[pdf 31401] หน่วยที่ 03 งานดินและงานฐานราก

Page 1

หน่วยที่ 03 งานดินและงานรากฐาน

อาจารย์ ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1


งานวางผังอาคาร

การตรวจสอบงานวางผังอาคาร  เป็นงานสําคัญ  ละเลยไม่ได้ X ข้อผิดพลาด • แก้ไขยาก • แก้ไขไม่ได้ • ทําความเสียหาย

┖ เจ้าของโครงการ ┖ ผู้ทาํ การก่อสร้าง ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2


งานวางผังอาคาร

การตรวจสอบงานวางผังอาคาร  เป็นงานที่ผู้ควบคุมงานของฝ่ายเจ้าของ โครงการควรเข้าไปดําเนินการควบคุมกับ ฝ่ายผู้ทําการก่อสร้าง

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3


งานขุดและงานถมดิน งานขุดดินในงานก่อสร้าง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1) งานขุดดินเพื่ อปรับระดับพื้ นที่ 2) งานขุดดินเพื่ องานก่อสร้างฐานราก หรือ โครงสร้างใต้ดิน

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4


งานขุดและงานถมดิน

งานขุดดินในงานก่อสร้าง • งานขุดดินฐานรากถ้าหลุมฐานรากไม่ลึกมาก อาจจะไม่ต้องมีการป้องกันดินพั ง • ส่ ว นฐานรากที่ ลึ ก มาก ฐานรากที่ มี พื้ นที่ ทํางานจํากัด หรืออยู่ประชิดพื้ นที่ของอาคาร อื่ น จํ า เป็ น ที่ จ ะต้ อ งมี ก ารป้ อ งกั น ดิ น พั งที่ เหมาะสมกับโครงสร้างและสภาพพื้ นที่ ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5


งานขุดและงานถมดิน

การถมดิน • ผู้ควบคุมงานต้องศึ กษาและทําความเข้าใจ ลักษณะการทํางาน เพื่ อการตรวจสอบงาน ที่ถูกต้องตามลักษณะของงาน

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6


งานเสาเข็มคอนกรีตหล่อสําเร็จรูป เสาเข็มคอนกรีตหล่อสําเร็จรูป มีอยู่ 2 ประเภท คือ 1) แบบธรรมดา 2) แบบอัดแรง ❝ เสาเข็มคอนกรีตแบบอัดแรง เป็นที่นิยม มากกว่า เสาเข็มประเภทอื่น ❞

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7


งานเสาเข็มคอนกรีตหล่อสําเร็จรูป เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง แบ่งเป็น 1) แบบหน้าตัดตัน 2) แบบหน้าตัดกลวง ❝ การปฏิบัติงานในการตอกเสาเข็มแต่ละ ประเภทมีขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติที่ แตกต่างกัน ❞

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 8


งานเสาเข็มคอนกรีตหล่อสําเร็จรูป ❝ ผู้ ค วบคุ ม งานจะต้ อ งเข้ า ใจหลั ก การ และ วิธีการในการปฏิบัติงานที่ถูก ต้องทุก ขั้นตอน เพื่ อการตรวจสอบงานที่ถูกต้อง ❞

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 9


งานเสาเข็มคอนกรีตหล่อสําเร็จรูป

Simplified Load Paths of Piles

http://www.piletec h.c o.nz/ima ges /HowTheyWork.gif

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 0


งานขุดและงานถมดิน

เสาเข็มคอนกรีตประเภทหล่อในที่ • เป็นเสาเข็มขนาดใหญ่ • ใช้กับการก่อสร้างอาคารสูง หรือ • การก่อสร้างที่จะต้องป้องกันความเสี ยหาย ที่อาจจะเกิดกับอาคารข้างเคียง

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 1


เทคนิคของการทํางานมีอยู่หลายวิธี 1) วิศวกรผู้ออกแบบต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม กับงานและสภาพพื้ นที่ 2) ผู้ควบคุมงานต้องเข้าใจวิธีการทํางาน และ จะต้องตรวจสอบอย่างใกล้ชิดและรอบคอบใน แต่ละขั้นตอน

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 2


h t t p s :/ / s -me d i a -c a c he -a k0 .p i n i mg .c o m/ or i g in a l s/ 5 c /2 7 / a 0 /5 c 2 7 a 0 9 c 1 ce 1 2 e 3 2 3 a 4 6 6 4 4 1 7 2 5 f 2 d f f .j p g


