Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
Module 13
การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
96304 Data Communications and Networking
1
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
เรื่องที่เรา . . . จะมาพู ดคุยกัน 1) การวิเคราะห์ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ การศึกษา วิเคราะห์ ü ü ü ü
ความต้องการของผู้ใช้ ความต้องการระบบงานประยุกต์ ความต้องการอุปกรณ์ ความต้องการเครือข่ายคอมพิ วเตอร์
2) การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ü ตามลําดับชั้น ü เสริมซ้อน
3) การออกแบบการจราจรระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ü หลักการเบื้องต้นของการออกแบบ การจราจรระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ü โครงสร้างสถาปัตยกรรมคุณภาพบริการ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ü การออกแบบคุณภาพบริการ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์
96304 Data Communications and Networking
2
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
การวิเคราะห์ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้ใช้
ระดับบนสุด การใช้เทคนิคน้อยสุด
ระบบงานประยุกต์ อุปกรณ์ เครือข่าย คอมพิ วเตอร์
ระดับล่างสุด การใช้เทคนิคมากที่สุด 96304 Data Communications and Networking
3
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
รายละเอียดความต้องการของผู้ใช้ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้ใช้ ระบบงานประยุกต์ อุปกรณ์
เครือข่าย คอมพิ วเตอร์
ความต้องการด้านผู้ใช้ 1) ความทันต่อเวลา 2) ความสามารถในการปฏิสัมพั นธ์ 3) ความน่าเชื่อถือ 4) คุณภาพการนําเสนอ 5) ความสามารถในการปรับเปลี่ยนได้ 6) ความปลอดภัย 7) ความสามารถในการจัดหา 8) ความสามารถในการทํางานของระบบ 9) ความสามารถในการสนับสนุน 10) การขยายระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ในอนาคต
96304 Data Communications and Networking
4
รายละเอียดความต้องการของผู้ใช้ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ความทันต่อเวลา
ผู้ใช้สามารถเข้าถึง ถ่ายโอน หรือแก้ไขข้อมูล ภายในระยะเวลาที่ผู้ใช้ยอมรับได้
ความสามารถในการปฏิสัมพั นธ์
ระยะเวลาในการตอบสนองของระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ควรใกล้เคียงกับระยะเวลาในการตอบสนองระหว่างผู้ใช้ ในการติดต่อระหว่างกัน
ความน่าเชื่อถือ
ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ มีสภาพพร้อมในการให้บริการอยู่เสมอ ผู้ใช้สามารถเข้าถึงและใช้ทรัพยากรบนระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คุณภาพการนําเสนอ
ข้อมูลที่ผู้ใช้ได้รับไม่ว่าจะเป็นเสียง วิดีทัศน์ และข้อความ จะต้องสามารถแสดงผลหรือถูกนําเสนอแก่ผู้ใช้ อย่างมีคุณภาพเพื่ อให้ผู้ใช้เกิดความพึ งพอใจ
ความสามารถในการปรับเปลี่ยนได้
ระบบสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการของผู้ใช้
รายละเอียดความต้องการของผู้ใช้ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ความปลอดภัย
คือ การรักษาความลับ ความถูกต้องครบถ้วน และการพิ สูจน์ตัวจริง รวมถึงการเข้าถึงทรัพยากร ของระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์
ความสามารถในการจัดหา
สามารถจัดหาระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ตามที่ออกแบบ และพั ฒนาไว้จะไม่มีค่าใช้จ่ายในการดําเนินการที่สูงเกินไป
ความสามารถในการทํางานของระบบ
เป็นความต้องการของผู้ใช้ที่มีต่อหน้าที่การทํางาน ของระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ มีความเกี่ยวข้องกับระบบงานประยุกต์ต่าง ๆ
ความสามารถในการสนับสนุน
ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์สามารถทํางานได้ตรงตามประสิทธิภาพ ที่กําหนดไว้สําหรับสถานการณ์ต่าง ๆ รวมถึงการที่ผู้ใช้ต้องการ การสนับสนุนจากผู้ดูแลระบบ
การขยายระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ในอนาคต
เป็นการวิเคราะห์ถึงการขยายระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ในอนาคต เนื่องจากการเพิ่ มจํานวนผู้ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
การศึกษา การวิเคราะห์ ความต้องการระบบงานประยุกต์ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้ใช้ ความต้องการระบบงานประยุกต์ ระบบงานประยุกต์
1) ประเภทระบบงานประยุกต์ 2) กลุ่มระบบงานประยุกต์ 3) ตําแหน่งระบบงานประยุกต์
อุปกรณ์
เครือข่าย คอมพิ วเตอร์ 96304 Data Communications and Networking
7
ประเภทระบบงานประยุกต์ 1) ระบบงานประยุกต์สําหรับภาระกิจสําคัญ
เป็นระบบงานประยุกต์ท่ม ี ีประสิทธิภาพการทํางานสูง และต้องการการรับประกันการให้บริการ จากระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์สูงด้วย • ความน่าเชื่อถือของระบบ (reliability) เป็นการวัดทางสถิติของจํานวนครั้ง ที่ระบบงานประยุกต์ไม่สามารถใช้งานได้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงการหยุดการให้บริการ เนื่องจากระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์มีปัญหา • การดูแลรักษาระบบ (maintainability) เป็นการวัดทางสถิติในเรื่องระยะเวลา ที่ใช้ในการกู้ระบบงานประยุกต์ ให้กลับมาใช้งานได้ตามปกติ หลังจากที่เกิดข้อผิดพลาดขึ้น • ความคงอยู่ของระบบ (availability) เป็นการวัดความสัมพั นธ์ระหว่างความถี่ ของระบบงานประยุกต์ที่ไม่สามารถเรียกใช้งานได้ กับระยะเวลาที่ใช้ในการกู้ระบบงานให้กลับคืนมา
ประเภทระบบงานประยุกต์ 2) ระบบงานประยุกต์ที่เน้นอัตราความเร็วสําคัญ
เป็นระบบงานประยุกต์ที่ต้องการระบบเครือข่าย คอมพิ วเตอร์ที่สามารถรับประกันและควบคุมความเร็ว ในการรับส่งข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) ระบบงานประยุกต์แบบเรียลไทม์ และแบบปฏิสัมพั นธ์
เวลาจริง หรือ เรียลไทม์ หมายถึง ให้รวดเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ณ ขณะนั้น ต้องการระยะเวลาในการรับส่งข้อมูลที่สั้น คงที่ และสามารถคาดเดาได้ โดยระยะเวลาที่ใช้ในการรับส่งข้อมูลนั้น เป็นผลรวมของเวลาทั้งหมดจากหลายส่วน ของระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เช่น การแพร่กระจายของสัญญาณ การส่งสัญญาณ การเข้าแถวคอย การประมวลผล การจัดเส้นทาง
ประเภทระบบงานประยุกต์ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์
เบสท์เอฟฟอร์ท
ไม่เหมาะสมสําหรับการนําระบบงานประยุกต์ ที่เน้นอัตราความเร็วสําคัญมาใช้ เนื่องจากไม่มีการควบคุมความเร็วในการรับส่งข้อมูล ไม่มีการประกันการให้บริการใด ๆ การส่งข้อมูลสามารถดําเนินการได้โดยไม่ต้องกังวล ว่าในขณะนั้นมีความเร็วในการรับส่งข้อมูล มากน้อยเพี ยงใด
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
การแบ่งประเภทระบบงานประยุกต์ การปฏิสัมพั นธ์ระหว่างผู้ใช้ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ตามเวลาจริง (real-time)
ไม่ตามเวลาจริง (non real-time) ปฏิสัมพั นธ์ (interactive) กลุ่มข้อมูล ขนาดเล็ก (burst)
เข้มงวด
กลุ่มข้อมูล ขนาดให้ (bulk)
ไม่ประสานเวลา (asynchronous)
ความสัมพั นธ์ด้านระยะเวลาการรับส่งข้อมูล ระหว่างต้นทางและปลายทาง
96304 Data Communications and Networking
ไม่เข้มงวด
11
กลุ่ม
ประยุกต์ เพื่ อการสั่งการ และการควบคุมทางไกล
ระบบงานประยุกต์สําหรับภารกิจสําคัญ
+ การปฏิสัมพั นธ์แบบเรียลไทม์กลุ่มข้อมูลขนาดเล็ก เพื่ อการกําหนดการมองเห็น เน้นอัตราความเร็วสําคัญ
+ การปฏิสัมพั นธ์แบบเรียลไทม์ข้อมูลขนาดเล็ก เพื่ อการกระจายการประมวลผล การประมวลผลแบบกลุ่ม
