[pdf 31401] หน่วยที่ 11 งานไฟฟ้าและระบบสื่อสาร

Page 1

หน่วยที่ 11 งานไฟฟ้าและระบบสื่อสาร

อาจารย์ จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1


หน่วยที่ 11 งานไฟฟ้าและระบบสื่อสาร 11.1 ความรู้พื้นฐานในการตรวจงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 11.2 การตรวจสอบงานระบบไฟฟ้าและระบบสื่อสาร 11.3 ขัน ้ ตอนการตรวจสอบและการทดสอบงาน วิศวกรรมไฟฟ้า

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2


ความรู้พื้นฐาน

ในการตรวจงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้า

ขอบข่ายและวัตถุประสงค์ ในการตรวจงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้า กฎระเบียบ มาตรฐาน และสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3


ขอบข่ายงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า • ระบบไฟฟ้าแรงสูงภายนอกอาคาร ระบบไฟฟ้าแรงตํ่าภายในอาคาร • ระบบการจ่ายพลังงานไฟฟ้า (Power System) ให้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น Air Condition, Water Pumps, Elevator etc. • ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน เครื่องกําเนิดไฟฟ้า (Generator) ยูพีเอส • ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ทั้งปกติและฉุกเฉิน • ระบบควบคุมต่าง ๆ Remote Control ระบบ Energy Saving • ระบบโทรศัพท์ และระบบติดต่อภายใน • ระบบเสียง ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ • ระบบอื่น ๆ เช่น Cctv / (Lan :Local Area Network) etc. ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4


วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ

วิศวกรรมไฟฟ้า

1) เพื่อให้ได้คุณภาพและปริมาณของงาน เป็นไปตามรูปและรายการ 2) เพื่อให้การติดตั้งเป็นไปตามกฎระเบียบของทางรายการ 3) เพื่อให้เกิดความปลอดภัยที่งชีวิตและทรัพย์สิน 4) เพื่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งานหรือการบริการ 5) เพื่อให้เกิดความสะดวกในด้านการบํารุงรักษาในอนาคต

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


แบบงานด้านระบบไฟฟ้า


มาตรฐานงานไฟฟ้า

ของประเทศไทยเพื่ อความถูกต้องในการทํางาน และเป็นข้อยุติในความถูกต้อง

• ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า • มาตรฐานเพื่อความปลอดภัยในงานไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย วสท. • กฎการเดินสายไฟและการติดตั้งอุปกรณ์ การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค • กฎและระเบียบของทีโอที (องค์การโทรศัพท์ฯ เดิม) และ มอก. ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 3


มาตรฐานงานไฟฟ้า

ที่มักใช้ในงาน

• NEC • ANSI

National Electrical Code American National Standard Institute

• ASTM

American Society for Testing and Material

• NEMA • UL

National Electrical Manufacturers Association Under Writer’ Laboratory, Inc.

• NFPA • IEEE • IEC • BS

National Fire Protection Association Standard Institute of Electrical and Electronics Engineers International Electro Technical Commission British Standard

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 4


สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า • • • •

หมวดไฟฟ้าแรงสูง แรงตํา่ หมวดระบบไฟฟ้าแสงสว่าง หมวดโทรศัพท์และการสื่อสาร หมวดระบบงานเครื่องกลในส่วนระบบไฟฟ้า

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 5


การตรวจสอบงาน

ระบบไฟฟ้าและระบบสื่อสาร

1) ระบบไฟฟ้า 2) ระบบสื่อสาร 3) ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า ภายนอก ภายในอาคาร และการต่อลงดิน

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 6


ระบบไฟฟ้า

ภายในอาคารที่ผู้ควบคุมงานต้องทราบ

• • • • • • •

หมวดสายไฟฟ้า หมวดท่อสาย หมวดตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า หมวดการเดินสายไฟฟ้าแรงตํ่า หมวดดวงโคมไฟฟ้า หมวดสวิตซ์และเต้ารับ หมวดเครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํารองและ UPS

