หน่วยที่ 06 งานแบบหล่อคอนกรีต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาสมา สุทธิพงศ์
สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1
หน่วยที่ 06 งานหล่อแบบคอนกรีต 6.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานแบบหล่อคอนกรีต 6.2 การตร วจงาน แบ บห ล่ อ ในขั้ นต อน กา ร เตรียมงานและการติดตั้งแบบหล่อ 6.3 การตรวจงานแบบหล่ อ ในขั้ น ตอนการเท คอนกรีตและการถอดแบบหล่อและคํ้ายัน 6.4 การควบคุมคุณภาพงานแบบหล่อและการ วิบัติของแบบหล่อ ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2
ความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับงานแบบหล่อคอนกรีต
• ประเภทของแบบหล่อ • ส่วนของโครงสร้าง
แบบหล่อฐานราก แบบหล่อเสา แบบหล่อคาน แบบหล่อพื้ น แบบหล่อผนัง
• เทคนิคการก่อสร้าง
แบบหล่อกับที่ แบบหล่อพิ เศษ
• การจัดหา
แบบหล่อที่ประกอบขึ้นเอง แบบหล่อสําเร็จรูป
• แรงที่กระทําต่อชิน ้ ส่วนแบบหล่อ ชิ้นส่วนรับแรงดันด้านข้าง ชิน ้ ส่วนรับแรงในแนวดิง ่
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3
วัสดุแบบหล่อ • ต้อ งทํ า ให้ แ บบหล่ อ มีค วามแข็ ง แรง เพี ย งพอที่ จะรั บ แรงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในระหว่างการทํางาน • โดยยังคงรูปร่าง และ ได้ผิวคอนกรีตถูกต้องตรงตาม แบบก่อสร้าง เรียบร้อยสวยงาม และประหยัด • วัสดุที่นิยม ไม้ ไม้แปรรูป ไม้อัด และ เหล็ก ข้อดีและข้อเสีย • การเลือกใช้วัสดุในงานแบบหล่อ พิ จารณาถึ ง คุ ณ สมบั ติ วั ส ดุ ความคุ้ ม ค่ า การ ลงทุ น การก่ อ สร้ า ง การเก็ บ และบํ า รุ ง รั ก ษา คุณภาพ เวลาและค่าใช้จ่ายโดยรวม ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4
ไม้
เหล็ก
ข้อดี
ข้อดี
• • • •
การทํางานง่าย สะดวกในการจัดหาทั้งวัสดุและช่างฝีมือ ดัดแปลงเปลี่ยนขนาดได้โดยง่าย การลงทุนเริม ่ แรกตํ่า
ข้อเสีย
• ความทนทานสูง • จํานวนการใช้ซ้าํ สูงมาก • ผิวไม่ดูดซึมนํ้า • สามารถทําให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ ได้โดยไม่มีขีดจํากัด • ค่าคุณสมบัติต่าง ๆ ที่ใช้ในการคํานวณแบบหล่อคงที่ไม่ เหมือนวัสดุธรรมชาติ • ติดตั้งได้รวดเร็ว ใช้แรงงานน้อย
• ผิวของแบบหล่อไม้มีการดูด ซึมนํ้า สูง และมัก จะเกิด การ ข้ อ เสี ย เสียรูป • เป็ นวั ส ดุธ รรมชาติ จึ ง มี ข้ อด้ อ ย เช่ น มี ข้ อจํ า กั ด เรื่ อ ง • มีนํ้ า หนั ก มากจํา เป็น ที่ ต้อ งการอุ ปกรณ์แ ละเครื่อ งทุ่ น แรงในการประกอบ การยกติดตั้ง ขนาดความสามารถในการรับแรงมักจะไม่คงที่ • ต้องเก็บรักษาอย่างดี มิฉะนั้น อาจเกิด การผุหรือบิด งอ • การทํางานต้องการอุปกรณ์และช่างเฉพาะ • ต้องการการเก็บรักษาที่ดี มิฉะนั้นอาจเกิด สนิมหรือเกิด เสียรูปทรง การผุกร่อน
ประเภท อุปกรณ์แบบหล่อ • อุปกรณ์ทั่วไป ตะปู น็อต สลักเกลียว สมอยึด ตัวแขวน ฯ • อุปกรณ์แบบหล่อ เหล็กยึดรั้ง อุปกรณ์รัดแบบ คํ้ายัน ฯ • อุปกรณ์ทําขึ้นใช้เอง และอุปกรณ์สําเร็จรูปที่มีจําหน่าย
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6
การเลือกใช้ อุปกรณ์แบบหล่อ • เหมาะสมกับลักษณะงาน และ ชนิดของวัสดุแบบหล่อ • ข้อดีข้อเสีย
คุณสมบัติ การประกอบติดตั้ง และการถอดแบบหล่อ
• คุณสมบัติอุปกรณ์แบบหล่อที่ดี ติดตั้งง่าย มีความยืดหยุ่น
• ควบคุมมาตรฐาน และอัตราการทํางานได้ สึกหรอ/สูญเสียน้อย
• ค่าบํารุงรักษาตํ่า
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7
แรงที่กระทําต่อแบบหล่อ
ประเภท : แรงในแนวดิง ่ และ แรงดันด้านข้าง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงในแนวดิง ่ • • • •
นํ้าหนักคอนกรีต นํ้าหนักของแบบหล่อ นํ้าหนักบรรทุกที่เกิดขึ้นในงานแบบหล่อ นํ้าหนักอื่นๆ
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 9
แรงที่กระทําต่อแบบหล่อ
ประเภท : แรงในแนวดิง ่ และ แรงดันด้านข้าง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงดันด้านข้าง • • • • • • •