+ การปฏิสัมพั นธ์แบบเรียลไทม์ข้อมูลขนาดเล็ก เพื่ อการพั ฒนา การเข้าถึง และการใช้งานเว็บ ระบบงานประยุกต์แบบการปฏิสัมพั นธ์แบบเรียลไทม์
กลุ่ม
ประยุกต์ การขนส่งข้อมูลขนาดใหญ่
เน้นการถ่ายโอนข้อมูลที่มีปริมาณมาก และ มีการปฏิสัมพั นธ์จากผู้ใช้ในจํานวนที่ไม่มากนัก
เพื่ อการบริการทางไกล ระบบงานประยุกต์แบบภาระกิจสําคัญ
+ แบบเน้นอัตราความเร็วสําคัญ + แบบเรียลไทม์ปฏิสัมพั นธ์
เพื่ อการปฏิบัติการ การบริหาร การบํารุงรักษา และการจัดสรร ระบบงานประยุกต์แบบสําหรับภารกิจสําคัญ
+
การปฏิสัมพั นธ์แบบเรียลไทม์
สําหรับไคลเอนต์-เซิร์ฟเวอร์ ระบบงานประยุกต์สําหรับภาระกิจสําคัญ
+
การปฏิสัมพั นธ์แบบเรียลไทม์
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
รายละเอียดความต้องการด้านอุปกรณ์ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้ใช้ ระบบงานประยุกต์ อุปกรณ์
เครือข่าย คอมพิ วเตอร์
ความต้องการด้านอุปกรณ์ 1) ประเภทของอุปกรณ์ 2) คุณลักษณะความสามารถในการทํางาน 3) ตําแหน่งที่ติดตั้งของอุปกรณ์
96304 Data Communications and Networking
14
แผนผังการติดตั้งอุปกรณ์พิเศษ
ตําแหน่งการติดตั้งอุปกรณ์
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
ความต้องการด้านเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้ใช้ ระบบงานประยุกต์ อุปกรณ์
เครือข่าย คอมพิ วเตอร์
ความต้องการด้านเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ 1) การขึ้นอยู่กับขนาด 2) การขึ้นอยู่กับตําแหน่ง 3) ข้อจํากัดด้านประสิทธิภาพ 4) การขึ้นอยู่กับเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ และการบริการสนับสนุน 5) การขึ้นอยู่กับการปฏิบัติการร่วมกัน 6) ความล้าสมัยของเครือข่ายคอมพิ วเตอร์
96304 Data Communications and Networking
17
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ชั้นหลัก
(core/backbone layer) ทําหน้าที่รับส่งข้อมูลระหว่างพื้ นที่หนึ่ง กับอีกพื้ นที่หนึ่งผ่านอุปกรณ์ความเร็วสูง เน้นคุณสมบัติด้านสภาพพร้อมใช้งาน และด้านประสิทธิภาพการทํางาน
ชั้นการกระจาย
(distribution/regional layer) ทําหน้าที่กระจายการเชื่อมต่อ จากระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ชั้นหลัก ไปยังระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ต่าง ๆ ในหรือนอกพื้ นที่
ชั้นการเข้าถึง
(access layer) ทําหน้าที่รองรับการเข้าถึงระบบเครือข่าย คอมพิ วเตอร์ของผู้ใช้ ผ่านอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ 96304 Data Communications and Networking
18
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
ตัวอย่างการออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ลําดับชั้น
96304 Data Communications and Networking
19
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ลําดับชั้น ชั้นหลัก
• เพิ่ มความสามารถในการคงสภาพการใช้งานได้ หากช่องทางการเชื่อมต่อเกิดการล้มเหลว • นิยมโทโพโลยีระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ในรูปแบบวงแหวน มาใช้ในการออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ชน ั้ หลัก
ชั้นการกระจาย
• มีการสร้างความน่าเชื่อถือ ได้โดยการใช้อุปกรณ์ในจํานวนที่เกินความจําเป็น เช่น การรวมช่องทางการเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน การใช้อุปกรณ์สองตัว หรือ การเชื่อมต่อสองเส้นทาง • ใช้เทคนิคการกระจายการส่งต่อข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ได้ • ใช้โพรโทคอลการจัดเส้นทางสําหรับหลีกเลี่ยงความล้มเหลว ของระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ในกรณีที่อุปกรณ์ หรือช่องทางการเชื่อมต่อไม่สามารถใช้งานได้
96304 Data Communications and Networking
20
