[pdf 31401] หน่วยที่ 14 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

Page 1

หน่วยที่ 14 ความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ บุณย์เพิ่ ม สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1


หน่วยที่ 14 ความปลอดภัย

ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

14.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง 14.2 กฎหมายและมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง 14.3 การตรวจสอบความปลอดภัย จากอุบัติเหตุในการปฏิบัติงานก่อสร้าง ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2


ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

1) แนวคิดเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง 2) ความรับผิดชอบขององค์การ เกี่ยวกับความปลอดภัย

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3


แนวคิด เกี่ยวกับความปลอดภัย

ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

การทํางานที่ขาดมาตรฐานด้านความปลอดภัย • สร้างความเดือดร้อนต่อแรงงานหรือคนงาน ส่งผลต่อการปฏิบัติงานแล้ว • สร้างความเสียหายต่อครอบครัวของคนงาน องค์การที่จ้างแรงงาน และสังคม ดังนั้น การปฎิบัติงานที่ขาดมาตรฐาน ด้านความปลอดภัย จะส่งผลต่อ  ตัวคนงานหรือแรงงาน หรือกลุ่มแรงงาน  ครอบครัวของแรงงาน  องค์การที่จ้างงาน  สังคม ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4


ธรรมชาติ ของงานก่อสร้าง

เป็นงานที่เสี่ยงอันตราย มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุสูงที่สุด เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ

• งานก่อสร้างเป็นงานที่ทํางานกลางแจ้ง ต้องเผชิญกับสภาวะดินฟ้าอากาศ • งานก่อสร้างมีความจํากัดของต้นทุน ทั้งงบประมาณ และ เวลา ทําให้ต้องเร่งรัดงาน ต้องควบคุมต้นทุนการดําเนินการตํ่า • การวางแผนงานอย่างไม่ละเอียดรอบคอบ • ขาดการอบรมการชี้แจงความสําคัญ ของระบบรักษาความปลอดภัย ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5


ธรรมชาติ ของงานก่อสร้าง

เป็นงานที่เสี่ยงอันตราย มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุสูงที่สุด เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ

• คนงานขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ด้วยความปลอดภัย • ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ละเลย ขาดการตรวจสอบระบบรักษาความปลอดภัย • พื้ นฐานทางการศึกษาของผู้ปฏิบัติงาน

การสร้างวัฒนธรรมขององค์การ ในการทํางานใหม่ให้มี การรณรงค์ด้านความปลอดภัย ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6


อุบัติเหตุ ในงานก่อสร้าง • • • •

การปฏิบัติงานไม่ปลอดภัย สภาพการทํางานไม่ปลอดภัย เหตุสุดวิสัยและภัยธรรมชาติ ความบกพร่องของแบบรูปและรายการละเอียด

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7


อุบัติเหตุ

จากการปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย

เกิดจากการปฏิบัติงานของคนงานโดยตรง เป็นความประมาทของตัวผู้ปฏิบัติงานโดยตรง เช่น • การไม่สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล • การทํางานด้วยความสะเพร่าประมาทขาดความ ระมัดระวัง

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 8


อุบัติเหตุ

จากลักษณะงานโดยตรง • • • •

การพลัดตกจากที่สูง การยกวัสดุด้วยรอก กว้าน หรือ เครน การพั งทลายของโครงสร้างชั่วคราว การใช้เครื่องทุ่นแรง เครื่องจักรกล เครื่องมือต่าง ๆ

จากสภาพแวดล้อมในการทํางาน

• เสียง การสั่นสะเทือน แสงสว่าง • การขาดระเบียบวินัยในหน่วยงานก่อสร้าง

http://www.jniosh.go.jp/icpro/jicoshold/english/cases/cases/case79.html

จากสภาพการทํางาน ไม่ปลอดภัย

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 9


อุบัติเหตุ

จากเหตุสุดวิสัย และภัยธรรมชาติ

• ฟ้าผ่า (งานกลางแจ้ง พื้นที่โล่งแจ้ง) • พายุฝน (อาคารชั่วคราว นั่งร้านพังทลาย) • นํ้าท่วม (งานก่อสร้างใต้ดิน การป้องกันนํา้ ท่วม) • สึนามิ • พื้ นที่ไม่เอื้ออํานวย เช่น พื้นที่ลาดชัน สภาพของพื้นดิน ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 0


