คู่มือจัดทำวิทยานิพนธ์ svit

Page 1

คูมือการจัดทําวิทยานิพนธ พิมพครั้งที่ 1

สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ พ.ศ. 2558 55/56 หมูที่ 7 ซอยสามมิตร ถนนหนามแดง-บางพลี ตําบลบางพลีใหญ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท 02-337-3341-3 โทรสาร 02-337-4103


คํานํา คูมือการจัดทําวิทยานิพนธ สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ ฉบับนี้ ไดจัดทําขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2558 เพื่อใหเนื้อหามีความสอดคลองกับการใชงานและเพิ่มตัวอยางการพิมพมากยิ่งขึ้น เพื่อใหนักศึกษาใชเปนคูมือ ในการจัดทําสารนิพนธหรือการคนควาอิสระ(Independent Study) วิทยานิพนธ (Thesis) และดุษฎีนิพนธ (Dissertation) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญ ญาโท และปริญญาเอก ทุกสาขาวิชา โดย แบงเนื้อหาออกเปน 5 บท คือ บทนํา แนวปฏิบัติในการจัดทําวิทยานิพนธ สวนประกอบของวิทยานิพนธ การจัดพิมพวิทยานิพนธ และการอางอิงและบรรณานุกรมในวิทยานิพนธ คูมือเลมนี้จะเกิดคุณประโยชนก็ตอเมื่อนักศึกษาไดศึกษาและทําความเขาใจอยางถองแท รวมถึงให ความรวมมือปฏิบัติงานตามขอเสนอแนะของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ จึงจะทํา ใหการศึกษาประสบความสําเร็จ เพราะวิทยานิพนธที่มีคุณภาพนั้นเปนสิ่งสําคัญที่สุดของการศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษา อีกทั้งยังแสดงใหเห็นถึงความสามารถ ความพยายาม และความประณีตของผูวิจัยอีกดวย ขอขอบคุณคณะกรรมการที่ปรึกษา คณะกรรมการดําเนินงาน และคณาจารยทุกทาน ที่มีสวนในการ จัดทําคูมือเลมนี้ใหเปนเอกสารที่มีความสมบูรณและถูกตองสําหรับใชเปนแนวทางในการจัดทําวิทยานิพนธของ นักศึกษา

คณะกรรมการจัดทําคูมือการจัดทําวิทยานิพนธ สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ


สารบัญ บทที่

หนา

1 บทนํา นิยามและรูปแบบการเขียนดุษฎีนิพนธ วิทยานิพนธ สารนิพนธหรือการคนควาอิสระ ความสําคัญของวิทยานิพนธ จรรยาบรรณในการจัดทําวิทยานิพนธ ขอควรตระหนักในการจัดทําวิทยานิพนธ 2 แนวปฏิบัติในการจัดทําวิทยานิพนธ การลงทะเบียนทําวิทยานิพนธ การเสนอเคาโครงวิทยานิพนธ การขออนุมัตเิ คาโครงวิทยานิพนธ การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ การเปลี่ยนแปลงหัวขอวิทยานิพนธ การประเมินผลความกาวหนาในการจัดทําวิทยานิพนธ การขอสอบวิทยานิพนธ การดําเนินการตางๆในการสอบวิทยานิพนธ การสงวิทยานิพนธ สรุปขั้นตอนการจัดทําวิทยานิพนธ 3 สวนประกอบของวิทยานิพนธ สวนประกอบตอนตน สวนประกอบในเนื้อเรื่อง สวนประกอบตอนทาย 4 การจัดพิมพวิทยานิพนธ กระดาษที่ใชพิมพ ตัวพิมพ การเวนขอบกระดาษ การจัดตําแหนงขอความในหนากระดาษ การลําดับหนาและพิมพเลขกํากับหนา

1 1 2 3 4 6 6 6 6 6 8 8 9 10 12 13 15 15 26 31 32 32 32 33 33 33


สารบัญ (ตอ) บทที่

หนา

การพิมพบทและหัวขอในบท การเวนระยะหางระหวางบรรทัด การยอหนา การใชเครื่องหมายวรรคตอน การพิมพคําภาษาตางประเทศ การพิมพอัญประภาษ การพิมพสารบัญ การพิมพตาราง การพิมพภาพประกอบ การพิมพหนาบอกตอน การพิมพสันปก 5 การเขียนอางอิงและบรรณานุกรมในวิทยานิพนธ การอางอิงในสวนเนื้อเรื่องของวิทยานิพนธ การอางอิงสวนทายเรื่องหรือบรรณานุกรมของวิทยานิพนธ ภาคผนวก ภาคผนวก ก จรรยาบรรณนักวิจัยและแนวปฏิบัติในการบันทึกขอมูล ภาคผนวก ข ตัวอยางการพิมพสวนตางๆ และการจัดวางเนื้อหา ภาคผนวก ค แบบฟอรมตางๆ ในการจัดทําวิทยานิพนธ

35 37 37 37 38 38 39 40 41 42 42 43 43 50 60 61 66 86


บทที่ 1 บทนํา คูมือการจัดทําวิทยานิพนธระดับบัณฑิตศึกษา สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ มีเนื้อหาในบท นําเกี่ยวของกับรายละเอียด ดังนี้ 1. 2. 3. 4.

นิยามและรูปแบบการเขียนดุษฎีนิพนธ วิทยานิพนธ สารนิพนธหรือการคนควาอิสระ ความสําคัญของวิทยานิพนธ จรรยาบรรณในการจัดทําวิทยานิพนธ ขอควรตระหนักในการจัดทําวิทยานิพนธ

นิยามและรูปแบบการเขียนดุษฎีนิพนธ วิทยานิพนธ สารนิพนธ หรือการคนควาอิสระ 1. นิยาม ดุษฎีนิพนธ วิทยานิพนธ สารนิพนธหรือการคนควาอิสระ เปนผลงานทางวิชาการ ที่นักศึกษา ในระดับบัณฑิตศึกษาไดดําเนินงานอยางเปนระบบ ตามกระบวนการและระเบียบวิธีการแสวงหาความรู ของแตละสาขาวิชา โดยเรียบเรียงเปนรายงานตามรูปแบบที่กําหนด เพื่อเสนอเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามเงื่อนไขของแตละหลักสูตร สรุปสาระสําคัญไดดังนี้ 1.1 ดุ ษ ฎี นิ พ นธ (Dissertation) เป น รายงานการศึ ก ษาค น คว า ภายใต คํ า แนะนํ า ของ อาจารยที่ปรึกษาที่กําหนดใหเปนสวนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาเอก แผน 1 ที่ไดรับอนุมัติ ใหทําการวิจัยที่กอใหเกิดความรูใหม โดยอาศัยระเบียบวิธีวิจัยดําเนินงานอยางเปนระบบ และตามแบบ แผนที่กําหนด เพื่อแสดงถึงการวิจัยที่มีคุณภาพสูง กอใหเกิดความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพ และ เผยแพรผลงานตอสาธารณะชนตามแนวทางทีส่ ถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิกําหนด 1.2 วิทยานิพนธ (Thesis) เปนรายงานการศึกษาคนควาภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ ปรึ ก ษาที่ กํ าหนดให เป น ส ว นหนึ่ งของการศึ ก ษาหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาโท แผน ก ที่ ได รั บ อนุ มั ติ ให ทําการศึกษาคนควาตามเงื่อนไขของหลักสูตร โดยอาศัยระเบียบวิธีวิจัยดําเนินงานอยางเปนระบบ และ ตามแบบแผนที่กําหนด เพื่อแสดงถึงความคิดริเริ่มในการแสวงหาความรู การวิเคราะห การสังเคราะห การสรางสรรค เชื่อมโยงกับสมมติฐาน หรือหลักการหรือทฤษฎีหรือกรอบแนวคิดที่ไดกําหนดไวเมื่อเริ่ม ทําการศึกษาวิจัย และเผยแพรผลงานตอสาธารณะชนตามแนวทางที่สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ กําหนด


2

1.3 สารนิ พ นธ ห รื อ การค น คว า อิ ส ระ (Independent Study) เป น รายงานการศึ ก ษา คน ควาภายใตคําแนะนํ าของอาจารยที่ป รึกษาที่กําหนดให เป นส วนหนึ่ งของการศึกษาหลักสูตรระดั บ ปริญญาโท แผน ข ไดรับอนุมัติใหทําการศึกษาคนควาและวิเคราะหเจาะลึกในประเด็นที่นักศึกษาสนใจ และมีเนื้อหาที่เกี่ยวของในแตละสาขาวิชานั้น และไดดําเนินการถูกตองตามระเบียบวิธีการแสวงหาความรู ของแตละสาขาวิชาจนเสร็จสมบูรณ ตามแนวทางทีส่ ถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิกําหนด 2. รูปแบบการเขียนดุษฎีนิพนธ วิทยานิพนธ สารนิพนธหรือการคนควาอิสระ รูปแบบการเขียนดุษฎีนิพนธ วิทยานิพนธ สารนิพนธหรือการคนควาอิสระ ใหเปนรูปแบบ เดียวกันตามที่วิทยาลัยกําหนด โดยใชรูปแบบเดียวกับการเขียนวิทยานิพนธ ความสําคัญของวิทยานิพนธ การจั ด การศึก ษาในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึก ษา มุงหวั งที่ จ ะให นั กศึก ษามี ความรู และทั กษะในการ ประกอบอาชีพ รวมทั้งความสามารถในการแสวงหาความรู เพื่อสรางองคความรูใหมสงผลตอการพัฒนา วิชาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและพัฒนาสังคมตอไป วิทยานิพนธในแตละระดับจึงมีความสําคัญ ดังนี้ 1. เปนสัญลักษณแสดงถึงความวิริยะอุตสาหะและความรอบรูของนักศึกษา วิทยานิพนธแสดงถึงความสามารถในการศึกษาหาความรูดวยตนเอง ความสนใจใฝรูวิชาการ อยางตอเนื่อง ความสามารถวิเคราะหและแกไขปญหาตามหลักวิชาการไดอยางถูกตองความสามารถเชิง วิ จ ารณ อ ย างสร างสรรค ความสามารถเชิ งการเขีย นการใช ภ าษา รวมถึ งเป น หลั ก ฐานสํ าคั ญ ในการ ตรวจสอบคุณสมบัติและคุณภาพของมหาบัณฑิต หรือดุษฎีบัณฑิต 2. เปนเงื่อนไขสวนหนึ่งของการสําเร็จการศึกษาตามมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา กําหนดใหนักศึกษาในระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตตองทําวิทยานิพนธ โดยตองสอบผาน ตามเงื่อนไขของวิทยาลัย ดังนั้นหากนักศึกษาไมสามารถทําวิทยานิพนธใหลุลวงเปนผลสําเร็จก็ไมสามารถ สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรได 3. เปนดัชนีบงชี้คุณภาพของการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิทยานิพนธนับวาเปนดัชนีบงชี้คุณภาพของการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งนี้หากนักศึกษา ผลิตผลงานวิทยานิพนธที่มีคุณภาพ เชน กอใหเกิดความรูใหมที่มีประโยชน และสามารถนํามาประยุกตใช ไดในสังคม หรือไดยอมรับใหตีพิมพเผยแพรในวารสารทางวิชาการที่มีมาตรฐานหรือการประชุมสัมมนา ระดับชาติ ระดับนานาชาติ จะสงผลใหการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของหลักสูตรสาขาวิชานั้นๆ ไดรับการยอมรับจากแวดวงวิชาการมากยิ่งขึ้น


3

จรรยาบรรณในการจัดทําวิทยานิพนธ ในการแสวงหาความรูเพื่อจัดทําวิทยานิพนธนั้น จําเปนตองอาศัยวิธีการอันเปนที่ยอมรับในแต ละสาขาวิชา โดยเฉพาะอยางยิ่งวิธีวิทยาการวิจัย ซึ่งในที่นี้ครอบคลุมถึงแนวคิดและมโนทัศน วิธีการที่จะ ไดมาซึ่งสารสนเทศที่ตองการ การวิเคราะห การสังเคราะห และการสรางองคความรูใหม การดําเนินงาน ในลักษณะเชนนี้ อาจมีผลกระทบตอบุคคล วิถีชีวิตทางสังคมของชุมชน ฉะนั้นนักศึกษาพึงตระหนักถึง จรรยาบรรณ หรื อ หลั ก ความประพฤติ อั น เหมาะสมซึ่ งแสดงถึ ง จริ ย ธรรมในการดํ า เนิ น การจั ด ทํ า วิทยานิพนธ ดังที่สํานักคณะกรรมการวิจัยแหงชาติไดกําหนด “จรรยาบรรณนักวิจัย” ไวเปนแนวทาง สําหรับยึดถือปฏิบัติเพื่อใหการดําเนินงานวิจัย ตั้งอยูบนพื้นฐานของจริยธรรมและหลักวิชาการที่ถูกตอง (รายละเอียด “จรรยาบรรณนักวิจัย” แสดงไวในภาคผนวก ก) ในสวนของการจัดทําวิทยานิพนธ นักศึกษาพึงตระหนักตอขอกําหนดทางจริยธรรมดังนี้ 1. สิทธิและความยินยอมของผูใหขอมูล ใหถือเปนหนาที่ที่ผูวิจัยตองตระหนักในสิทธิของผูใหขอมูลหรือกลุมตัวอยางที่จะไดรับทราบคํา ชี้แจงเกี่ยวกับงานวิจัยและผลกระทบที่อาจจะไดรับจากการเขารวมการวิจัยอยางครบถวน ครอบคลุม และตรงไปตรงมา ทั้งนี้ผูวิจัยตองไมกระทําการใดๆ อันเปนการละเมิดตอเสรีภาพในการตัดสินใจของผูให ขอมูลหรือกลุมตัวอยางที่ทําการศึกษา ในกรณีที่จําเปนตองดําเนินการวิจัยซึ่งไมสามารถเปดเผย ใหผูถูกศึกษาไดทราบวาตนเอง กําลัง ถูกศึกษา เนื่องจากจะมีผลตอความถูกตองของผลการวิจัย ผูวิจัยตองเพิ่มความระมัดระวังผลกระทบที่จะ เกิดขึ้นตอผูถูกศึกษา ทั้งทางดาน รางกาย จิตใจ และ สังคม นอกจากนี้ตองไมดําเนินการวิจัยอันเปนผล ตอการละเมิดหรือลิดรอนหรือลดทอนศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยของผูถูกศึกษาและผูที่เกี่ยวของ 2. การรักษาความเปนสวนตัวของผูใหขอมูล ผูวิจัยตองรักษาขอมูลการวิจัยไว เปนความลับ ไมวาขอมูลดังกลาวจะอยูในรูปของคําตอบใน แบบสอบถาม ภาพ หรือ เสียงการใหสัมภาษณ โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่ผลงานวิจัยจะสงผลกระทบตอ ผูใหขอมูล โดยตองมีแนวทางการปองกันไมใหการตรวจสอบยอนกลับไปบงชี้ไดวา ขอมูลดังกลาวเป น ขอมูลของบุคคลใด ตัวอยางเชน การใชนามสมมติ การใชรหัสแทนชื่อบุคคลหรือสถานที่สมมติ เปนตน 3. จรรยาบรรณในการใชประโยชนจากผลงานของผูอื่น การวิจัยเปนการตอยอดจากฐานขององคความรูเดิมซึ่งไดมีการพบมากอนนั้น ความรูดังกลาว อาจอยูในรูปของ แนวคิด ทฤษฎี ขอเขียน ความคิด หรือ ขอคน พบจากงานวิจัย ซึ่งเทากับวาเจาของ ผลงานทางวิชาการดังกลาวขางตนเปนผูที่มีคุณูปการทางวิชาการ การใชประโยชนจากผลงานของผูอื่นนั้น แมวาผูวิจัยจะไดเขียนเรียบเรียงขึ้นใหม ผูวิจัยจะตอง ระบุวาเปนการเขียนและเรียบเรียงขึ้นมาจาก ขอความ คําพูด ความคิด หรือ ขอคนพบ ของผูใด และตอง