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ลําดับชั้น ชั้นการเข้าถึง • ใช้เทคโนโลยีที่มีความยืดหยุ่นสูงในการออกแบบ เช่น การต่อประสานข้อมูลแบบกระจายโดยเส้นใยแก้วนําแสง หรือ อาจใช้การเพิ่ มช่องทางการเชื่อมต่อไปยังชั้นระบบเครือข่าย คอมพิ วเตอร์ ชั้นการกระจาย หรือ ไปยังระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์หลัก ด้วยอุปกรณ์ในจํานวนที่มากกว่าการติดตั้งปกติ
96304 Data Communications and Networking
21
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เสริมซ้อนในชั้นหลัก
สามารถดําเนินการได้ง่าย เพราะอุปกรณ์ทั้งหมดมีรายละเอียดการจัดเส้นทาง อย่างสมบูรณ์ สามารถเข้าถึงระบบเครือข่าย คอมพิ วเตอร์ได้ทุกเส้นทาง 1) การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ แบบวงแหวน ü ง่ายต่อการออกแบบ และดูแลรักษา ü โทโพโลยีเป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด เชื่อมต่อเราท์เตอร์หลายตัวเข้าด้วยกัน •
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เสริมซ้อนในชั้นหลัก
2) การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เต็ม (full mesh core design) ü เป็นการสร้างระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เสริมซ้อนได้ดีท่ส ี ุด 1) A®C 2) A®B®C 3) A®D®C 4) A®B®D®C 5) A®D®B®C
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เสริมซ้อนในชั้นหลัก
3) การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ บางส่วน (partial mesh core design) ü เป็นการออกแบบในจุดที่เหมาะสม ü พิ จารณาจํานวนฮ็อป การเสริมซ้อน และ จํานวนเส้นทางที่ผ่านระบบเครือข่าย คอมพิ วเตอร์ร่วมกัน 1) A®D®F 2) A®C®F 3) A®D®E®C®F 4) A®D®B®C®F 5) A®C®B®D®F 6) A®C®E®D®F
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เสริมซ้อนในชั้นการกระจาย มี 2 วิธี ได้แก่ 1) ดูอัลโฮมมิง หรือ การเข้าหาจุดต้นทางคู่ 2) การเชื่อมต่อสํารอง
96304 Data Communications and Networking
25
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เสริมซ้อนในชั้นการกระจาย
1) ดูอัลโฮมมิง ü เป็นวิธีการเข้าหาจุดต้นทางคู่ ไปยังระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์หลัก ü ถ้าเราท์เตอร์ A ถูกเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย คอมพิ วเตอร์ลําดับชั้นหลัก ผ่านเราท์เตอร์ B เพี ยงตัวเดียว เราท์เตอร์ D จะใช้ 2 เส้นทาง ที่สามารถเชื่อมต่อมายังเราท์เตอร์ A ได้ เช่น เส้นทาง D ® B ® A และ เส้นทาง D ® C ® B ® A
2) การเชื่อมต่อเสริมซ้อนระหว่างอุปกรณ์อ่น ื ๆ ในระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ชั้นการกระจาย (การเชื่อมต่อสํารอง) 1) เพิ่ มขนาดตารางเส้นทาง หลักได้ เป็น 2 เท่า 2) เป็นเส้นทางเสริมซ้อนสําหรับขนส่งการจราจร ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ชั้นหลัก ถ้าช่องทางการเชื่อมต่อระหว่างเราท์เตอร์ D และเราท์เตอร์ C เกิดความล้มเหลว มีความเป็นไปได้ที่เราท์เตอร์ D ส่งต่อข้อมูลผ่านไปยังเราท์เตอร์ A ® C
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เสริมซ้อนในชั้นการกระจาย 3) การเลือกเส้นทางเชื่อมต่อเสริมซ้อน บนลําดับชั้นการกระจาย มากกว่าใช้เส้นทางผ่านเครือข่ายชั้นหลัก 4) หลีกเลี่ยงการรั่วไหลของข้อมูลการจัดเส้นทาง ข้อมูลการจัดเส้นทางอาจรั่วไหลระหว่างอุปกรณ์ หรือระหว่างเราท์เตอร์ในลําดับชั้นการกระจาย
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เสริมซ้อนในชั้นการเข้าถึง
1) การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ มีการใช้วิธีเข้าหาจุดต้นทางคู่ เพื่ อเชื่อมต่อไปยังลําดับชั้นการกระจาย เป็นวิธีที่นิยมใช้เพื่ อสร้างระบบเสริมซ้อน ให้แก่พื้นที่ห่างไกล 2) สามารถเพิ่ มการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ในลําดับ ชั้นการเข้าถึงได้อีกด้วย 1) H ® F ® B ® A ® C ® G 2) H ® F ® B ® E ® G 3) H ® D ® A ® B ® E ® G 4) H ® D ® A ® C ® G
จราจรระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์
หลักการบริหารจัดการการจราจร • ความเท่าเทียม
ให้แต่ละเส้นทางการส่งข้อมูลเกิดความเสียหาย จากความคับคั่งของการจราจรระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เท่า ๆ กัน
• คุณภาพบริการ
ถูกนํามาพิ จารณาเพื่ อจัดการแบนด์วิดท์ ของระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ตอบสนองการใช้งานแอปพลิเคชันแบบเรียลไทม์ มีการจองทรัพยากรระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ กําหนดระดับความสําคัญของการส่งแพ็ กเก็ตข้อมูลต่าง ๆ
• การจองการเข้าใช้บริการ
เกี่ยวข้องกับนโยบายการจราจรระบบเครือข่าย คอมพิ วเตอร์ มีการมอนิเตอร์หรือเฝ้าระวังการจราจร ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เปรียบเทียบกับเงื่อนไขที่กําหนดไว้ การจราจรเครือข่ายที่เกินมาจะถูกทิ้งหรือหน่วงเวลา
การให้บริการ (Quality of
การประกันคุณภาพ Service: QoS)
• เป็นวิธีการเพิ่ มประสิทธิภาพการทํางาน ของระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ที่มีปริมาณแบนด์วิดท์จํากัด คือ การบริหารทรัพยากร • คุณภาพการให้บริการ ประกอบด้วย 1) การกําหนดลําดับความสําคัญของการไหล ของข้อมูล 2) การกําหนดการใช้งานแบนด์วิดท์ 3) การควบคุมค่าแปรผันและค่าจํากัดสูงสุดของ ระยะเวลาในการรับส่งข้อมูล 4) ปริมาณการสูญหายของข้อมูล 5) การทําให้เกิดความมั่นใจว่าการให้ความสําคัญกับ การไหลของข้อมูลหนึ่งจะไม่ส่งผลเสียต่อการ ไหลของข้อมูลอื่นจนถึงขั้นที่ไม่สามารถทํางานได้
โครงสร้างสถาปัตยกรรม คุณภาพการให้บริการ
คุณภาพบริการ 1) การเพิ่ มความจุหรือแบนด์วิดท์ ของระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ให้มีปริมาณมากกว่าความต้องการ ในการใช้งานปกติ และการปรับปรุงอุปกรณ์ให้มีประสิทธิภาพสูง 2) การแบ่งประเภทการจราจร ในระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ออกเป็นกลุ่ม ตามลําดับความสําคัญ และกําหนดให้การจราจรที่มีความสําคัญกว่า เข้าใช้แถวคอยที่มีการให้บริการที่ดีกว่า และมีการส่งข้อมูลในจํานวนที่มากกว่า
คุณภาพบริการ 1) 2) 3) 4) 5)
คุณภาพบริการ ประกอบด้วย การกําหนดลําดับความสําคัญของการไหล ของข้อมูล การกําหนดการใช้งานแบนด์วิดท์ การควบคุมค่าแปรผันและค่าจํากัดสูงสุด ของระยะเวลาในการรับส่งข้อมูล ปริมาณการสูญหายของข้อมูล การทําให้เกิดความมั่นใจว่าการให้ความสําคัญ กับการไหลของข้อมูลหนึ่ง จะไม่ส่งผลเสียต่อการไหลของข้อมูลอื่น จนถึงขั้นที่ไม่สามารถทํางานได้
ระดับการให้บริการเอสแอลเอ
(Service-Level Agreement: SLA)
(jitter)
โครงสร้างพื้ นฐาน
การประกันคุณภาพการให้บริการ
1) การระบุและการทําเครื่องหมาย 2) กระบวนการควบคุมคุณภาพการให้บริการ ของอุปกรณ์ การคิดค่าบริการ 3) การจัดนโยบาย การบริหาร
การประกันคุณภาพการให้บริการ ตลอดเส้นทาง เบสท์เอฟฟอร์ท
การบริการที่ไม่มีการกําหนดการประกันคุณภาพ โดยสิ้นเชิง • ไม่มีการประกันการให้บริการ ในด้านใดเล • ไม่มีการแยกประเภทระหว่างการไหลของข้อมูล กลไกการจัดการการเข้าแถวคอยตามปกติ แบบเข้าก่อนออกก่อน (First-In-First-Out: FIFO)
การแยกการจราจร
ซอฟท์คิวโอเอส
• เป็นการแยกประเภทการจราจร เพื่ อให้การจราจรบางส่วนได้รับการบริการที่ดีกว่า
การรับประกันการจราจร
ฮาร์ดคิวโอเอส
การจับจองทรัพยากรระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ สําหรับการจราจรประเภทที่มีความสําคัญต่อการทํางาน ประกันการได้ใช้ทรัพยากรระบบเครือข่าย โดยใช้โพรโทคอลการจองทรัพยากรเครือข่าย (Resource Reservation Protocol : RSVP)
Module 13 ▶ การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน
Module 13
การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
96304 Data Communications and Networking
38