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 7


หมวดสายไฟฟ้า

เฉพาะแรงตํ่า

• สายไฟฟ้าชนิด VAF

สายแบนมี 2 และ 3 แกน ขนาด 0.50-35 ตร.มม. (2 แกน) ขนาด 0.5-16 ตร.มม. (3 แกน) Temp approx 70 องศา ทนแรงดัน 300 V (ใช้ได้ดีใ นที่ แห้งและชื้น)

• สายไฟฟ้าชนิด THW

สายแกนเดีย ว ขนาด 0.50-500 ตร.มม. Temp approx 70 องศา ทนแรงดัน 750 V (ใช้ภายใน อาคารโดยส่ ว นใหญ่ ใช้ เ ป็ น สายป้ อ น (Feeder) และวงจรย่อย)

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 8


หมวดสายไฟฟ้า

เฉพาะแรงตํ่า

• สายไฟฟ้าชนิด NYY

สายชนิ ด 1 แกน 2 แ กน 3 แกนและ 4 แก น Temp approx 70 องศา ทนแรงดั น 750 V (เดินสายฝังดินโดยตรง สําหรับงานเดินสายใต้ดิน เป็นสายเมนสายป้อนภายนอกอาคาร)

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 9


ท่อสาย

(Race Way)

1) ท่อร้อยสายไฟฟ้า Conduit 2) รางเดินสายไฟ Wire Way 3) บัสเวย์ Bus Way

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 0


ท่อสายไฟฟ้า

ประเภท Conduit

จะช่วยป้องกันการอาร์ก ป้องกันความชื้น เป็นเกราะป้องกันสายไฟฟ้า RSC (Rigid Steel Conduit) ชนิ ด หนา โลหะสั ง กะสี ยาวท่ อ นละ 3 เมตร Dia 0.5 - 6 นิ้ว ทํา เกลียวได้ เหมาะกับงาน ฝังดินผ่านถนนที่มีรถแล่นผ่าน IMC (Intermediate Conduit) ชนิดบาง โลหะหนาปานกลาง Dia 0.5 - 4 นิว้ เดินในพื้นที่อาคาร ไม่รับแรงกระแทกมาก (รถ แล่นผ่าน) EMT (Electrical Metallic Tubing) ทําเกลียวไม่ได้ Dia 0.5 - 2 นิ้ว เหมาะแก่ก าร เดินลอยในฝ้าเพดาน ผนังและฝัง กํา แพง แต่ ต้องใช้ข้อต่อกันนํ้า ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 1


ท่อสายไฟฟ้า

ประเภท Conduit

• ท่อโลหะอ่อน (Flexible Conduit) สํ า หรับ ก ารเดินสาย ไฟฟ้ า เข้ า เค รื่ องจัก ร หรือ มอเตอร์ไฟฟ้า (ทั้ง แบบกั นและไม่กัน นํ้า ) ใช้ก ารต่ อ เข้าดวงโคมเพดาน เป็นต้น • PVC Conduit สีเหลือง ทนกรดและด่าง ไม่เหมาะกับที่อุณหภูมิสูง • Asbestos Cement Duct มีความคงทนต่อดินฟ้าอากาศ ไม่ผุกร่อนไม่ติด ไฟ ไร้ ตะเข็ บ ร้ อ ยสายได้ ทั้ ง แรงสู ง แรงตํ่ า แต่ ต้ อ งทํ า Duct Bank ตามมาตรฐานงานไฟฟ้า • HDPE

ติดตั้งง่าย บิดงอได้ แต่ทนแรงกระแทกน้อยกว่า ท่อ โลหะ ทนต่อสารเคมี ใช้ใ นงานไฟฟ้า แรงสูง ม้วนได้ ขนาด 0.5-4 นิว้ ความยาว 50-500 เมตร

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 2


บัสเวย์และบัสบาร์ทรั้งคิง ่

(Bus Way & Bus Bar Trunking)

