[pdf 31401] หน่วยที่ 08 งานไม้และงานเหล็กโครงสร้าง

Page 1

หน่วยที่ 08 งานไม้และงานเหล็ก

โครงสร้าง

รองศาสตราจารย์นพพร โทณะวณิก สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1


งานไม้

งานไม้

โครงสร้าง

และงานเหล็ก

โครงสร้าง

งานเหล็ก

โครงสร้าง ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2


งานไม้ โครงสร้าง 1) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับไม้โครงสร้าง 2) การตรวจสอบไม้ก่อนการก่อสร้าง 3) การตรวจสอบงานโครงสร้างไม้ขณะก่อสร้าง

ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3


ลักษณะ

และคุณสมบัติของไม้ 1) โครงสร้างของเนื้อไม้ • • • • •

เปลือก (Bark) กระพี้ไม้ (Sapwood) แก่นไม้ (Heartwood) ใจกลางหรือไส้ไม้ (Pith) วงปี (Growth Ring หรือ Annual Ring)

ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 4



ลักษณะ

และคุณสมบัติของไม้ 2) คุณสมบัติของไม้

▶ คุณสมบัติทางกายภาพ • ลายไม้ • ปริมาณความชื้น • นํา้ หนักและความถ่วงจําเพาะ • การหดตัว • ตําหนิของเนื้อไม้ ▶ คุณสมบัติทางกล ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง

ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 6




ลักษณะ

และคุณสมบัติของไม้ 3) ประเภทของไม้ในงานก่อสร้าง

• ไม้เนื้ออ่อนมาก • ไม้เนื้ออ่อน • ไม้เนื้อแข็งปานกลาง • ไม้เนื้อแข็ง • ไม้เนื้อแข็งมาก 4) กรรมวิธีรักษาเนื้อไม้ • การควบคุมความชื้นในเนื้อไม้ • การปฏิบัติการทางเคมีกับไม้ ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 9



มาตรฐาน

ของไม้สําหรับงานโครงสร้าง

1) มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ มอก.

มอก.421-2525 ไม้แปรรูป : ข้อกําหนดทั่วไป และ มอก.588-2528 ไม้แปรรูป สําหรับงานก่อสร้างทั่วไป 2) มาตรฐานของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) มาตรฐานสําหรับอาคารไม้ พ.ศ. 2519 3) มาตรฐานของกรมโยธาธิการ มยธ.005-2525 มาตรฐานการทดสอบไม้ และ มยธ.104-2525 หมวดที่ 6 มาตรฐานงานไม้ ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1 1


ข้อกําหนด

ตามมาตรฐาน 1) ชนิดและประเภทของไม้

2) ขนาดของไม้ • ขนาดของไม้ที่เลื่อยเป็นแผ่นและผ่านการอบแล้ว • ขนาดของไม้ต่าง ๆ ที่นํามาใช้โดยไม่ต้องไสเรียบ • ขนาดของไม้ที่ไสเรียบ 3) การจําแนกไม้ก่อสร้าง • ไม้ก่อสร้างชั้นหนึ่ง • ไม้ก่อสร้างชั้นสอง • ไม้ก่อสร้างชั้นสาม ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1 2


การตรวจสอบไม้

ก่อน การก่อสร้าง

1) การตรวจลักษณะทั่วไปของไม้โครงสร้าง • ประเภทของไม้ • ขนาดของไม้ • มาตรฐานด้านความแข็งแรง • การป้องกันพิเศษเพื่อเพิ่มคุณภาพไม้ 2) การจัดเตรียมไม้ • ตรวจสอบมาตรฐานของไม้ • พิจารณาเลือกสถานที่กองไม้ที่เหมาะสม

ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1 3




การตรวจสอบงานโครงสร้างไม้ ขณะ ก่อสร้าง

1) ลักษณะของไม้ตามสภาพการรับนํ้าหนัก • ไม้โครงสร้างรับแรงดัด • ไม้โครงสร้างรับแรงกด

ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1 6






การตรวจสอบงานโครงสร้างไม้ ขณะ ก่อสร้าง

2) การยึดปลายไม้และการต่อไม้

• การยึดปลายไม้ • การต่อไม้ • การตรวจอุปกรณ์การยึดไม้ 3) การตรวจโครงถักไม้

ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2 1


งานเหล็ก โครงสร้าง 1) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหล็กโครงสร้าง 2) การตรวจสอบการยึดต่อโครงสร้างเหล็ก 3) การตรวจสอบงานโครงสร้างเหล็ก

ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2 2


ความรู้ทั่วไป

เกี่ยวกับ เหล็กโครงสร้าง 1) คุณสมบัติของเหล็กโครงสร้าง

เหล็กที่นํามาทําโครงสร้างอาคาร คือ เหล็กกล้า หรือ เหล็กกล้าผสม (Steel Alloys) 2) ประเภทของเหล็กโครงสร้าง เหล็กกล้าโครงสร้างจะผ่านกระบวนการผลิตให้ เป็นรูปร่างต่าง ๆ เรียกว่า เหล็กรูปพรรณ • เหล็กรีดร้อน • เหล็กขึ้นรูปเย็น 3) การป้องกันการผุกร่อนของเหล็กโครงสร้าง • การเพิ่มคุณสมบัติในขั้นการผลิต เหล็กกล้าไร้สนิม /เหล็กทนสภาพภูมิอากาศ • การเพิ่มคุณสมบัติหลังกระบวนการผลิต วิธีเคลือบ ชุบ / วิธีทางไฟฟ้า ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2 3


รูปร่างต่าง ๆ

ของเหล็กรูปพรรณรีดร้อน


หน้าตัดของเหล็กโครงสร้าง รูปพรรณขึ้นรูปเย็น


การตรวจสอบ

การยึดต่อ โครงสร้างเหล็ก

1) วิธีการยึดต่อโครงสร้างเหล็ก

• การยึดต่อโดยใช้หมุดยํา้ หรือสลักเกลียว • การยึดต่อ โดยการเชื่อม (Welding)

ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2 6


องค์ประกอบและชนิด

ของหมุดยํ้า


ลักษณะทั่วไป

และประเภทของสลักเกลียว


ประเภทของรอยต่อ

การต่อทาบ


ประเภทของรอยต่อ

การต่อชน


การยึดต่อ

โดยการ เชื่อม (Welding)


ชนิด

ของ รอยเชื่อม


การตรวจสอบ

งานโครงสร้างเหล็ก การตรวจสอบองค์อาคาร เหล็กรูปพรรณ


การตรวจสอบ

งานโครงสร้างเหล็ก การตรวจสอบองค์อาคาร เหล็กแบบประกอบ


การตรวจสอบ

โครงหลังคาเหล็ก

1) ตรวจสอบตําแหน่งของโครง 2) 3) 4) 5)

ว่าถูกต้องหรือไม่ โดยตรวจดูจากแบบ ตรวจสอบแนวการติดตั้งโครงหลังคา ต้องได้ด่ง ิ ฉาก ที่ถูกต้องใกล้เคียงที่สุด วิธีการยกและติดตั้งโครงหลังคา จะต้องไม่ทําให้เหล็กเสียกําลัง การยึดโครงหลังคาเข้ากับหัวเสา จะต้องทําให้ถูกต้องตามแบบ การติดตั้งแปและตัวยึดแป จะต้องแน่นหนาไม่โยก ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง

ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3 5




การยึดโครงหลังคา กับ หัวเสา


หน่วยที่ 08 งานไม้และงานเหล็ก

โครงสร้าง

รองศาสตราจารย์นพพร โทณะวณิก สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 8 ง า น ไ ม้ แ ล ะ ง า น เ ห ล็ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3 9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.