งานทดสอบเสาเข็ม

วิศวกรผู้ออกแบบ • กําหนดให้มีการทดสอบเสาเข็มที่ใช้ • รับนํ้าหนักได้ตามสมมติฐานที่กําหนดไว้ • เลือกใช้ขั้นตอนและวิธีการทดสอบ ตามความเหมาะสมของงาน • พิ จารณาผลการทดสอบ ผู้ควบคุมงาน • มีความรู้ในกระบวนการทดสอบ ที่เกี่ยวข้องกับงาน ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 4


งานวางผั ง อาคารเป็ น งานที่ ผู้ ค วบคุ ม ก่ อ สร้ า งมั ก จะละเลย มิ ไ ด้ เ ข้ า ไป ตรวจสอบอย่างใกล้ชิดตั้งแต่เริม ่ ต้น เพราะถือว่ามีแบบรูปผังบริเวณกําหนด

ถ้าการวางผังอาคารผิดพลาดจึง เป็นเรื่องที่อยู่ ในความรับผิดชอบของผู้ทําการก่อสร้างนั้นเอง

ไว้แน่นอนอยู่ แล้ว


บางกรณีการวางผังบริเวณผิดพลาดอันเกิดจากฝ่ายเจ้าของงาน ก็ยังมี ป รากฏอยู่เ สมอ เนื่ องจากความเร่ง รี บของการทํา แบบรู ป

การที่มิได้สํารวจเนื้อที่ดินให้ละเอียดอย่างถี่ถ้วนโดยเฉพาะกับงาน เอกสารที่ ดิน ยั งไม่ ชั ดเจนพอ เช่ น เอกสารประเภท สค.1 หรื อ นส.3 หรื อ การนํ า เอกสารโฉนดที่ ดิ น หลายแปลงมารวมกั น เพื่ อ ปลู ก สร้ า ง อาคารขนาดใหญ่ เป็นต้น


ความผิดพลาดดังกรณีเหล่านี้ฝ่ายเจ้าของงานย่อมต้องรับผิดชอบ

การตรวจสอบงานวางผั ง อาคารจึ ง เป็ น งานที่ ผู้ ค วบคุ ม ฝ่า ย เจ้าของงาน ควรได้เข้าไปตรวจสอบควบคู่กับ ฝ่ายผู้รับจ้าง ถ้าพบข้ อผิ ดพลาดจะได้ แ ก้ไ ขได้ทันที ก่อนที่จ ะเริ่มงานตอกเข็ มหรื อวางผั ง อาคาร


การตรวจสอบผังบริเวณ และผังอาคาร

• การตรวจสอบผังบริเวณ • การตรวจสอบผังอาคาร • การตรวจสอบแนวฉาก ระหว่างแนวเสาทางตั้ง และแนวเสาทางนอน

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 8


จุดสําคัญ

ในการตรวจสอบผังบริเวณ และผังอาคาร

1) ระยะห่ า งของแนวศู นย์ ก ลางเสาทั้ ง ทาง แนวตั้งและแนวนอน ถูกต้องตรงตามแบบรูป หรือแบบขยายจริงที่ผู้ทําการก่อสร้างเสนอ

2) การตั้ ง ฉากซึ่ ง กั น และกั น ของมุ ม อาคาร หรือแนวเสาทางตั้งและแนวเสาทางนอน “ . . . การตรวจสอบที่ปฏิบัติได้ง่าย คือ ขึงเชือก ทแยงมุมทั้งสองระหว่างเสาต้น มุม ของอาคารหรือ ส่ ว นใดส่ ว นหนึ่ ง เส้ น หรื อ แนวทแยงมุ ม ทั้ ง สอง จะต้ อ งเท่ า กั น ถ้ า ไม่ เ ท่ า กั น ต้ อ งให้ ป รั บ แก้ ไ ขให้ ถูกต้อง . . . “

3) ระยะห่างจากแนวเสาต้นริมถึงเส้ นกึ่งกลาง แนวถนนทั้งทางแนวตั้งและแนวนอน ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 9


การตรวจสอบแนวฉาก ระหว่างแนวเสาทางตั้ง และแนวเสาทางนอน


จุดสําคัญ

ในการตรวจสอบผังบริเวณ และผังอาคาร

4) ให้ ผู้ รั บ จ้ า งจั ด ทํ า เส้ น แบ่ ง พื้ นที่ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เส้ นบั ง คั บ ทั้ ง แนวตั้ ง และแนวน อนให้ กั บ ผั ง อาคารที่จะปลูกสร้าง เพื่ อขอบเขตของอาคารจะ ถูกกําหนดลงในตําแหน่งที่ถูกต้องตามแบบรูป 5) กรณี กํ า หนดตํ า แหน่ ง ของอาคารที่ จ ะปลู ก สร้างเพิ่ มลงบนพื้ นที่ที่มีอาคารเดิมสร้างอยู่แล้ว ควรตรวจสอบตําแหน่งของอาคารเดิมด้วย 6) ตรวจสอบเนื้อ ที่ดินและตํา แหน่ง ของอาคาร เดิม ให้ถู กต้อ งก่อ น เป็ น แนวปฏิบั ติที่จ ะช่ว ยลด ปัญหาข้อผิดพลาดของงานวางผังอาคาร ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 1