4

ไมทําการใดๆ ที่ทําใหเกิดความเขาใจผิดวา ผลงานวิชาการของผูอื่นเปนผลงานของผูวิจัย โดยการที่ไม อางอิงหรือการอางอิงทีไ่ มถูกตอง ในสวนของการทบทวนวรรณกรรม ผูวิจัยจะตองเปนผูที่ป ระมวลความรูตางๆ ขึ้นมาดวย ตนเอง โดยจะตองไมลอกเลียนหรือคัดลอกผลงานของผูอื่นที่เคยนําเสนอไวแลวมาเสนอใหมในงานของ ตนแบบคําตอคํา บรรทัดตอบรรทัด หรือหนาตอหนา ในกรณีที่จําเปนตองคัดลอกก็ตองใชการอางอิงที่ ถูกตองตามรูปแบบทีว่ ิทยาลัยฯกําหนด เพื่อใหเห็นชัดเจนวาคัดลอกจากแหลงใด 4. ความซื่อตรงทางวิชาการของผูวิจัย ผูวิจัยจะตองมีความซื่อตรงทางวิชาการในการดําเนินงานวิจัย เริ่มตั้งแตการทบทวนวรรณกรรม การรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การนําเสนอผลการวิจัย ซึ่งจะตองเปนไปตามขอเท็จจริงและการ อางอิง โดยจะตองไมบิดเบือนเพื่อวัตถุประสงคแอบแฝงใดๆ ขอควรตระหนักในการจัดทําวิทยานิพนธ ในการจัดทําวิทยานิพนธ นักศึกษาตองตระหนักในประเด็นตางๆ ดังนี้ 1. ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวของกับการจัดทําวิทยานิพนธ นักศึกษาควรทําความเขาใจ ระเบี ย บ ประกาศ และ ขอกําหนด ของวิท ยาลั ยที่เกี่ยวกับ แนว ปฏิบัติในการจัดทําวิทยานิพนธใหชัดเจน เพื่อชวยใหสามารถวางแผนในการจัดทําวิทยานิพนธสําเร็จได ตามกําหนดเวลา ซึ่งสามารถอานและทําความเขาใจไดจากคูมือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและคูมือการ จัดทําวิทยานิพนธของวิทยาลัยฉบับนี้ 1.1 อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1.1.1 การเลือกอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษาควรปรึกษาอาจารยที่ปรึกษาทั่วไป ประธานหรือกรรมการบริหารหลักสูตรถึง หัวขอปญหาและแนวทางการวิจัยที่ตนไดศึกษามาแลว เพื่อขอคําแนะนําในการเลือกหรือติดตออาจารย ที่ มีความรู ความชํานาญหรือสนใจในหัวขอปญหาดังกลาวใหเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ กิจกรรมการ เลือกอาจารยที่ปรึกษานี้ อาจอยูในดุลยพินิจของแตละสาขาวิชาในการจัดอาจารยที่ปรึกษาใหกับนักศึกษา 1.1.2 การปรึกษาหารือ ในการจัดทําวิทยานิพนธ นักศึกษาตองพบปรึกษาหารือและรายงานความกาวหนาของ การทํ าวิ ท ยานิ พ นธ อย างสม่ําเสมอ ตลอดระยะเวลาที่ ทํ าวิ ท ยานิ พ นธ นั้ น หากเป น ไปได ควรกํ าหนด ตารางเวลาการเขาพบอาจารยที่ปรึกษาใหเปนทีแ่ นนอน อาจเปนเดือนละหนึง่ หรือสองครั้งเปนอยางนอย


5

1.2 การวางแผนจัดทําวิทยานิพนธ ในการวางแผนจัดทําวิทยานิพนธ นักศึกษาสามารถดําเนินการควบคูไปพรอมกับการเรียน รายกระบวนวิชา นั กศึกษาสามารถเสนอโครงรางวิทยานิพนธได เมื่อมีหน วยกิต สะสมตามที่วิทยาลั ย กําหนดในแตละหลักสูตร โดยไมจําเปนตองเรียนใหครบกระบวนวิชา


6

บทที่ 2 แนวปฏิบัติในการจัดทําวิทยานิพนธ การลงทะเบียนทําวิทยานิพนธ นักศึกษาจะลงทะเบียนทําวิทยานิพนธครั้งแรกได เมื่อนักศึกษามีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา 12 หนวยกิต หรือเรียนมาแลวไมนอยกวา 2 ภาคการศึกษา การเสนอเคาโครงวิทยานิพนธ เคาโครงวิทยานิพ นธเป นเอกสารโครงการศึกษาวิจัยที่นักศึกษาเรียบเรีย งขึ้น เพื่ อชี้แจง ความเปนมาและปญหาของการวิจัย คําถามวิจัย วัตถุประสงค สมมติฐานวิจัย ขอบเขต และวิธีการ วิจัย ตลอดจนแผนการดําเนินงานในการศึกษาวิจัย เพื่อเปนกรอบแนวทางในการศึกษาวิจัยเรื่องนั้นๆ เมื่อนักศึกษาเริ่มลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธแลว จะตองดําเนินการเรียบเรียงเคาโครงวิทยานิพนธ โดยใหมหี ัวขอและองคประกอบตามที่วิทยาลัยกําหนดไว หรือตามความจําเปนโดยใหมีมาตรฐานเปน ที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น การขออนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธ 1. นักศึกษาที่ลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธแลว ตองเสนอเคาโครงวิทยานิพนธที่ไดรับ ความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักและอาจารยที่ปรึกษารวมตอคณบดีเพื่อพิจารณา อนุมัติภายในระยะเวลา ที่แตละสาขาวิชากําหนด 2. นักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษ ฎีบัณฑิต จะตองสอบผานการสอบวัดคุณสมบัติกอน (Qualifying Examination) จึงจะดําเนินการเสนอขออนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธได 3. เคาโครงวิทยานิพนธที่เสนอขออนุมัติ ตองจัดพิมพตามแบบฟอรมที่วิทยาลัยกําหนด การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ใหนักศึกษาเสนอชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและอาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) เพื่อให คณะกรรมการบริหารหลักสู ตรแตงตั้งโดยความเห็ น ชอบของผู อํานวยการหลักสู ตรหรือประธาน หลักสูตร ซึ่งอาจารยที่ปรึกษาหลักและอาจารยที่ปรึกษารวมมี จํานวน คุณสมบัติ และ บทบาทหนาที่ ดังนี้


7

1. จํานวนอาจารยที่ปรึกษาหลักและอาจารยที่ปรึกษารวม ให มี อ าจารย ที่ ป รึ กษาหลั ก 1 คน และ อาจมี อ าจารย ที่ ป รึ กษาร ว ม ได อี ก ตามความ เหมาะสมแตละกรณี ทั้งนี้ใหเปนไปตามประกาศหรือขอกําหนดของแตละหลักสูตร (ถามี) 2. คุณสมบัติของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก (Main Advisor) 2.1 ตองเปนอาจารยประจําของสถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ 2.2 มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาหรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวา รองศาสตราจารยในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน 2.3 ตองมีประสบการณในการทําวิจัยที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา 3. คุณสมบัติของอาจารยที่ปรึกษารวม (Co-advisor) เปนอาจารยประจํา หรือ ผูทรงคุณวุฒิที่มีวุฒิการศึกษาและตําแหนงทางวิชาการ รวมทั้ง ประสบการณการทําวิจัย เชนเดียวกับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ในกรณีที่มีความจําเปนและ เหมาะสม อาจแตงตั้งผูเชี่ยวชาญเฉพาะใหเปนอาจารยที่ปรึกษารวมก็ได 4. หนาที่ของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ มีดังนี้ 4.1 ใหคําแนะนําและเปนที่ปรึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาทางทฤษฎี วิธีการศึกษาวิจัย รวมทั้ง การแกไขปญหาที่เกิดขึ้นขณะดําเนินการศึกษาวิจัย 4.2 ใหคําแนะนําปรึกษาเกี่ยวกับการเขียนวิทยานิพนธ 4.3 ประเมินผลการทําวิทยานิพนธในระหวางที่กําลังดําเนินการ 4.4 พิจารณาใหความเห็นชอบในการขอสอบวิทยานิพนธของนักศึกษา อาจารยที่ปรึกษารวม มีหนาที่รวมกับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลั กในการพิจารณา เคาโครงวิทยานิพนธ รวมทั้งชวยเหลือใหคําแนะนําและควบคุมดูแลการทําวิทยานิพนธของนักศึกษา อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพ นธหลัก และอาจารยที่ปรึกษารวมควรทําความเขา ใจถึงแนว ปฏิบัติ กฎและระเบียบตางๆ เกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ รวมทั้งขอกําหนดและรูปแบบการจัดพิมพ เพื่อสามารถใหคําแนะนําที่ถูกตองแกนักศึกษา ในกรณีที่นักศึกษามีความจําเปนตองเปลี่ยนแปลงอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และ/หรือ เปลี่ยนแปลงอาจารยที่ปรึกษารวม นักศึกษาตองเขียนคํารองขออนุมัติตอคณบดี โดยผานความ เห็นชอบของผูอํานวยการหลักสูตรหรือประธานหลักสูตร


8

การเปลี่ยนแปลงหัวขอวิทยานิพนธ ในกรณี ที่นักศึ กษาไดรับอนุมั ติใหเปลี่ยนหัวขอวิทยานิพ นธ ซึ่งมีผ ลตอการเปลี่ยนแปลง สาระสําคัญของเนื้อหาวิทยานิพนธใหอาจารยที่ปรึกษาทําการประเมินจํานวนหนวยกิตในหัวขอเดิม ที่ เคยไดสัญลักษณ S และที่สามารถนําไปใชกับหัวขอใหมได เทียบโอนหนวยกิตไปใชกับหัวขอใหม ทั้งนี้ ใหทําการประเมินเปนรายภาคการศึกษา ตามที่นักศึกษาเคยไดรับสัญลักษณ S มากอน แตตองไมเกิน จํานวนหนวยกิตที่ผานมาในหัวขอเดิม ทั้งนี้ใหนับจํานวนหนวยกิตดังกลาว เปนจํานวนหนวยกิตที่ผาน โดยไดสัญลักษณ S ซึ่งสามารถนํามานับเพื่อสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรไดและตองไดรับอนุมัติจาก ผูอํานวยการหลักสูตรหรือประธานหลักสูตรโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พรอมแจงคณะ ภายใน 15 วัน และ ใหบันทึกการเปลี่ยนแปลงในประวัติการศึกษา การประเมินผลความกาวหนาในการจัดทําวิทยานิพนธ การประเมินผลความกาวหนาในการจัดทําวิทยานิ พนธในแตละภาคการศึกษาในขณะที่ การศึกษายังไมเสร็จสิ้นใหกระทําดังนี้ 1. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ เปนผูประเมินผลความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธของ นักศึกษาทุกภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบียน และรายงานผลการประเมินตอคณะกรรมการบริหาร หลักสูตร (การประเมิน ความกาวหนา อาจใชวิธีใหนักศึกษาทํารายงานผลความกาวหนา ในการทํา วิทยานิพนธ) 2. การประเมินผลความกาวหนาในการจัดทําวิทยานิพนธ 2.1 การประเมิ น ผลในระหว า งการดํ า เนิ น การทํ า วิ ท ยานิ พ นธ ให ใช สั ญ ลั ก ษณ S (Satisfaction) หมายถึง ผลการประเมินความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธของนักศึกษาเปนที่พอใจ ใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธประเมินความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธของนักศึกษา โดยระบุ จํานวนหนวยกิต วิทยานิพนธที่ไดรับการประเมินใหไดสัญลักษณ S ของนักศึกษาแตละคน ในแตละ ภาคการศึกษานั้น แตทั้งนี้ตองไมเกินจํานวนหนวยกิตที่ลงทะเบียน หากผลการประเมินพบวาไมมี ความกาวหนา จํานวนหนวยกิตที่ไดในภาคการศึกษานั้น ใหมีคาเปน S เทากับ 0 (ศูนย)สําหรับเกณฑ การกําหนดคาคะแนน S ตามปริมาณงานที่ไดปฏิบัติจริงของนักศึกษาตั้งแต 1 หนวยกิตขึ้นไป ดังนี้ 2.1.1 การนําเสนอโครงราง 2.1.2 การทําการทดลองรวบรวมขอมูล และ การวิเคราะหผล 2.1.3 การเขียนวิทยานิพนธ 2.1.4 ไดรับการการตีพิมพหรือตอบรับ

เทากับ 10% ของปริมาณงานทั้งหมด เทากับ 50% ของปริมาณงานทั้งหมด เทากับ 30% ของปริมาณงานทั้งหมด


9

ใหตีพิมพในวารสารที่ไดรับการรับรองหรือ เสนอผลงานในทีป่ ระชุมวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ เทากับ 10% ของปริมาณงานทั้งหมด 2.2 ประเมินผลรายวิชาวิทยานิพนธใหนักศึกษาไดสัญลักษณ S ครบตามจํานวนหนวยกิต ในหลักสู ต ร นักศึ กษาตองเสนอตน ฉบั บรา งวิ ท ยานิพ นธที่พ รอมนํ าเสนอคณะกรรมการสอบและ ตนฉบับผลงานวิทยานิพนธที่ตองพิมพหรือเผยแพรตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกําหนด ใหถือเปนสวนหนึ่ง ของวิทยานิพนธ ซึ่งตองกําหนดจํานวนหนวยกิต ตามความเหมาะสมแลวแตกรณี 2.3 นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิทยานิพนธแลวไดรับการประเมินผลความกาวหนาเปน S เทากับ 0 (ศูนย) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรตองพิจารณาสาเหตุ ซึ่งอาจใหนักศึกษาผูนั้นไดรับการ พิจารณาใหเปลี่ยนหัวขอเรื่องวิทยานิพนธ หรือเปลี่ยนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ หรืออื่นๆ แลวแต กรณีและประธานหลักสูตรตองรายงานสาเหตุและผลการพิจารณาตอคณบดีเพื่อหาขอยุติ การขอสอบวิทยานิพนธ 1. คุ ณ สมบั ติ ข องนั ก ศึ ก ษาที่ มี สิ ท ธิ์ ข อสอบวิ ท ยานิ พ นธ นั ก ศึ ก ษาจะมี สิ ท ธิ์ ข อสอบ วิทยานิพนธไดเมื่อ 1.1 ผานการสอบโครงรางวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 60 วัน 1.2 มีผลการประเมินความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธ โดยไดสัญลักษณ S ครบตามที่ หลักสูตรกําหนด 2. การดําเนินการกอนการสอบวิทยานิพนธ 2.1 นักศึกษาตองเสนอวิทยานิพนธที่ยังไมเขาปกจํานวนเทากับกรรมการสอบ พรอมทั้ง ยื่นคํารองขอสอบ (ดูภาคผนวก ค) เพื่อใหคณบดีอนุมัติการสอบโดยผานความเห็นชอบของอาจารยที่ ปรึกษาวิทยานิพนธและผูอํานวยการหลักสูตรหรือประธานหลักสูตรกอนวันกําหนดสอบอยางนอย 15 วัน 2.2 นักศึกษาตองชําระคาธรรมเนียมการสอบที่งานการเงินของสถาบันเทคโนโลยีแหง สุวรรณภูมิ ใหเรียบรอยกอนการสอบ 2.3 ผูอํานวยการหลักสูตรหรือประธานหลักสูตร เสนอชื่อคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ใหคณบดีแตงตั้ง และสงวิทยานิพนธใหกรรมการสอบ กอนวันกําหนดสอบอยางนอย 15 วัน