Bus way • • • • • • • • • •

ใช้กับโหลดสูง ระยะการเดินสายยาวมาก มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มหรือลดโหลด ชนิดตัวนําทําด้วยทองแดงหรืออลูมิเนียม ขนาดกระแส 800-5000 amp. รับไฟจากแหล่งต้นทาง ใช้สายป้อน จ่ายกระแสเป็นช่วง ๆ ตามต้องการ มีช่องเปิดเป็นช่วง ๆ สายป้อนแนวดิง ่

Bus Bar Trunking • • • • •

ใช้งานเหมือนกับ Bus Way งานโหลดสูง ระยะการเดินสายยาว ๆ มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มหรือลดโหลด รับกระแสขนาด 100-800 amp. ใช้ในงานโรงงานอุตสาหกรรม

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 3


กล่องไฟฟ้า

BOX

• ตําแหน่งใช้ในการต่อสาย หรือ อุปกรณ์เข้าวงจรไฟฟ้า • ใช้เป็นที่แยกสาย พักสาย กล่องต่อสาย กล่องแยกสาย กล่องสวิตซ์ กล่องดึง กล่อ งเต้า รับ ทํา จากโลหะหรื อ พลาสติก • กล่อง Switch ติดตั้งสวิตซ์ • Handy Box ติดตั้งเต้ารับหรือสวิตซ์ • Square Box ติดตั้งลอยหรือซ่อ • Octagonal Box จุดจ่ายไฟบนเพดาน เข้าดวงโคม • FS Box ติดตั้งเต้ารับหรือสวิตซ์แบบลอย ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 4


ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า

แรงตํา่ ภายในอาคาร

1) ตู้เมนดิสทริบิวชั่นบอร์ด (Main Distribution Board) เป็ น แผ งที่ เ ป็นศู น ย์ กลาง ควบคุมและ ป้ อ งกัน ระบบไฟฟ้าของอาคารหรือโรงงาน 2) ตู้โหลดเซนเตอร์ (Load Center) เป็ น แผ งที่ ใช้ ค วบ คุ ม แสง สว่าง เต้ า รั บ ภา ยใ น อาคาร

อุปกรณ์ปอ ้ งกันกระแสเกินแรงตํา่ • เซอร์กิตเบรกเกอร์ • ฟิวส์ • เซฟตีส ้ วิตช์

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 5


ระบบการเดินสายไฟฟ้าแรงตํ่า

แบ่งได้ ดังนี้ • การเดินสายเปิดบนวัสดุฉนวน สายไฟฟ้า ติด ตั้ง บนลู กถ้ วยพาดหัว เสา และ สายไฟฟ้า ติ ด ตั้ ง บนลู ก ถ้ ว ยพาดสายใต้ เ มน ชายคา • การเดินในท่อ เป็นการเดินสายไฟฟ้าร้อยท่อ (ท่อโลหะหรือท่อPVC) • การเดินสายลอย (VAF) เป็ นวิ ธี ก ารเดิ น สายที่ นิ ย มกั น มากที่ สุ ดใน ประเทศไทย (การไฟฟ้ า ห้ า มการเดิ น สาย ลอยสํ า หรั บอาคารสู งและอาคารขนาดใหญ่ สูงเกิน 23 เมตรและพื้ นที่เกิน 10000 ตร.ม.) ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 6


ดวงโคมไฟฟ้า

มีลักษณะ ดังนี้ • โคมเหล็กกล่อง

1x36 watt / 2x 36 watt

• โคมทรงอกไก่

กระจายแสงดีกว่าโคมเหล็กกล่อง 1x36 watt/ 2x 36 watt

• โคมไฟฟลูออเรสเซนต์ a) b) c) d) e)

แบบโรงงาน แบบครีบ แบบตัวสะท้อนแสงอลูมิเนียม แบบกรองแสง (แบบขุ่น Opal) แบบกรองแสงเกร็ดแก้ว (Prismatic)