การตรวจสอบระยะส่วนสูง ขององค์อาคาร “ . . . ตามแบบรูป ของ แปลนพื้ นอาคารชั้ น แรก โดยปกติจ ะกําหนดระดับความสู ง ±0.00เมตร ไว้ ที่ ตํ า แหน่ ง ใดตํ า แหน่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง อาจเรี ย กชื่ อ ว่ า ระดับอ้างอิง หมายถึง ระดับส่ วนสู งใดๆ ขององค์ อาคาร จะวัดจากระดับอ้างอิงที่กําหนดไว้นี้เป็ นเกณฑ์ ตําแหน่งที่กําหนดให้เป็ นระดับอ้างอิงจึงเป็ นข้อมูล ที่ สําคัญ ทั้งผู้ควบคุมงานและผู้ทําการก่อสร้างจะต้อง มีความเข้าใจถึงตําแหน่งของระดับอ้างอิงนี้ตรงกัน . . .” ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 2


การตรวจสอบระยะส่วนสูง ขององค์อาคาร “ . . . เช่น . . . กําหนดให้วัดที่จุดกึ่งกลาง ถนนสาธารณะด้ า นหน้ า ของที่ ดิ น ที่ จ ะปลู ก สร้ า ง อาคาร หรื อ ระดั บ ทางเท้ า ของถนนที่ ข นานกั บ เขต ของที่ดิน บางกรณีในแบบรูปมิได้ระบุระดับอ้างอิงไว้ . . . จึง เป็ นหน้าที่ข องเจ้าของงานจะต้อ ง กํ า หนดให้ ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนการชี้ ส ถานที่ ห รื อ ก่ อ นวั น ประกวดราคาก่อสร้าง . . .”

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 3


การวัดระดับก้นหลุมฐานเสาตอม่อกับระดับไม้ผัง ระดับของฐานเสาจะเท่ากัน ทุกต้น ในบางพื้ น ที่ที่มีระดับดิน เดิม สู งตํ่าไม่เ ท่ากัน จะเลือกตําแหน่งเสาที่มี ระดั บ ดิ น เดิ ม ตํ่ า ที่ สุ ด เป็ น ระดั บ ของฐานเสา การตรวจสอบระดั บ ของฐานเสาตอม่ อ อาจเลื อ กใช้ ตรวจสอบด้วยกล้องระดับ ด้วยวิธีเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิงจะปฏิบัติได้รวดเร็ว และถูกต้องแม่นยํา


การตรวจสอบด้านความสูง ขององค์อาคาร การตรวจสอบด้า นความสู ง ขององค์ อาคารให้ ถู ก ต้ อ งต รง ตา มแ บบ ก่ อสร้ า ง ใน ขั้ น ต้ น จะ ตรวจสอบ 1) ความสูงขององค์อาคารส่วนที่อยู่ใต้ระดับดิน ได้แก่ ความสูงของเสาตอม่อ หรือส่วนของ องค์อาคารที่อยู่ใต้ระดับดิน

2) ความสูงขององค์อาคารจากระดับอ้างอิงถึง ระดับพื้ นอาคารชั้นแรก ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 5



งานป้องกันดินพั ง ของหลุมฐานราก กรณี ไม่ ส ามารถเลื อ กใช้ วิ ธีขุ ด แบบบ่ อปากเปิ ด ได้ เช่ น ดิ น มี ลั กษณะเหลว หลุ ม ฐานรากลึ ก มาก หรื อ ตําแหน่งของหลุมฐานรากชิดกับอาคารอื่นหรือมีเนื้อ ที่ทํางานจํากัด ได้แก่ อาคารที่ ก่อสร้างในเมือ ง จําเป็ นต้องขุ ด หลุมให้ผนังหลุมเป็นแนวดิ่ง และใช้ผนังป้ องกัน ดินพั งตอกกั นรอบหลุม ที่ขุด ให้ผู้รั บจ้างเสนอ แบบขยายจริงถึงวิธีป้องกันดินพั งที่เลือกใช้ให้ ตรวจสอบก่อนดําเนินการ ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 7


