวจสอบอย่างละเอียดรอบคอบตามแบบขยายจริง • ตรวจสอบคุณภาพเหล็กเสริม • การยึดเกาะของเหล็กเสริมกับคอนกรีตปลายเหล็กเสริม เท่ากับ 40 x เส้นผ่านศู นย์กลางเหล็ก ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7




การตรวจสอบเหล็กเสริม ก่อนการติดตั้ง 1) การตรวจสอบเหล็กเสริมเบื้องต้น 2) การตัดและการดัดเหล็กเสริม

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 0


การตรวจสอบเหล็กเสริมเบื้องต้น • • • • • •

การตรวจสอบเหล็กเสริมเบื้องต้น การเก็บรักษาและการจัดการ ชนิดของเหล็กเสริมและชั้นคุณภาพ คุณภาพของเหล็กเสริม ขนาดของเหล็กเสริม ความสะอาด

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 1



การตรวจสอบคุณภาพเหล็กเสริม ด้วยสายตา 1) รอยแตกปริ หรือ แตกกลาง ตามเส้นผ่านศู นย์กลางของเหล็กเสริม 2) การทดสอบการดัดโค้งเย็น 3) กรณีที่ขนส่งเหล็กพั บกลางเมื่อยืดออก เป็นเส้นตรงแล้วมีการหักหรือไม่

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 3


การตัดและการดัดเหล็กเสริม • • • •

ทําตามแบบก่อสร้าง ไม่ส่งผลต่อการรับแรง มีข้อจํากัดตามมาตรฐานที่กําหนด ใช้การดัดเย็นที่อุณหภูมิปกติ ค่าคลาดเคลื่อนที่ยอมให้

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 4



การตรวจสอบการติดตั้งเหล็กเสริม 1) 2) 3) 4)

การจัดวางและระยะห่างระหว่างเหล็กเสริม การต่อเหล็กเสริม เหล็กเสริมตามขวางและระยะหุ้มคอนกรีต การติดตั้งเหล็กเสริมบริเวณโครงสร้างต่อเนื่อง

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 6


การจัดวางและระยะห่าง ระหว่างเหล็กเสริม  ทําความสะอาดเหล็กเสริม  วางเป็นเส้นตรงและมีระยะห่างตรงตามแบบรูป  ระยะห่างจากผิวคอนกรีตที่เทเสร็จแล้ว ตามระยะที่ออกแบบไว้  ตรงตามตําแหน่งที่ระบุไว้ในแบบรูป โดยจะยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ไม่เกินระยะที่กําหนดไว้  ระยะห่างระหว่างเหล็กเสริม  ยึดติดตรึงแน่นกับที่ด้วยลวดผูกเหล็ก  ไม่เล็กกว่า เบอร์ 18  ไม่ควรใช้วิธีเชื่อมแต้ม ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 7


การต่อเหล็กเสริม • ตําแหน่งของการต่อเหล็กเสริม • วิธก ี ารต่อเหล็ก • ระยะทาบต่อของเหล็กเสริม

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 8


ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 9


การต่อเหล็กเสริมด้วยวิธีทาบ 1) การต่อเหล็กเสริมรับแรงดึง 2) การต่อเหล็กเสริมรับแรงอัด

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 0


เหล็กเสริมตามขวางและระยะหุม ้ คอนกรีต เหล็กเสริมตามขวางหรือเหล็กปลอก 1) เสาปลอกเดี่ยว 2) เสาปลอกเกลียว 3) คาน

ระยะหุ้มคอนกรีต ระยะที่วัดจากผิวคอนกรีตถึงผิวนอกสุด ของเหล็กเสริม ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 1


การติดตั้งเหล็กเสริม

บริเวณโครงสร้างต่อเนือ ่ ง

• เหล็กเสริมจะต้องจัดให้อยู่ในตําแหน่งที่ทํางาน ก่อนหลังตามที่คํานวณไว้ • ถ้าไม่ได้แสดงชัดในแบบรูป ควรถือหลัก ดังนี้ 1) องค์อาคารใดเป็นตัวรับ 2) องค์อาคารใดเป็นตัวฝาก 3) จัดเหล็กเสริมตามนั้น ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 2





หน่วยที่ 05 งานเหล็กเสริมคอนกรีต รองศาสตราจารย์กมลวรรณ ลิมปนาทร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาสมา สุทธิพงศ์

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 5 ง า น เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.