[pdf 31401] หน่วยที่ 13 งานโยธา

Page 1

หน่วยที่ 13 งานโยธา

อาจารย์ ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1


งานทาง

งานโยธา งานสะพาน

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2


Civil Work

งานโยธา

ผู้ควบคุมและตรวจสอบงาน จําเป็นต้องทราบ เกี่ยวกับ • องค์ประกอบหลักของการก่อสร้างทาง • มา ตร ฐ าน งา น ทา ง ม าต รฐ า นวั สดุ มาตรฐานการทดลอง และมาตรฐาน การปฏิบัติงานก่อสร้าง • เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพดิน ในหลั ก การเบื้ อ งต้ น สํ า หรั บ การ ควบคุมและตรวจสอบงานก่อสร้าง

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3


Bridge Construction

การควบคุมและตรวจสอบงานก่อสร้างสะพาน จําเป็นต้องทราบ เกี่ยวกับ • หลักการเบื้องต้น • หลักส่วนล่าง (งานเสาเข็มและฐานราก) • หลักส่วนบน (ส่วนของโครงสร้างที่พ้นจากดินขึ้นมา) • ส่วนองค์ประกอบรองอื่น ๆ ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4


❝ งานทาง ❞

งานวิศวกรรมทางหลวงหรืองานก่อสร้างทาง (Highway Engineering) วิศวกรรมสะพาน (Bridge Engineering)

❝ งานสะพาน ❞ ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการก่อสร้างงานทาง จําเป็นต้องทราบ เกี่ยวกับ • มาตรฐานงาน • มาตรฐานวัสดุ • มาตรฐานการทดลอง • มาตรฐานการปฏิบัติงานก่อสร้าง

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6


ถนนหรือทางในประเทศไทย

มีลักษณะโครงสร้างทาง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1) โครงสร้างทางแบบผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต

เ ริ่ ม จ า ก ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ป รั บ ส ภ า พ แ ล ะ คุณ สมบัติ ข องดิน เดิ ม ให้ มีค วามแข็ งแรงขั้ น ตํ่าตามที่กํา หนดในรายการประกอบแบบหรื อ รายการละเอียด จากนั้นจะทําการก่อสร้างเป็น ชั้น ๆ ตั้งแต่ ชั้นวัสดุคัดเลือก ชั้นรองพื้ นทาง ชั้ น พื้ น ทาง จนถึ ง ชั้ น ผิ ว ทาง โดยชั้ น ทางที่ ก่อสร้างสูงขึ้นมาจะมีคุณสมบัติการรับแรงได้ มากยิง ่ ขึ้นตามลําดับ

2) โครงสร้างทางแบบผิวคอนกรีตเสริมเหล็ก

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7


ชั้นผิวทาง • เป็ นชั้ นทางที่มี คุณ ภาพดี ที่สุ ด และราคา แพงที่สุด • ชั้นผิวทางอาจก่อสร้างเป็ นหลายชั้น โดย เปลี่ยนแปลงตามขนาดของหิน เช่น ชั้ น รองผิวทาง (Binder Course) และชั้นผิว ทาง (Wearing Course) ซึ่งจะมีปัญ หา ด้านการบํารุงรักษาค่อนข้างมาก • ส่วนประกอบของโครงสร้างทางอื่นๆ เช่น ไหล่ทาง (Shoulder)

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 8


องค์ประกอบของมาตรฐานงานทาง

ที่เกี่ยวข้องต่อการควบคุมและตรวจสอบ งานก่อสร้างทาง หมวดที่ หมวดที่ หมวดที่ หมวดที่

1 งานสํารวจทาง 2 งานดิน 3 งานรองพื้ นทางและพื้ นทาง 4 งานผิวทาง

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 9


หมวดที่ 1 งานสํารวจทาง ประกอบด้วย

1) 2) 3) 4)

งานเตรียมการก่อนปฏิบัติงาน งานตรวจสอบแบบรูป และส่วนงานสนาม การตรวจสอบแนวทางที่จะทําการก่อสร้าง การตรวจสอบค่าระดับของหมุดหลักฐาน (B.M.: Benchmark) 5) การจัดทํารูปตัดขวาง (Cross-Section) เพื่ อคํานวณหาปริมาณงานดิน http://www.wcon-pile.com/index.php?mo=59&action=page&id=291039

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 0


หมวดที่ 2 งานดิน ประกอบด้วย

1) งานถางป่าขุดตอ 2) งานตัดดินคันทาง 3) งานวัสดุถมคันทาง

(ดินถม ทรายถม หรือ หินถมคันทาง)

4) งานวัสดุคัดเลือก ก. 5) งานวัสดุคัดเลือก ข.