10

การดําเนินการในการสอบวิทยานิพนธ เปนการสอบเพื่อประเมินวิทยานิพนธของนักศึกษา ประกอบดวย การตรวจและประเมิ น คุณภาพผลงาน การทดสอบความรูของนักศึกษาดวยวิธีการสอบปากเปลา และ การประชุมพิจารณา ผลงานของกรรมการ โดยใหมีคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธเปนผูสอบ 1. ระยะเวลาในการสอบวิทยานิพนธ ตองดําเนินการภายในเวลา 45 วัน หลังจากที่นักศึกษาผานการประเมินผลความกาวหนา และไดสัญลักษณ S ครบตามจํานวนหนวยกิตรายวิชาวิทยานิพนธของหลักสูตร ในการรายงานการประเมินผลความกาวหนาครั้งสุดทายซึ่งนักศึกษาผานและไดสัญลักษณ S ครบตามจํานวนหนวยกิตรายวิชาวิทยานิพนธของหลักสูตรนั้น ผูอํานวยการหลักสูตรหรือประธาน หลักสูตรตองเสนอใหคณบดีแตงตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ รวมทั้งใหเสนอวันที่จะทําการสอบ ไปพรอมกันดวย 2. การแตงตั้งคณะกรรมการสอบ 2.1 ระดั บ ปริญ ญาโท วิ ท ยาลั ย จะแต งตั้ งคณะกรรมการสอบปากเปล า วิท ยานิ พ นธ จํานวนอยางนอย 3-5 คน ประกอบดวย ประธานกรรมการสอบ 1 คน อาจารยที่ปรึกษาหลัก 1 คน และอาจารยที่ปรึกษารวม(ถามี) ผูทรงคุณวุฒิภายนอก 1 คน อาจารยประจําหลักสูตร 1-2 คน ทั้งนี้ เมื่อรวมแลวตองไมเกิน 5 คน 2.2 ระดับปริญ ญาเอก วิทยาลั ยจะแตงตั้งคณะกรรมการสอบปากเปลา วิทยานิ พ นธ จํานวนอยางนอย 5-7 คน ประกอบดวย ประธานกรรมการสอบ 1 คน อาจารยที่ปรึกษาหลัก 1 คน และอาจารยที่ปรึกษารวม ผูทรงคุณวุฒิภายนอก 1 คน อาจารยประจําหลักสูตร 1-2 คน ทั้งนี้เมื่อรวม แลวตองไมเกิน 7 คน อาจารยประจําและผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ ที่เปนกรรมการ สอบวิทยานิพนธ ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมต่ํา กวารองศาสตราจารยในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน และตองมีประสบการณในการทํา วิจัยที่มิใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา การสอบวิทยานิพ นธ ตองเปนแบบเปดโดยเปดใหผูสนใจเขา รับฟงการนําเสนอและตอบ คําถามของผูเขาสอบได และคณะวิชาตองประกาศใหผูสนใจทราบกอนการสอบไมนอยกวา 7 วัน คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธมีอํานาจในการอนุญาตหรือไมอนุญาตใหผูเขาฟงถามหรือ แสดงความเห็นที่เกี่ยวของกับเนื้อหาของวิทยานิพนธ รวมทั้งการจํากัดเวลาการถาม และการควบคุม ใหดําเนินการสอบเปนไปโดยเรียบรอย


11

3. จํานวนและคุณสมบัติของกรรมการสอบ ในวันสอบจะตองมีคณะกรรมการสอบไมนอยกวา 3 คน ซึ่งประกอบดวย อาจารยประจําซึ่ง ไมไดเปนอาจารยที่ปรึกษารวม ผูทรงคุณวุฒิภายนอกซึ่งไมไดเปนอาจารยที่ปรึกษารวม และ อาจารย ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ จึงจะถือวาการสอบมีความสมบูรณ ถาคณะกรรมการสอบไมครบตามจํานวนดังกลาวขางตน ใหเลื่อนการสอบออกไป ในกรณีที่ จําเปนอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได โดยใหคณะแตงตั้งกรรมการ ทั้งนี้จะตองกําหนดวันสอบครั้งใหม ใหมีเวลาพอสมควรแกการที่กรรมการทีแ่ ตงตั้งซอมขึ้นใหม จะไดใชเวลาตรวจอานวิทยานิพนธได 4. ผูประเมินการสอบ ผูประเมินการสอบตองเปนกรรมการสอบที่อยูรวมในวันสอบ การประเมินผลโดยใหนั บ (คณะ) อาจารยที่ปรึกษาเปน 1 เสียง (คณะ) อาจารยประจําเปน 1 เสียง และ (คณะ) ผูทรงคุณวุฒิ เปน 1 เสียง และ ใหถือผลการประเมินตามมติกรรมการ จํานวนไมนอยกวา 2 ใน 3 เสียง ของจํานวน กรรมการทั้งหมด 5. การแจงผลการสอบวิทยานิพนธ 5.1 ใหประธานกรรมการสอบแจงผลการสอบเปนลายลักษณอักษรแก คณบดี และผูเขา สอบ ภายใน 15 วันทําการถัดจากวันสอบ 5.2 ในกรณีสอบผานแตตองมีการแกไขใหมีบันทึกประเด็นหรือรายการที่ตองการแกไข พร อ มทั้ ง มี ก ารอธิ บ ายชี้ แ จงให ผู เข า สอบรั บ ทราบ ทั้ ง นี้ ผู เข า สอบต อ งแก ไ ขให แ ล ว เสร็ จ และ คณะกรรมการสอบใหความเห็นชอบ ภายใน 45 วันนับจากวันสอบ หากไมสามารถดําเนินการไดทัน ดวยเหตุสุดวิสัยโดยความเห็นชอบของคณบดีอาจพิจารณาเลื่อนไดอีกภายใน 30 วัน เมื่อครบกําหนด ดังกลาวใหถือวาไมผานในการสอบครั้งนั้น ใหคณะกรรมการสอบรายงานผลขั้นตอนสุดทายตอคณบดี 5.3 กรณีสอบไมผานคณะกรรมการตองสรุปสาเหตุหลักของการพิจารณาไมใหผาน โดย การบันทึกเปนลายลักษณอักษร รายงานตอประธานหลักสูตร ภายใน 3 วันทําการถัดจากวันสอบให ผูอํานวยการหลักสูตร หรือประธานหลักสูตรแจงผลการสอบใหคณบดีทราบ ภายใน 15 วัน 5.4 หากนักศึกษาขาดสอบโดยไมมีเหตุสุดวิสัย ใหถือวาสอบไมผานในการสอบครั้งนั้น 6. นักศึกษาที่สอบวิทยานิพนธไมผาน 6.1 ผูสอบวิทยานิพนธครั้งแรกไมผาน มีสิทธิ์ยื่นขอสอบครั้งที่ 2 ได ภายใน 15 วันหลัง วันสอบ และ ตองสอบภายใน 60 วันหลังวันสอบ 6.2 ในกรณีที่ไมผานการสอบตามนัยแหงขอ 5.2 ใหยื่นขอสอบครั้งที่สองภายใน 15 วัน และตองสอบภายใน 60 วัน หลังวันครบกําหนดการแกไข


12

6.3 การให โ อกาสสอบครั้ง ที่ 2 นี้ ไม เป น เหตุ ให ได รั บ ยกเว น หรือ มิ ต อ งปฏิ บั ติ ต าม ระเบียบหรือหลักเกณฑที่กําหนดไวที่อื่นแตอยางใด 6.4 การอุทธรณผลการสอบวิทยานิพนธใหเปนไปตามที่วิทยาลัยกําหนด การสงวิทยานิพนธ 1. นักศึกษาที่สอบผานการสอบวิทยานิพนธแลว ใหจัดพิมพรูปเลมโดยมีองคประกอบและ รูป แบบการจัดพิมพตามขอกําหนดของวิทยาลัย และสงวิทยานิพนธที่ยังไมเขาปก จํานวน 1 ชุด ที่ สํานักบัณฑิตศึกษาภายใน 45 วันหลังจากวันสอบเพื่อตรวจสอบความถูกตองของรูปแบบวิทยานิพนธ สําหรับนักศึกษาที่สอบผานแบบมีเงื่อนไข ใหจัดทํารูปเลมโดยมีองคประกอบและรูปแบบ การจัดพิมพตามขอกําหนดของวิทยาลัย และสงวิทยานิพนธ ที่ยังไมเขา ปก จํานวน 1 ชุด ที่สํานัก บัณฑิตศึกษาภายใน 45 วันหลังวันสอบเพื่อตรวจสอบความถูกตองของรูปแบบวิทยานิพนธ เชนกัน แตทั้งนี้หลังจากที่คณะกรรมการสอบเห็นชอบการแกไขนั้น นักศึกษาตองสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ ที่ยังไมเขาปก ภายใน 3 วันทําการที่สํานักบัณฑิตศึกษา 2. สํานักบัณ ฑิ ตศึกษาตรวจสอบความถูกตองของรูป แบบและความเรียบรอยทั่วไปของ วิทยานิพนธภายใน 3 วันทําการ นับจากวันที่สงถึงสํานักบัณฑิตศึกษา ถาหากมีขอผิดพลาดนักศึกษา จะตองรีบดําเนินการแกไขแลวสงสํานักบัณฑิตศึกษาภายใน 7 วัน 3. นักศึกษาไมส ามารถดํ าเนินการตามระยะเวลาในขอ 1 และ ขอ 2 และ ในกรณีที่ ไม ดําเนินการตามระยะเวลาภายใน 45 วัน เนื่องจากมีเหตุผลอันสมควรนักศึกษาสามารถผอนผันไดอีก ไมเกิน 30 วัน พนจากนี้ถือวา การสอบวิทยานิพนธ เปนโมฆะตองดําเนินการขอสอบใหม


13

สรุปขั้นตอนการจัดทําวิทยานิพนธ 1. การเริ่มลงทะเบียนไมเกิน 3 หนวยกิต

2. นักศึกษาดําเนินการเตรียมหัวขอและทําเคาโครงยอ

3. นักศึกษาแสดงความจํานงขออนุมัติหัวขอตอคณะ กรรมการบริหารหลักสูตร ไม ผาน

4. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอนุมัติหัวขอและ แตงตั้งคณะกรรมการควบคุมการทําวิทยานิพนธ ผ่าน 5. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรแจงสํานักบัณฑิตวิทยาลัยและนักศึกษา ดําเนินการจัดทําโครงรางวิทยานิพนธอยางละเอียด (3 บท) 6. นักศึกษากรอกแบบฟอรมแสดงความจํานงคขอสอบพรอมกับเคาโครง ละเอียดจํานวน 6 ชุดตอคณะกรรมการควบคุมการทําวิทยานิพนธ 7. สํานักบัณฑิตวิทยาลัยตรวจสอบความถูกตองและแตงตั้งคณะกรรมการ พิจารณาเคาโครงวิทยานิพนธพรอมกําหนดการสอบใหเสร็จสิ้นภายในภาค เรียนที่ลงทะเบียน 8. สอบเคาโครงวิทยานิพนธ 9. ลงทะเบียนการทําวิทยานิพนธใหครบ 12 หนวยกิต 10. จัดทําวิทยานิพนธและรายงานความกาวหนา


14

10. จัดทําวิทยานิพนธและรายงานความกาวหนา

11. ทําวิทยานิพนธจนกวาจะแลวเสร็จ 12. ยื่นคํารองขอสอบปากเปลาวิทยานิพนธตอสํานักบัณฑิตศึกษา 13. สถาบันแตงตั้งคณะกรรมการสอบปากเปลา วิทยานิพนธ

13.1 ประธานและกรรมการ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 13.2 กรรมการประจํา หลักสูตรทีเ่ คยเขาพิจารณา

13.3 กรรมการผูทรงคุณวุฒิใน สาขาวิชานั้น 1 คน

ไมผาน

14. สอบปากเปลาวิทยานิพนธ

ผาน มีผลการตัดสินไมนอยกวา 2 ใน 3 ของคณะกรรมการ

15. สงวิทยานิพนธฉบับแกไขภายใน 45 วัน เพื่อลงนามและตรวจรูปแบบ 16. สงสําเนาวิทยานิพนธ 1 ฉบับ ใหสํานักบัณฑิตศึกษาตรวจสอบความถูกตอง 17. เมือ่ แกไขสมบูรณแลวเสนอเพื่อลงนามและสงวิทยานิพนธที่เขาเลมแลว 8 เลม พรอมแผน CD วิทยานิพนธ 1 แผน พรอมกับหลักฐานการเผยแพรภายใน 30 วัน ตอสํานักบัณฑิตศึกษา

18. สํานักบัณฑิตศึกษาเสนอชื่อนักศึกษาผานการพิจารณากลั่นกรองตอ 18.1 คณะกรรมการสํานักบัณฑิตศึกษา 18.2 คณะกรรมการบริหารวิชาการ 18.3 สภาสถาบัน

ภาพประกอบที่ 1 แผนภูมิการจัดทําวิทยานิพนธ


15

บทที่ 3 สวนประกอบของวิทยานิพนธ วิ ท ยานิ พ นธ คื อ ผลงานทางวิ ช าการที่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาดํ า เนิ น งานตาม กระบวนการและระเบียบวิธีการแสวงหาความรูของแตละสาขาวิชา และเรียบเรียงเปนรายงานใน รูปแบบของ การคนควาอิสระ สารนิพ นธ วิทยานิพนธ และดุษฎีนิพนธ ในการเขียนมีรูปแบบตาม มาตรฐานที่วิทยาลัยกําหนดเชนเดียวกัน มีสวนประกอบหลัก 3 สวน ดังนี้ 1. สวนประกอบตอนตน (Preliminary Section) 2. สวนประกอบในเนื้อเรื่อง (Text Section ) 3. สวนประกอบตอนทาย (References Section) ตัว อยางการพิ มพสวนตางๆ ในสวนประกอบของวิทยานิพนธ และแสดงไวในภาคผนวก สําหรับรายละเอียดของสวนประกอบแตละสวนมีดังนี้ สวนประกอบตอนตน (Preliminary Section) สวนประกอบตอนตน เปนสวนของรายงานที่เปนดานหนากอนที่จะถึงเนื้อเรื่องของรายงาน ประกอบดวย 1. ปกนอก (Cover) ลักษณะวิทยานิพนธฉบับสมบูรณตองเปนปกแข็งพื้นปกสีน้ําเงินเขม สําหรับการคนควาอิสระ สารนิพนธ หรือวิทยานิพนธ และสีดําสําหรับดุษฎีนิพนธ พิมพขอความบน ปกดวยอักษรสีทอง สวนประกอบบนปก ประกอบดวย 1.1 ตราสถาบั น เทคโนโลยี แ ห ง สุ ว รรณ ภู มิ มี ข นาด 1.50 X 1.50 นิ้ ว อยู ก ลาง หนากระดาษหางจากขอบกระดาษดานบน 1 นิ้ว 1.2 ชื่อเรื่องวิท ยานิพ นธทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใชตัวอักษรขนาด 20 พอยต ตัวหนา นอกจากนั้นใชตัวอักษรขนาด 18 พอยต ตัวหนา 1.3 ชื่ อ -นามสกุ ล ผู เขี ย นวิ ท ยานิ พ นธ แต ถ า มี ย ศ ฐานั น ดรศั ก ดิ์ ราชทิ น นามหรื อ สมณศักดิ์ ก็ใหใสไวดวย 1.4 ส ว นล า งของปกนอก บอกรายละเอี ย ดข อ ความเกี่ ย วกับ ประเภทวิ ท ยานิ พ นธ หลั กสู ตร วิชาเอก สาขาหรือกลุ มวิช า และ ป พ.ศ. ที่ สํ าเร็ จการศึ กษา บรรทั ด สุ ดท า ยระบุคํ าว า ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 67)