ระบบป้องกันดินพั งสําหรับการขุดทางดิง ่

http://www.p3planningengineer.com/productivity/other%20retaining%20structures/soldier%20piles%20with%20lagging/access_1%20c423.jpg


ระบบป้องกันดินพั งสําหรับการขุดทางดิง ่

http://www.zetas.com.tr/images/referanslar/ref_138_1B.jpg


งานถมดินในอาคาร

เป็นงานหนึง ่ ทีส ่ ําคัญทีต ่ ้องตรวจสอบ ถึงการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด • ให้แบ่งการถมดินออกเป็นชั้นๆ และบด อัด แน่ น ความหนาของชั้น ดิ นแต่ ละชั้ น ไม่หนาเกินไป • ดินที่นํามาถมต้องผ่านการย่อยออกเป็น ก้ อ นเล็ ก และปราศจากวั ช พื ช หรื อ มี เศษปะปน • ดินที่จะถมควรมีความชื้นที่เหมาะสม ไม่ แห้ ง มากจนแข็ ง หรื อ เหลวเกิ น ไปจน ขาดคุณสมบัติ การเกาะยึด ระหว่างเม็ ด ดิน ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 0


การถมดิ นเพื่ อปรั บพื้ นที่ อย่ างถาวร

ส่วนมากจะเป็นเนื้อที่กว้าง มีการเกลี่ยดินและ บดอัดดิ นด้วยเครื่องบดอัดดิน ที่มีเลือ กใช้ไ ด้ ห ล า ย ช นิ ด ถ้ า มิ ใ ช่ ง า น ดิ น ถ ม ที่ ต้ อ ง รั บ โครงสร้ า งถาวร อาจตรวจสอบง่ า ยๆ จาก ปริมาณของดินที่นํามาถม โดยปกติดินถมจะ ยุบ ตั ว ประมาณ 50% เช่ น จากการคํ า นวณ ปริมาตรของดินจากระดับดินเดิมถึงระดับดิน ถม มี ป ริ ม าณ 1,000 ลู ก บาศก์ เ มตร ดิ น ที่ ต้ อ งใช้ ถ มประมาณ 1,500 ลู ก บาศก์ เ มตร (เผื่ อ การยุ บ ตั ว ) การควบคุ ม งานดิ น ถมจึ ง ต้ อ งใช้ วั ด ปริ ม าตรแบบดิ น หลวม (Loose volume) 1,500 ลูกบาศก์เมตร ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 1


http://gpakonstruksi.com/wp-content/uploads/2013/02/cut-bed.jpg


การตรวจสอบเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง

แบบหน้าตัดตัน

แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1) การตรวจสอบก่อนงานตอกเข็ม 2) การควบคุมและตรวจสอบขั้นการตอก 3) การตรวจสอบหลังเปิดหน้าดินหัวเข็ม ผู้ค วบคุ ม งาน จะต้ อ งจะต้ อ งศึ ก ษาวิ ธี ก ารทํ า งานของการ ตอกเข็มแต่ละวิธี เพื่ อการควบคุม งานถูกต้องและตรวจสอบ งานในแต่ละขั้นตอนอย่างใกล้ชิดและละเอียดรอบคอบ วิศวกรผู้ออกแบบ จะเป็นผู้เลือกใช้วิธีการทํางานให้เ หมาะสม กับสภาพของพื้ นที่และสิ่งแวดล้อม ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 3


การตรวจสอบเสาเข็ม

คอนกรีตสําเร็จรูปในขั้นการตอก

• เสาเข็มต้องตั้งตรงตามตําแหน่งที่กําหนดในแบบรูป และได้ ดิ่ ง ตั้ ง แต่ ก่ อ นเริ่ ม การตอกและตลอดเวลา ระหว่างการตอก • ผู้รับจ้างจัดทําบันทึกข้อมูล รายละเอียดการตอกเข็ม ไว้ทุกต้น จนเสร็จงานตอกเข็มเป็ นประจําวัน และส่ ง บันทึกข้อมูลดังกล่าวให้วิศวกรผู้ออกแบบตรวจสอบ ผลการตอก • ถ้ามี ส่ิ ง ผิด ปกติ เกิ ดขึ้ นในระหว่ างการตอกเข็ ม เป็ น ต้ น ว่ า ต อกเข็ ม ไม่ ล ง หรื อ มี เ ข็ มบ างต้ นจม เร็ ว ผิดปกติ ให้สั่งหยุดการตอกเข็มต้นนั้นและบันทึกแจ้ง วิศวกรผู้ออกแบบทราบโดยเร็ว ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 4



การตรวจสอบเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง

แบบหน้าตัดกลวง

การตอกเข็มวิธีนี้จะใช้สว่านเจาะดินก่อน (Prebored) แล้วจึงนําเสาเข็มสวมลงในรูเสาเข็ม ที่เจาะนําไว้ วิธีนี้จะใช้เพื่ อป้องกันความเสี ยหาย ของสิ่งก่อสร้างข้างเคียงเนื่องจากการเคลื่อน ตัวของดินเมื่อเข็มลงไปแทนที่

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 6


การตรวจสอบการทํ า งาน การตรวจสอบตํ า แหน่ ง เสาเข็ ม การเชื่ อมต่ อเสาเข็ม เพี ยงแต่ขั้ นตอนการ ทํ า งานต่ า งกั น ขนาดสว่ า นจะมี เ ส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง เล็กกว่าเสาเข็มเล็กน้อย มีขั้นตอนการทํางาน ดังนี้ 3.1 เดินเครื่องสว่านเจาะดินตรงตามตําแหน่งเสาเข็ม ที่ กํ า หนด จนลึ ก พ้ นชั้ น ดิ น อ่ อ น จึ ง ถอนแกนสว่ า น ออก

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 7


3.2 นําเสาเข็มท่อนแรกตั้งลงในรูเสาเข็ม ตรวจสอบ แนวดิง ่ กดเสาเข็มด้วยเครื่องกดแบบสั่ นสะเทือนจน หัวเสาเข็มสูงเหนือระดับดินประมาณ 0.50 เมตร จึง นําเข็มท่อนที่สองตั้งและต่อกับเข็มท่อนแรกด้วยการ เชื่อมและกดเข็มให้จมลงด้วยวิธีเดียวกัน จนถึงระดับ ความลึกที่กําหนด 3.3 ตอกส่งเสาเข็มต่อด้วยเครื่องตอกแบบดีเซล ให้ ส่ ว นล่ า งของเข็ ม จมแน่ น ในชั้ น ดิ น แข็ ง ตามวิ ธี ก าร เดียวกับการตอกเข็มแบบหน้าตัดตัน ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 8


งานขุดเจาะดินเสาเข็มคอนกรีต แบบหล่อในที่ ปัจจุบันมีเลือกใช้อยู่ 2 ระบบหลัก 1) ระบบการขุดเจาะดินแบบเจาะกระแทก จะเลือกใช้กับงานเสาเข็ม ขนาดเส้ น ผ่านศู น ย์กลาง 0.30 – 0.60 เมตร มีชั้น ดิน เป็น ชั้น ดิน เหนียวหรือดิน ปน ทราย ทํางานในบริเวณที่แคบหรือในที่จํากัดได้ดี

2) ระบบขุดเจาะดินด้วยเครื่องเจาะแบบดอกสว่าน จะใช้กับงานเสาเข็ม เจาะขนาดใหญ่ อาจมีเ ส้ น ผ่าน ศูนย์กลางของเสาเข็มถึง 1.20 เมตร หรือใหญ่กว่าและขุด เจาะดิ น ทํ าความยาวของเข็ ม ได้ ลึก มากเพื่ อใช้ร องรับ ฐาน รากอาคารสูง ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 9


งานขุดเจาะดินเสาเข็มคอนกรีต แบบหล่อในที่

การตรวจสอบงานขั้นขุดเจาะ มีขั้นตอนการทํางาน ดังนี้ 1) การตรวจสอบก่อนเริม ่ งานขุดเจาะดิน 2) การตรวจสอบขั้นการเจาะดิน 3) การเสริมเหล็กเสาเข็ม

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 0


งานเทคอนกรีตเสาเข็ม แบบหล่อในที่ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ

ระบบแห้ ง ซึ่ ง ใช้ กั บ งานเสาเข็ ม ที่ ไ ม่ ลึ ก มาก หรื อ ที่ มี

ระดั บ นํ้ า ใต้ ดิ น ตํ่ า และในหลุ ม เสาเข็ ม แห้ ง สามารถเท คอนกรีตลงไปได้โดยตรง

ระบบเปี ยก เป็นการเทคอนกรีตผ่านนํ้าในหลุมเข็ม ใช้

กั บ งานเ สาเ ข็ ม ขนาดให ญ่ ห รื อ งานที่ เ จาะดิ น ผ่ า น ระดับชั้นทรายที่มีนํ้าใต้ดินมาก

ขั้นตอนของการตรวจสอบงานเทคอนกรีต ทั้งสองระบบจะแตกต่างกัน

ระบบแห้ง จะเหมือนกับงานเทคอนกรีตหล่อเสาทั่วไป ระบบเปี ย ก จะมีก รรมวิ ธี ป้ อ งกั น มิใ ห้ ค อนกรี ต ถู ก นํ้ า

