[pdf 31401] หน่วยที่ 07 งานลำเลียงและงานหล่อคอนกรีต

Page 1

หน่วยที่ 07 งานลําเลียง

และงานหล่อคอนกรีต

รองศาสตราจารย์นพพร โทณะวณิก สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1


งานลําเลียง และ งานหล่อ คอนกรีต

งานลําเลียง

คอนกรีต

งานเท

การตรวจสอบ

หลังการหล่อ

คอนกรีต

งานรอยต่อ

คอนกรีต

คอนกรีต

ระหว่าง การก่อสร้าง ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต

ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2


งานลําเลียงคอนกรีต

• การควบคุมงานลําเลียงคอนกรีตทางแนวราบ • การควบคุมงานลําเลียงคอนกรีตต่างระดับ • การควบคุมงานลําเลียงคอนกรีตทางสูง

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3


การควบคุมงานลําเลียงคอนกรีต ทางแนวราบ

• การใช้แรงคนหิว้ หรือหาบหาม • การลําเลียงคอนกรีตด้วยรถเข็น • รถลําเลียงคอนกรีตแบบ มีเครื่องยนต์ขับเคลื่อน (Power Buggies)

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 4


การเตรียมทาง

สําหรับรถเข็นคอนกรีต


การทํางาน ของรถส่งคอนกรีต แบบใช้เครื่องยนต์


การทํางาน ของรถส่งคอนกรีต แบบใช้เครื่องยนต์


การควบคุมงานลําเลียงคอนกรีตต่างระดับ 1) วิธีลําเลียงคอนกรีต ด้วยรางเท

วิธีที่ผิด

วิธีที่ถูก


การควบคุมงานลําเลียงคอนกรีตต่างระดับ 2) วิธีลําเลียงคอนกรีต ่ น ด้วยสายพานเลือ

วิธีที่ผิด

วิธีที่ถูก


การลําเลียงคอนกรีต ด้วย สายพานลําเลียง หลายชุด แบบต่อเนื่อง


การควบคุมงานลําเลียงคอนกรีต ทางสูง

• การลําเลียงคอนกรีตด้วยอุปกรณ์ขนส่ง ประเภทรอก • การลําเลียงคอนกรีตด้วยถังและหิว้ ส่ง ยังจุดที่จะเทด้วยปั้นจั่น • การลําเลียงคอนกรีตด้วยวิธีใช้เครื่องสูบคอนกรีต

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1 1


อุปกรณ์ขนส่ง ประเภทรอก


การใช้ถังบรรจุคอนกรีต ลําเลียงคอนกรีต


งานเทคอนกรีต

• การตรวจสอบก่อนงานเทคอนกรีต • การควบคุมงานเทคอนกรีตลงแบบหล่อ • การควบคุมวิธีปฏิบัติงานให้คอนกรีตมีเนื้อแน่น

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1 4


การตรวจสอบ

ก่อนงานเทคอนกรีต

1) การตรวจสอบแบบหล่อก่อนงานเทคอนกรีต 2) การตรวจสอบส่วนโครงสร้างที่จะเทคอนกรีต ที่ต้องวางบนดินโดยตรง 3) การตรวจสอบการวางเหล็กเสริม 4) การตรวจสอบอุปกรณ์ยึดฝังในคอนกรีต 5) การตรวจสอบคาน พื้ น หรือ ผนังที่แบบขยายจริง กําหนดให้มีช่องเปิด หรือ ช่องท่อลอด

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1 5


การควบคุม

งานเทคอนกรีตลงแบบหล่อ

1) ควบคุมให้ปล่อยคอนกรีตลงใกล้จุดที่จะเทให้มากที่สุด และให้คอนกรีตไหลลงในแนวดิ่ง 2) การเทคอนกรีตในระยะสูง เช่น งานหล่อคอนกรีตเสา หรือ ผนัง 3) งานเทคอนกรีตกับงานสั่นคอนกรีตให้มีเนื้อแน่น เป็นงานที่ต้องพิจารณาควบคู่กัน 4) งานเทคอนกรีตใต้นํ้า เป็นงานที่ต้องใช้เทคนิคพิเศษโดยเฉพาะ

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 1 6


ควบคุมให้ปล่อยคอนกรีต ลงใกล้จด ุ มากที่สุด และให้คอนกรีต ไหลลงในแนวดิง ่


ควบคุมให้ปล่อยคอนกรีต ลงใกล้จด ุ มากที่สุด และให้คอนกรีต ไหลลงในแนวดิง ่


ควบคุมให้ปล่อยคอนกรีต ลงใกล้จด ุ มากที่สุด และให้คอนกรีต ไหลลงในแนวดิง ่


การเทคอนกรีตในระยะสูง เช่น งานหล่อคอนกรีตเสา

หรือ ผนัง


การควบคุม

วิธีปฏิบัติงานให้คอนกรีตมีเนื้อแน่น

1) การทําให้คอนกรีตมีเนื้อแน่นด้วยแรงคน 2) การทําให้คอนกรีตมีเนื้อแน่นด้วยเครื่องมือกล