16

รูปแบบการพิมพปกนอก

กระดาษขนาด A4 1 นิ้ว ขนาด 20 พอยต(หนา )

ขนาด 1.5X1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

การบริหารงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการ เขต 2

ปรีชา ดวดสูงเนิน ขนาด 18 พอยต (หนา)

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ พ.ศ. 25….. @ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ

1 นิ้ว


17

2. ใบรองปก (Blank Page) กระดาษเปลาสีขาวหนา ถัดจากปกดานหนาและกอนปกหลัง ดานละ 1 แผน 3. ปกใน (Title Page) อยูถัดจากใบรองปก มีสวนประกอบขอความและขนาดเชนเดียวกับ ปกนอก (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 68-69) รูปแบบการพิมพปกในภาษาไทย

กระดาษขนาด A4 ขนาด 20 พอยต(หนา ) 1.5 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

การบริหารงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการ เขต 2

ปรีชา ดวดสูงเนิน ขนาด 18 พอยต (หนา)

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบิรหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตรและศิลปศาสตร สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ พ.ศ. 25….. ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ

1 นิ้ว


18

รูปแบบการพิมพปกในภาษาอังกฤษ

กระดาษขนาด A4 ขนาด 20 พอยต(หนา ) 1.5 นิว้ 1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

ELECTRONIC DOCUMENT SYSTEM MANAGEMENT SCHOOL OF SAMUTPRAKARN PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2

PREECHA DUADSUNGNOEN ขนาด 18 พอยต (หนา)

THE THESIS SUBMITTED TO SUVARNABHUMI INSTITUTE OF TECHNOLOGY AS A PARTIAL FULFILLMENT OF MASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION PROGRAM BUSINESS ADMINISTRATION FACULTY OF SUVARNABHUMI INSTITUTE OF TECHNOLOGY YEAR 2015 COPYRIGHT BY SUVARNABHUMI INSTITUTE OF TECHNOLOGY 1 นิ้ว


19

4. หนาอนุมัติ (Approval Page) จัดทําไวเพื่อใหคณบดี คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ลง นามอนุมัติ ประกอบดวย ตราวิทยาลัย รายชื่อคณะกรรมการสอบ และ รายชื่ออาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธพรอมลายมือชื่อ (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 70) กระดาษขนาด A4 1.5 1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

ตราสถาบัน ชื่อเรื่อง

XXXXXXXXXXXXXXXX

ผูวิจัย

XXXXXXXXXXXXX

อาจารยที่ปรึกษา XXXXXXXXXXXXX อาจารยที่ปรึกษารวม(ถามี) XXXXXXXXXXXXX หลักสูตร

XXXXXXXXXXXX

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ

……………….(2.5 นิ้ว).................... (……………….(2.5 นิ้ว)...................) ฯลฯ สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ อนุมัติใหนับวิทยานิพนธนี้เป นสวนหนึ่ง ของการศึกษา ตามหลักสูตร............................. ……………….(2.5 นิ้ว)....................คณบดีคณะ............... (…………… (2.5 นิ้ว)....................)

1 นิ้ว


20

5. บทคั ด ย อ (Abstract) บทคั ด ย อ คื อ ข อ ความสรุ ป สาระสํ า คั ญ ของวิ ท ยานิ พ นธ ที่ สั้ น กะทัดรัด ชัดเจน เขาถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธอยางรวดเร็ว ความยาวไมควรเกิน 1 หนา วิทยานิพนธ ทุกเลมตองจัดพิมพ บทคัดยอทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5.1 บทคัดยอภาษาไทย ควรระบุถึง วัตถุประสงค และขอบเขตของการวิจัย วิธีการ วิจัย จํานวนและลักษณะของกลุมที่ศึกษา รวมถึงเครื่องมือที่ใช วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล สถิติที่ใชใน การวิจัย ผลการวิจัย และคําสําคัญ (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 71) กระดาษขนาด A4 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว ชื่อเรื่อง

XXXXXXXXXXXXX

ผูวิจัย

XXXXXXXXXXXXX

อาจารยที่ปรึกษา XXXXXXXXXXXXX อาจารยที่ปรึกษารวม(ถามี) XXXXXXXXXXXXX ปริญญา

XXXXXX สาขาวิชา XXXXXXXXXX

สถาบัน

XXXXXX ปทพี่ ิมพ XXXXXXXXXX เวน 2 บรรทัดพิมพ

บทคัดยอ

ขนาด 18 พอยต(หนา) เวน 2 บรรทัดพิมพ

(0.5นิ้ว)XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

1 นิ้ว


21

5.2 บทคัดยอภาษาอังกฤษ สําหรับบทคัดยอภาษาอังกฤษใหถอดความตรงตามบทคัดยอ ภาษาไทย (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 72) กระดาษขนาด A4 1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว Title

XXXXXXXXXXXXXXXX

Name

XXXXXXXXXXXXX

Advisor Co-Advisor(ถามี)

XXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXX

Degree

XXXXXXXXXXXXX

University

XXXXXXXXXXXXX เวน 2 บรรทัดพิมพ ABSTRACT

ขนาด 18 พอยต(หนา) เวน 2 บรรทัดพิมพ

(0.5นิ้ว) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

1 นิ้ว


22

6. หนาประกาศการไดรับทุน ในกรณีที่ ผูวิจัยไดรับ ทุนสนั บสนุนการวิจัยควรจัดทําหนา ประกาศการไดรับทุนโดยระบุ หนวยงาน องคกร หรือ ผูใหทุนสนับสนุน 7. กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) คือ ขอความแสดงความขอบคุณบุคคล สถาบันและ/หรือหนวยงานที่มีสวนชวยเหลือ ใหความรวมมือในการคนควาเพื่อเขียนวิทยานิพ นธ ตลอดทั้งคณะกรรมการสอบ ผูสนับสนุนเงินทุนวิจัย ผูใหขอคิดเห็น ผูใหขอมูล กิตติกรรมประกาศ ความยาวไมเกิน 1 หนา (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 73) กระดาษขนาด A4 ขนาด 18 พอยต (หนา)

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

จ 1 นิ้ว

กิตติกรรมประกาศ (0.5นิ้ว) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (คํานําหนาชื่อ) ชื่อ-ชื่อสกุลนักศึกษา อักษรตัวสุดทายชิดกรอบขอความดานขวามือ

1 นิ้ว


23

8. สารบัญ (Lists of Contents) เปนรายการที่แสดงถึงสวนประกอบสําคัญทั้งหมดของ วิทยานิพนธ เรียงลําดับเลขหนา หนาแรกของสารบัญไมตองพิมพเลขหนา แตนับหนา สวนหนาถัดไป พิมพเลขหนากํากับทุกหนา (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 74) กระดาษขนาด A4 1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

สารบัญ หนา ง จ ฉ ช ฌ ญ

บทคัดยอภาษาไทย บทคัดยอภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพประกอบ บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX หมายเหตุ : ถามีสารบัญหลายหนาใหขึ้นตนหนาตอไปดังนี้

สารบัญ (ตอ)

1 นิ้ว

1 1 X


24

9. สารบัญตาราง (List of Tables) เปนสวนบอกตําแหนงหนาของตารางทั้งหมดที่มีอยู ในวิทยานิพนธ รวมทั้งตารางในภาคผนวกดวย พิมพเรียงลําดับตอจากสวนสารบัญ กรณีชื่อตาราง ยาวเกินกวา 1 บรรทัด ใหพิมพขอความในบรรทัดถัดไปโดยใหขอความตรงกับชื่อตารางบรรทัดแรก (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 76) กระดาษขนาด A4 1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

สารบัญตาราง ตารางที่

หนา 1 ……………

XX

2 …………..

XX

3 ………….

XX

หมายเหตุ : ถามีสารบัญตารางหลายหนาใหขึ้นตนหนาตอไปดังนี้

สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่

หนา X…………………….

XX

X…………………….

XX

X…………………….

XX

1 นิ้ว


25

10. สารบั ญ ภาพประกอบ (List of Figures, List of Illustrations) เป น ส ว นบอก ตําแหนงหนาของภาพ (รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ทั้งหมดที่มีอยูในวิทยานิพนธ พิมพขึ้น หนาใหมเรียงตอจากสารบัญตาราง (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 77) กระดาษขนาด A4 1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

สารบัญภาพประกอบ ภาพประกอบที่

หนา

1 ……………

XX

2 …………..

XX

3 ………….

XX

หมายเหตุ : ถามีสารบัญภาพประกอบหลายหนาใหขึ้นตนหนาตอไปดังนี้

สารบัญภาพประกอบ (ตอ) ภาพประกอบที

หนา

X…………………….

XX

X…………………….

XX

X…………………….

XX

1 นิ้ว

11. คํา อธิบายสัญ ลักษณ และคํ ายอ (List of Abbreviations) (ถามี) เปนสวนที่ อธิบายถึง สัญลักษณและคํายอตางๆ ที่ใชในวิทยานิพนธ พิมพขึ้นหนาใหมเรียงตอจากสารบัญภาพประกอบ


26

สวนประกอบในเนื้อเรื่อง สวนเนื้อเรื่องของวิทยานิพนธ จะแบงเนื้อหาออกเปน 5 บทดังนี้ บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล บทที่ 5 สรุปผล อภิ ปรายผล และขอเสนอแนะ สวนโครงสรางหัวขอภายในแตละบทอยูในดุลยพินิจของอาจารยที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ ซึ่งควรสอดคลองตามแบบแผนการดําเนินงานวิจัยที่เปนที่ยอมรับในสาขาวิชาที่ ทําวิทยานิพนธนั้น แตละบทมีรายละเอียด พอสังเขปได ดังนี้ บทที่ 1 บทนํา (Introduction) หัวขอสําคัญในบทนี้คือ 1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา คือการกลาวถึงความเปนมาของปญหา สาเหตุ ความจําเปนที่จะตองศึกษาวิจัย โดยแสดงใหเห็นวาเรื่องที่ศึกษานั้นมีสภาพปญหาและมีความสําคัญ อยางไรทําไมตองศึกษา ศึกษาแลวไดประโยชนอะไร เพื่อเปนพื้นฐานสําคัญในการกําหนดหัวขออื่นๆ ไดชัดเจนตอไป 2. คําถามการวิจัย เปนการตั้งคํา ถามเพื่อชวยใหเห็นความชัดเจนของปญหาในประเด็นที่ ผูวิจัยสงสัยและตองการแสวงหาคําตอบดวยกระบวนการวิจัย 3. วัตถุประสงคของการวิจัย คือการระบุความตั้งใจที่จะศึกษาคนควาอะไรบางอยางเป น รูปธรรมสามารถหาคําตอบไดดวยกระบวนการวิจัย ไมควรเขียนวัตถุประสงคมากเกินไปเพราะจะทํา ใหประเด็นที่สนใจลดความนาสนใจลง 4. สมมติฐานการวิจัย คือการคาดคะเนคําตอบของคําถามที่ผูวิจัยตั้งไว โดยกําหนดใหชัดเจน สอดคลองกับวัตถุประสงคและมีหลักฐานสนับสนุน หากไมมีหลักฐานหรือความรูเดิมสนับสนุนที่จะ คาดคะเนคําตอบก็ไมจําเปนตองตั้งสมมุติฐาน 5. ขอบเขตของการวิ จั ย คือการกํา หนดขอบเขตว างานวิจัย จะครอบคลุ ม ถึงเรื่องใดบ า ง ประเด็ น ที่ ควรกํา หนดขอบเขตของการวิ จั ย ได แ ก ขอบเขตด า นเนื้ อหาสาระหลั กการหรือ ทฤษฎี ขอบเขตดานตัวแปร ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง และอาจมีขอบเขตเกี่ยวกับระยะเวลา 6. ขอตกลงเบื้องตน (ถามี) คือการกําหนดเงื่อนไขที่ตองตกลงใหเขาใจตรงกันในประเด็น สําคัญกอนการวิจัยวาในการทําวิจัยครั้งนี้ตองยอมรับเงื่อนไขอะไรบางโดยเงื่อนไขนั้นสามารถยอมรับ ไดโดยไมตองพิสูจน 7. ประโยชน ข องการวิ จั ย คื อ การอธิ บ ายถึ ง การนํ า ผลการวิ จั ย ตามวั ต ถุ ป ระสงค ไปใช ประโยชนทางวิชาการหรือไปใชประโยชนตอการปฏิบัติงานไดอยางไร 8. นิ ย ามศั พ ท เฉพาะ คื อ การให คํ า จํ า กัด ความของคํ า หรือ ขอความที่ ตองตกลงให เขา ใจ ตรงกัน โดยทั่วไปคํา ที่ตองนิย ามมี 3 ประเภท คื อ ตัวแปรจํ าเปน ตองนิย ามให เป นเชิ งปฏิ บั ติการ (Operational Definition) คําสําคัญอื่นๆ และคําที่ตองการตกลงเพื่อสะดวกในการสื่อความ


27

(ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 78) กระดาษขนาด A4 1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

บทที่ 1 ขนาด 18 พอยต

เวน 1 บรรทัด

บทนํา ขนาด 16 พอยต ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

เวน 1 บรรทัด

ในระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทย ไดแบงลักษณะการบริหาร ราชการออกเปน 3 สวน คือ 1) การบริหารราชการสวนกลาง เปนการบริหาร แบบรวมอํานาจไวสวนกลาง (กระทรวง ทบวง กรม) อํานาจดังกลาวไดแก การ วินิจฉัยสั่งการและการบังคับบัญชาซึ่งผลในการสั่งการจะมีอํานาจ………………. เวน 1 บรรทัด วัตถุประสงคของการวิจัย เวน 6 พอยต 1. เพื่อศึกษาสภาพการบริหารการเงินการคลังของเทศบาลตําบล เปร็ง อําเภอบางบอ จังหวัดสมุทรปราการ 2. …………………………………………………………………......................... ………………………………………………………. เวน 1 บรรทัด สมมุติฐานการวิจัย

1 นิ้ว


28

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ (Literature review) เปนบทที่ผูวิจัยนําเสนอผลการคนควาและรวบรวมทฤษฎี หลักการ แนวคิดตางๆ ผลงานวิจัย ที่เกี่ยวของหรือขอมูลพื้นฐานที่เกี่ยวของกับงานวิจัย ในการเขียนบทที่ 2 ผูวิจัยอาจกําหนดหัวขอยอย แตกตางกันออกไป ขึ้นอยูกับลักษณะของเนื้อหาและตัวแปรที่เกี่ยวของ โดยทั่วไปมักประกอบไปดวย หั ว ข อ ย อ ยดั ง นี้ ความรู พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่ วิ จั ย ทฤษฎี ที่ ร องรั บ ผลการวิ จั ย ที่ เกี่ ย วข อ งทั้ ง ภายในประเทศและตางประเทศ และกรอบแนวคิดการวิจัย (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 79) กระดาษขนาด A4 1 นิ้ว 1.5 นิว้

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

บทที่ 2 ขนาด 18 พอยต(หนา)

เวน 1 บรรทัด

วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ขนาด 16 พอยต

เวน 1 บรรทัด

ในการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมของครู ที่มีตอกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ในโรงเรียน สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรปราการผูวิจัยไดศึกษาคนควา วรรณกรรมที่เกี่ยวของโดยลําดับเนื้อหาที่เปนสาระสําคัญดังตอไปนี้ 1. ความหมายของการมีสวนรวม 2. ความสําคัญของการมีสวนรวม 3. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวม ฯลฯ ความหมายของการมีสวนรวม

ขนาด 16 พอยต(หนา)

.