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 1


หมวดที่ 3 งานรองพื้ นทาง ประกอบด้ ว ย และพื้ นทาง 1) งานรองพื้ นทาง งานรองพื้ นทางวัสดุมวลรวม งานรองพื้ นทางดินซีเมนต์ 2) งานพื้ นทาง งานพื้ นทางหินคลุก งานพื้ นทางกรวดโม่ งานพื้ นทางหินคลุก ผสมซีเมนต์ งานพื้ นทางดินซีเมนต์ 3) งานไหล่ทาง งานไหล่ทางวัสดุมวลรวม 4) งานวัสดุรองใต้ผิวทางคอนกรีต งานทรายรองใต้ผิวทางคอนกรีต งานหินคลุกรองใต้ผิวทางคอนกรีต 5) งานรื้อชั้นทางเดิมและก่อสร้างใหม่ งานผิวทางวัสดุมวลรวม ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 2


หมวดที่ 4 งานผิวทาง ประกอบด้วย

1) งานผิวทางปอร์ตแลนด์ซีเมนต์คอนกรีต (Portland Cement Concrete) 2) งานลาดแอสฟัลต์แบบพรามโค้ทหรือแทคโค้ท (Prime Coat/Tack Coat) 3) งานผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ (Surface Treatment) 4) งานผิวทางแบบพี นีเตรชั่นแมคคาดั่ม (Penetration Macadam) 5) งานแอสฟัลต์คอนกรีต (Asphalt Concrete) ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 3


หมวดที่ 4 งานผิวทาง ประกอบด้วย

6) งานขอบผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต

(Asphalt Concrete or Hot-Mix Asphalt)

7) งานผิวทางแบบโคลด์มิกซ์แอสฟัลต์ (Cold Mixed Asphalt) 8) งานผิวแบบสเลอรีซีล (Slurry Seal) 9) งานผิวทางแบบเคฟซีล (Cape Seal) 10) งานผิวทางแบบไมโครซีล (Microseal) 11) งานผิวทางแบบไฟโบรซีล (Fibroseal) 12) งานผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซิล (Para Slurry Seal) ห น่ ว ย ที่ 1 3 ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

งานโยธา ห น้ า ที่ 1 4


การก่อสร้างถนนบนดินอ่อน

ต้องหาวิธีการปรับปรุงคุณสมบัติของดินเดิม (Soil Improvement Technique)

การปรับปรุงคุณภาพดิน

จําแนกเป็น 1) การปรับปรุงคุณภาพดินแบบตื้น (Shallow Stabilization) 2) การปรับปรุงคุณภาพดินแบบลึก (Deep Ground Stabilization)

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 5


หลักการสําคัญ

โดยเฉพาะส่วนของฐานรองรับนํ้าหนัก ของโครงสร้างชั้นทาง

 สภาพเสถียรภาพและความปลอดภัย  พื้ นที่ที่ขาดแคลนวัสดุก่อสร้างชั้นทาง อาจปรับปรุงวัสดุที่มีอยู่ในพื้ นที่ ให้มีคุณภาพดีเหมาะสมต่อการใช้งาน

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 6


เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพดิน มี 4 วิธีหลัก

1) การปรับปรุงดินโดยวิธีเพิ่ มเสถียรภาพให้กับดิน (Soil Stabilization) 2) การระบายนํ้าออกจากชั้นดินทางดิง ่ (Prefabricate Vertical Drain: PVD) 3) การใช้เสาเข็มช่วยรับนํ้าหนัก (Piling) 4) การทําคันดินขนาบคันทาง (Berm)

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 7


วัสดุมวลเบา

(Light Weight Material)

มักนํามาปรับใช้เป็นวัสดุถมกลับบริเวณคอสะพาน บริ เวณกํา แพงกั นดิ น ก่ อสร้ างคั นทางที่ ว างอยู่ บนดินอ่อน วัสดุมวลเบาส่วนใหญ่ มีดังนี้

• ขี้เถ้าแกลบ (Fly Ash) • กากของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น กากอ้อย กากปาล์มนํา้ มัน แกลบจากโรงสีข้าว • วั ส ดุ สั ง เคราะห์ ประเภทจี โ อโฟม (Geofoam:EPS Blocks) แอร์โฟม (Air Foam Stabilized Soil)

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 8


http://www.geofoam.org/images/karma/slope.jpg


http://www.plastifab.com/images/geofoam/slope-stabilization/slope-stabilization-image1.jpg


Soil Stabilization

(Light Weight Material)

ในภาคตะวั นออกเฉีย งเหนื อ ขาดแคลน หิ นคลุ ก ในการ นํามาใช้เป็นวัสดุชั้นพื้นทาง (Base Course) จึ ง นิ ย ม นําวัสดุ ท่ี มี อ ยู่ ม า กใ นท้ อ งถิ่ น คือ ดิ น ลูกรัง (Lateritic Soil) มาคลุกผสมกับ ปอร์ตแลนด์ซีเมนต์ และ นํ้า ทําให้ได้ส่วนผสมของ ดินซีเมนต์ (Soil Cement) เมื่อนํา

ปอร์ตแลนด์ซีเมนต์ + ทราย + ดินปนทราย + ดินเหนียว จะเปลี่ยนคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของดิน ทําให้ดินเหล่านี้นํามาใช้ เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างถนนได้

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 1


Soil cement crews are able to amend existing undesirable properties of problem soils or substandard materials by modifying them with the utilization of portland cement. The result is a highly stable sub-grade ready for building construction or asphalt paving. http://www.pleasantsconstruction.com/services/soil-cement-stabilization.html


ระบายนํ้าออกจากชั้นดินทางดิง ่

(Prefabricate Vertical Drain : PVD) “เทคนิคการระบายนํ้าออกจากดินถม (ใหม่) เพื่ อลดระยะเวลาการทรุดตัวของดิน”