ขนาดและรูปร่างของแบบหล่อ ส่วนผสมของคอนกรีต อุณหภูมิของคอนกรีต อัตราการเทคอนกรีต วิธีการเท การจี้คอนกรีต นํ้าหนักของคอนกรีตและความลึกของแบบหล่อ
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 0
ข้อควรพิ จารณา
ในการทํางานแบบหล่อ
• คุณภาพ ความปลอดภัย ความประหยัด และเวลา • การควบคุมและตรวจงานแบบหล่อ ควรดําเนินการต่อเนื่องตลอดเวลา • ตรวจสอบความถูกต้องตามรูปแบบ และมาตรฐานการก่อสร้างที่ดี • ตรวจสอบงานทุกระบบของอาคาร ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานคอนกรีตเสริมเหล็ก • ผู้ควบคุมงานต้องศึกษา แบบรูป รายละเอียดประกอบแบบ กฎหมาย และมาตรฐานการก่อสร้าง มีความรู้ ประสบการณ์ในการก่อสร้าง และพื้ นฐานความรู้ด้านโครงสร้าง ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 1
การตรวจงานแบบหล่อ
ในขั้นตอนการเตรียมงานและการติดตั้งแบบหล่อ
ขั้นตอนการเตรียมงาน • การตรวจสอบข้อกําหนดตามกฎหมาย และรายการ ประกอบแบบ และมาตรฐานการก่อสร้าง • การตรวจสอบรายการคํ านวณ แบบขยายจริงของ งานแบบหล่อ และแบบขยายจริงรวม • การตรวจสอบคุณสมบัติของวัสดุและอุปกรณ์ที่จะใช้
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 2
การตรวจงานแบบหล่อ
ในขั้นตอนการเตรียมงานและการติดตั้งแบบหล่อ
ขั้นตอนการติดตั้งแบบหล่อ • การตรวจสอบตามแบบขยายจริง • การตรวจสอบความแข็งแรงของแบบหล่อ และอุปกรณ์ประกอบ • การตรวจสอบการวางแผนการเทคอนกรีต และความปลอดภัยในการทํางาน • การตรวจสอบการเจาะช่องและการฝังวัสดุ และอุปกรณ์ในคอนกรีต • การตรวจสภาพแบบหล่อ เพื่ อคุณภาพของงานคอนกรีต ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 3
การตรวจงานแบบหล่อ
ในขั้นตอนการเทคอนกรีต และการถอดแบบหล่อและคํ้ายัน
ขั้นตอนการเทคอนกรีต • การตรวจสอบงานแบบหล่อ ก่อนการเทคอนกรีต • การตรวจสอบงานแบบหล่อ ระหว่างการเทคอนกรีต • การตรวจสอบงานแบบหล่อ หลังการเทคอนกรีต ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 4
การตรวจงานแบบหล่อ
ในขั้นตอนการเทคอนกรีต และการถอดแบบหล่อและคํ้ายัน
ขั้นตอนการถอดแบบหล่อและคํ้ายัน • การตรวจสอบงานแบบหล่อในขั้นตอนการถอด แบบหล่อและคํ้ายัน การถอดแบบหล่อและคํา้ ยัน การคํา้ ยันซํา้ • การตรวจสอบความคลาดเคลื่อนของโครงสร้าง
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 5
การควบคุมคุณภาพงานแบบหล่อ และการวิบัติของแบบหล่อ
• การควบคุมคุณภาพงานแบบหล่อ
การวางแผนงาน การกําหนดมาตรฐานวิธีการทํางาน ระบบการควบคุมและตรวจสอบที่ดี
• กําหนดขั้นตอนการทํางาน มาตรฐานการก่อสร้าง ระบบตรวจสอบ
ประเภทและช่วงเวลาของงานที่จ ะต้องเสนอเพื่ อการ ตรวจสอบก่อนดําเนินการต่อไป
• แบบฟอร์มรายการการตรวจสอบ (Checklist)
เครื่องมือ เอกสารหลักฐาน
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 7
การควบคุมคุณภาพงานแบบหล่อ
และการวิบัติของแบบหล่อ การวิบัติของแบบหล่อ
สาเหตุของการวิบัติในการทํางานแบบหล่อ • คํ้ายันไม่แข็งแรง การยึด โยง (Bracing) การใช้คํ้า ยันที่มีสภาพไม่ เหมาะสม ฐานรองรับคํ้ายันทรุดตัว • การดัดแปลงแบบหล่อ คํ้า ยัน นั่ง ร้า น และอุปกรณ์ สําเร็จรูป และการใช้อุปกรณ์ที่ทําขึ้นเอง • การยึดส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้า งของแบบหล่อไม่ แข็งแรง • การบรรทุกนํ้าหนักเกินพิกัด • การเทคอนกรีตด้วยอัตราเร็วเกินไป • การขาดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้าง ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 9
หน่วยที่ 06 งานแบบหล่อคอนกรีต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาสมา สุทธิพงศ์
สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ห น่ ว ย ที่ 0 6 ง า น แ บ บ ห ล่ อ ค อ น ก รี ต ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 0