1 นิ้ว


29

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย (Research methodology) เปนบทที่กลาวถึง รายละเอียดของระเบียบวิธีการวิจัย หรือการดําเนินงานวิจัย ตลอดจน ขั้นตอนการดําเนินงานวิจัย การกําหนดหัวขอยอย และ เนื้อหาของบทนี้ อาจจะแตกตางกันไปตาม ประเภทของการวิจัย โดยทั่วไปแลว บทที่ 3 ควรประกอบดวย หัวขอยอยดังตอไปนี้ รูปแบบการวิจัย หรือ แบบแผนการวิจัย ประชากรและกลุ ม ตั ว อย า ง เครื่องมื อการวิ จั ย การรวบรวมข อมู ล การ วิเคราะหและนําเสนอขอมูล และเกณฑการแปลความหมาย (ถามี) (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 80) บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล เปนบทที่เสนอผลการวิเคราะหขอมูล เพื่อแสวงหาคําตอบหรือปญหาการวิจัย จะเปนการ นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในรูปแบบขอความ ตาราง หรือภาพ พรอมคําอธิบาย ซึ่งตอง สอดคลองและเรียงลําดับตามวัตถุประสงคของการวิจัย มีรูปแบบการนําเสนอตารางดังนี้ (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 81-86) 4.1 ตัวอยางการพิมพตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนของกลุมตัวอยาง (n = 279) เสนคู ขอมูลทั่วไป

จํานวน

รอยละ

35 244 279

12.50 87.50 100.00

67 96 116 279

24.00 34.40 41.60 100.00

ตําแหนง ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน รวม ขนาดสถานศึกษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ รวม 1 ชวงบรรทัด

ทศนิยม 2 ตําแหนง(ตรงกัน)

จากตารางที่ 4.1 พบวา ...................................................................................................... .................................................................................................................


30

4.2 ตัวอยางการพิมพตารางที่ 4.2 ตารางที่ 4.2 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของบทบาทของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 โดยภาพรวมและรายดาน

ดานที่ 1 2 3 4 รวม

บทบาทของผูบริหารในการบริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ดานการบริหารวิชาการ ดานการบริหารงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล ดานการบริหารงานทั่วไป

ระดับปฏิบัติ X 4.07 4.46 4.00 4.22 4.14

S.D.

แปลผล

ลําดับที่

0.46 0.41 0.46 0.42 0.32

มาก มาก มาก มาก มาก

3 1 4 2

จากตาราง 4.2 แสดงวาบทบาทของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมการศึกษา เขต 20 โดยภาพรวมและรายดานมีการปฏิบัติอยูในระดับมาก ( X =4.14, S.D.=0.32) โดยดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดานการบริหารงบประมาณ ( X =4.46, S.D.= 0.41) รองลงมาคือ ดานการบริหารงานทั่วไป ( X =4.22, S.D.=0.42) ดานการบริหารวิชาการ ( X =4.07, S.D.=0.46) และคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ดานการบริหารงานบุคล ( X =4.00, S.D.=0.46) บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ เปนบทสุดทายของรายงาน ประกอบดวยหัวขอยอย ดังตอไปนี้ สรุปผลการวิจัย เปนการสรุปผลการวิจัย ซึ่งไดจากการวิเคราะหขอมูลในบทที่ 4 โดย นําเสนอเปนขอ ๆ เรียงตามวัตถุประสงคการวิจัย อภิป รายผล เปนการอภิปรายถึงผลการวิจั ยที่ไดรับวา ผลการวิจัยนั้นๆ สัมพั นธกับ ผลการวิจัยที่มีผูทําไวกอนแลว หรือสัมพันธกับนโยบาย หรือการปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ แลวแตกรณี การ อภิปรายผลใน บทที่ 5 จะเกี่ยวของกับการทบทวนวรรณกรรมที่เสนอไวในบทที่ 2 ขอเสนอแนะ ประกอบดวย ขอเสนอแนะเพื่อการนําผลการวิจัยไปใชและขอเสนอเพื่อ การวิจัยตอไป (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 87)


31

สวนประกอบตอนทาย 1. หน า บอกตอน (Half-title Page) คื อ หน า ที่ เ ขี ย นหรื อ พิ ม พ หั ว ข อ เรื่ อ งไว ก ลาง หนากระดาษเพื่อบอกวา ตอนตอไปคืออะไร หนาบอกตอนนี้จะจัดไวกอนตอนตางๆ ในสวนประกอบ ตอนทาย เชน หนาบอกตอนของบรรณานุกรม ก็จะเขียนหรือพิมพคําวา “บรรณานุกรม” ไวกลาง หนากระดาษเพื่อบอกใหผูอานทราบวาตอนตอไปคือ บรรณานุกรม 2. บรรณานุ ก รม (Bibliography) คื อ รายการวั ส ดุ ส ารสนเทศทุ ก ประเภทที่ ใช ศึ ก ษา คนควา ซึ่งอาจประกอบดวย หนังสือ บทความ วารสาร วิทยานิพนธ และสื่ออื่นๆ ที่ผูวิจัยไดคนควาใน การทํารายงานการวิจัยเรื่องนั้น บรรณานุกรมจะตองนําเสนอโดยการจัดเรียงตาม ลําดับอักษร ชื่อผู แตงถามีรายการทั้งเอกสารภาษาไทย และเอกสารภาษาอังกฤษ ใหแยกรายการ โดยจัดใหเอกสาร ภาษาไทยขึ้นกอน ตามดวยเอกสารภาษาอังกฤษ รายละเอียดการอางอิงดูในบทที่ 5 3. ภาคผนวก (Appendix) คื อ ส ว นที่ เป น รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ช ว ยให เกิ ด ความ สมบูรณ ในขอมูล เปนขอความที่ไมสามารถบรรจุอยูในสวนของเนื้อหา เป นสวนเสริมใหเกิดความ เขาใจชั ดเจนยิ่ งขึ้น แต ไม ถือวา เป น ส วนหนึ่ งของเนื้ อเรื่อง เชน รายละเอียดการคํ านวณหรือการ วิเคราะหขอมูล สูตรการคํานวณ หนังสือติดตอหนวยงานที่เกี่ยวของ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนตน ในกรณี ที่ มี ห ลายภาคผนวกให พิ ม พ เรี ย งลํ า ดั บ เป น ภาคผนวก ก (APPENDIX A) ภาคผนวก ข (APPENDIX B) ภาคผนวก ค (APPENDIX C).... ตอเนื่องกันไปจนหมด เฉพาะหนานี้ไมตองพิมพเลข หนา แตนับหนา แตละภาคผนวกใหขึ้นหนาใหมและพิมพเลขหนาทุกหนา 4. ประวัติยอผูวิจัย (Vitae) คือ สวนทายสุดของวิทยานิพนธ และพิมพเลขหนาดวย เพื่อให ผู ที่ ส นใจสามารถติ ด ต อ ผู เขี ย นวิ ท ยานิ พ นธได ให เขี ย นเป น ความเรีย ง ความยาวไม เกิ น 1 หน า ครอบคลุมรายละเอียดดังนี้ ชื่อนามสกุล พรอมคํานําหนา (ใหระบุวาเปน นาย นางสาว นาง หรือ ยศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม หรือสมณศักดิ์) วัน เดือน และปเกิด และสถานที่เกิด (ใหบอกอําเภอ และ จังหวัดที่เกิด) ที่อยูปจจุบัน (ใหระบุที่อยูที่สามารถติดตอทางไปรษณียได) และประวัติการศึกษา (ให ระบุ ปที่สําเร็จการศึ กษา วุฒิ ที่ไดรับ และสถาบันที่ สํา เร็จ การศึ กษา ตั้งแตขั้นปริญญาบั ณ ฑิ ตหรือ เที ยบเท า ขึ้น ไปจนถึงป จจุบั น) ประสบการณ การทํ างาน ชื่ อผลงานทางวิช าการที่ตี พิ มพเผยแพร รางวัลหรือทุนการศึกษาที่ไดรับ ระบุเฉพาะที่สําคัญ ตําแหนงหนาที่ปจจุบัน และสถานที่ทํางาน (ถามี) เชน อาจารย ผูอํานวยการโรงเรียน นักวิชาการ เปนตน (ตัวอยางภาคผนวก ข หนา 88)


32

บทที่ 4 การจัดพิมพวิทยานิพนธ ขอแนะนําทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ 1. กระดาษที่ใชพิมพ 2. ตัวพิมพ 3. การเวนขอบกระดาษ 4. การจัดตําแหนงขอความในหนากระดาษ 5. การลําดับหนาและพิมพเลขกํากับหนา 6. การพิมพบทและหัวขอในบท 7. การเวนระยะหางระหวางบรรทัด 8. การยอหนา 9. การใชเครื่องหมายวรรคตอน 10. การพิมพคําภาษาตางประเทศ 11. การพิมพอัญประภาษ 12. การพิมพสารบัญ 13. การพิมพตาราง 14. การพิมพภาพประกอบ 15. การพิมพหนาบอกตอน 16. การพิมพสันปก รายละเอียดตามขอแนะนําทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ 1. กระดาษที่ใชพิมพ กระดาษที่ใชพิมพใหใชกระดาษขาวไมมีเสนบรรทัด สีขาวขนาดมาตรฐาน A4 หนา 80 แกรม ใชพิมพเพียงหนาเดียวตลอดทั้งเลม


33

2. ตัวพิมพ (Font) ตัวอักษรที่ใชพิมพเปนตัวอักษรสีดํา และใชตัวพิมพแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม ขนาดตัวพิมพ และรูปแบบตัวอักษร กําหนดดังนี้ 2.1 วิ ท ยานิ พ นธ ทั้ งภาษาไทยและภาษาอั งกฤษ ใช ตั ว พิ ม พ แบบ TH Sarabun PSK ขนาด 16 พอยต 2.2 บทที่ ชื่อบท ชื่ อส วนประกอบตางๆ เชน บทคัด ยอ กิต ติ กรรมประกาศ สารบั ญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ รายการสัญลักษณและคํายอ รายการอางอิง ภาคผนวก และประวัติยอผูวิจัย วิ ท ยานิ พ นธ ที่ เป น ภาษาไทย ให พิ ม พ ด ว ยตั ว อั ก ษรเข ม หนา ขนาด 18 พอยต สํ า หรั บ วิ ท ยานิ พ นธ ภาษาอังกฤษใหพิมพดวยตัวพิมพใหญ ตัวอักษรเขมหนา ขนาด 18 พอยต 2.3 หนาบอกภาคหรือตอน ใหพิมพดวยตัวอักษรเขมหนา ขนาด 20 พอยต สําหรับ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใหพิมพดวยตัวพิมพใหญ ตัวอักษรเขมหนา ขนาด 20 พอยต 3. การเวนขอบกระดาษ (Margin) การกําหนดระยะหางของกรอบขอความแตละหนา ใหมีระยะเปนแนวเดียวกันตลอดทั้งเลม ดังนี้ 3.1 ริมกระดาษขอบบนลงมาถึงขอความบรรทัดแรก ใหเวนระยะ 1.5 นิ้ว 3.2 ริมกระดาษขอบซาย ใหเวนระยะ 1.5 นิ้ว 3.3 ริมกระดาษขอบขวาและขอบราง ใหเวนระยะ 1 นิ้ว ในกรณี ที่ทายกระดาษเป น หั วขอ ตองมีเนื้ อหาต ออย างน อย 1-2 บรรทัด หรือปรับ ยายทั้ง หัวขอและเนื้อหาไปไวหนาถัดไปทั้งหมด 4. การจัดตําแหนงขอความในหนากระดาษ (Alignment) การพิมพรายละเอียดสวนเนื้อเรื่อง ใหจัดตําแหนงขอความเปนแบบชิดขอบซายและขอบขวา เพื่ อ ความสวยงามโดยคํ านึ งถึ งความถู ก ต อ งทางภาษา ไม พิ ม พ แ ยกคํ า การเว น วรรคให เว น ระยะ 1 ตัวอักษร สวนการเวนระยะอื่นๆ ใหเปนไปตามรูปแบบที่กําหนดไว 5. การลําดับหนาและพิมพเลขกํากับหนา ในการลําดับหนาของวิทยานิพนธทุกประเภทแบงออกเปน 2 สวนสําคัญดังนี้ 5.1 ส วนประกอบตอนต น ของวิ ทยานิ พ นธ ภ าษาไทยทุกประเภท ให ใช ตั ว อักษรเรี ย ง ตามลําดับพยัญชนะในภาษาไทย คือ ก ข ค ง จ ฉ ช................และสําหรับวิทยานิพนธ


34

ภาษาตางประเทศใหใชตัวเลขโรมันตัวเล็ก คือ ในการพิมพกํากับหนาโดยใชตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาด 16 พอยต ตัว ปกติ เวน แต ป กในทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หน าอนุ มัติ และหน าแรกของ สารบัญ ไมตองพิมพตัวอักษรกํากับหนา แตใหนับจํานวนหนารวมไปดวย ดังแสดงในตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 ตัวอยางการลําดับหนาและการพิมพพยัญชนะกํากับหนาของสวนประกอบตอนตนสําหรับ วิทยานิพนธภาษาไทย หนาเรียงตามลําดับ

พยัญชนะกํากับหนา

การพิมพพยัญชนะกํากับหนา พิมพ

หนาปกในภาษาไทย หนาปกในภาษาอังกฤษ หนาอนุมัติ หนาบทคัดยอภาษาไทย หนาบทคัดยอภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ หนาแรกของสารบัญ หนาถัดไปของสารบัญ(ถามี) สารบัญตาราง(ถามี) สารบัญภาพประกอบ(ถามี)

ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ

ไมพิมพ X X X

/ / / X / / /

/ หมายถึง ใหพิมพพยัญชนะกํากับหนาที่มุมขวาของกระดาษขนาด A4 โดยใหพิมพหางจาก ขอบกระดาษดานบนลงมา 1 นิ้ว และหางจากขอบกระดาษดานขวาเขามา 1 นิ้ว X หมายถึง ไมตองพิมพพยัญชนะกํากับหนาแตใหนับหนารวมไปดวย พยัญชนะกํากับหนาที่ปรากฏในตารางที่ 1 สามารถเปลี่ยนแปลงได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจํานวนหนา ของแตละรายการของสวนประกอบตอนตน ที่ตองมีพยัญชนะกํากับหนาเรียงไปตามลําดับจนครบทุกหนา ของสวนประกอบตอนตน 5.2 ส ว นป ระกอบในเนื้ อ หาและส ว นประกอบตอนท า ย ทั้ ง ที่ เ ป น ภ าษาไท ยและ ภาษาตางประเทศใหลําดับหนาโดยใชตัวเลขอารบิค 1, 2, 3, 4….. ตอเนื่องกันตลอดทุกหนาจนจบเลม ยกเวน หนาแรกของบทที่ทุกบท หนาแรกของบรรณานุกรม และหนาแรกของภาคผนวก ไมตองพิมพเลข หนากํากับ แตใหนับจํานวนหนารวมไปดวย ดังแสดงไวในตารางที่ 4.2


35

ตารางที่ 4.2 ตัวอยางการลําดับหนาและการพิมพตัวเลขกํากับหนาของสวนประกอบในเนื้อหา หนาเรียงตามลําดับ

ตัวเลขกํากับหนา

หนาแรกของบทที่ 1 หนาถัดไปของบทที่ 1 หนาแรกของบทที่ 2 หนาถัดไปของบทที่ 2 หนาบอกตอนบรรณานุกรม หนาแรกของบรรณานุกรม หนาถัดไปของบรรณานุกรม หนาบอกตอนภาคผนวก หนาบอกตอนภาคผนวก ก หนาแรกของภาคผนวก ก หนาถัดไปของภาคผนวก ก