วิธีการแก้ปัญหาการทรุดตัว

(Prefabricate Vertical Drain : PVD)

1) การทํา ให้ดิ นเดิม ทรุดตั วในชั้นแรก (Initial Consolidation Settlement) ซึ่งเป็นช่วงที่มี การทรุดตัวมาก ทั้ง นี้ เ พื่ อ ให้ อยู่ ใ นระดั บ ที่น่ า พอใจก่ อ น แล้วจึงเริม ่ ดําเนินการก่อสร้างโครงสร้างถนน ต่ อ ไป ไม่ เ ช่ น นั้ น จะทํ า ให้ เ กิ ด การทรุ ด ตั ว ของ ถนน ซึ่งทรุดตัวตามดิน ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 3


วิธีการแก้ปัญหาการทรุดตัว

(Prefabricate Vertical Drain : PVD) 2) ในขั้นที่ สอง (Secondary Consolidation Settlement) ซึ่งในช่วงนี้จะทรุดตัวน้อยกว่าการ ทรุดตัวในขั้นแรก อายุการใช้งานของถนนอาจจะ ยาวถึงประมาณ 20 ปีขึ้นไป การระบายนํ้าออก จากชั้ น ดิ น ทางดิ่ ง โดยวิ ธี “PVD” ที่ ใ ช้ ใ นทาง หลวงพิ เศษระหว่างเมืองสายกรุงเทพ – ชลบุรี (สายใหม่ ) และทางรั น เวย์ ใ นท่ า อากาศยา น สุวรรณภูมิ ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 4


วิธียิงสายสังเคราะห์ดูดซึมนํ้าลงในดิน • จะยิงตามแนวดิง ่ ลึกประมาณ 20 – 25 เมตร ระยะห่าง กันประมาณ 2 เมตร เต็มพื้นที่ของโครงสร้างถนนหรือ ทางรันเวย์เครื่องบิน • ปลายบนของสายสัง เคราะห์ดูด ซึมนํ้า นี้จ ะเชื่อมต่อกั บ ส่วนที่จะรองรับนํ้าที่จะไหลซึมขึ้นมาจากชั้นดิน • ถมคันทางด้วยดินหรือทรายหนาประมาณ 2 – 3 เมตร เป็นก า รชั่ ว ค รา ว เพื่ อ เพิ่ มนํ้ า หนัก ก ด ทับ ดินเดิ ม (Preload) ดินในบริเวณนั้น • แรงกดจากนํ้าหนักของดินถมชั่วคราวนี้จะไปช่วยขับดัน นํ้าที่อยู่ในช่องว่างระหว่างมวลดินให้ค่อย ๆ ซึมผ่านและ ดันขึ้นสูงสู่ผิวดินตามรูพรุนของสายสังเคราะห์ PVD • ใช้ เ วลาประมาณ 9 – 12 เดื อ น หรื อ ตามที่ วิ ศ วกร ผู้ออกแบบกําหนด

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 5


http://www.geotechnics.com/vertical.htm


http://www.p3planningengineer.com/productivity/soil%20improvement/plastic%20drain%20method/plastic%20drain%20method.htm


http://www.imtek.com.tr/2011/11/colbonddrain.html


ในกรณีที่จําเป็นต้องก่อสร้างถนนบนดินเดิมที่มีคุณภาพตํ่า และ ต้องการก่อ สร้ า งถนนให้แ ล้ว เสร็จ เพื่ อใช้ ง านโดยเร็ว การใช้ เสาเข็ม ช่ว ยรับ นํ้า หนัก ในลั ก ษณะเดียวกับ การก่อสร้า งอาคาร ทั่วไป

การใช้เสาเข็มช่วยรับนํ้าหนัก มี 2 วิธี คือ 1) การใช้เสาเข็มคอนกรีต

ตั ว อย่ า งเช่ น การก่ อ สร้ า งทางหลวงสายธนบุ รี – ปากท่ อ ในบางช่วงถนนจะใช้เ สาเข็ มคอนกรีต เสริ ม เหล็กเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 – 40 เซนติเมตร ความ ยาวเสาเข็ ม 20 – 25 เมตร ตอกลงบนพื้ นที่ ที่ จ ะ รองรั บ โครงสร้ า งทาง ระยะห่ า งระหว่ า งเสาเข็ ม ประมาณ 2.00 เมตร

2) การใช้เสาเข็มแบบดินซีเมนต์ “Cement Column”

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 9


http://www.thaicontractors.com/content/cmenu/1/29/63.html


http://www.dgi-menard.com/ALI_ASCE_1003.html


http://www.eco-foundations.co.uk/large_diameter_soil_mixed_columns_installed_in_newtownards_northern_ireland.html


การทําคันดินหรือชานทาง (Berm)

• ทํ า บริ เ วณสองข้ า งของถนนที่ จ ะก่ อ สร้ า ง ตาม วิธีการและขนาดที่วิศวกรผู้ออกแบบได้คํานวณไว้ • นํ้าหนัก ของคั นดินหรื อชานทางนี้ถื อเป็ น นํ้าหนั ก ถ่ ว ง (Counter Weight) ต้ า นทานต่ อ แรงดั น ของดินสองข้างทางที่จะโป่ งขึ้นมา เนื่องจากถูก กระทําจากแรงไถลของดินคันทางอีกทอดหนึ่ง • การทํ า คั น ดิ น หรื อ ชานทางขนาบคั น ทางนี้ เป็ น วิ ธี ก าร นี้ ค่ อ นข้ างสิ้ นเ ปลื องค่ าก่ อสร้ าง แล ะ ต้องการเขตทางเพิ่ มขึ้น ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 3


