[pdf 31401] หน่วยที่ 12 งานระบบเครื่องกลประกอบอาคาร

Page 1

หน่วยที่ 12 งานระบบเครื่องกล ประกอบอาคาร

อาจารย์ จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1


งานระบบ

งานระบบ

ปรับอากาศ

เครื อ ่ งกล ประกอบอาคาร งานระบบ งานระบบ

ขนส่ง

ป้องกัน อัคคีภัย

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2


งานระบบปรับอากาศ 1) ความรูท ้ ั่วไปเกี่ยวกับระบบปรับอากาศ 2) หลักการและแนวทางตรวจสอบ ระบบปรับอากาศและอุปกรณ์ 3) ขั้นตอนการตรวจสอบระบบปรับอากาศ

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3


หลักการทํางาน ของ

ระบบปรับอากาศ

• การอาศัยคุณสมบัติการระเหยของสารทําความเย็น (Refrigerant) โดยการอัดให้เป็นไอและทําให้เย็นลง นําความเย็นที่ได้มาใช้ปรับอากาศ • วงจรทําความเย็น ประกอบด้วย 1) คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ทํา หน้า ที่เพิ่ ม ความดั น ให้ กับ สารทํ า ความเย็ น (Refrigerant) ทํา ให้ก ลายเป็นสารที่มี สถานะเป็นก๊า ซร้อน (Hot Gas) 2) คอนเดนเซอร์ (Condenser) สารทําความเย็น ที่มีสภาพเป็นไอ และมีอุณหภูมิสูงมากระดับความ ร้อนยิ่ง ยวด (Superheat) จะผ่า นเข้า ไประบาย ความร้ อ นที่ ค อนเดนเซอร์ เพื่ อ ลดอุ ณ หภู มิ ล ง เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวที่มีอุณหภูมิตํ่าลง แต่ ความดันยังสูงอยู่ ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4


หลักการทํางาน ของ

ระบบปรับอากาศ

• วงจรทําความเย็น ประกอบด้วย 3) เทอร์ ม อลเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว (Thermal Expansion Valve) ทําหน้าที่ลดความดันของ สารทําความเย็นจาก condenserให้ต่าํ ลง หาก เป็นเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก จะใช้อุปกรณ์ ทําจากท่อทองแดงเล็กๆ มาทําการขดตัว เรียก “แคปปิล ลารี่ ทู้บ” “Capillary tube” เป็นตัว ลดความดั น ของสารทํ า ความเย็ น ได้ ส ารทํ า ความเย็นออกจากอุปกรณ์นี้ กลายสภาพเป็น ของเหลวที่มีความดัน อุณหภูมิต่าํ นํา ไปใช้ง าน ปรับอากาศต่อไป 4) อีวาโปรเรเตอร์ (Evaporator) จะทํา หน้า ที่ ถ่ายเทความร้อนของอากาศในพื้ นที่ที่ต้องการ ปรับอากาศให้กับสารทําความเย็นที่ผ่า นการลด ความดันจาก Thermal Expansion Valve ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5


Air Conditioning System

Illustration Buckeyebride.com. (2017, March 22). What Is Industrial Air Conditioning System. Retrieved from http://buckeyebride.com/what-is-industrial-air-conditioning-system-2/


ประเภท ของ

เครื่องปรับอากาศ

ประเภท ใช้งานอาคารพักอาศัย 1-3 ตันความเย็น (1 ตันความเย็น = 12000 BTU-hr) • แบบติดหน้าต่าง (Window type air-condition) • แบบแยกส่วน (Split type air-condition) ประเภท ใช้ตามอาคารขนาดใหญ่ • แบบแยกส่วน (Split type air-condition) • แบบสําเร็จครบชุดในตัว (Package unit air condition) • แบบระบบส่งนํ้าเย็นจากส่วนกลาง (Central chilled water system) ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7


ตัวอย่างแบบก่อสร้าง ระบบปรับอากาศ


ตัวอย่างแบบก่อสร้าง ระบบปรับอากาศ


ตัวอย่างแบบก่อสร้าง ระบบปรับอากาศ


ตัวอย่างแบบก่อสร้าง ระบบปรับอากาศ


ตัวอย่างแบบก่อสร้าง ระบบปรับอากาศ


ตัวอย่างแบบก่อสร้าง ระบบปรับอากาศ


หลักการตรวจสอบ

ระบบปรับอากาศ

• ศึกษาแบบก่อสร้างและรายการประกอบแบบ • ศึกษาร่วมกับงานวิศวกรรมโครงสร้าง สถาปัตยกรรม การศึกษาขนาดช่องเปิด ระยะความสูงฝ้า Clearance • ศึกษาร่วมกับงานวิศวกรรมระบบประกอบอาคารอื่น ๆ เช่น ระบบไฟฟ้ากําลัง ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบสุขาภิบาล นํามาพิจารณาร่วมระบบปรับอากาศ