1 2 3 4…….14 15 16 17 18……. 88 89 90 91 92…… 95 96 97 98 99 100……

การพิมพตัวเลขกํากับหนา พิมพ ไมพิมพ X / X / X / / X X / /

/ หมายถึง ให พิ มพ ตั ว เลขกํากับ หน าที่มุม ขวาของกระดาษขนาด A4 โดยให พิ มพ ห างจาก ขอบกระดาษดานบนลงมา 1 นิ้ว และหางจากขอบกระดาษดานขวาเขามา 1 นิ้ว X หมายถึง ไมตองพิมพตัวเลขกํากับหนาแตใหนับหนารวมไปดวย ตัวเลขกํากับหนาที่ปรากฏในตารางที่ 2 สามารถเปลี่ยนแปลงได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจํานวนหนาของ แต ละบทที่ ของส วนประกอบเนื้ อหา ที่ต องมีตั วเลขกํากับ หน าเรีย งไปตามลํ าดับ จนครบทุกหน าของ สวนประกอบเนื้อหาและสวนประกอบตอนทาย 6. การพิมพบทและหัวขอในบท 6.1 บท (Chapter) เมื่อขึ้นบทใหม ตองขึ้นหนาใหมเสมอ โดยแตละบทจะเริ่มดวยขอความ “บทที่” ซึ่งเปน อักษรตัวหนา และตามดวยเลขอารบิกกํากับบท วางไวกึ่งกลางหนากระดาษ ที่บรรทัดแรกของหนา ชื่อบท ใหพิมพไวในบรรทัดถัดลงมา และจัดใหอยูกึ่งกลางหนากระดาษเชนเดียวกัน ในกรณีที่ชื่อบทที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ใหแบงเปน 2-3 บรรทัดตามความเหมาะสม โดยพิมพเรียงลงมาเปนลักษณะสามเหลี่ยมกลับหัว


36

6.2 การลําดับหัวขอในบท หัวขอสําคัญ (Heading) ในแตละบท หมายถึงหัวขอหลัก ซึ่งมิใชเปน ชื่อเรื่องประจํา บท ควรพิมพดวยอักษรตัวเขม ชิดแนวพิมพดานซายมือ และควรเวนระยะกอน หัวขอสําคัญ 1 บรรทัด เวนระยะหางกอนบรรทัดถัดมา 6 พ. สําหรับภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของคําแรกและของทุกๆ คําใน หั ว ข อ สํ า คั ญ ๆ เหล า นี้ ต อ งพิ ม พ ด ว ยอั ก ษรตั ว ใหญ เสมอ แต บุ พ บท (preposition) สั น ธาน (conjunction) และ คํานําหนานาม (article) ไมตองพิมพดวยอักษรตัวใหญ เวนแต บุพบท สันธาน และ คํานําหนานามดังกลาวเปนคําแรกของหัวขอนั้น การขึ้นหัวขอใหม ถามีที่วางสําหรับพิมพขอความตอไปไดไมเกิน หนึ่งบรรทัดแลว ใหขึ้นหัวขอใหมในหนาถัดไป

หัวขอ ยอย (Sub Heading) พิ มพ หั ว ขอย อยโดยย อหน า 0.5 เซนติ เมตร การพิม พ หัวขอยอย อาจใชตัวอักษรกํากับสลับกับตัวเลข หรือตัวเลขอยางเดียวก็ได ดังตัวอยางตอไปนี้ แบบตัวเลขกํากับอยางเดียว -----1 บรรทัด----แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการฝกอบรม (หัวขอหลัก) 1. ประเภทของการฝกอบรม (หัวขอยอย) ตังค่าระยะห่างก่อน พอยต์ 1.1 ……………………….… 1.1.1 ..................................... 1.1.1.1 …………………….. 1)................................ 2)................................ 1.1)................................ 1.2)................................ ตัวพิมพ การใชตัวอักษร ใหใชตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาด 16 พอยต ตลอดทั้งเลม หั ว ข อ ให พิ ม พ เป น ตั ว อัก ษรแบบตั ว หนา และต อ งเป น ตั ว อั ก ษรแบบเดี ย วกั น ตลอดทั้ งเล ม ตั ว อั ก ษร ภาษาอังกฤษตัวแรกของคําหรือขอความขึ้นตนดวยอักษรตัวใหญ ตัวเลขใหใชแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม เชน ใชเลขอารบิกแบบเดียวโดยตลอด หากจําเปนตองใชเลขไทยตองเลือกใชใหเหมาะสม


37

7. การเวนระยะหางระหวางบรรทัด 7.1 ใหกําหนดระยะหางระหวางบรรทัดเปนแบบระยะพิมพเดี่ยว (Single Space) 7.2 ระยะหางระหวางชื่อบทกับหัวขอแรกหรือบรรทัดแรกของเนื้อเรื่องใหเวนวาง 1 บรรทัด 7.3 การพิมพหัวขอใหม ระยะหางระหวางบรรทัดสุดทายของหัวขอเดิมกับหัวขอใหม ให เวน 1 บรรทัด 8. การยอหนา การยอหนา ยอหนาแรกใหเวนระยะ 1.5 เซนติเมตร จากขอบซาย หากมียอหนาที่ยอยลงไปอีก ให เวนระยะเพิ่มออกไปอีก 0.5 เซนติเมตรไปเรื่อยๆ และเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการพิมพให ดําเนินการจัดระบบการพิมพ ตัวอยางการกําหนดยอหนา คายอหนา | 1.5 |สวนประกอบของวิทยานิพนธ มี 3 สวนคือ | 2.0 |1. /สวนประกอบตอนตน ประกอบดวย | 2.5 |1.1 ปก 9. การใชเครื่องหมายวรรคตอน 9.1 การใชเครื่องหมาย มหัพภาค ( . ) 9.1.1 เครื่องหมายนี้จะไมปรากฏในสารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ และ ตัวเลขที่ แสดงจํานวน 9.1.2 หลังเครื่องหมายนีใ้ หเวน 2 ตัวอักษร แลวจึงพิมพขอความตอไป 9.1.3 ในกรณี ที่ใชเครื่องหมายนี้กับ อักษรยอ หากเปน อักษรยอชุด เดีย วกัน ไมตองเว น ระยะ เชน พ.ศ. กศ.ม. Ph.D. เปนตน 9.2 การใชเครื่องหมายวรรคตอนอื่นๆ ใหถือปฏิบัติดังนี้ 9.2.1 เครื่องหมาย จุลภาค ( , ) หนาเครื่องหมายนี้ไมตองเวนระยะ แตหลังเครื่องหมายนี้ ใหเวน 2 ตัวอักษร แลวจึงพิมพขอความตอไป 9.2.2 เครื่องหมาย อัฒภาค ( ; ) หนาเครื่องหมายนี้ไมตองเวนระยะ หลังเครื่องหมายนี้ให เวนระยะ 1 ตัวอักษร 9.2.3 เครื่องหมาย ทวิภาค ( : ) หนาและหลังเครื่องหมายนี้ใหเวนระยะ 1 ตัวอักษร


38

9.2.4 เครื่องหมาย ยัติภังค ( - ) หนาและหลังเครื่องหมายนี้ไมตองเวนระยะ 9.2.5 เครื่องหมาย วงเล็บ ( ) หนาและหลังวงเล็บใหเวนระยะ 1 ตัวอักษร 10. การพิมพคําภาษาตางประเทศ สําหรับคําที่เปนชื่อเฉพาะในภาษาตางประเทศ ใหเขียน ทับศัพท เปนภาษาไทยโดยไมตอง วงเล็ บ ภาษาต า งประเทศนั้ น ๆ ส ว นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษที่ ไ ด มี ก ารบั ญ ญั ติ ศั พ ท ไ ว แ ล ว โดย ราชบัณฑิตยสถาน ก็ใหใชตามนั้น การพิมพภาษาตางประเทศโดยใชตัวอักษรภาษาไทยไมนิยมใสรูปวรรณยุกตกํากับเสียงสูงต่ํา เชน Technologyเปน เปน เทคโนโลยี Hypergraph เปน ไฮเพอรกราฟ Computer เปน คอมพิวเตอร Function เปน ฟงกชัน คําภาษาอังกฤษที่เปนพหูพจน ในภาษาไทยไมเติม “ส” หรือ “ส” เชน Integral เปน อินทิกรัล Semigroup เปน เซมิกรุป Game เปน เกม ยกเวนคํานามที่ใชเปนชื่อเฉพาะ เชน SEAGAMES เปน ซีเกมส THAI AIRWAYS เปน ไทยแอรเวส NEW YORK TIMES เปน นิวยอรก ไทมส 11. การพิมพอัญประภาษ (Quotation) 11.1 อัญประภาษ คือ ขอความที่ผูเขียนคัดลอกมาจากขอเขียนหรือคําพูดของผูอื่นเพื่อใช ประกอบเนื้อเรื่องในวิทยานิพนธจะตองเหมือนของเดิมทุกประการ ซึ่งมีหลักเกณฑในการพิมพดังนี้ 11.1.1 การพิมพอัญประภาษที่มีความยาวไมเกิน 3 บรรทัด ใหพิมพตอจากขอความใน วิทยานิ พ นธโดยไมตองขึ้น บรรทัด ใหม แต ต องพิ มพ อยู ในเครื่องหมายอัญ ประกาศคู “.............” ถามี


39

ขอ ความอื่ น ที่ คั ด ลอกมาซ อ นอยู ให ใส เครื่ อ งหมายอั ญ ประกาศเดี่ ย วสํ าหรั บ ข อ ความที่ ซอ นอยู เช น “........... ‘ ............. ’ .............” 11.1.2 การพิมพอัญประภาษที่มีความยาวเกิน 3 บรรทัด ใหพิมพขึ้นบรรทัดใหมโดยยอ หนาเขามา 0.8 นิ้ว ในกรณีที่มียอหนาภายในอัญประภาษใหยอหนาเขามาอีก 0.3 นิ้ว ทุกยอหนา อัญประภาษทีพ่ ิมพแบบนี้ไมตองมีเครื่องหมายอัญประกาศกํากับ 11.1.3 กรณีที่ตองการละเวนขอความที่คัดลอกมาบางสวน ใหพิมพเครื่องหมายจุด สามจุด (Ellipsis Dot) โดยพิมพเวนระยะ 1 ชวงตัวอักษรระหวางจุด ( . . . ) ระบุแหลงที่มาใหถูกตองตาม รูปแบบการอางอิง 11.2 อัญประภาษที่เปน บทกวี คําขวัญ คติพจน คําพังเพย และ สุภาษิต 11.2.1 ถามีความยาวไมเกินสามบรรทัด ใหพิมพแทรกไวในขอความบรรยาย โดยใช เครื่องหมายอัญประกาศคูกํากับ 11.2.2 ถามีความยาวเกินสามบรรทัด ใหพิมพแยกจากขอความบรรยายโดยไมตองใช เครื่องหมายอัญประกาศ ใหขึ้นบรรทัดใหมใหหางจากขอความขางบนสองชวงบรรทัดพิมพ 11.2.3 วางรูปบทกวี ฯลฯ ตามความเหมาะสม พิมพชื่อผูแตงบทกวี ฯลฯ ไวขา งลางดาน ขวามือ หางจากอัญประภาษหนึ่งชวงบรรทัดพิมพ 11.2.4 ระบุแหลงที่มาใหถูกตองตามรูปแบบการอางอิง 12. การพิมพสารบัญ 12.1 ในหนาแรกของสารบัญใหพิมพคําวา “สารบัญ” ดวยอักษรตัวหนาขนาด 18 พอยต อยูกึ่งกลางหนากระดาษที่บรรทัดแรกของหนากระดาษหางจากขอบกระดาษดานบน 1.5 นิ้ว 12.2 หัวขอและเลขหนาที่ปรากฏในสารบัญ จะตองเปนขอความที่ทุกคําตรงกับหัวขอและ เลขหนาแรกของหัวขอนั้นๆ 12.3 คําวา “บทที”่ จะตองพิมพตัวหนาชิดขอบซายและหางจากคําวา “สารบัญ” 1 ชวง บรรทัดพิมพ สวนคําวา “หนา” ใหพิมพตัวหนาไวบรรทัดเดียวกับ “บทที”่ โดยพิมพใหชิดขอบขวา 12.4 การพิมพตัวเลขกํากับบท ใหพิมพเฉพาะเลขกํากับบทเทานั้น ไมมีจุดอยูหลังตัวเลข โดยหางจากขอบซาย 4 ตัวอักษร และหาง 1 ชวงบรรทัดพิมพจากบรรทัดกอนที่อยูติดกัน หลังตัวเลข กํากับบทใหเวน 4 ตัวอักษร แลวจึงพิมพชื่อบทตอไป 12.5 หัวขอใดที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ใหพิมพบรรทัดตอมาโดยยอหนาเขาไป 0.5 เซนติเมตร ทุกบรรทัดจนกวาจะจบหัวขอ 12.6 หัวขอรองใหยอเขาไป 0.5 เซนติเมตร เปนลําดับเชนเดียวกัน


40

12.7 การพิมพเลขหนา ใหเลขหลักหนวยของตัวเลขหนาอยูในตําแหนงแนวเดียวกับสระอา ของคําวา “หนา” 12.8 ระหวางแตละบทใหเวนระยะ 1 ชวงบรรทัดพิมพ 12.9 หากสารบัญมีความยาวเกิน 1 หนา ใหพิมพหนาตอไปโดยตองมีคําวา “สารบัญ (ตอ)” และยังคงมีคําวา “บทที”่ และ “หนา” ในตําแหนงเดิม 12.10 คําวา “บรรณานุ กรม” ในรายการสารบัญ ให พิมพชิ ดขอบซายและใหเวน ระยะ 1 บรรทัดพิมพจากบรรทัดสุดทายของบท 12.11 ถามี “ภาคผนวก” ใหปฏิบัติเชนเดียวกับ “บรรณานุกรม” คือใหพิมพชิดขอบซาย และเวนระยะหางจากบรรณานุกรม 1 บรรทัดพิมพ ถาภาคผนวกแบงออกเปนหลายเรื่อง ใหแยกเรื่อง เรียงตามลําดับ โดยใชอักษร ก ข ค ตามลําดับ 12.12 คําวา “ประวัติยอผูวิจัย” ใหปฏิบัติเชนเดียวกับ “บรรณานุกรม” คือใหพิมพชิดขอบ ซายและเวนระยะหางจากภาคผนวก 1 บรรทัดพิมพ 13. การพิมพตาราง ตาราง ประกอบดวยลําดับที่ของตาราง ชื่อของตาราง สวนขอความและที่มาของตาราง โดย ปกติ ให พิ มพ อยู ในหน าเดี ย วกัน ทั้ งหมด กรณี ที่ ต ารางนั้ น มีความยาวมากไม ส ามารถให สิ้ น สุ ด ในหน า เดียวกันได ก็ใหพิมพสวนที่เหลือในหนาถัดไป แตทั้งนี้จะตองพิมพลําดับที่และชื่อของตาราง และมีสวน ของขอความในตารางรวมอยูดวยในแตละหนาอยางนอย 2 บรรทัด ในกรณีที่สวนขอความของตารางนั้น สิ้นสุดลงและจําเปนจะตองอางถึงที่มาของตารางในหนาถัดไป จะตองยกขอความบางสวนของตารางไป รวมไวในหนาใหมอยางนอย 2 บรรทัด โดยยอมปลอยใหมีที่วางในตารางหนาเดิม ขนาดของตารางไมควรเกินกรอบของเนื้อหาวิทยานิพนธ สําหรับตารางขนาดใหญควรพยายาม ลดขนาด โดยใชเครื่องถายยอสวนหรือวิธีอื่นๆ ตามความเหมาะสม แตจะตองชัดเจนพอที่จะอานไดงาย สําหรับตารางที่กวางเกินกวาความกวางของหนาวิทยานิพนธ ก็อาจจะจัดใหสวนบนของตารางนั้นหันเขา หาขอบซายของหนา หรือจัดหนาเปนแนวนอน รูปแบบของการพิมพตาราง มีดังนี้ 13.1 ตารางอยูหา งจากขอความขางบนและขางลาง 1 ชวงบรรทัดพิมพ 13.2 ชื่อตาราง ขอความในตาราง และขอมูลในตาราง ใหพิมพดวยตัวบางทุกตัว 13.3 ขอความของชื่อตารางเริ่มดวยคําวา “ตารางที”่ ใหพิมพชิดขอบซาย แลวเวนวรรค 1 เคาะ ตามดวยหมายเลขลําดับตาราง จากนั้นใหเวน 2 ตัวอักษร แลวพิมพชื่อตาราง ถาชื่อตารางไมจบใน บรรทัดเดียว บรรทัดตอไปใหพิมพอักษรตัวแรกใหตรงกับอักษรตัวแรกของชื่อตารางในบรรทัดบน 13.4 เสนที่เปนสวนประกอบของตารางใหมีเฉพาะเสนในแนวนอน ไมมีเสนในแนวตั้ง