องค์ประกอบหลักที่ผู้ควบคุมงานต้องทราบ เกี่ยวกับการก่อสร้างทาง ประกอบด้วย

1) ความรูใ้ นการสํารวจงานทางเบื้องต้น 2) การจั ด เตรี ย มความพร้ อ มและความถู ก ต้ อ งของ ข้อมูลจากแบบก่อสร้าง และรายการละเอียด 3) การเตรี ยมการเกี่ ยวกั บ ทรั พยากรที่ เ กี่ย วข้ อ งต่ อ การดําเนินงาน 4) การศึ กษาและสร้า งความเข้ าใจเกี่ย วกับ มาตรฐาน และข้อกําหนดของงานทาง โดยเฉพาะของกรมทาง หลวง ประกอบด้วย มาตรฐานงานทาง มาตรฐาน วิธีการทดลอง ข้อกําหนดด้านวัสดุ 5) การศึ กษาและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี และหลัก ทางวิ ศ วกรรมสมั ย ใหม่ อั น เกี่ ย วข้ อ งกั บ งานดินและงานก่อสร้างทางโดยเฉพาะ ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 4


ความรู้ในการสํารวจงานทางเบื้องต้น

ข้อกําหนดพื้ นฐาน ทําให้กระบวนการควบคุมและการ ตรวจงานก่อสร้า งเป็ นไปอย่างถูก ต้องเหมาะสมตาม ข้ อ กํ า หนดของการออกแบบ โดยที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ า น แนวทางและค่าระดับที่เกี่ยวข้อง • การปรากฏความสอดคล้องอัน เหมาะสมกับภูมิประเทศ และพื้ น ที่การทํางาน ประกอบด้วย งานตรวจสอบหรื อ งานสํารวจแนวทาง • การกํ า หนดตํ า แหน่ ง หมุ ด พยานของแนวทาง หมุ ด แสดงระดับของหลักฐาน (B.M.: Benchmark) • การตรวจสอบรู ป แบบงานทางด้ว ยวิ ธี ท างเรขาคณิ ต การแสดงค่ า ระดั บ ข องการก่ อ สร้ า งชั้ น ทางต่ า งๆ รวมทั้ ง ค่ า ระดั บ ของสิ่ ง ก่ อ สร้ า ง เช่ น ท่ อ เหลี่ ย ม ท่ อ กลม หรืองานสะพาน เป็นต้น ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 5


การจัดเตรียมความพร้อมและความถูกต้อง ในส่วนของข้อมูลจากแบบก่อสร้าง และรายการละเอียด 1) ตําแหน่งหมุดหลักฐานและหมุดอ้างอิงต่าง ๆ 2) แนวทางและรายการโค้งของถนนส่วนต่าง ๆ 3) ค่าระดับของหลังทางเดิม และดิน เดิม จากแบบรูป และ ค่าระดับตามจริงในสนาม 4) ตําแหน่งและขนาดของท่อเหลี่ยม ท่อกลม และสะพานที่ มีระดับนํ้าสู งสุ ดและตํ่าสุ ดทั้งสองข้างทางรวมถึงทาง นํ้าที่แนวถนนหรือทางตัดผ่าน 5) มุมที่แนวทางตัดทํามุมกับลํานํ้า ทางรถไฟและทางอื่น ๆ เขตทางหลวง พื้ น ที่ป่าสงวน หรือพื้ น ที่ข องหน่วยงาน อื่น ๆ 6) ระบบสาธารณู ป โภคที่ อ ยู่ ภ ายในเขตทางหรื อ บริ เ วณ ก่อสร้าง ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 6


การเตรียมการเกี่ยวกับทรัพยากร

ที่เกี่ยวข้องต่อการดําเนินงาน

การจัดเตรียมทีมงานซึ่งประกอบด้วยบุคลากร ดังนี้

• นายช่าง • ผู้ควบคุมงานที่มีความรู้ด้านงานสํารวจ และ ความรู้ด้านงานก่อสร้างทาง • คนส่องกล้อง • คนอ่านค่าและจดบันทึก • คนถือไม้วัดระดับ เป็นต้น

การเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์

ให้พร้อมต่อการดําเนินงาน

กล้องแนว กล้องระดับ กล้องทีโอโดไลท์ เทปเหล็กหรือเทปผ้า ไม้สต๊าฟ ลูกดิง ่ เป็นต้น ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 7


ตัวอย่าง มาตรฐานงานทาง มาตรฐานดินถมคันทาง มาตรฐานทรายถมคันทาง มาตรฐานหินถมคันทาง มาตรฐานดินถมกําแพงดินเสริมกําลัง มาตรฐานพื้ นทางหินคลุก มาตรฐานพื้ นทางกรวดโม่ มาตรฐานพื้ นทางหินคลุกผสมซีเมนต์ (Cement Modified Crushed Rock Base) • มาตรฐานพื้ นทางดินซีเมนต์ (Soil Cement Base) • มาตรฐานรองพื้ นทางวัสดุมวลรวม • มาตรฐานรองพื้ นทางดินซีเมนต์ (Soil Cement Sub-base) • • • • • • •