เช่ น ต้ อ งเทคอนกรี ต ผ่ า นทางท่ อ เทจึ ง มี ขั้ น ตอนการ ่ 0 3 องงมี า น ดิ และงานรากฐาน ทํ า งานที่ ค่ อ นข้ า งละเ อีหยน่ดว ย ทีจะต้ กนารตรวจสอบ ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0า1 งานอย่ ก า ร ค วา บงใกล้ คุ ม แ ลช ะ ติดร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 1 กระบวนการทํ


“. . . การขุดเจาะเสาเข็มและเทคอนกรีต

ใต้ ร ะดั บ ดิ น

เป็ น งานที่ จ ะต้ อ งจดบั น ทึ ก ถึ ง ขั้นตอนการทํางานไว้อย่างละเอียด เช่น 1) ข้อมูลการขุดเจาะดิน 2) ข้อมูลของการหล่อคอนกรีต 3) การใช้ส ารละลายเบนโทไนต์เ พื่ อลดแรงดั น ของนํ้าใต้ดินเข้ามาในหลุมเสาเข็ม การตรวจสอบข้ อ มู ล ที่ บั น ทึ ก ไว้ จ ะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ช่ ว ยวิ เ คราะห์ ถึ ง คุ ณ ภาพของงาน เสาเข็ม . . . “ ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 2


การทําเสาเข็มเจาะระบบแห้ง โดยให้ปลายเสาเข็มอยู่ในชั้นทราย เมื่อขุดเจาะดิน จน ถึ ง ชั้ น ทร าย ( ทร าย ล้ ว นห รื อ ทร าย ปน ดิ น เหนียว) ชั้นทรายดังกล่าวจะพั งทลาย เพราะไม่มี แรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดิน บางครั้งในชั้นทรายยังมีน้าํ ใต้ดินไหลผ่าน เป็นเหตุ ให้น้าํ ไหลเข้ามาในหลุมเจาะตลอดเวลา พร้อ มกั บการพั งทลายของทราย หากเป็ นทราย ล้วนนํา้ จะไหลเข้าหลุมเจาะเร็วมากจนไม่สามารถทํา เสาเข็มได้ ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 3


หากเป็ น ทรายที่ มี ดิ น เหนี ย วปน การไหลซึ ม ผ่ า น ของนํา้ จะช้าลง แต่หากทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง นํ้ายังคง

ไหลเข้ามาในหลุมเจาะได้ แม้จะแก้ไขด้วยการลงปลอก เหล็ ก กั น ดิ น (Casing) ยาวตลอด ก็ อ าจป้ อ งกั น นํ้ า ไม่ได้ เพราะนํ้ายังคงไหลเข้าที่ปลาย Casing อยู่ดี สภาพทรายที่ ป ลายล่ างของเข็ ม จะไม่ แ น่ น ตั ว เหมื อ น อย่ า งที่ เ คยเป็ น อยู่ เ ดิ ม ดั ง นั้ น ด้ ว ยการทํ า เสาเข็ ม

ระบบนี้ จึ ง ไม่ ค วรให้ ป ลายเสาเข็ ม อยู่ ใ นชั้ น ทราย

เพราะนอกจากจะมี ปัญ หาในขณะทํ าเสาเข็ม เสาเข็ ม อาจ ไม่ สม บู ร ณ์ แล้ ว เ ส าเ ข็ มที่ ได้ ยั ง มี กํ า ลั ง แร ง ต้านทานที่ปลายเข็มตํ่า ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 4


การขุดเจาะดินแบบเจาะกระแทก

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น http://www.sirithaigroup.com/UploadImage/30eec299-f91f-482e-b323-955e8f4b7c2d.jpg ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 5


การขุดเจาะดินแบบเจาะกระแทก

https://image.slidesharecdn.com/corerecovery-140928111143-phpapp01/95/core-recovery-17-638.jpg?cb=1411902788


ขุดเจาะดินด้วยเครื่องเจาะแบบดอกสว่าน

http://www.kellerholding.com/files/keller/content/images/services_solutions/techniques/keller_cfa.png


ขุดเจาะดินด้วยเครื่องเจาะแบบดอกสว่าน

http://goldfinger.007.free.fr/Stage%20PCI/bored%20piles2_fichiers/index_fichiers/sodo_bored_pile.gif


