[pdf 31401] หน่วยที่ 09 งานสถาปัตยกรรม

Page 1

หน่วยที่ 09 งานสถาปัตยกรรม

รองศาสตราจารย์นพพร โทณะวณิก สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1


ความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับการตรวจงานสถาปัตยกรรม • ขอบเขตของงานสถาปัตยกรรม • ขั้นตอนและหลักการ ในการตรวจสอบงานสถาปัตยกรรม

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2


ขอบเขต ของงานสถาปัตยกรรม ▶ ขั้นตอนการออกแบบ

มีการแบ่งประเภทของงานในแบบก่อสร้าง ออกเป็นหมวด ๆ ได้แก่ แบบสถาปัตยกรรม แบบโครงสร้าง และ แบบงานระบบที่เกี่ยวข้อง

▶ ขั้นตอนปฏิบต ั ก ิ ารก่อสร้าง

• กระบวนการทํางานจะถูกนํามาเป็นหลัก

เพื่อการวางแผนการดําเนินงานก่อสร้าง

• การจัดหมวดงานจะเปลี่ยนไป

โดยความสําคัญจะอยู่ท่ง ี านโครงสร้าง

• งานหลัก คือ งานคอนกรีต

่ งานที่ต้องทําไปพร้อม ๆ กัน ก็คือ ซึง การควบคุมแนวดิง ่ แนวเอียง ระยะระหว่างกึ่งกลางเสา ตลอดจนการเตรียมผิวของโครงสร้าง เพื่อการทําผิวสําเร็จ ตามความต้องการของสถาปนิก ผู้ออกแบบ ซึ่งนับได้ว่าเป็นงานสถาปัตยกรรม

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3


ขอบเขต ของงานสถาปัตยกรรม

ในการปฏิบัติงานควบคุม และการตรวจงานก่อสร้างนั้น มีงานสถาปัตยกรรมที่ต้องพิจารณา ดังต่อไปนี้ 1) งานที่เกี่ยวข้องกับแนว ระยะ ความสูง และ ระดับของอาคาร 2) งานองค์ประกอบของอาคารที่แสดงให้เห็นการ ออกแบบรูปลักษณ์ของอาคารโดยรวมของอาคาร 3) งานส่วนประณีตสถาปัตยกรรม 4) งานตกแต่งภายในที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรม

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4






การจําแนก งานสถาปัตยกรรม 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9)

งานหลังคา งานผนัง งานประตูหน้าต่าง งานผิวสําเร็จสถาปัตยกรรม งานฝ้าเพดาน งานบันได งานสุขภัณฑ์ งานติดตั้งครุภัณฑ์ติดตาย งานสี

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 9


ขั้นตอนและหลักการ ในการตรวจสอบงานสถาปัตยกรรม 1) การตรวจสอบระหว่างการก่อสร้าง

• การตรวจสอบช่วงเตรียมการก่อสร้าง • การตรวจสอบช่วงดําเนินการก่อสร้าง

่ การก่อสร้างแล้วเสร็จ 2) การตรวจสอบเมือ (หรือ การตรวจรับงาน)

• เป็นการตรวจความเรียบร้อยของงานเป็นส่วนใหญ่ • การตรวจในขัน ้ ตอนนี้มักจะต้องใช้ความละเอียดลออ เป็นพิเศษ • ความเรียบร้อยสวยงามนัน ้ มักจะดูด้วยตาและใช้วิจารณญาณพิจารณา

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 0


การตรวจสอบ งานสถาปัตยกรรมระหว่างการก่อสร้าง • • • •

งานสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับงานโครงสร้าง งานผนังและงานพื้ น งานผิวสําเร็จสถาปัตยกรรม งานส่วนประกอบและงานตกแต่งทางสถาปัตยกรรม

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 1


งานสถาปัตยกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับงานโครงสร้าง

1) งานก่อสร้างโครงสร้างหรือผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก • • • • •

ตรวจสอบแนวดิง ่ แนวเอียง และระยะต่างๆ ตรวจสอบงานแบบหล่อ ตรวจสอบงานฉาบปูน ตรวจสอบวัสดุฝังในคอนกรีต ตรวจสอบระบบกันซึมในกําแพงคอนกรีตเสริมเหล็ก

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 2





งานสถาปัตยกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับงานโครงสร้าง 2) งานก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก • • • •

การเก็บรักษาเหล็กโครงสร้างในบริเวณที่ก่อสร้าง การทาสีกันสนิม การพ่นวัสดุกันไฟ รอยต่อเชื่อม