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 7


ดวงโคมไฟฟ้า

มีลักษณะ ดังนี้ • โคมเหล็กกล่อง

1x36 watt / 2x 36 watt

• โคมทรงอกไก่

กระจายแสงดีกว่าโคมเหล็กกล่อง 1x36 watt/ 2x 36 watt

• โคมไฟฟลูออเรสเซนต์ a) b) c) d) e)

แบบโรงงาน แบบครีบ แบบตัวสะท้อนแสงอลูมิเนียม แบบกรองแสง (แบบขุ่น Opal) แบบกรองแสงเกร็ดแก้ว (Prismatic)

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 8


ดวงโคมไฟฟ้า

มีลักษณะ ดังนี้ • Down Light

เหมาะกับฝ้าเพดานสูง 2.5-3.00 เมตร ติดตั้งแบบฝังฝ้าเป็นส่วนใหญ่

• โคมไฟแบบ Spot

เน้นการส่องสว่างเฉพาะ

• โคมไฟแบบฟลัด

ส่องสว่างลานจอดรถ สนามกีฬา

• โคมไฟแบบ High Bay

ใช้ในโรงงาน โกดัง สนามกีฬาบางประเภท สําหรับหลังคาสูง 7.00 เมตร

• ไฟแสงสว่างทางออก

กรณีเพลิงไหม้หรือเกิดอัคคีภัย

• ไฟ Emergency Light กรณีไฟฟ้าดับ

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 9


สวิตช์และเต้ารับ • • • •

รายละเอียดที่ควรทราบ ดังนี้ จํานวนจุดของดวงโคม จํานวนสวิตช์ ชนิดหน้าการเป็นแบบโลหะหรืออโลหะ การติดตั้งเป็นแบบฝังผนังอาคาร หรือแบบติดลอย

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 0


เครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํารอง

และระบบยูพีเอส

สํ า หรั บ การจ่ ายกระแสไฟฟ้า ฉุ ก เฉิ น ให้ กั บ โหลดสําคัญในอาคาร เช่น • มอเตอร์ป๊ ัมนํ้าดับเพลิง • ระบบลิฟต์ • ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน • ไฟทางเดิน • ไฟแสดงทางออก และอื่น ๆ ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 1


หมวดเครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํารอง • เครื่องยนต์ ระบบดีเซล ระบายความร้อนด้วยนํ้า สตาร์ทด้วยดีซีมอเตอร์ แบตเตอรี่เป็นตัวจ่ายกําลังไฟฟ้า • Generator แบบไม่มแ ี ปรงถ่าน ต่อเข้าเครื่องยนต์โดยตรง มีอุปกรณ์ควบคุมสําคัญ คือ เรกูเลเตอร์ • ระบบควบคุมอัตโนมัติ อุปกรณ์การหยุดและใช้เครื่องยนต์ ทํางานแบบอัตโนมัติ ควบคุมโดยคน (Manual) หรือ ระบบ ATS (Automatic Transfer Switch) ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 2


หมวดเครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํารอง • แผงควบคุม (Controller Panel) เครื่องมือวัดแรงดันไฟฟ้า เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า วัดความถี่ไฟฟ้า วัตต์มีเตอร์ • ถังนํ้ามันเชื้อเพลิง จุพอต่อการจ่ายปริมาณการจ่ายกระแสไฟฟ้า หรือโหลด 100 % ไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง • การทดสอบเครื่องกําเนิดไฟฟ้า ปกติเวลาการตรวจรับงาน ระบุให้เครื่องกําเนิดไฟฟ้าจ่ายโหลดต่อเนื่อง

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 3


UPS

(Uninterruptible Power Supply)

• เครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าแบบต่อเนื่อง • ภายในยูพีเอสประกอบด้วย แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และแบตเตอรี่ • ปกติแล้วยูพีเอสในระบบใหญ่ จะใช้งานร่วมกับเครื่องกําเนิดไฟฟ้า • เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า AC เป็น DC (Rectifier) หรือ เครื่องประจุแบตเตอรี่ (Charger) จะทํ า การแปลงกระแสไฟฟ้า AC ที่รั บ จาก ระบบจ่ายไฟ เป็นกระแสไฟฟ้า DC และประจุ ไว้ในแบตเตอรี่ • เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า DC เป็น AC (Inverter) จ ะ แ ป ล ง ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า DC ที่ รั บ จ า ก แบตเตอรี่ เป็นกระแสไฟฟ้า AC เพื่ อใช้กับ อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือคอมพิ วเตอร์

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 4


ระบบสื่อสารภายในอาคาร • • • •

ที่ผู้ควบคุมงานจําเป็นจะต้องตรวจสอบ ระบบโทรศั พท์ ระบบการแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ระบบเอ็มเอทีวี (MATV) ระบบโทรทัศน์วงจรปิด CCTV

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 5


ระบบโทรศั พท์

• ในแบบกําหนดเป็น Block Diagram and Riser Diagram • ตรวจสอบแผง MDF แผงกระจายสายรวมของระบบโทรศัพท์ • ประกอบด้วยตัวตู้ ส่วนพักสาย ที่มาจาก TOT line และ ส่วนพักสายทั้งหมด ที่เชื่อมต่อกับตู้สาขาโทรศัพท์ PABX • Terminal ขั่วต่อสาย และอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า • TC แผงพักโทรศัพท์ประจําชั้น เล็กกว่า MDF ไว้การพักสายย่อย เพื่อจ่ายเข้าเต้ารับโทรศัพท์แต่ละชั้นของอาคาร สําหรับอุปกรณ์ต่าง ๆ • PABX ตู้สาขาโทรศัพท์ ตรวจสอบคู่มือ และ Spec. • CPU/Main Memory/Switching Unit/Power Supply • PABX ระบุจํานวนคู่สายนอกและคู่สายใน เช่น 20/200 เข้า 20 คู่สาย ใช้กับสายภายในได้ 200 คู่สาย ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 6


ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้

(Fire Alarm Protection)

• Power Supply (To be DC.) • อุปกรณ์เริม ่ สัญญาณ (ระบบตรวจจับ) Smoke Detector / Heat Detector / Manual Station • Fire Alarm Control Panel ส่วนควบคุมการแบ่งโซน • Signaling Device กระดิง ่ หรือไซเรนเตือนภัย • Auxiliary Device อุปกรณ์ประกอบ การโทรฯ ออกแจ้งเตือน

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 7


ระบบเอ็มเอทีวี

(MATV System)

• เสาอากาศ (TV antennas) • อุปกรณ์ขยายสัญญาณ (Headed Amplifier Station) • ตัวแยกสัญญาณ (Tab-off Box And Splitter) • เต้ารับโทรทัศน์

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 8


ระบบโทรทัศน์วงจรปิด

(CCTV System)

การติดตั้งกล้องไว้ในสถานที่ต่าง ๆ ส่วนที่ต้องการความมั่นคงสูง เช่น โถงทางเดิน ทางเข้า-ออก ระบบแบ่งเป็น • หมวดเลนส์ • หมวดกล้องและอุปกรณ์ • หมวดจอภาพ • หมวดคู่สาย และระบบการเก็บ และสํารองข้อมูล Harddisk ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 9


ระบบป้องกันอันตราย

จากฟ้าผ่าภายนอกอาคาร

• ตัวนําล่อฟ้า a) แบบแท่งทองแดง b) ชนิดทําให้อากาศโดยรอบบริเวณเกิด การแตก ตัวของประจุไอออน Ionization • สายนําเหนือดิน • สายนําใต้ดินชนิด Ground Rod