จากความบกพร่อง ของแบบรูปและรายการละเอียด

• แบบรูปและรายการละเอียดไม่ชด ั เจน • การออกแบบคลาดเคลื่อนไม่ถูกต้อง ่ นแปลงแก้ไขแบบ • การเปลีย โดยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ • การขาดประสบการณ์ของผู้เกี่ยวข้อง

http://www.safetyphoto.co.uk/photo1/s outh%20_wales_safety_consultancy_%2 0limited/scaffold_collapse_cardiff.

อุบัติเหตุ

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 1


การตรวจสอบ

ความปลอดภัยในการทํางาน

• การตรวจโดยผู้ชํานาญการ เป็นการตรวจโดยเน้นเฉพาะเรื่อง ลักษณะการตรวจจะเน้นเพื่อการบํารุงรักษาระบบ มีการกําหนดการตรวจ และ มีคู่มือหรือแบบฟอร์มการตรวจที่ชด ั เจน • การตรวจโดยหัวหน้างาน เป็นการตรวจสภาพพื้นที่ปฏิบัติงานจริง เป็นประจํา ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 2


ความรับผิดชอบขององค์การ เกี่ยวกับความปลอดภัย

ผู้ว่าจ้างหรือผู้ประกอบการ นอกจากจะมี ความรับผิดชอบ ตามกฎหมาย แล้ว ควรมี ความรับผิดชอบด้านมนุษยธรรม ต่อแรงงานก่อสร้าง โดย

• การจัดเตรียมสถานที่ทํางานให้ปลอดภัย และเหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน • การจัดเตรียมเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์การทํางานที่ปลอดภัย • การจัดให้มีการควบคุมดูแลพนักงาน และลูกจ้างเป็นอย่างดี • การจัดให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนปฏิบัติตามข้อกําหนด และกฎหมายต่างๆ • การจัดเตรียมข้อมูล เพื่อชี้แจงแก่ลูกจ้างให้ตระหนักถึงความปลอดภัย ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 3


ต้นทุน

ที่เกิดจากอุบัติเหตุในงานก่อสร้าง

• ต้นทุนทางตรง (Direct cost) คือ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับผู้บาดเจ็บโดยตรง • ต้นทุนทางอ้อม (Indirect cost) คือ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากต้นทุนทางตรง ซึ่งสามารถคํานวณเป็นตัวเงินได้ ต้นทุนทางอ้อม จากการเกิดอุบัติเหตุในการก่อสร้าง

 เวลาที่สูญเสียไปในการดูแลและจัดสวัสดิการ แก่คนงานที่ได้รับบาดเจ็บ  การสูญเสีย ผู้ที่มีความรู้ความชํานาญและประสบการณ์  ค่าใช้จ่าย ในการฝึกอบรมแรงงานทดแทน  กําลังการผลิตลดลง ไม่ต่อเนื่อง ต้องหยุดงาน  ผลตอบแทน ที่จ่ายให้แก่คนงานที่ได้รับบาดเจ็บ ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 4


ลักษณะของการสูญเสีย

กับต้นทุนหรือผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ต้นทุนหรือผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น

ลักษณะของการสูญเสีย 1) การได้รับบาดเจ็บ

• • • •

ค่าใช้จ่ายในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าใช้จ่ายในการตรวจรักษา ค่าใช้จ่ายในการทํารายงานตามลําดับชัน ้

2) การสูญเสียด้านค่าแรงงาน

• • • •

การสูญเปล่าด้านเวลาเมื่อคนงานถูกขัดจังหวะจากการเกิดอุบัติเหตุ ค่าแรงงงานที่สูญเสียเนื่องจากการทําความสะอาด และจัดการด้านสถานที่ให้เรียบร้อย เวลาที่สูญเสียไปในการซ่อมแซมเครื่องจักรกลที่ได้รับความเสียหาย ้ งต้น เวลาที่สูญเสียในช่วงที่คนงานได้รบ ั การรักษาพยาบาลเบือ