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 8


ตัวอย่าง มาตรฐานวิธีการทดลอง • วิธีการทดลองหาค่าความถ่วงจําเพาะของดิน • หาค่า Liquid Limit (LL.) ของดิน • หาค่า Plastic Limit (PL) และ Plasticity Index (PI) ของดิน • หาค่า Shrinkage Factors • หาค่า Unconfined Compressive Strength ของดิน • วิธีการทดลอง Compaction Test แบบมาตรฐาน • วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน • วิธีการทดลองเพื่ อหาค่า CBR เป็นต้น

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 9


ตัวอย่าง ข้อกําหนดด้านวัสดุ

• ข้อกําหนดมวลรวมละเอียดสําหรับผสมคอนกรีต • ข้อกําหนดมวลรวมหยาบสําหรับผสมคอนกรีต • ข้อกําหนดของวัสดุสํา เร็จ รูปอุด รอยต่อเผื่อขยายสํา หรับงาน คอนกรีตชนิดไม่ปลิ้นและยืดหยุ่นมีแอสฟัลต์เป็นส่วนประกอบ • Specification for Asphalt Cement • Specification for Cut-Back Asphalt (Rapid-Curing Type) • Specification for Elastomeric Modified Asphalt Emulsion • Specification for Polymer Modified Asphalt Cement for Porous Asphalt Concrete ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 0


ตัวอย่าง การศึ กษาและสร้างความเข้าใจ

เกี่ยวกับ เทคโนโลยีและหลักทางวิศวกรรมสมัยใหม่ อันเกี่ยวข้องกับ งานดินและงานก่อสร้างทางโดยเฉพาะ

• การปรับปรุงคันทางบนดินอ่อน โดย วิธีเสาเข็มดินซีเมนต์ใ น ระดับลึก (Deep Stabilization with Cement Columns) • การปรับปรุงดินลูกรัง เพื่อใช้เป็นพื้นทาง โดย ใช้เถ้าลอย • วิ ธี ก ารระบายนํ้ า ออกจากชั้ น ดิ น ทางดิ่ ง (Prefabricated Vertical Drain:PVD) • การใช้แผ่นใยสัง เคราะห์ประเภทจีโ อเท็ก ซ์ไทล์ (Geotextile) เพื่ อช่วยเพิ่ มประสิท ธิภาพให้กับดินในการรับกํา ลัง ต้า นทาน แรงเฉือน

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 1


โครงสร้างชั้นทาง

(Structural Component)

แบ่งเป็น 1) ชั้นวัสดุคันทางและวัสดุคัดเลือก (Sub-grade/Selected materials course) 2) ชั้นรองพื้นทาง (Sub-base course) 3) ชั้นพื้นทาง (Base course) 4) ชั้นผิวทาง (Wearing Surface course)

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 2


โครงสร้างชั้นผิวทาง (Surface) ของถนนมาตรฐาน

แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1) ผิวทางแบบอ่อนตัวได้ (Flexible Pavement) ได้แก่ ผิวทางชนิดยางแอสฟัลต์เป็นส่วนผสม 2) ผิวทางแบบแข็งแกร่งในตัว (Rigid Pavement) ได้แก่ ผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็ก

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 3


ชั้น ผิ ว ทางแอสฟัล ต์ คื อ ผิ วทางที่ ใ ช้ย างแอสฟัล ต์ เ ป็ น ส่วนประกอบหลัก ที่นิยมมากในปัจ จุบัน คือ ผิวทางแบบ แอสฟัลต์คอนกรีต (Asphalt Concrete) ซึ่งใช้กับถนนที่ มีมา ต ร ฐา นสู ง มัก จ ะ ต้อง สร้า ง ชั้ นพื้ นท า ง ( Base Course) เพื่อรองรับผิวทางอีกที่หนึ่ง ทั้งนี้ เนื่องจากผิว ทางประเภทนี้สามารถอ่อนตัวไปตามชั้นที่รองรับ ดังนั้น เพื่อให้ผิวทางมีค วามเรียบ และ คงทนตามสภาพ ชั้นพื้นทางจึง ต้องมีค วามมั่นคงแข็ง แรง ซึ่ง จะแตกต่า ง กั บ ผิ ว ทางแบบคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ซึ่ ง ถื อ เป็ น ผิ ว ทาง ประเภท Rigid Pavement

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 4


http://fhwapap34.fhwa.dot.gov/NHI-PPTCG/chapter_1/index.htm


ผิวทางแอสฟัล ต์ค อนกรีต มักจะก่อสร้างในถนน มาตรฐานสูง ที่มีปริมาณการจราจรหนาแน่น วัสดุที่ใช้ คือ แอสฟัลต์คอนกรีต เป็นส่วนผสมของ หินคละขนาด (Well-graded Aggregates) กับ ยางแอสฟัลต์ซีเมนต์ในโรงผสม (Plant Mix) โดย ผสมกั น ที่ อุ ณ หภู มิสู ง ตามมาตรฐานที่ กํ า หนดจน ส่วนผสมเข้าที่กลมกลืนกันดีแล้ว จึงใส่ รถบรรทุก (รถดั้มป์) เพื่ อนําไปเทในสถานที่ที่เตรียมไว้แล้ว