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 4


แนวทางการตรวจสอบ

ระบบปรับอากาศ

• ศึกษาพิจารณางานในห้องเครื่องระบบปรับอากาศ การเตรียมการ เรื่องความแข็งแรง ความสะดวกในการติดตั้ง การดําเนินการขนย้าย วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ • ศึกษารายการประกอบแบบของเครื่องปรับอากาศ ที่ได้รับการอนุมัติใช้งานสําหรับโครงการ • ตรวจสอบแบบ Shop DWG. เพื่อให้การติดตั้งถูกต้องสมบูรณ์ เป็นไปตามข้อกําหนด สอดคล้องต่อระบบอื่น ๆ ไม่เกิดความล่าช้า สิ้นเปลือง ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 5


หลักการตรวจสอบ

เครื่องปรับอากาศและอุปกรณ์

• ตรวจสอบตัวเครื่องปรับอากาศ โดยเปรียบเทียบกับรายการที่อนุมัติ ตรวจสอบ Name Plate เทียบกับรายการขออนุมัติ • ตรวจสอบสภาพภายนอก ความชํารุดเสียหาย หรือข้อบกพร่องจากการขนส่ง หรือ การ Packing • ตรวจสอบและแจ้งให้ผู้ทําการก่อสร้าง ทําการเก็บรักษาชุดและอุปกรณ์ ให้อยู่ในสภาพดีตลอดระยะเวลา • ตรวจสอบภายหลังการติดตั้ง มีความเรียบร้อยสมบูรณ์เป็นไปตามข้อกําหนด ตรวจสอบการยึด แขวน ตําแหน่งการติดตั้ง ความมั่นคงแข็งแรง ตําแหน่งของวาล์ว สวิตซ์ ความสั่นสะเทือน และอื่น ๆ ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 6


แนวทางการตรวจสอบ

เครื่องปรับอากาศและอุปกรณ์

• หมวดท่อนํา้ ยา ท่อนํ้า ฉนวน และอุปกรณ์ประกอบ • หมวดท่อส่งลม ฉนวน และอุปกรณ์ • หมวดไฟฟ้า ระบบการควบคุม เครื่องมือวัด

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 7


แนวทางการตรวจสอบ

ท่อนํ้ายา ท่อนํ้า ฉนวน และอุปกรณ์ประกอบ

• • • • • •

ตรวจสอบประเภทของท่อ ตาม Spec. ตรวจสอบ Insulation as Spec. and Approval Doc. ตรวจสอบสภาพและความสมบูรณ์ของวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรียบร้อยถูกต้องภายหลังการติดตั้ง การทดสอบเรื่องความดันในเส้นท่อตาม Spec. การตรวจสอบการติดตั้งวัสดุอุปกรณ์เป็นไปตามคําแนะนําผู้ผลิต

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 8


แนวทางการตรวจสอบ

ท่อส่งลม ฉนวน และอุปกรณ์

• ตรวจสอบท่อส่งลม การประกอบจากแผ่นเหล็กอาบสังกะสี ตรวจสอบความ หนาของแผ่นเหล็ก ถูก ต้องสอดคล้องตาม ขนาดท่อ ส่ ง ลม มาตรฐานการประกอบท่ อ ส่ ง ลมจากสหรั ฐ (SMACNA: Sheet Metal and Air Conditioning Contractors’ National Association) • ตรวจสอบขนาดของท่อส่งลม อุปกรณ์การยึดแขวน • ตรวจสอบร่วมกับแบบขยายจริง ตรวจสอบสภาพโดยทั่วไป • ตรวจสอบแผ่นอลูมิเนียมฟอยล์ อุปกรณ์หน้ากาก แผงกรองอากาศ ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 9