• • • •

ความก้าวหน้าของงานที่ได้รับผลกระทบจากอุบัตเิ หตุลดลง สูญเสียผูม ้ ีความชํานาญและประสบการณ์ มีกําลังผลิตตํา่ ลงเนื่องจากแรงงานที่นาํ มาทดแทนขาดประสบการณ์ ่ งจักรกล ทําให้เกิดช่วงเวลาว่างงานของเครือ

3) การสูญเสียด้านการผลิต


กฎหมายและมาตรฐาน

ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

• กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง • เจ้าหน้าที่และหน่วยงานความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง • มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 6


กฎหมายและมาตรฐาน

ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

• ระยะแรก ตราขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 นับว่าเป็นแม่บทสําคัญของกฎหมายคุ้มครอง สุขภาพ อนามัยและความปลอดภัยของลูกจ้าง

• ต่อมา กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมได้ ประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้แทนประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 103

• พ.ศ. 2554 กระทรวงแรงงานได้ประกาศใช้ พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2554

โดยยกเลิ ก หมวด 8 ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ สภาพแวดล้ อ มในการทํ า งานของพระราชบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครอง แรงงาน พ.ศ. 2541 ซึ่ ง เป็ น กฎหมายแม่ บ ทในการออก กฎหมายด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเดิม

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 7


กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

กับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

• พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

ซึ่ ง ต่ อ มามี ก ารประกาศพระราชบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครองแรงงาน ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551) ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2551) และฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2553) รวมถึงกฎหมายที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติ ดังกล่าวนี้ด้วย

• พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2554

รวมถึงกฎหมายที่ออกภายใต้พระราชบัญญัตฉ ิ บับนี้

พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2554

จึงถือเป็นกฎหมายแม่บทด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ฉบับปัจจุบันที่ได้มีการบังคับใช้แล้ว ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 8


กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

การปฏิบัติงานก่อสร้างโดยตรง

• กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการทํางาน พ.ศ. 2549 • กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการทํางานเกี่ยวกับการก่อสร้าง พ.ศ. 2551 • กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการทํางาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 9


่ ละหน่วยงาน เจ้าหน้าทีแ

ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

สถานประกอบกิจการที่เข้าข่ายการบังคับใช้ต้องจัดให้มี 1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับต่าง ๆ 2) คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน 3) หน่วยงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 0


รายละเอียดแสดงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทํางานระดับต่าง ๆ

ประเภทกิจการที่บังคับใช้*

จํานวนลูกจ้าง

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับ หัวหน้างาน

บริหาร

เทคนิค

เทคนิคขั้นสูง

วิชาชีพ

2 คนขึ้นไป

-

-

2), 3), 4), 5)

2-19 คน

-

-

-

2), 3), 4), 5)

20-49 คน

-

-

2), 3), 4), 5)

50-99 คน

-

-

2), 3), 4), 5)

100 คนขึ้นไป

-

-

6), 7), 8), 9), 10), 11), 12), 13)

20 คนขึ้นไป

-

-

-

1)

* ประเภทกิจการที่บังคับใช้ให้มีเจ้าหน้าที่ 1) 2)

3) 4) 5)

การทําเหมืองแร่ เหมืองหิน กิจการปิโตรเลียมหรือปิโตเคมี การทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบํารุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแต่ง เสริมแต่ง ดัดแปลง แปรสภาพ ทําให้เสีย หรือทําลายซึ่งวัตถุหรือทรัพย์สิน รวมทั้งการต่อเรือ การให้กําเนิดแปลงและจ่ายไฟฟ้าหรือพลังงานอย่างอื่น การก่อสร้าง ต่อเติม ติดตั้ง ซ่อม ซ่อมบํารุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง ทางรถใต้ ดิน ท่าเรือ อู่เรือ สะพานเทียบเรือ ทางนํา้ ถนน เขื่อน อุโมงค์ สะพาน ท่อระบาย ท่อนํา้ โทรเลข โทรศัพท์ ไฟฟ้า ก๊าซ หรือประปา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ รวมทั้งการเตรียมหรือวางฐานรากของการก่อสร้าง การขนส่งคนโดยสารหรือสินค้าโดยทางบก ทางนํา้ ทางอากาศ และรวมทั้งการบรรทุกขนถ่ายสินค้า สถานีบริการหรือจําหน่ายนํา้ มันเชื้อเพลิงหรือก๊าซ