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 6




งานผนังและงานพื้ น 1) งานผนังวัสดุก่อ

1.1 การตรวจสอบวัสดุและการเตรียมงาน 1.2 การตรวจสอบขณะทํางานก่อและฉาบ

2) งานผนังไม้

2.1 การตรวจสอบวัสดุและการเตรียมงาน 2.2 การตรวจสอบขณะทํางานก่อและฉาบ

3) งานพื้ นไม้

3.1 การยึดพื้นไม้กับตง 3.2 การปรับระดับไม้พ้ืน

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 9








งานผนังและงานพื้ น

4) งานพื้ นคอนกรีตเสริมเหล็ก

ข้อพิจารณาสําคัญ ที่ผู้ควบคุมงานต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ ได้แก่ ระดับในการเทคอนกรีต และ ลักษณะผิวคอนกรีต

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 6



งานผิวสําเร็จ สถาปัตยกรรม

1) งานผิวสําเร็จผนังและพื้ น

1.1 งานบุหรือปูด้วยวัสดุแผ่น 1.2 งานหินล้างหินขัด

2) งานหลังคา

2.1 งานวัสดุมุงหลังคา 2.2 หลังคาคอนกรีตเสริมเหล็ก

3) งานฝ้าเพดาน

3.1 ฝ้าแพดานที่ใช้เคร่าแบบแขวน 3.2 ฝ้าเพดานที่ใช้เคร่าไม้

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 8







งานผิวสําเร็จ สถาปัตยกรรม

4) งานสี

4.1 การตรวจสอบก่อนการทาสี 4.2 การตรวจสอบขณะทาสีและหลังจากทาสี

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 4



งานส่วนประกอบ และงานตกแต่ง

ทางสถาปัตยกรรม

1) งานประตู หน้าต่าง

1.1 งานวงกบ 1.2 งานกรอบบานประตู หน้าต่าง 1.3 กระจก

2) งานสุขภัณฑ์

2.1 การตรวจสอบก่อนการติดตั้ง 2.2 การตรวจสอบงานติดตั้ง

3) งานส่วนประณีตสถาปัตยกรรมและงานตกแต่ง 3.1 การตรวจสอบงานประณีตสถาปัตยกรรม ่ ๆ และงานฝีมืออืน 3.2 งานเก็บและงานทําความสะอาด

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 6






การตรวจรับ งานสถาปัตยกรรม • • •

ความสําคัญของการตรวจสอบงานงวดสุดท้าย แนวทางในการตรวจสอบงานงวดสุดท้าย สาระสําคัญในการตรวจสอบพื่อตรวจรับงาน

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 1


ความสําคัญ ของการตรวจรับงานงวดสุดท้าย ปัจจัยสําคัญที่ทําให้เกิดปัญหา ในการตรวจรับงานสถาปัตยกรรม ในการตรวจงานงวดสุดท้าย

1) ขาดมาตรฐานที่ใช้วัดความเรียบร้อยของงาน 2) ขาดมาตรฐานของความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ ในการวัดสัดส่วน ระยะทาง 3) วัสดุก่อสร้างขาดความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ 4) ขาดมาตรฐานอุตสาหกรรมของวัสดุก่อสร้าง หรือ วัสดุตกแต่ง 5) การที่เจ้าของงานมีความจําเป็นเร่งด่วน ต้องขอเข้าใช้อาคารก่อนกําหนดเสร็จงาน 6) การแก้ไขเปลี่ยนแปลงงานในขณะก่อสร้าง 7) การระบุเนื้องานสถาปัตยกรรม ที่จะต้องทําในแต่ละงวดคลาดเคลื่อน ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 2



แนวทางในการตรวจรับงาน งวดสุดท้าย 1) การกําหนดมาตรฐานของงานฝีมือ เพื่อการตรวจสอบ 2) การกําหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบ 3) การตรวจงานแล้วเสร็จเป็นส่วนใหญ่ (Substantial Completion) 4) การจัดเตรียมวัสดุสํารอง 5) การรวบรวมเอกสารการตรวจรับงาน งวดสุดท้ายให้เจ้าของอาคาร

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 4


สาระสําคัญในการตรวจสอบ เพื่อการตรวจรับงาน

หลักปฏิบัติสําคัญที่ต้องตรวจสอบในงานสถาปัตยกรรม จําแนกตามขั้นตอนการทํางานแต่ละงานเป็น 3 ช่วง คือ 1) ช่วงเตรียมงาน 2) ช่วงปฏิบัติงาน 3) ช่วงหลังการปฏิบัติงาน สาระสําคัญที่จะต้องตรวจสอบ ในแต่ละงานก็จะแตกต่างกันออกไป ดังนั้น เพื่อการตรวจสอบในแต่ละหัวข้องาน ก่อนการตรวจรับงานในแต่ละงวด จนถึง การตรวจรับงานงวดสุดท้าย ผู้ควบคุมงานจําเป็นจะต้องทํา รายการย่อของงานสําคัญที่ต้องตรวจสอบ ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 5


หน่วยที่ 09 งานสถาปัตยกรรม

รองศาสตราจารย์นพพร โทณะวณิก สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 9 ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.