สารละลายเบนโทไนต์ (Bentonite slurry) • ใช้เติมลงในหลุมเสาเข็มเจาะ • ทําหน้าที่ต้านทานแรงดันของนํ้าในดินนอกหลุม เสาเข็มเพื่ อรักษาผนังของหลุม เข็มให้คงอยู่ใน สภาพเดิมแทนการใช้ปลอกเหล็ก

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 9


สารละลายเบนโทไนต์ (Bentonite slurry) • ผลิ ต ภั ณ ฑ์ส ารเบนโทไนต์ อ าจมีชื่ อ เรี ยกต่ า ง ๆ กันตามที่ผู้ผลิตจําหน่ายตั้งขึ้น • มีลักษณะเป็นผงเหมือนซีเมนต์บรรจุถุงจําหน่าย • สารละลายเบนโทไนต์ อ าจนํา มาใช้ ไ ด้ห ลายครั้ ง ด้วยวิธีการดังนี้ 1) จัดเตรียมอ่างรองรับนํ้าโคลนที่ล้นออกมา จากหลุมเข็มขณะเทคอนกรีตผ่านทางท่อเท 2) นํามาทิ้งให้ตกตะกอน ขจั ดดิน และทรายที่ ปะปนอยู่ 3) ผ่านกระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติให้ได้ ตามมาตรฐานที่ กํ า หนด และนํ า มาใช้ อี ก ได้ กั บ ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุหลุ ด วิ ชมาเจาะเข็ 31401 ม กต้ า รนคใหม่ ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 0


การเทคอนกรีตผ่านนํ้า หรือ ระบบเปียก (Wet Process)

มีข้อที่ต้องระมัดระวังในการตรวจสอบ ดังนี้ 1) ต้องใช้ท่อเท (Tremie Pipe) ร่วมกับการเท คอนกรีต เพื่ อป้ องกันมิ ให้ค อนกรีตถูกนํ้ าภายใน หลุมเข็ม 2) ต้ อ งใช้ ส ารละลายเบนโทไนต์ เทลงในหลุ ม เสาเข็มก่อนการเทคอนกรีตเพื่ อต้านแรงดันของ นํ้าในดินที่อยู่นอกหลุมเข็ม 3) ต้ อ งให้ เ ทคอนกรี ต ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอด ความยาวของเสาเข็ม ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 1


ตัวอย่างใบบันทึกงานเข็มเจาะแสดง ข้อมูลการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอน


การตรวจสอบงานทดสอบ เสาเข็มแบบหล่อสําเร็จรูป • การทดสอบเสาเข็ ม แบบหล่ อ สํ า เร็ จ รู ป จะกระทํ า เมื่ อ มี ข้ อ กํ า หนดในรายการให้ ท ดสอบ หรื อ เกิ ด กรณีผิดปกติขึ้นในระหว่างการตอกเสาเข็ม • วิธีทดสอบมี 2 วิธี คือ 1) การใช้ นํ้าหนัก บรรทุก ลงบนหั วเข็มโดยตรง 2) การใช้แม่แรงไฮดรอลิกส์กดหัวเสาเข็ม

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 3


การตรวจสอบงานทดสอบ เสาเข็มแบบหล่อในที่ เพื่ อหาความสมบูรณ์ของเสาเข็มมี 3 วิธี ได้แก่ 1) การตรวจสอบด้วยเครื่องวัดความสั่นสะเทือน ด้วยคลื่นเสียง 2) การทดสอบด้วยวิธีการเจาะเนื้อคอนกรีต 3) การทดสอบด้วยเครื่องยิงคอนกรีต

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 4


วิธีที่ 1 การใช้น้าํ หนักบรรทุก ลงบนหัวเสาเข็มโดยตรง • เพื่ อ หาอั ต ราการทรุ ด ตั ว ของเข็ ม เที ย บกั บ นํ้าหนักที่บรรทุก (Static Load Test) • เป็นวิธีที่จัดทําได้ง่าย • ค่าใช้จ่ายน้อย • ใช้เนื้อที่กว้างสําหรับรองรับนํ้าหนักที่บรรทุก บนหัวเสาเข็ม • ใช้เวลาทดสอบนาน • จดบั น ทึ ก อั ต ราการทรุ ด ตั ว ของเข็ ม ตาม นํ้าหนักที่บรรทุกเพิ่ มขึ้น ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 5


https://media.licdn.com/mpr/mpr/shrinknp_800_800/AAEAAQAAAAAAAARGAAAAJGI2MzgyMjFiLWMzODktNGY2Ny1iODhiLTFlZDE0ZTljNTNkOA.jpg