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2 1


งานรอยต่อคอนกรีต

ระหว่างการก่อสร้าง

1) การกําหนดรอยต่อคอนกรีต ตามขั้นตอนของการก่อสร้าง 2) การเตรียมรอยต่อคอนกรีต ระหว่างการปฏิบัติงาน 3) การตรวจสอบงานเทคอนกรีตใหม่ เชื่อมต่อกับคอนกรีตเก่า

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2 2


ประเภทของรอยต่อ

งานคอนกรีต

1) รอยต่อคอนกรีตถาวร

• รอยต่อเพื่อการขยายตัว (Expansion Joint) • รอยต่อเพื่อการหดตัว (Contraction Joint)

2) รอยต่อคอนกรีตชั่วคราว

เป็นรอยต่อที่เกิดขึ้นในระหว่างการก่อสร้าง (Construction Joint) • รอยต่อคอนกรีตที่จําเป็นต้องหยุดงานหล่อคอนกรีตไว้ เป็นช่วง ๆ ตามลักษณะของงาน • รอยต่อคอนกรีตที่จําเป็นต้องหยุดงานหล่อ เนื่องจากสภาพของงานประจําวัน • รอยต่อคอนกรีตที่ผู้รับจ้างขออนุมัติหยุดงานเทคอนกรีต ไว้ล่วงหน้า ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2 3


การกําหนดรอยต่อคอนกรีต ตามขั้นตอนของการก่อสร้าง

รอยต่อคอนกรีต

ตามลักษณะของโครงสร้าง


การกําหนดรอยต่อคอนกรีต ตามขั้นตอนของการก่อสร้าง

รอยต่อคอนกรีต

ตามขั้นตอนของการก่อสร้าง


การเตรียมรอยต่อคอนกรีต

ระหว่างการปฏิบัติงาน

1) 2) 3) 4)

การเตรียมรอยต่อพื้ นคอนกรีต การเตรียมรอยต่อคอนกรีตในคาน การเตรียมรอยต่องานผนัง การเตรียมรอยต่อคอนกรีต ที่ต้องติดตั้งแถบกันนํ้าซึม (Water Stop)

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 2 6




ก) การติดตั้งแถบกันนํ้าซึมกับคอนกรีตพื้ นส่วนแรก

ข) การเตรียมเทคอนกรีตพื้ นส่วนที่ต่อเนื่อง


การติดตั้งแถบกันนํ้าซึมของแนวรอยต่อทางแนวนอนระหว่างพื้ นกับผนัง


การตรวจสอบงานเทคอนกรีตใหม่

เชื่อมต่อกับคอนกรีตเก่า

1) การเตรียมรอยต่อคอนกรีตทางแนวตั้ง 2) การเตรียมรอยต่อคอนกรีตทางแนวนอน

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3 1


การตรวจสอบ

หลังการหล่อคอนกรีต

1) ข้อพิ จารณาในการถอดแบบหล่อคอนกรีต 2) การตรวจสอบงานผิวคอนกรีตหลังการถอดแบบ 3) การควบคุมงานบ่มคอนกรีต

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3 2


ข้อพิ จารณา 1) 2) 3) 4)

ในการถอดแบบหล่อคอนกรีต

ประเภทของซีเมนต์ที่ใช้ในส่วนผสมคอนกรีต ลักษณะและขนาดของโครงสร้าง อุณหภูมิของอากาศหลังการเทคอนกรีตลงแบบหล่อ การเตรียมการก่อนการถอดแบบหล่อ

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3 3


การตรวจสอบ

งานผิวคอนกรีตหลังการถอดแบบ

1) งานซ่อมแซมผิวคอนกรีต 2) งานตกแต่งผิวหน้าคอนกรีต 3) งานแต่งระดับผิวหน้าคอนกรีตพื้ น

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3 4


การควบคุม

งานบ่มคอนกรีต

1) วิธีขังนํ้าปิดผิวหน้าคอนกรีต 2) วิธีฉีดหรือพ่ นนํ้าที่ผิวคอนกรีต 3) วิธป ี ิดคลุมผิวคอนกรีตด้วยผ้ากระสอบ และฉีดนํ้ารดผ้ากระสอบให้ชุ่ม 4) วิธีปิดคลุมด้วยผืนพลาสติก 5) วิธีปิดคลุมด้วยกระดาษกันนํ้า 6) วิธีใช้นํ้ายาบ่มคอนกรีตทาเคลือบผิว 7) วิธีบ่มด้วยการทิง ้ แบบหล่ออยู่ในที่ ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3 5


หน่วยที่ 07 งานลําเลียง

และงานหล่อคอนกรีต

รองศาสตราจารย์นพพร โทณะวณิก สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 0 7 ง า น ลํา เ ลี ย ง แ ล ะ ง า น ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง

ห น้ า ที่ 3 6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.