แนวทางการตรวจสอบ

ไฟฟ้ากําลัง ระบบการควบคุม และเครื่องมือวัด • ตรวจสอบระบบไฟฟ้ากําลัง ตรวจสอบสายไฟฟ้า ตาม Spec ที่ได้รับการอนุมัติใช้งาน การตรวจสอบตาม มอก. • การตรวจสอบอุปกรณ์ ประเภท Circuit Breaker/Magnetic Starter • ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณ์วัดและควบคุม เครื่องมือวัด การปรับแต่งความเที่ยง หรือการ Calibration • ตรวจสอบอุปกรณ์ควบคุมต่าง ๆ ของระบบปรับอากาศ Thermostat/Humidistat/Control Valve/ Control Relay/Solenoid Valve/Magnetic Contactor • ตรวจสอบเครื่องมือวัด อาทิ Pressure Gauge/Thermometer/ Water Meter/Ammeter/Watt Meter etc. ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 0


การตรวจสอบระบบปรับอากาศ ก่อนการติดตั้ง • ตรวจรายการเครื่องปรับอากาศที่ผู้รับเหมาก่อสร้างเสนอมา เพื่อขออนุมัตินําไปติดตั้งให้ตรงกับที่กําหนด ในรายการประกอบแบบ • ตรวจสอบแบบขยายจริง ว่าถูกต้องตามหลักวิชาการและพื้นที่หน้างาน เพื่อให้สามารถติดตั้งได้จริง

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 1


การตรวจสอบระบบปรับอากาศ ขณะดําเนินการติดตั้ง • ตรวจสอบในที่ตําแหน่งดําเนินการติดตั้งจริง ความสอดคล้องระหว่าง DWG&SPEC • ยึดถือแบบขยายจริง (Approval Shop DWG.) • ตรวจสอบแนว Installation Alignment • Type/Class/Materials & Equipment • Stability/Handling Condition/Support

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 2


การตรวจสอบระบบปรับอากาศ ภายหลังการติดตั้ง • ตรวจสอบอย่างละเอียด ในเรื่องสถานะการทํางานเป็นปกติหรือไม่ • การตรวจสอบรายละเอียด ก่อนสิ้นสุดการรับประกัน โดยทั่วไป 1 ปีภายหลังการติดตั้ง • ตรวจสอบเงื่อนไขการรับประกัน • ตรวจสอบความเสื่อมสภาพ ความบกพร่องในการติดตั้ง หรือการซ่อมบํารุง ความแข็งแรงทนทานของเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ • การเสื่อมสภาพของวัสดุ จากคุณสมบัติของวัสดุและการติดตั้งเอง ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 3


งานระบบขนส่ง 1) ลิฟต์ 2) บันไดเลื่อนและทางเลื่อน

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 4


ลิฟต์

แบ่งตามชนิดการขับเคลื่อน • ลิฟต์ไฟฟ้า ควบคุมโดยมอเตอร์ไฟฟ้า ต่อเข้ากับเครื่องลิฟต์ • ลิฟต์ไฮดรอลิก แบ่งตามประเภทการใช้งาน • ลิฟต์โดยสาร (Passenger Lift) • ลิฟต์บรรทุก (Freight Lift) • ลิฟต์ผจญเพลิง (Fireman Lift)

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 5


ลิฟต์แบบใช้กําลังขับเคลื่อนโดยระบบไฟฟ้า Top Roof (Machinery Room) ประกอบด้วย • ระบบขับเคลื่อน (Driving System) • ตู้โดยสารลิฟต์ (Lift Car) • ระบบควบคุมความปลอดภัย (Safety System) • ระบบควบคุมการทํางาน (Operation Control System)

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 6


ลิฟต์แบบใช้กําลังขับเคลื่อนโดยระบบไฟฟ้า Top Roof (Machinery Room) ระบบขับเคลื่อน (Driving System) ขับเคลื่อนให้ลิฟต์ขึ้น-ลงชั้นต่าง ๆ ประกอบด้วย 1) Traction Motor And Lift Machine มอเตอร์ไฟฟ้าขับเคลื่อนให้เครื่องลิฟต์หมุน เกิด แรง ฉุดในลวดสลิงในการดึงตัวลิฟต์ขึ้นหรือลง 2) เครื่องลิฟต์ แบ่ ง เป็ น Geared Machine or Gearless Machine (Geared Machine ระดับสูง ปานกลาง นํ้ า หนั ก บ รร ทุ ก ไ ม่เ กิน 1 3 ,6 00 ก ก . Gearless Machine เหมาะกับอาคารสูง ที่ต้องการความเร็วสูง ใช้มอเตอร์แบบ D.C. ในการขับเคลื่อน ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 7