6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14)

โรงแรม ห้างสรรพสินค้า สถานพยาบาล สถาบันทางการเงิน สถานตรวจทดสอบทางกายภาพ สถานบริการบันเทิง นันทนาการ หรือการกีฬา สถานปฏิบัติการทางเคมีหรือชีวภาพ สํานักงานที่ปฏิบัติงานสนับสนุนสถานประกอบกิจการตาม 1) ถึง 12) กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานประกาศกําหนด


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค

ในการทํางานระดับหัวหน้างาน

1) กํากับ ดูแล ให้ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือ 2) วิเคราะห์งานในหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อค้นหาความเสี่ยงหรืออันตรายเบื้องต้น 3) สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง แก่ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 4) ตรวจสอบสภาพการทํางาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย ก่อนลงมือปฏิบัติงานประจําวัน 5) กํากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ของลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบ ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 2


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค

ในการทํางานระดับหัวหน้างาน

6) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญ อันเนื่องจาก การทํางานของลูกจ้างต่อนายจ้าง และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย

7) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญ อันเนื่องจากการทํางานของลูกจ้าง ร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา ต่อนายจ้างโดยไม่ชักช้า

8) ส่งเสริมและสนับสนุน

กิจกรรมความปลอดภัยในการทํางาน

9) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย ในการทํางานอื่น ตามทีเ่ จ้าหน้าที่ความปลอดภัย ในการทํางานระดับบริหารมอบหมาย

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 3


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค ในการทํางานระดับบริหาร

1) กํากับ ดูแล เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย

ในการทํางานทุกระดับซึ่งอยูในบังคับบัญชา ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร

2) เสนอแผนงานโครงการ

ด้านความปลอดภัยในการทํางานในหน่วยงาน ที่รับผิดชอบต่อนายจ้าง

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 4


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค ในการทํางานระดับบริหาร

3) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตาม

การดําเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน ให้ เป็ น ไปตามแผนงานโครงการเพื่ อ ให้ มี ก ารจั ด การด้ า น ความปลอดภั ย ในการทํ า งานที่ เ หมาะสมกั บ สถาน ประกอบกิจการ

4) กํากับ ดูแล และติดตาม

ให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยของลูกจ้าง ตามที่ ได้รับรายงานหรือตามข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าที่ ความปลอดภั ย ในการทํ า งาน คณะกรรมการ หรื อ หน่วยงานความปลอดภัย

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 5


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค ในการทํางานระดับเทคนิค

1) ตรวจสอบและเสนอแนะ ให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน 2) วิเคราะห์งานเพื่ อชี้บ่งอันตราย รวมทัง ้ กําหนดมาตรการป้องกัน และขั้นตอนการทํางานอย่างปลอดภัย เสนอต่อนายจ้าง 3) แนะนําให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือ ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 6


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค ในการทํางานระดับเทคนิค

4) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือ การเกิดเหตุเดือดร้อน รําคาญ อันเนื่องจากการทํางาน และ รายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้าง เพื่อป้องกันการเกิดเหตุโดยไม่ชักช้า 5) รวบรวมสถิติ จัดทํารายงาน และข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือ การเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญ อันเนื่องจากการทํางานของลูกจ้าง 6) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทํางานอื่น ตามที่นายจ้างมอบหมาย ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 7