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 6


วัสดุที่ใช้ก่อสร้างชั้นผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Pavement) ประกอบด้วย

ปอร์ตแลนด์ซีเมนต์ + หินมวลคละ (ที่มีขนาดตามทีก ่ ําหนด) มักใช้ค อนกรีตผสมเสร็จ เช่นเดียวกับงานก่อสร้า งอาคารขนาด ใหญ่ทั่วไป

ข้อกําหนดที่กรมทางหลวงระบุเพิ่ มเติม • ต้องใช้ปอร์ตแลนด์ซีเมนต์ไม่น้อยกว่า 350 กิโลกรัม ต่อคอนกรีตสด 1 ลูกบาศก์เมตร • ต้องรับแรงอัด ไม่น้อยกว่า 280 กิโลกรัม ต่อตารางเซนติเมตร (ทดสอบจากตัวอย่างแท่งสี่เหลี่ยมจัตุรัส) ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 7


เหล็กเสริม • เป็นเหล็กโครงสร้าง (Structural Grade) ตามมาตรฐานกระทรวงอุตสาหกรรม • ใช้เหล็กเส้นลวดตะแกรง (Wire Mesh) แทนเหล็กเส้นได้ เมื่อได้รับการทดสอบและ อนุญาตให้ใช้แทนได้แล้วจากวิศวกร ผู้ออกแบบ

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 8


การก่อสร้างผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็ก • ก่อสร้างตามแนวยาวของถนน • วางแบบหล่อเหล็กกั้นทั้ง 2 ข้างตามความกว้าง ที่กําหนด • มีความกว้างตามขนาดช่องทางซึ่งกว้างประมาณ 3.00-3.50 เมตร • เทเป็นแนวตลอด • ใช้เครื่องตัดเป็นแผ่น ๆ ยาวแผ่นละ 5.00-10.00 เมตร ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 9


การเทคอนกรีต • เริ่มเทเมื่อจัดแบบหล่อและผูกเหล็กเข้าที่เรียบร้อย มีความยาวพอที่จะเทคอนกรีตได้ตลอดวัน • วันหนึ่ง ๆ เครื่องจักรชุดหนึ่งจะทํางานได้ประมาณ 200 -300 เมตร • เมื่อคอนกรีตที่เทแล้วเริ่มแข็งตัว จะต้องรีบใช้เครื่องตัดช่อง เพื่ อตัดคอนกรีตออกเป็นแผ่น ๆ ตามที่กําหนด และได้วางเหล็กต่อเตรียมไว้แล้ว • ช่องตามขวางถนน (Transverse Joint หรือ Contraction Joint ) จะเซาะเป็นร่อง กว้าง 1.00 เซนติเมตร และลึก 5.00 เซนติเมตร • ผิวคอนกรีตเริ่มแข็งตัว รีบทําการบ่มคอนกรีตต่อไป ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 0


Basic Components of a Concrete Pavement

https://image.slidesharecdn.com/presenters-160131165950/95/construction-of-road-7-638.jpg?cb=1454259753


สิ่งที่ผู้ควบคุมต้องรู้

เกี่ยวกับผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็ก

• ปั ญ หาของผิ วทางมักปรากฏที่ รอยต่ อ (Joint) เมื่อก่อสร้างใหม่ ๆ • รอยต่อ ต่า ง ๆ จะได้รั บการอุด ช่องว่า ง โดยใช้ วั สดุ ป ร ะ เ ภ ท ย า ง ห ย อ ด ร อ ย ต่ อ ค อ น กรี ต (Mastic Joint Sealer) เพื่ อป้องกันมิให้น้ําไหล ซึม ผ่ าน ลงไปทํ าลายความแข็ ง แรงของวั ส ดุ ที่ อยู่ส่วนล่าง • หากรอยต่อเหล่านี้ไม่ได้รับการดูแลที่ดี อาจเป็ น สาเหตุ ใ ห้ ผิ ว คอนกรี ต ถู ก ทํ า ลายให้ อ่ อ นแอและ พั งทลายลงในที่สุด ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 2


รอยต่อตามยาว

(Longitudinal Joint)

• รอยต่อนี้จะขนานตามความยาวของถนน • ใช้เป็นช่องจราจร • เป็นส่วนทีต ่ ้องการให้มีการถ่ายแรงจากแผ่น หนึ่งไปถึง แผ่นคอนกรีตที่อยู่ติดกัน จึงต้องใส่ เ หล็กข้ออ้อยเป็น ระยะ ๆ เพื่ อช่วยในการถ่ายแรงนี้ • เหล็กยึดดังกล่าวเรียกว่า “Tie Bars” • รอยต่อตามความยาวจะช่วยป้องกัน การแตกร้าวของ ผิวคอนกรีต เนื่องจากแรงห่ อตัวของแผ่น คอนกรี ต (Warping Stress) ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 3