ลิฟต์แบบใช้กําลังขับเคลื่อนโดยระบบไฟฟ้า Top Roof (Machinery Room) ระบบขับเคลื่อน (Driving System) ขับเคลื่อนให้ลิฟต์ขึ้น-ลงชั้นต่าง ๆ ประกอบด้วย 3) Rail And Bracket อุป กรณ์ป ระกอบของลิฟ ต์ทํ า หน้ า ที่ เป็ น ทางเดิ น ของลิฟต์และนํ้าหนักถ่วง (Counter Weight) ราง ยึด ติด กับ อาคารด้วยแบรคเก็ต เพื่ อให้ร างอยู่ใ น ตําแหน่งที่แน่นอน รางแต่ละท่อนยาว 6 เมตร ยึด ด้วย Fish Plate รางได้ดิ่ง ระยะห่า งระหว่า งราง ถูกต้องได้ฉาก ลิฟต์จะเคลื่อนตัวอย่างสมบูรณ์ 4) Car Sling อุปกรณ์สลิงร้อยผ่านลูกรอก (Groove Sheave) ปลายด้ า นหนึ่ ง ยึ ด ตั ว ลิ ฟ ต์ อี ก ด้ า นยึ ด ติ ด ด้ ว ย นํ้าหนักถ่วง ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 8


ลิฟต์แบบใช้กําลังขับเคลื่อนโดยระบบไฟฟ้า Top Roof (Machinery Room) ตู้โดยสารลิฟต์ (Lift Car) • ตัวโครงตู้ (Car Frame) • พื้นตู้ (Platform) • ผนังตู้ (Cab Enclosure) • ประตูตู้โดยสารลิฟต์ (Car Door) • อุปกรณ์ควบคุมการทํางาน (Control Device) ควบคุมการเปิดปิด แผงคอนโทรล สิ่งอํานวยความสะดวกต่าง ๆ

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 9


ลิฟต์แบบใช้กําลังขับเคลื่อนโดยระบบไฟฟ้า Top Roof (Machinery Room) ระบบควบคุมความปลอดภัย (Safety System) • Governor อุปกรณ์ตรวจจับความเร็วลิฟต์ โดยขดลวด โกเวอร์ เนอร์ จ ะหมุนด้ วยความเร็วที่ เป็น สัด ส่ วนโดยตรงกั บ Speed ของลิฟต์ หากลิฟต์เคลื่อนที่เร็วหรือลวดสลิง ขาด โกเวอร์เนอร์ จะตรวจจับสิ่ง ผิด ปกติ จะสั่ง ให้ระบบเบรคของลิฟต์ ทํางานและตัดกระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์ทันที • Overload Holding Stop ระบบลิฟต์หยุดทํางานและส่งสัญญาณเตือน • Safety Landing เมื่อลิฟต์ขัดข้องจะไม่จอดระหว่างชั้น แต่จะเคลื่อนที่ช้าไปจอดชั้นที่ใกล้ที่สุดอย่างปลอดภัย • Door sensor ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 0


ลิฟต์แบบใช้กําลังขับเคลื่อนโดยระบบไฟฟ้า Top Roof (Machinery Room) ระบบควบคุมความปลอดภัย (Safety System) • Upper limit/Lower limit switch ตัดกระแสไฟฟ้าป้องกันการวิง ่ เกินชั้นสูงสุด หรือวิ่งกระแทกชั้นตํ่าสุด • Buffer อุปกรณ์ป้องกันการกระแทกของห้องโดยสารลิฟต์

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 1


ลิฟต์แบบใช้กําลังขับเคลื่อนโดยระบบไฟฟ้า Top Roof (Machinery Room) ระบบควบคุมการทํางาน (Operation Control System) • เครื่องลิฟต์แบบมีเกียร์ • เครื่องลิฟต์แบบไม่มีเกียร์ • คอนโทรลเลอร์ • คาร์คอนโทรลเลอร์ • กรุ๊ปคอนโทรลเลอร์

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 2


ลิฟต์แบบใช้กําลังขับเคลื่อนโดยระบบไฟฟ้า Top Roof (Machinery Room) ระบบควบคุมการทํางาน (Operation Control System) • เครื่องลิฟต์แบบมีเกียร์ • เครื่องลิฟต์แบบไม่มีเกียร์ • คอนโทรลเลอร์ • คาร์คอนโทรลเลอร์ • กรุ๊ปคอนโทรลเลอร์