41

13.5 เสนแนวนอนบนสุดและลางสุดของตารางตองเปนเสนคู ซึ่งหางกันประมาณ 1 มิลลิเมตร 13.6 ตัวเลขในตารางที่เปนแนวตั้ง ควรพิมพใหไดระดับเสมอกันโดยตลอด โดยถือเลขหลัก ขวาสุดเปนแนว หากเปนตัวเลขที่มีจุดทศนิยมใหยึดจุดเปนแนวตรงกัน ถามีเครื่องหมายอื่นใดอยูระหวาง เลข 2 จํานวนตองจัดใหเครื่องหมายตรงกัน 13.7 ชื่อรายการในแตละชองที่เปนภาษาอังกฤษ ใหพิมพอักษรตัวแรกดวยตัวพิมพใหญ 13.8 ตารางที่ไมจบในหนาเดียว ไมตองขีดเสนปดตารางเปนเสนเดียว โดยในหนาตอไปให พิมพคําวา “ตาราง” และหมายเลขกํากับตารางพรอมกับมีคําวา “(ตอ)” คําวา “ตาราง” นี้ใหพิมพชิด ขอบซายของหนา เมื่อขึ้นหนาใหมใหพิมพหัวตารางเชนเดียวกับหัวตารางในหนาแรกของตารางนั้น 13.9 เลขลําดับของตาราง ใหเรียงลําดับหมายเลขตารางตามบท เชน บทที่ 2 ใชลําดับ หมายเลขตารางเปน ตารางที่ 2.1, ตารางที่ 2.2,… บทที่ 3 ใชลําดับตารางเปน ตารางที่ 3.1, 3.2, … 14. การพิมพภาพประกอบ ภาพประกอบ หมายถึง รูปภาพ (Picture) ภาพถาย (Photograph) แผนภูมิ (Chart) แผนที่ (Map) แผนภาพ (Diagram) เป น ต น ซึ่ ง จะต อ งจั ด พิ ม พ ห รื อ ทํ า สํ า เนาให มี ค วามชั ด เจน ก อ นแสดง ภาพประกอบตองกลาวนําภาพประกอบนั้นกอน แลวจึงนําเสนอภาพประกอบที่สมบูรณและเขาใจงาย 14.1 ภาพจะอยูหางจากขอความบนและลาง 1 ชวงบรรทัดพิมพ 14.2 ชื่อภาพ ใหวางไวใตภาพกึ่งกลางหนา โดยมีคํา “ภาพประกอบที่” ตามดวยหมายเลข ลําดับ แลวจึงเปนชื่อภาพ ถาชื่อภาพไมจบในบรรทัดเดียวใหพิมพบรรทัดใหม โดยใหอักษรตัวแรกตรงกับ อักษรตัวแรกของชื่อภาพนั้น 14.3 ระหวางชื่อภาพกับตัวภาพใหเวนหางกัน 1 ชวงบรรทัดพิมพ 14.4 เลขลําดับของภาพใหใชหลักการเดียวกับเลขตาราง 14.5 ใหจัดวางภาพแทรกไวตามสวนเนื้อหาที่ระบุถึงภาพนั้นๆยกเวนภาพที่มีความจําเปน นอยหรือไมมีความสัมพันธตอการอธิบายเนื้อหาโดยตรง ใหรวมไวในภาคผนวก การจัดวางภาพใหวางอยู ในตําแหนงที่เหมาะสม เรียบรอยและสวยงาม 14.6 กรณีภาพตอเนื่องหรือภาพที่ไมสามารถจัดพิมพใหสิ้นสุดในหนาเดียวไดใหพิมพ สวนที่ เหลือในหนาถัดไป ทั้งนี้จะตองมีลําดับภาพและชื่อภาพทุกหนา และพิมพคําวา (ตอ) ไวในวงเล็บตอทาย ชื่อภาพดวย 14.7 การพิมพอางอิงแหลงที่มาของภาพใหเลือกใชตามรายละเอียดวิธีการอางอิงในบทที่ 5 โดยพิมพไวใตภาพ ตรงตําแหนงกึ่งกลางหนากระดาษ


42

15. การพิมพหนาบอกตอน หนาบอกตอน เปนหนาที่อยูในสวนประกอบตอนทายของวิทยานิพนธ ที่ระบุ ถึงเนื้อหาเป น ตอนๆ เช น บรรณานุ กรม ภาคผนวก เป น ต น ซึ่งในหน านี้ จ ะมีเพีย งหั วขอเรื่องอยู กลางหน ากระดาษ เท านั้ น เช น หน าบอกตอนของบรรณานุ ก รมจะมี คํ าว า “บรรณานุ ก รม” หรื อ หน าบอกตอนของ ภาคผนวกจะมีคําวา “ภาคผนวก” ซึ่งพิมพดวยตัวหนา ปรากฏอยูในหนาบอกตอน ในกรณีที่ภาคผนวก หนึ่งเรื่องนั้น แบงไดเปนหลายเรื่องยอยหรือหลายตอน ใหพิมพวา ภาคผนวกพรอมตัวอักษรกํากับ เชน ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข พรอมชื่อเรื่อง ไวกลางหนากระดาษ 16. การพิมพสันปก (Spine) พิมพด วยตัวอักษรสีทอง ประกอบด วยชื่อเรื่องวิทยานิพนธ ชื่อ ชื่ อสกุล ผูเขียนวิทยานิพนธ พรอมคํานําหนาชื่อ ถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม หรือสมณศักดิ์ ใหใสไวดวย ปการศึกษาที่สําเร็จ การศึกษา เรียงไปตามความยาวของสันปกโดยเริ่มหางจากขอบบนลงมา 1 นิ้ว และจัดระยะใหเหมาะสม กรณีชื่อวิทยานิพนธยาว สามารถพิมพเปน 2 บรรทัดได

คุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากร.....

ระยะหาง 1 นิ้ว

วรพรรณ โชติโสภา พ.ศ. 2558


43

บทที่ 5 การอางอิงและบรรณานุกรมในวิทยานิพนธ การทําวิทยานิพนธซึ่งเปนงานเชิงวิชาการนั้น จําเปนตองระบุแหลงที่มาของสารสนเทศที่ได นํามาอางอิงจากแหลงความรูตางๆ เชน บุคคล เอกสาร หรือสื่อประเภทตางๆ ใหชัดเจน เพื่อเปนหลักฐาน ยืนยันที่จะทําใหวิทยานิพนธเปนที่นาเชื่อถือ และเพื่อเปนแหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติมสําหรับผูที่สนใจ การ เขียนวิทยานิพนธตองตระหนักในจริยธรรมหรือจรรยาบรรณในการวิจัย ตองรับผิดชอบในการหา รายละเอียดที่ถูกตองเกี่ยวกับเอกสารและแหลงขอมูลที่ใชอางอิง การคัดลอกสาระสําคัญของผลงานวิจัย หรือขอเขียนของผูอื่นมาใสไวในวิทยานิพนธของตนเอง จะตองระบุแหลงที่มาของขอมูลทุกรายการ นอกจากจะเปนการใหเครดิตแกเจาของผลงานแลว ยังจะเปนการทําใหวิทยานิพนธนั้นมีคุณคานาเชื่อถือ ทางวิชาการมากยิ่งขึ้น การคัดลอกหรือลอกเลียนขอความหรือแนวคิดของผูอื่นมาไวในวิทยานิพนธของตน โดยไมแ สดงแหล งที่ มา นอกจากจะผิ ด จรรยาบรรณ ในการวิ จั ย แล ว บางกรณี อาจจะมีความผิ ด ทาง กฎหมายฐานละเมิดได สําหรับระบบการอางอิงในการเขียนวิทยานิพนธ ในคูมือเลมนีแ้ ยกอธิบายเปน 2 สวนคือ 1. การอางอิงในสวนเนื้อเรื่องของวิทยานิพนธ 2. การอางอิงสวนทายเรื่องหรือบรรณานุกรมของวิทยานิพนธ การอางอิงในสวนเนื้อเรื่องของวิทยานิพนธ การอางอิงคือการระบุแหลงที่มาของขอความที่คัดลอกมาโดยตรงหรือประมวลความคิดมา (Paraphrase) สําหรับรูปแบบการอางอิงมีหลายรูปแบบ โดยแตละรูปแบบอาจเหมาะกับงานในแตละ สาขาวิชา การอางอิงในวิทยานิ พนธของสถาบั น เทคโนโลยี แห งสุ วรรณภู มิใช การอางอิงแบบแทรกใน เนื้ อหา (Citing Reference in Text) ตามหลั กเกณฑ APA (American Psychological Association) หรือระบบการอางอิงในเนื้อหาแบบ นาม-ป (Author-date System) เปนวิธีที่งายและสะดวกกวารูปแบบ อื่น ระบบการอางอิงแบบ นาม-ป เปนการเขียนอางอิงแหลงที่มาของขอมูลในเนื้อหาวิทยานิพนธ โดยระบุชื่อผูแตง (Author) และ ปพิมพ (Year of publication) ไวขางหนาหรือหลังขอความที่ตองการ อาง ในกรณีที่เปนการอางอิงเนื้อหาโดยตรงหรือแนวคิดบางสวนหรือเปนการคัดลอกขอความบางสวนมา โดยตรง ควรระบุเลขหนา ไวดวย โดยพิมพตอทายปพิมพ คั่นดวยเครื่องหมาย ( : ) อยางไรก็ตามการไม ระบุเลขหนาอาจทําไดในกรณีที่เปนการอางอิงโดยการสรุปเนื้อหาหรือแนวคิดทั้งหมดของงานชิ้นนั้น


44

สวนประกอบของรายการอางอิงแบบ นาม-ป มีสวนประกอบที่สําคัญ 3 สวน คือ 1. ผูแตง / ผูผลิต / ผูใหขอมูล 2. ปที่พิมพ / ปที่ผลิต / ปที่ปรากฏขอมูล หรือปที่เขาถึงขอมูล (กรณีเปนขอมูลจาก WWW และไมปรากฏปที่ผลิต / ปเผยแพรขอมูล) 3. เลขหนาที่ใชในการอางอิง อางไวขางหนาขอความ เปนกรณีที่ผูวิจัยตองการใหผูอานไดอานชื่อผูเขียนที่เปนเจาของ ขอความที่นํามาอาง ซึ่งควรเปนบุคคลสําคัญ หรือหนวยงานสําคัญของสาขาวิชานั้นๆ มีรูปแบบดังนี้ ชื่อผูแตง.// (ปที่พิมพ/:/เลขหนา) ชื่อผูแตง.// (ปที่พิมพ/: / เลขหนา)…………………………………… หรือ ชื่อผูแตง.// (ปที่พิมพ)………………………………………………… อางไวขางหลังขอความหรือสวนใดสวนหนึ่งของเนื้อหาตามความเหมาะสม เปนกรณีทผี่ ูวิจัย ตองการใหผูอานไดอานเนื้อความอยางตอเนื่อง การใชวงเล็บเปนการอธิบายความเสริมเทานั้น มีรูปแบบ ดังนี้ (ชื่อผูแตง,//ปที่พิมพ/:/เลขหนา) ……………………………… (ชื่อผูแตง,/ /ปที่พิมพ/:/เลขหนา) หรือ ………… (ชื่อผูแตง, //ปที่พิมพ/:/ เลขหนา) ……………….. หมายเหตุ เครื่องหมาย “ / ” ในที่นี้แสดงถึงการเวนระยะในการพิมพ ไมตองใสเครื่องหมายลงไป และในกรณีที่ไมมีเลขหนา เปนการสรุปความมาจากเนื้อหาในเรื่องที่ศึกษามา


45

1. หลักเกณฑและตัวอยางการเขียนนามผูแตงในเนื้อหาวิทยานิพนธ 1.1 การอางเอกสารที่มีผูแตง 1 คน 1.1.1 ถาผูแตงเปนชาวตางประเทศใชนามสกุลเทานั้น โดยไมตองระบุนามสกุลเปน ภาษาไทยในเนื้อความกอน ใชวงเล็บนามสกุลเปน ภาษาตางประเทศ และ ปที่พิมพ เปน ค.ศ. ถาเปนชาว ไทยใหใสชื่อกอน แลวตามดวยนามสกุล ถึงแมจะเขียนเอกสารเปนภาษาตางประเทศก็ตาม เชน การอางไวหนาขอความ สุวิมล ติรกานันท.//(2553/:/11-15)….. Brooks,//(1982/:/5) ……. การอางไวหลังขอความ หรือสวนใดสวนหนึ่งของเนื้อหาขอความ …… (Brooks,//(1982/:/5) ……. ........(สุวิมล ติรกานันท,//2553/:/11-15) 1.1.2 ถาอางเอกสารเรื่องเดียว เขียนโดยผูแตงคนเดียว แตมีหลายเลมจบ ใหระบุ หมายเลขของเลมที่อางถึงดวย เชน (พระราชโมลี,//2554,//เลม/2) (Good,//1973,//vol.//3) 1.1.3 กรณีผูแตงมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ (สมเด็จพระอริยวงศาคตญาน [จวน อุฏฐายี],//2552/:/61-65) (ม.ร.ว.คึกฤทธื ปราโมทย,//2513/:/119-135) 1.1.4 กรณีผูแตงมียศทาง ทหาร ตํารวจ หรือ มีตําแหนงทางวิชาการ เชน ศาสตราจารย หรือมีคําเรียกทางวิชาชีพ เชน นายแพทย ทันตแพทย เภสัชกร ไมตองใสยศ หรือ ตําแหนงทางวิชาการ หรือ คําเรียกทางวิชาชีพนั้นๆ 1.1.5 ผูแตงใชนามแฝง เชน (หยก บูรพา,//2520/:/47-53) ตัวอยาง การวางแผนการฝกอบรมถือเปนหัวใจที่สําคัญตอการพัฒนาคน พัฒนาองคกร และเพิ่ม ศักยภาพการแขงขันใหกับองคกร (ณรงควิทย แสนทอง,//2554/:/100) การฝกอบรมเปนเรื่องใหญและเปนเรื่องเชิงลึกที่องคกรควรใหความสําคัญ เนื่องจากถา องคกรขาดการอบรมหรือมีการฝกอบรมเกิดขึ้นนอยทําใหพนักงานเกิดการลาออกสูง และขาดมาตรฐาน ของผลิตภัณฑและบริการ (Sommerville,//2007/:/99) หรือ