วิธีที่ 2 การใช้แม่แรงไฮดรอลิกส์ กดหัวเสาเข็ม มี ค านเหล็ ก วางพาดระหว่ า งเสาเข็ ม สมอ (Anchor Pile) และสู งจากหัวเสาเข็มที่จะทดสอบ พอที่จะวาง แม่แรงบนหั วเสาเข็ม ได้ เมื่อดี ดแม่แรงขึ้ นยันกับคาน เหล็ก ขณะเดี ยวกั นจะเพิ่ ม นํ้า หนัก กดลงบนหั วเสาเข็ ม จด บัน ทึ ก การทรุด ตั ว ของเข็ มเปรี ย บเที ยบกั บ กํ า ลั ง กด ของแม่แรงจากมาตรวัด วิธีนี้ง่ายต่อการทดสอบ ไม่ ต้องเตรียมนํ้าหนักที่ใช้บรรทุกบนหัวเข็ม ใช้พื้นที่แคบกว่าวิธีการใช้น้ําหนักบรรทุกลงบนหัวเข็ม โดยตรง ซึ่ งต้องตอกเข็มสมอขนาบเข็ม ที่จะทดสอบ 0 3ลิงก าน น รด า กสู ฐ างน แ ล ะ มี อุ ป ก ร ณ์ แ ม่ แ ร ง หไ น่ฮวดย ทีร่ อ ส์ดิกํน แาลลัะ งงา ก ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 7 ค่าใช้จ่ายอาจสูงกว่า


http://www.i-astm.com/technicalpaper/2/2-6.jpg


การทดสอบด้วยเครื่องวัดความสั่นสะเทือน จากคลื่นเสียง (Seismic Test) 1) เป็นวิธีทดสอบที่ปฏิบัติได้สะดวก 2) ทดสอบได้รวดเร็วใช้เวลาประมาณ 5 นาทีต่อเข็มหนึ่งต้น 3) ค่าใช้จ่ายในการทดสอบไม่สูงมาก 4) ปกติจะกําหนดให้ผู้รับจ้างทดสอบเข็ม ให้ทราบถึงความสมบูรณ์ของเสาเข็ม ทุกต้น ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 9


https://f.ptcdn.info/068/006/000/1370877329-23JPG-o.jpg


มยผ. 1551-51 มาตรฐานการตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของเสาเข็ม ด้วยวิธี Seismic Test

http://eservices.dpt.go.th/eservice_5/standard/data/sdw/1551_51.pdf


มยผ. 1551-51 มาตรฐานการตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของเสาเข็ม ด้วยวิธี Seismic Test

http://eservices.dpt.go.th/eservice_5/standard/data/sdw/1551_51.pdf


มยผ. 1551-51 มาตรฐานการตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของเสาเข็ม ด้วยวิธี Seismic Test

http://eservices.dpt.go.th/eservice_5/standard/data/sdw/1551_51.pdf


การทดสอบด้วยวิธีเจาะเนื้อคอนกรีต (Coring Test) เมื่อทดสอบเข็มคอนกรีตด้วยวิธีวัดความสั่นสะเทือน จากคลื่นเสียงแล้วพบว่า . . . 1) เสาเข็มบางต้นมีภาพคลื่นเสียงตอบรับไม่ราบเรียบ หรือ 2) มีระดับเส้นกราฟของคลื่นเสียงขึ้นลงเป็นบางช่วง แสดงว่า เนื้อคอนกรีตส่วนนั้นมีวัสดุอื่นปะปนอยู่ เช่น อาจมีดินนอกแนวหลุมทะลักเข้ามาแทนเนื้อคอนกรีต บางส่วน วิศวกรอาจสั่งการให้เจาะเนื้อคอนกรีตขึ้นมา ตรวจสอบ ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 4


การทดสอบด้วยเครื่องยิงคอนกรีต (Concrete Test Hammer) การทดสอบกําลังของคอนกรีตที่ผิวหน้าของเสาเข็ม ด้ ว ยวิ ธี ใ ช้ เ ครื่ อ งยิ ง คอนกรี ต เพื่ อ ตรวจสอบกํ า ลั ง ของคอนกรีต ถ้ ากํ าลั งของคอนกรีต ยัง ไม่ ถึง ขั้น ที่ ยอมรั บ ได้ ควรให้ สกั ด คอนกรีต เสี ย ให้ ตํ่า ลงไปอี ก ซึ่ง หลั งจากการทดสอบแล้ ว จะต้อ งหล่อ คอนกรี ต เสริมขึ้นมาจนถึงระดับที่รองรับฐานราก

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 5


หน่วยที่ 03 งานดินและงานรากฐาน

อาจารย์ ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 3 ง า น ดิ น แ ล ะ ง า น ร า ก ฐ า น ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.