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 0


ระบบป้องกันอันตราย

จากฟ้าผ่าภายในอาคาร

เพื่ อ เป็ น การป้ อ งอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้า ภายในอาคารที่ อ าจ เกิดขึ้นจากการเล็ดลอดของเสิร์จที่เกิด จากฟ้า ผ่า เข้า มาใ นอา คาร จึ ง ต้ อ ง ติ ด ตั้ งอุ ป กรณ์เสริมในกา ร ป้องกัน เช่น • Lightning Arrester ใน MDB ป้องกันชั้น 1 • Surge Arrester ใน Load Center ป้องกันชั้นที่ 2 ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 1


ขัน ้ ตอนการตรวจสอบงาน

และการทดสอบงานวิศวกรรมไฟฟ้า 1) การตรวจสอบ ก่อน การติดตั้งระบบไฟฟ้า 2) การตรวจสอบ ขณะ ติดตั้งระบบไฟฟ้า 3) การตรวจสอบ หลัง การติดตั้งระบบไฟฟ้า

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 2


การตรวจสอบ

ก่อนการติดตัง ้ ระบบไฟฟ้า

• ตรวจสอบตารางการทํางานของระบบอื่นที่เกี่ยวข้อง การประสานงานวางท่อหรือ Block out • การตรวจสอบตารางเวลาการทํางาน Schedule โดยรักษากําหนดเวลา • การศึกษาแบบรูป รายการละเอียด (DWG&SPEC) • การตรวจสอบความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ไฟฟ้า และการจัดส่ง ตลอดจนขั้นตอนการขออนุมัติ เพื่อการติดตั้ง ทดสอบและใช้งาน • ตรวจสอบแบบขยายจริง และตําแหน่งการติดตั้งจริง • ตรวจสอบตําแหน่งการติดตัง ้ งานระบบไฟฟ้า ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 3


การตรวจสอบ

ขณะติดตัง ้ ระบบไฟฟ้า

• ตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทําการติดตั้ง ตรงตาม Approval DWG&SPEC ? • ตรวจสอบแนวการเดินท่อ ราง และสายไฟฟ้า โดยตรวจสอบตาม Approval Shop DWG. • ตรวจสอบกรรมวิธีการติดตั้ง การตรวจสอบเครื่องมือในการดําเนินการ เช่น การตัดต่อท่อและสายไฟฟ้า การร้อยสายไฟฟ้า เป็นต้น • ตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์การติดตั้งเป็นไปตามข้อกําหนด หรือมาตรฐานงานหรือไม่ ? • ตรวจสอบความถูกต้อง เรื่องการจัดทํา As-Built DWG. ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 4


การตรวจสอบ

หลังการติดตัง ้ ระบบไฟฟ้า

• ตรวจสอบด้วยสายตา ดูสภาพความเรียบร้อยทั่วไปของวัสดุ และอุปกรณ์ที่ติดตั้ง • ทดสอบวัสดุอุปกรณ์ไฟฟ้าตามที่กําหนด ในข้อกําหนดหรือกฏระเบียบของทางราชการ • ตรวจสอบความเสียหายจากการทดสอบ • ตรวจสอบการทํางานในสภาพใช้งานปกติ • ตรวจสอบระบบการป้องกันต่าง ๆ • ตรวจสอบตามรายการที่โรงงานผู้ผลิตแนะนํา • ตรวจสอบการหมุน การสั่นสะเทือน เสียวที่เกิดขึ้น • ตรวจสอบแบบสร้างจริง ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 5


การตรวจสอบ

หลังการติดตัง ้ ระบบไฟฟ้า

• หนังสือรับรองแสดงความถูกต้อง การเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า จากการไฟฟ้า ฯ • ตรวจสอบหนังสือคู่มือ • ตรวจสอบเครื่องมือพิเศษสําหรับ ใช้ในการปรับแต่ง ซ่อมบํารุงเครื่องจักร อุปกรณ์ • ตรวจสอบอะไหร่ต่างๆ • การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 6


หน่วยที่ 11 งานไฟฟ้าและระบบสื่อสาร

อาจารย์ จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 1 ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5 7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.