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค

ในการทํางานระดับเทคนิคขัน ้ สูง

1) ตรวจสอบและเสนอแนะ

ให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน

2) วิเคราะห์งานเพื่ อชี้บ่งอันตราย

รวมทั้งกําหนดมาตรการป้องกัน และ ขั้นตอนการทํางานอย่างปลอดภัย เสนอต่อนายจ้าง

3) วิเคราะห์แผนงานโครงการ

รวมทั้งข้อเสนอแนะของหน่วยงาน และเสนอแนะมาตรการความปลอดภัย ในการทํางานต่อนายจ้าง

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 8


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค

ในการทํางานระดับเทคนิคขัน ้ สูง

4) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการ หรือ มาตรการความปลอดภัยในการทํางาน

5) แนะนําให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือ แนะนํา ฝึกสอน อบรมลูกจ้าง เพื่อให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุ อันจะทําให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการทํางาน

6) ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์

การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือ การเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญ อันเนื่องจากการทํางาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้องกัน การเกิดเหตุโดยไม่ชักช้า ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 9


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค

ในการทํางานระดับเทคนิคขัน ้ สูง

7) รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทํารายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบ อันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญ อันเนื่องจากการทํางานของลูกจ้าง 8) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทํางานอื่น ตามที่นายจ้างมอบหมาย

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 0


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค

ในการทํางานระดับวิชาชีพ

1) ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้าง

ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน

2) วิเคราะห์งานเพื่ อชี้บ่งอันตราย

รวมทั้งกําหนดมาตรการป้องกันหรือขั้นตอนการทํางาน อย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจ้าง

3) ประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทํางาน 4) วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมทั้งข้อเสนอแนะของหน่วยงาน และเสนอแนะมาตรการความปลอดภัย ในการทํางานต่อนายจ้าง

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 1


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค

ในการทํางานระดับวิชาชีพ

5) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการ หรือ มาตรการความปลอดภัยในการทํางาน

6) แนะนําให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือ 7) แนะนํา ฝึกสอน อบรมลูกจ้าง เพื่อให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุ อันจะทําให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการทํางาน

8) ตรวจวัดและประเมิน

สภาพแวดล้อมในการทํางาน หรือ ดําเนินการร่วมกับบุคคลหรือหน่วยงาน ที่ข้น ึ ทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เป็นผู้รับรองหรือตรวจสอบเอกสาร หลักฐานรายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อม ในการทํางานภายในสถานประกอบกิจการ ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 2


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค

ในการทํางานระดับวิชาชีพ

9) เสนอแนะต่อนายจ้าง

เพื่อให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทํางาน ที่เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการ และพัฒนาให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง

10) ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์

การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุ เดือดร้อนรําคาญ อันเนื่องจากการทํางาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้องกัน การเกิดเหตุโดยไม่ชักช้า

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 3


่ วามปลอดภัย เจ้าหน้าทีค

ในการทํางานระดับวิชาชีพ

11) รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทํารายงาน

และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญ อันเนื่องจากการทํางานของลูกจ้าง

12) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทํางานอื่น ตามที่นายจ้างมอบหมาย

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 4


มาตรฐานระบบการจัดการ

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

การเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรม

รัฐบาลมอบหมายให้ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กําหนด ❝ อนุกรมมาตรฐานระบบการจัดการ

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ❞

ใช้เป็นข้อกําหนดในการตรวจประเมินของ สมอ. เพื่อรับรองระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยขององค์การ โดยเป็นการเตรียมความพร้อมที่จะรองรับ การเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมงานก่อสร้าง