http://international.fhwa.dot.gov/pubs/pl07027/llcp_07_03.cfm


การจัดการสภาพการจราจร

ควบคู่ไปกับการจัดการตามขั้นตอน

ของการก่อสร้างถนนหรือทาง

• สภาพความปลอดภัยที่ลดลง เพราะการเปลี่ยนแปลงสภาพทางกายภาพของถนน หรือทางขณะทําการก่อสร้าง • ปัญหาที่เพิ่ มขึ้นจากความคับคั่งและความล่าช้า ด้านการจัดระบบการจราจร โดยเฉพาะถนนหรือทาง ในย่านชุมชนหนาแน่นจะมีปัญหาค่อนข้างมาก การก่อสร้าง/ปรับปรุงถนนหรือทางต่าง ๆ นั้นทําให้เกิด • ความเสี่ยงภัย โดยเฉพาะการเกิดอุบัติเหตุที่เพิ่ มมากยิง ่ ขึ้น • การเดินทางหรือสัญจรมีความล่าช้าลง • ความสะดวกสบาย และความรวดเร็วในการขับขี่ลดลง ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 5


http://www.constructionsite.com.au/traffic-management-plans-victoria-australia_News16609.htm


งานสะพาน หลักการเบื้องต้นเพื่ อการควบคุม และตรวจสอบงานก่อสร้างสะพาน การควบคุมและตรวจสอบงานก่อสร้างสะพาน หลักส่วนล่าง (งานเสาเข็มและฐานราก) การควบคุมและตรวจสอบงานก่อสร้างสะพาน หลักส่วนบน การควบคุมและตรวจสอบงานก่อสร้างสะพาน ในส่วนองค์ประกอบรองอื่น ๆ ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 7


การควบคุมและตรวจสอบงานก่อสร้างสะพาน จําเป็นต้องทราบเกี่ยวกับ

1) หลักการเบื้องต้นเพื่ อการควบคุมและตรวจสอบ งานก่อสร้างสะพาน 2) ทําความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทและรูปแบบ ของสะพานทางวิศวกรรม 3) องค์ประกอบสําคัญของงานสะพาน 4) หลักการเบื้องต้นเพื่ อการสํารวจและออกแบบ งานก่อสร้างสะพาน 5) ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติวัสดุและการใช้งาน 6) แหล่งข้อมูลอ้างอิงเพื่ อใช้ศึกษาถึงหลักเกณฑ์ มาตรฐานในการก่อสร้างสะพาน 7) หลักการและขั้นตอนการก่อสร้างสะพานโดยละเอียด ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 8


มาตรฐานให้อ้างอิงในการออกแบบงานก่อสร้าง ต่างประเทศ Standard Specifications for Highway Bridges AASHTO 2002 (American Association of State and Highway Transportation Officials: AASHTO) มาตรฐานและข้อกําหนดอื่น ที่ไม่ได้ระบุใน AASHTO ให้ปรับ ใช้ ตามความเหมาะสมโดยไม่ ขัด แย้ งกั บหลัก การโดยทั่ว ไป มาตรฐานในต่างประเทศและในประเทศที่เกี่ยวข้อง

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 9


http://www.fhwa.dot.gov/engineering/hydraulics/pubs/09112/page14.cfm


communities.bentley.com/other/old_site_member_blogs/bentley_employees/b/skans_blog/archive/2009/06/23/leap-bridge-v8i-selectseries-1-v9-0-0.aspx


ขั้นตอนในการก่อสร้างสะพาน คอนกรีตเสริมเหล็ก

ส่วนก่อสร้างสะพานหลักส่วนล่าง (ใต้ดิน) งานเสาเข็ม (Piling Work) งานฐานราก (Foundation Work)

ส่วนก่อสร้างสะพานหลักส่วนบน (เหนือดิน) งานโครงสร้างสะพาน (Structure Work)

งานตอม่อตับริม (Abutment) งานโครงสร้างสะพาน (Structural Work) งานตอม่อตับริม (Abutment) งานเสาตอม่อ (Pier) งานคานหัวเสา (Cross Beam/Cap Beam) งานแผ่นรองโครงสร้างสะพาน (Bearing Pad) งานพื้ นสะพาน (Deck/Slab) งานแผงคอนกรีตกันรถ (Barrier) งานรอยต่อโครงสร้างสะพาน (Expansion Joints) งานแผ่นพื้ นทางลาดเชิงสะพาน (Approach Concrete Slab) งานถมดินบริเวณคอสะพาน (Embankment) งานปูพื้นผิวจราจร (Pavement)

ส่วนก่อสร้างสะพาน ในองค์ประกอบรองอื่น ๆ งานทางเท้า (Pedestal/Footpath) งานแผ่นเหล็กกันชน (Guard Rail) งานระบบระบายนํ้า (Drainage System) งานเครื่องหมายจราจร (Traffic Sign) งานไฟฟ้าส่องสว่าง (Lighting Device) งานบันได (Stairs) งานระบบสัญญาณจราจร (Traffic Signal)


วิธีการปฏิบัติงาน

ที่จะต้องตรวจสอบและควบคุมงาน

• การก่อสร้างฐานรากเหนือระดับนํ้า กําหนดใช้กล้อง ระดั บถ่า ยระดับจากหมุด B.M. ไปยัง ตําแหน่ง ท้อ ง ฐานรากตามแบบรูปที่กําหนด • กําหนดค่าระดับของแบบหล่อได้ถูกต้องตามแบบรูป ผู้ควบคุมงานจะต้องตรวจสอบค่าระดับดิ่งฉากของ แบบหล่ อ ให้ ถู ก ต้ อ งและตรวจสอบความมั่ น คง แข็งแรงของแบบหล่อ