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 3


การตรวจสอบข้อมูล ก่อนดําเนินการติดตั้งลิฟต์ • การตรวจสอบทางเทคนิค เป็นไปตามข้อกําหนดหรือสัญญาโครงการ • การตรวจสอบทางด้านการตกแต่ง ตัวลิฟต์ โถงลิฟต์ ขอบประตูลิฟต์ การพิจารณารายละเอียดวัสดุการตกแต่งพื้น การเตรียม Access • การตรวจสอบการเตรียมการพื้นที่ • การตรวจสอบงานระบบที่ต้องเตรียมให้ระบบลิฟต์

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 4


การตรวจสอบขั้นตอน ระหว่างการติดตั้งลิฟต์ • สํารวจช่องลิฟต์ ช่องเปิด เคลียร์ช่องลิฟต์และก้นบ่อให้โล่ง เพื่อพร้อมดําเนินการต่อไป • ตรวจสอบแนวดิ่ง บริเวณวงกบ รางลิฟต์ ราง Counter Weight • ตรวจสอบการติดตั้งราง Counter weight • ตรวจสอบการทํา Car frame แทนระบบนั่งร้าน • ตรวจสอบมอเตอร์ไฟฟ้า ตรวจสอบ Governor/Safety Device • ตรวจสอบการติดตั้งอุปกรณ์ มอเตอร์ ตู้ควบคุม และงานระบบไฟฟ้าบนห้องเครื่อง ตรวจสอบงานลวดสลิง Counter Weight • ระบบเมนไฟฟ้า การเดินสายไฟฟ้า สายงานระบบประกอบอาคารอื่น ๆ เพื่อรอการทดสอบต่อไป ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 5


การตรวจสอบขั้นตอน ภายหลังการติดตั้งลิฟต์ • ทดสอบระบบการใช้งานของแผงปุ่มกดลิฟต์ ทั้งจากภายในห้องโดยสารและหน้าทางเข้าลิฟต์ • ตรวจสอบระดับการจอดของลิฟต์ในแต่ละชั้น ให้ตรงตามระดับของพื้นที่โถงลิฟต์ทุก ๆ ชั้น • ตรวจสอบนํ้าหนักบรรทุกของลิฟต์ • ทดสอบระบบความปลอดภัย Overload Speed/Upper And Lower Limit/ Emergency Condition/Manual ทดสอบการเปิดปิดประตูลิฟต์ ทดสอบการทํางานและหยุดทํางานต่าง ๆ • จัดทําตาราง การเข้า Preventive Maintenance (P.M.)& Product Certification & Warranty ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 6


บันไดเลื่อน (Escalator)

เป็นระบบอุปกรณ์ที่ใช้ในการขนถ่ายคน ให้ขึ้นและลงระหว่างชั้นต่อชั้น

ทางเลือ ่ น (Travellator)

เป็นระบบอุปกรณ์ที่ใช้ขนส่งคนและสิ่งของ

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 7


โครงสร้างของระบบบันไดเลื่อน และทางเลื่อน ระบบขับเคลื่อน • มอเตอร์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ขับเคลื่อน (Motor And Machine) • อุปกรณ์ขับเคลื่อนราวบันไดเลื่อน (Handrail Drive) • ราวบันได (Moving Handrail) • โซ่ขับเคลื่อน (Step Chain)

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 8


โครงสร้างของระบบบันไดเลื่อน และทางเลื่อน

บันไดเลื่อน • โครงเหล็ก (Truss) • ลูกขั้น (Step) • แผงปิดขอบล่าง (Glass Panel and Glass Holder) • แผงปิดขอบล่าง (Skirt Panel) • แผงปิดพื้น (Floor Plate)

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 9


โครงสร้างของระบบบันไดเลื่อน และทางเลื่อน ระบบควบคุมความปลอดภัย • โกเวอร์เนอร์ (Governor) • อุปกรณ์ความปลอกภัยของโซ่ขับเคลื่อน (Drive Chain Safety Device) • สวิตช์ปลอดภัยกันขอบล่าง (Skirt Guard Safety Switch) ระบบควบคุมการทํางาน • แผงควบคุม (Control Panel) • ปุ่มสวิตช์ฉุกเฉิน (Emergency Stop Button) ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 0