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 5


อนุกรมมาตรฐาน มอก.18000

เพื่อให้ภาครัฐ และเอกชน ได้ใช้เป็นแนวปฏิบัติ จะประกอบด้วย

มอก. 18001-2554

ข้อกําหนดเกี่ยวกับระบบ การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย

มอก. 18004-2544

ข้อแนะนําทัว่ ไปเกี่ยวกับหลักการ ระบบ เทคนิคในทางปฏิบัติ

มอก. 18011-2549

แนวทางการตรวจประเมิน การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

มอก. 18012-2548

แนวทางการกําหนดความสามารถ ของผู้ตรวจประเมินระบบ ฯ

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 6


วัตถุประสงค์

ของ มอก.18000

1) ลดความเสี่ยงต่ออันตรายและอุบัติเหตุต่าง ๆ ของพนักงานและผู้เกี่ยวข้อง

2) ปรับปรุงการดําเนินงาน

ของธุรกิจให้เกิดความปลอดภัย

3) ช่วยสร้างภาพพจน์ความรับผิดชอบ

ขององค์การต่อพนักงานภายในองค์การ ต่อองค์การเอง และต่อสังคม

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 7


หลักการของมาตรฐานระบบ

การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การค้นหา อันตราย

การกําหนด

มาตรการควบคุม

การประเมินค่า อันตราย

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 8


การจัดทํา

ระบบ OH & S

1) นโยบายอาชีวอนามัย และความปลอดภัย 2) การวางแผน 3) การนําไปใช้และการปฏิบัติ 4) การตรวจสอบและแก้ไข 5) การทบทวนการจัดการ

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 9


องค์ประกอบของการนําระบบ OH & S ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

1) ความมุ่งมั่นและตั้งใจอย่างแน่วแน่

ของผู้บริหารระดับสูงในการนําระบบมาใช้

2) การสนับสนุนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ของผู้บริหารระดับสูง

3) ความเข้าใจและให้ความสําคัญต่อระบบ 4) การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ของทุกคนในองค์การ

5) การมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง ของทุกคนในองค์การ

6) การได้รับการจัดสรรทรัพยากรอย่างเพี ยงพอ 7) การติดตามและปรับปรุงระบบ การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย อย่างต่อเนื่อง

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 0


การตรวจสอบความปลอดภัย

จากอุบัติเหตุในการปฏิบัติงานก่อสร้าง การตรวจสอบความปลอดภัย จากอุบัติเหตุที่เกิดจาก . . . 1) ลักษณะงาน 2) เครื่องมือและเครื่องจักรกล 3) กระแสไฟฟ้า 4) สารเคมีและแรงดันของก๊าซ 5) สาเหตุธรรมชาติ

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 1


อุบัติเหตุในงานก่อสร้าง

ส่วนใหญ่จะเกิดจากผู้ปฏิบัติงานเป็นสําคัญ 1) การไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนด และกฎหมายในการคุ้มครองความปลอดภัย อย่างเคร่งครัด 2) คนงานหรือผู้ปฏิบัติงานขาดการตระหนัก ถึงมาตรการในการรักษาความปลอดภัย 3) ความไม่มีประสิทธิภาพในการควบคุมงาน ของผู้ควบคุมงาน 4) การขาดแรงจูงใจของคนงาน ในการรักษาความปลอดภัย 5) การขาดความพร้อม ของระบบข้อมูลทางด้านอุบัติเหตุ ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 2


ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ ที่เกิดจากลักษณะงาน

แบ่งตามลักษณะการทํางาน ออกเป็น 6 ลักษณะ ดังนี้ 1) งานขุดดิน 2) งานนั่งร้าน แบบหล่อ และคํ้ายัน 3) งานประกอบและยกติดตั้ง 4) งานโรงเก็บวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง 5) งานเจาะและระเบิด 6) งานรื้อถอนทําลาย ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 3


ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ

ที่เกิดจากเครื่องมือและเครื่องจักรกล

หลักการพื้นฐานของการใช้งานเครื่องมือ และเครื่องจักรกลอย่างปลอดภัย คือ • การเลือกใช้เครื่องมือและเครื่องจักรกล ให้เหมาะสมกับงาน • การใช้เครื่องมือและเครื่องจักรกล ให้ถูกวิธีที่กําหนดไว้ในคู่มือการใช้งาน • การรักษาเครื่องมือและเครื่องจักรกล ให้อยู่ในสภาพดีพร้อมใช้งานตลอดเวลา • การจัดเก็บในที่ปลอดภัยเป็นระเบียบเรียบร้อย • การขนย้ายต้องคํานึงถึงความปลอดภัย • การแต่งกายรัดกุม ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล • ผู้ใช้หรือผู้ควบคุมงานควรมีความรู้ความชํานาญ • ไม่ควรใช้งานเกินพิ กัดของเครื่องจักรกล ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 4


ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ ที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า

อันตรายที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าควรระวังมากที่สุด เพราะก่อให้เกิด ความเสี ยหายทั้งต่ออาคารและต่อบุคคลสาเหตุส่วนใหญ่จะเกิดจาก ความประมาทเลินเล่อของผู้ปฏิบัติงาน

• การหลีกเลี่ยงการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพ

ฉนวนหุ้มสายไฟฉีกขาด การใช้สายเปลือยเสียบกับเต้าเสียบ การทํางานในที่เปียกชื้น กระแสไฟฟ้ารั่ว

• การก่อสร้างอาคารสูงๆ และอยู่ใกล้กับแนวเดินสายไฟฟ้าแรงสูง

ซึ่ ง ท า ง ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ใ ช้ ส า ย เ ป ลื อ ย ห า ก ค น ง า น ไ ม่ ค่ อ ย ระมัดระวังในการขนถ่ายวัสดุเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟ้า รั่วเข้าสู่ตัวคนงาน

• การใช้สายไฟฟ้าขนาดเล็กมาใช้ โดยมิได้คํานึงถึงขนาดสายไฟฟ้าที่นํามาใช้ ว่าจะทนต่อกระแสไฟฟ้าได้มากน้อยเท่าใด

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 5


ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ ที่เกิดจากสารเคมี

• ควรเก็บรักษาสารเคมีท่ใี ช้ในการทํางานอย่างมิดชิด ควรนําออกมาใช้เมื่อถึงเวลา และมีความจําเป็น • ควรจะมีการติดป้ายให้ทราบถึงชื่อ ชนิด และอันตรายของสารเคมี บนภาชนะที่ใช้เก็บอย่างชัดเจน เพื่อป้องกันการเข้าใจผิด • บุคลากรผู้นําไปใช้ควรจะเป็นผู้ที่มีความรู้ ความชํานาญ ทราบถึงคุณลักษณะ และวิธีการนําสารเคมีเหล่านี้ไปใช้อย่างดี ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 6


ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ

ที่เกิดจากแรงดันของก๊าซ

• ควรมีการติดตั้งวาล์วลดความดัน (Pressure Regulating Valve) และเกจ์วัดความดัน (Pressure Gauge) แล้วคอยตรวจสอบอยู่เสมอ ว่าอุปกรณ์เหล่านี้ยังคงทํางานเป็นปกติอยู่ • งานที่มีความดันสูง ๆ จะต้องมี Release Valve หรือ Safety Valve ป้องกันไว้เสมอ ที่มาของภาพ http://wsau.com/news/articles/2011/nov/ 15/gas-leak-repaired-in-wausau/

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 7


ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ ที่เกิดสาเหตุธรรมชาติ

ฟ้าผ่า พายุฝน นํา้ ท่วม ฯลฯ • การตรวจสอบสิ่งปลูกสร้างชั่วคราว ให้มีความแข็งแรงมั่นคงต่อการรับแรงของพายุฝน การเตรียมการป้องกันนํา้ ท่วม เช่น เตรียมเครื่องสูบนํา้ ตรวจสอบการระบายนํา้ ตรวจสอบท่อระบายนํา้ การทําความสะอาดไซด์งาน • การตรวจสอบสิ่งปลูกสร้าง ที่ยังดําเนินการติดตั้งไม่แล้วเสร็จ เช่น ประตู หน้าต่างกระจก

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 8


แนวคิดที่ดีท่ส ี ุด

ในการปฏิบัติงานให้เกิดความปลอดภัย 1) ความไม่ประมาท 2) การลดความเสี่ยง 3) การป้องกันภัยอันตรายล่วงหน้า

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 9


หน่วยที่ 14 ความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ บุณย์เพิ่ ม สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 4 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 0


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.