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 3


วิธีการปฏิบัติงาน

ที่จะต้องตรวจสอบและควบคุมงาน

• ตรวจสอบวิ ธี ก ารสกั ด หั ว เสาเข็ ม ให้ เ ป็ น ไปตาม ข้อกําหนด • ตรวจสอบแนวศู นย์กลางและแนวฉากของฐานราก รวมถึงการวางแนวตําแหน่งของเสาตอม่อบนแบบ หล่อท้องฐานราก • ตรวจสอบเหล็กเสริมที่ดํ าเนินการติดตั้งให้เป็ นไป ตามแบบขยายจริง การเตรียมการเหล็กเสริมเสา ตอม่ อ ซึ่ ง ผู้ ค วบคุ ม งานจะต้ อ งตรวจสอบสภาพ ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง เ ห ล็ กเ สริ ม ใ ห้ เ ป็ น ไป ต า ม ข้อกําหนด ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 4


วิธีการปฏิบัติงาน

ที่จะต้องตรวจสอบและควบคุมงาน

• ภายหลั ง การประกอบและติ ด ตั้ ง แบบหล่ อ เหล็ ก เสริ ม ของฐานรากและเสาตอม่ อ ผู้ ค วบคุ ม งาน จะต้องตรวจสอบมิติ ความกว้าง ความยาว ความ สูงของ ฐานราก รวมถึงแกนเหล็กของเสาตอม่อ ก่อนดําเนินการเทคอนกรีต • ผู้ ค วบคุ ม จะต้ อ งตรวจสอบความมั่ น คงแข็ ง แรง ของแบบหล่อ การคํ้ายัน รวมถึงความถูกต้องของ การประกอบแบบหล่อ • ขั้ น ตอนสุ ด ท้ า ยของงานเตรี ย มการฐานราก ผู้ ควบคุมงานจะต้องตรวจสอบขั้นตอนการลําเลียง การเท และ การหล่อคอนกรีต ให้ถูกต้อง ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 5


ฐานราก

งานตอม่อ ตับริม

ตอม่อ

ผนัง หรือ

คานรัด หัวเสา

กําแพงกันดิน

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 6


งานรอยต่อโครงสร้างสะพาน

จั ด เป็ น อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น การขยายตั ว ของโครงสร้างสะพาน

• สะพานที่มีช่วงสั้ น วัสดุที่ใช้งานเป็ นวัสดุอุดรอยต่อ แบบอิล าสติก (Elastic Joint Sealant) หรือแผ่น กั้ น ร อ ย ต่ อ เ พื่ อ ก า ร ข ย า ย ตั ว ( Premoulded Membrane And Elastic Filler) • สํ าหรับสะพานช่วงยาว ที่มีน้ํา หนักคงตัว ที่มากจะมี วัสดุให้เลือกใช้งานทั้งแบบยางและแบบโลหะ โดยอุปกรณ์รอยต่อชนิดที่เป็ นยาง (Elastic Deck Joints) เ ห ม า ะ ส ม กั บ ร อ ย ต่ อ ที่ มี ข น า ด ก ว้ า ง ลั กษณ ะ ข อ ง แ ผ่ น ย า ง เ ป็ น แ บ บ แ ผ น เ รี ย บ ย า ว (Modular Type) ซึ่งแบบรูปและรายการละเอียดจะ เป็ น ไปตามชนิ ด ของวั ส ดุ แ ละวิ ธี ก ารติ ด ตั้ ง ที่ เ ป็ น มาตรฐานของผู้ผลิต

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 7


งานแผ่นพื้ นทางลาดเชิงสะพาน คือ แผ่นพื้ นคอนกรีตพาดคอสะพาน

• เป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กเชื่อมต่อระหว่าง ถนนและตอม่อตับริม ของสะพาน โดยด้ านหนึ่งจะ วางอยู่โครงสร้างตอม่อตับริมและยึดติดแน่น ส่ วน พื้ น ส่ ว นที่ เ หลื อ อี ก ด้ า นจะวางอยู่ บ นดิ น ถมบดอั ด แน่ น เชิ ง ลาดสะพานที่ ต่ อเชื่อ มกั บ ถนน โดยบาง ก ร ณี ร ว ม ถึ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ป รั บ ก า ร ท รุ ด ตั ว (Transition Structure/ Bearing Unit) • พบในกรณีที่ค อสะพานตั้งอยู่บนชั้นดินอ่อน ส่ งผล ทํ า ให้ มี ก ารทรุ ด ตั ว ค่ อ นข้ า งสู ง ดั ง นั้ น จึ ง กํ า หนด โครงสร้ างปรั บ การทรุ ด ตั วปรั บ ดิ น บริ เ วณค อ สะพานให้มี การทรุด ตัว อย่ างสมํ่ าเสมอ โดยค่ อยๆ ลดลงจนใกล้เคียงกับการทรุดตัวของถนนตามปกติ ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 8


งานก่อสร้างสะพาน

ในส่วนองค์ประกอบรองอื่น ๆ ทําให้งานก่อสร้างสะพานสําเร็จ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6 9


หน่วยที่ 13 งานโยธา

อาจารย์ ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 3 ง า น โ ย ธ า ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7 0


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.