การตรวจสอบ

ก่อนการดําเนินการติดตั้ง บันไดเลื่อน/ทางเลื่อน

• • • • • • •

ระบบการทํางานและควบคุมการขับเคลื่อน อัตราการขนส่ง ตาม Spec. ความเร็วในการเคลื่อนที่ ความสูงในแนวดิ่ง ความลาดชันในการติดตั้ง ความกว้างของลูกขั้นบันได ระบบควบคุมความปลอดภัย ระบบอื่น ๆ ที่ทางอาคารต้องจัดเตรียมให้กับระบบบันไดเลื่อน

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 1


เพื่ อเป็นการตรวจสอบ

ก่อนการดําเนินการติดตั้ง บันไดเลื่อน/ทางเลื่อน

• • • • • • •

ระบบการทํางานและควบคุมการขับเคลื่อน อัตราการขนส่ง ตาม Spec. ความเร็วในการเคลื่อนที่ ความสูงในแนวดิ่ง ความลาดชันในการติดตั้ง ความกว้างของลูกขั้นบันได ระบบควบคุมความปลอดภัย ระบบอื่น ๆ ที่ทางอาคารต้องจัดเตรียมให้กับระบบบันไดเลื่อน

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 2


การตรวจสอบ ก่อนดําเนินการติดตั้ง • • • •

บันไดเลื่อน/ทางเลื่อน

การตรวจสอบด้านเทคนิค การตรวจสอบด้านการตกแต่ง การตรวจสอบการเตรียมพื้นที่ ตรวจสอบงานระบบ ที่ต้องจัดเตรียมให้กับบันไดเลื่อนและทางเลื่อน

การตรวจสอบ ระหว่างการติดตั้ง

บันไดเลื่อน/ทางเลื่อน

• ตรวจความถูกต้องในการดําเนินการติดตั้ง ให้ตรงกับมาตรฐานที่กําหนดจากโรงงาน ผู้ผลิต การป้องกันความเสียหายระหว่างติดตั้ง

การตรวจสอบ หลังการติดตั้ง

บันไดเลื่อน/ทางเลื่อน

• ทดสอบการทํางานของอุปกรณที่ติดตั้ง • ทดสอบความเร็ว และระบบป้องกันความปลอดภัย

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 3


งานระบบป้องกันอัคคีภัย 1) ความรูเ้ บื้องต้น เกี่ยวกับระบบป้องกันอัคคีภัยในอาคาร 2) ขั้นตอนการตรวจสอบ ระบบป้องกันอัคคีภัยภายในอาคาร

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 4


ความรู้เบื้องต้น

ระบบงานเครื่องกลประกอบอาคาร

ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบป้องกันอัคคีภัยในอาคาร • ลิฟต์สําหรับนักผจญเพลิง หรือพนักงานดับเพลิง (Fireman Lift) • ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System) ทํางานร่วมกับระบบควบคุม อาคารอัตโนมัติ ระบบประกาศฉุก เฉิน ระบบสื่อสาร สําหรับพนักงานดับเพลิง  Fire Detector/Heat Detector/ Smoke Detector/Infrared Detector  Fire Alarm Panel/ Central Fire Alarm Monitor  Alarm Bell ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 5


ความรู้เบื้องต้น

ระบบงานเครื่องกลประกอบอาคาร

ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบป้องกันอัคคีภัยในอาคาร • ถังสํารองดับเพลิง และระบบส่งนํ้าดับเพลิง (Fire Pump) • ระบบสปริงเกลอร์ (Automatic Water Sprinkler) แบบท่อเปียก แบบท่อแห้ง แบบท่อพรีแอคชัน แบบดีลัดจ์ • Portable Fire Extinguisher ระบบควบคุมควัน

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 6


ขัน ้ ตอนการตรวจสอบ

ระบบป้องกันอัคคีภัยในอาคาร

• การเข้าอบรมหลักสูตรการป้องกันอัคคีภัย ของหน่วยงานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง • ศึกษาแบบรูปและรายการละเอียด โดยเฉพาะ Technical Specification • การจัดทําแบบขยายจริง สําหรับการติดตั้ง Shop DWG. • การตรวจสอบอุปกรณ์ ความพร้อมทั้งถูกต้องและจํานวน • จัดอบรมผู้รับผิดชอบและช่างในแต่ละส่วนงาน • ระบบการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 7


หน่วยที่ 12 งานระบบเครื่องกล ประกอบอาคาร

อาจารย์ จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ห น่ ว ย ที่ 1 2 ง า น ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ก ล ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 8


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.