46

การฝ ก อบรมเป น เรื่ อ งใหญ และเป น เรื่ อ งเชิ ง ลึ ก ที่ อ งค ก รควรให ค วามสํ า คั ญ (Sommerville,//2007/:/99) เนื่องจากถาองคกรขาดการอบรมหรือมีการฝกอบรมเกิดขึ้นนอยทําให พนักงานเกิดการลาออกสูง และขาดมาตรฐานของผลิตภัณฑและบริการ 1.2 การอางเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผูแตง 2 คน เมื่อเอกสารที่อางถึงมีผูแตง 2 คน ใหระบุนามผูแตงทั้ง 2 คน ทุกครั้งที่มีการอางโดยใชคํา และ หรือ and เชื่อมนามผูแตง ตัวอยาง นฤมล พฤกษาศิลป และ พัชรา หาญเจริญกิจ (2542/:/64) กลาวถึง วัตถุประสงคของการ จัดการความรู ดังนี้…. Defleur and O’Keef,//(1989/:/43-45) ผูทรงคุณวุฒิทั้งสองทานไดพยายามอธิบายปจจัยที่ ทําใหบุคคลแตกตางกัน…. 1.3 การอางเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผูแตง 3 คน การอางถึงเอกสารที่มีผูแตง 3 คน ใหระบุนามผูแตงทุกคน หากมีการอางถึงครั้งตอไป ให ระบุเฉพาะนามผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา และคณะ หรือ และคนอื่นๆ สําหรับเอกสารภาษาไทย สวน เอกสารภาษาอังกฤษใหตามดวย et al. หรือ and others ตัวอยาง การอางถึงครั้งแรก Sarin,//Sego,//and/Challagalla,//(2010/:/32) ไดศึกษาเรื่องคุณลักษณะที่มีผลตอ การปรับปรุงประสิทธิภาพการฝกอบรม การอางถึงครั้งตอไป Sarin and others,//(2010/:/32) ได ศึ ก ษาเรื่ อ งคุณ ลั กษณะที่ มี ผ ลต อการปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการฝกอบรม ขอยกเวน ถาเอกสารสองเรื่องที่อางครั้งตอมา เมื่อเขียนยอโดยใช et al. แลว ทําใหรายการที่อาง ปรากฏคลายกัน เชน Bradley,//Ramirez,//and Soo.//(1973/:/23)… Bradley, Soo, and Brown (1983/:/53)… ถา เขีย นยอ จะเปน Bradley et al.//(1983/:/53) เหมือ นกัน ในกรณีเ ชน นี้เ พื่อ ไมใหผูอานสับสนใหเขียนชื่อผูแตงทุกคน


47

1.4 การอางเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผูแตงมากกวา 3 คน การอางถึงทุกครั้งใหระบุเฉพาะนามผูแตงคนแรก ตามดวยคํา และคณะ หรือ และคนอื่น ๆ สําหรับเอกสารภาษาไทย สวนเอกสารภาษาอังกฤษใชคําวา et al. หรือ and others ตัวอยาง เอกสารมีผูแตงมากกวา 3 คน Sarin,//Sego,//Kohli,//and Challagalla,//(2010) การอางถึง Sarin and others,//(2010) ขอยกเวน ถาเอกสารสองเรื่องที่อางเมื่อเขียนยอแลวทําใหรายการที่อางปรากฏคลายกันในกรณีนี้ เมื่ออางถึงเอกสารเหลานั้นในเนื้อความ ใหพยายามระบุผูแตงคนตอมาเรื่อยๆ จนถึงชื่อผูแตงที่ไมซ้ํากัน เชน (Sarin,//Chale,//Kohli,//and/Challagalla,//2010/:/15) และ (Sarin,//Sego,//Kohli,//and Challagalla,//2012/:/78) ในเนื้อความการอางถึงจะปรากฏดังนี้ (Sarin, Chale and others,//2010/:/15) และ (Sarin, Sego and others,//2012/:/78) 1.5 การอางเอกสารที่ผูแตงเปนสถาบัน เมื่ออางเอกสารที่มีสถาบันเปนผูแตง แทรกในเนื้อความในระบบ นาม-ป ใหระบุนามผูแตงที่ เปนสถาบันโดยเขียนชื่อเต็มในการอางครั้งแรก และ ถามีชื่อยอที่เปนทางการก็ใหระบุชื่อยอนั้นในวงเล็บใหญ [ ] ไวดวย กรณีนี้ในการอางครั้งตอมาใหใชชื่อยอนั้นได ถาไมมีชื่อยอ การอางครั้งตอๆมาใหระบุชื่อสถาบัน เต็มทุกครั้ง ตัวอยาง การอางครั้งแรก คือ (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา [สกอ.],//2542/:/25) (Asian Institute of Technology [AIT],//1981/:/19) การอางครั้งตอมา (สกอ.//2542/:/25) (AIT,//1981/:/19)


48

การอางถึงผูแตงที่เปนสถาบัน ควรคํานึงถึงแนวทางดังตอไปนี้ดวยคือ ตองพยายามให ผูอานไมสับสนระหวางสถาบันที่อางถึงนั้นกับสถาบันอื่นๆ ทั้งนี้ ถาสถาบันนั้นเปนหนวยงานรัฐบาล อยาง นอยตองอางถึง ระดับกรม หรือ เทียบเทา และ เขียนอางระดับสูงลงมากอน เชน (กรมประชาสัมพันธ,//2558/:/33) (สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ,//คณะบริหารธุรกิจ,//2558/:/21) (กระทรวงมหาดไทย,//สํานักนโยบายและแผน,//2558/:/13) 1.6 การอางเอกสารหลายเรื่องโดยผูแตงคนเดียวกัน ในการอางเอกสารหลายเรื่องที่เขียนโดยผูแตงคนเดียวกัน แตปพิมพตางกันใหระบุนามผู แตงครั้งเดียว แลวระบุปพิมพตามลําดับ ใชเครื่องหมายจุลภาค ( ; ) คั่นระหวางปพิมพ โดยไมตองระบุ นามผูแตงซ้ําอีก เชน (บุญธรรม เกตุเทศ,//2554/:/74;/2555/:/18-20;/2556/:/14-15) (Hassam and Grammick,//1981/:/56;/1982/:/154) แตถางานนิพนธอางเอกสารหลายเรื่องที่เขียนโดยผูแตงคนเดียวกัน แตปพิมพซ้ํากัน ใหใช a b c d ตามหลังปพิมพสํ าหรับ เอกสารภาษาต างประเทศ และ ใช ก ข ค ง ตามหลังป พิมพสําหรับ เอกสารภาษาไทย เชน (ธานินทร ศรีวิชัย,//2554ก/:/3) (กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ,//2542ก/:/3-34;/2542ข/:/64) (Bruce,//1980a/:/4;/1980b/:/4;/1980b/:/10;/1980c/:/18) 1.7 การอางเอกสารหลายเรื่องโดยผูแตงหลายคน การอางเอกสารหลายเรื่องที่เขียนโดยผูแตงหลายคนมีวิธีเขียน 2 วิธี ใหเลือกใชวิธีใดวิธีหนึง่ เพียงวิธีเดียวตลอดทั้งเลม คือ 1.7.1 ให ร ะบุ นามผู แ ต ง โดยเรี ย งตามลํ าดั บ อั ก ษร ตามด ว ย ป พิ ม พ และ ใส เครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) คั่นเอกสารที่อางแตละเรื่อง เชน (เจือ สตะเวทิน,//2551ข/:/143;/ฐะปะนีย นาครทรรพ และ ประภาศรี สีหอําไพ ,//2553/:/98-100;/ทองสุข นาคโรจน,//2552/:/83;/เปลื้อง ณ นคร,//2542/:/10-15) (Argote et al,//2000;/Kogut and Zander,//1992,//1993;/Nahapiet and Ghoshal,//1998;/and Nonaka,//1994)


49

1.7.2 ให เรี ย งตามป พิ ม พ จ ากน อ ยไปหามาก และใช เครื่ อ งหมายอั ฒ ภาค ( ; ) คั่ น ระหวางเอกสารที่อางแตละเรื่อง ทั้งนี้เพื่อแสดงวิวัฒนาการของเรื่องที่ศึกษา เชน (Kogut and Zander,//1992,//1993;/Nonaka,//1994;/Nahapiet and Ghoshal,//1998;/Argote et al,//2000) 1.7.3 ใน กรณี ที่ อ า งเอกส ารห ล ายชื่ อเรื่ อ ง ที่ มี ทั้ งผู แต ง เป นภ าษ าไท ยแล ะ ภาษาต า งประเทศให อ า งชื่ อ ผู ที่ แ ต ง เป น ภาษาไทยจนครบก อ น แล ว จึ ง ตามด ว ยชื่ อ ผู ที่ แ ต ง เป น ภาษาตางประเทศโดยวิธีใดวิธีหนึ่งขางตน 1.8 การอางเอกสารที่ไมปรากฏนามผูแตง เอกสารที่ไมปรากฏนามผูแตง มีวิธีการอางดังนี้ 1.8.1 เอกสาร ทีไ่ มปรากฏนามผูแตง ใหลงชื่อเรื่องไดเลย เชน (การจัดการความรู,//2554/:/15-16) (“Study Finds”/1982/:/27) 1.8.2 เอกสารที่ไมปรากฏนามผูแตง แตผูทําหนาที่เปนบรรณาธิการหรือผูรวบรวม ให ลงชื่อบรรณาธิการหรือผูรวบรวม เชน (ผดุง เพชรสุข,//บรรณาธิการ,//2553/:/60) (ไพโรจน พรหมมีเนตร,//ผูรวบรวม,//2552/:/564-570) 1.9 การอางหนังสือแปล ระบุชื่อผูเขียนที่เปนเจาของเรื่อง ถาไมทราบชื่อผูเขียน จึงระบุชื่อผูแปล เชน (สุนทร โคตรบรรเทา,//ผูแปล,//2552/:/14-18) 1.10 การอางเอกสารที่เปนบทวิจารณ ใหใสชื่อผูวิจารณ เชน (บัญชา วิทยอนันต,//2553/:/3) 1.11 การอางเอกสารที่อางถึงในเอกสารอื่น การอางเอกสารที่ผูแตงไดอางถึงในงานของตน มิไดเปนการอางถึงเอกสารนั้นโดยตรง ให ระบุนามผูแตงของเอกสารทั้งสองรายการ โดยระบุ นามผูแตง และ ปพิมพของเอกสารอันดับแรก ตาม ดวยคําวา อางถึงใน หรือ Cited in แลวระบุ นามผูแตงของเอกสารอันดับรอง และ ปพิมพ เชน (Ned Herman,//1996 อางถึงใน สุทธนู ศรีไสย,//2551/:/48-53) (Gibbert and Krause,//2002 cited in Zmud and Lee,//2005)


50

1.12 การอางถึงสวนหนึ่งของหนังสือรวมบทความหรือรวมบทคัดยอ การอางถึงสวนหนึ่งของหนังสือซึ่งเปนสิ่งพิมพรวมบทความ หรือผลงานของผูเขียนหลาย คนและมีผูรับผิดชอบในการรวบรวม หรือทําหนาที่บรรณาธิการ ใหระบุเฉพาะนามผูเขียนบทความ ใน กรณีที่ไมปรากฏนามผูเขียนบทความใหใชวิธีการอางอิงตามแบบเดียวกับการอางเอกสารที่ไมปรากฏนาม ผูแตงที่กลาวมาแลวขางตน 1.13 การอางเอกสารพิเศษหรือสื่อลักษณะอื่น การอางถึงเอกสารพิเศษ เชน ตนฉบับตัวเขียน รายการวิทยุ โทรทัศน สไลด ฟลมสตริป เทป แผนที่ เปนตน ใหระบุลักษณะของเอกสารพิเศษหรือสื่อนั้นๆ เชน รายการวิทยุโทรทัศน (กรมพระยาดํารงราชานุภาพ,//รายการโทรทัศน ชุด “มรดกไทย”) สไลด ฟลมสตริปส (กรมสงเสริมการเกษตร,//สไลด) เทป (ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช,//เทปตลับ) 1.14 การอางการสื่อสารระหวางบุคคล การสื่อสารระหวางบุคคล อาจเปนจดหมาย บันทึกการสนทนา การสัมภาษณ ฯลฯ ใหระบุ ชื่อที่ผูเขียนสื่อสารดวย พรอมวันที่ ถาทําได เชน (บัญชา วิทยอนันท,//จดหมาย,//10 มกราคม 2557) (สําราญ บุญเจริญ,//สัมภาษณ,//5 กันยายน 2556) การอางอิงสวนทายเรื่องหรือบรรณานุกรมของวิทยานิพนธ การเขียนอางอิงในสวนทายเรื่องของวิทยานิพนธ สําหรับบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี แหงสุวรรณภูมิ กําหนดใหใชคําวา “บรรณานุกรม” ซึ่งมีรูปแบบการเขียนรายการอางอิงยึดหลักเกณฑ การอางอิงตามแบบ APA (The American Psychological Association) ซึ่งเป น รู ป แบบการอางอิงที่ เปนมาตรฐานและไดรับความนิยมอยางแพรหลายทั่วโลก โดยแยกอธิบายตามประเภทของเอกสารหรือ ขอมูลแตละแบบดังนี้


51

1. หนังสือ ชื่อผูแตง.//(ปที่พิมพ). // ชื่อหนังสือ.//ครั้งที่พิมพ (ถามี).//สถานที่พิมพ/: /สํานักพิมพ. คําอธิบาย 1.1 ผูแตงหรือบรรณาธิการ 1.1.1 ถาผูแตงเปนชาวตางประเทศใหลง ชื่อสกุล ตามดวยอักษรตัวยอของชื่อตนและชื่อ กลาง (ถามี) 1.1.2 ใชเครื่องหมายจุลภาค ( , ) แบงชื่อสกุลและอักษรยอของชื่อตน กับชื่อกลาง เชน Krejcie,//R.V. Morgan,//D.W. 1.1.3 ผูแตงชาวไทย มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ ให พิมพชื่อ ตามดวยเครื่องหมาย จุลภาค ( , ) และฐานันดรศักดิ์ หรือ บรรดาศักดิ์ ชื่อผูแตง,//ฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์.//(ปที่พิมพ).// ชื่อหนังสือ.//ครั้งที่พิมพ (ถามี).//สถานที่ พิมพ/:เช/นสํานักพิมพ. ตัวอยาง (ป.อ. ปยุต.โต), พระพรหมคุณาภรณ. (2550). มองสันติภาพโลก ผานภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสวย. 1.1.4 ถาผูแตง 2 คน หรือ ผูแตง 3 คน ลงชื่อผูแตงทุกคน ใหใชคําวา และ หรือ , and กอนชื่อผูแตงคนสุดทาย แตถามีผูแตงมากกวา 3 คน ขึ้นไป ใหใชคําวา และคณะ สําหรับภาษาไทย และ ใหใช et al หรือ and others สําหรับภาษาอังกฤษ เชน ชื่อผูแตงคนที่1//ชื่อผูแตงคนที่2//และชื่อผูแตงคนที่3.//(ปที่พิมพ).//ชื่อหนังสือ. //ครั้งที่พิมพ.// สถานที่พิมพ/:/สํานักพิมพ. ตัวอยาง บุญดี บุญญากิจ นงลักษณ ประสพสุข และโชคชัย ดิสพงศ. (2547). การจัดการความรู...จากทฤษฎีสู ภาคปฎิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ. Riding, R.J., Krejcie, D.W., and Rayner, S.J. (1998). International perspective on individual differences : Cognitive style.


52

1.1.5 ถาผูแตงเปนสถาบัน ตองใหผูอานไมสับสนระหวางสถาบันที่อางถึงนั้นกับสถาบันอื่นๆ ทั้งนี้ถาเปนหนวยงานรัฐบาล อยางนอยตองอางถึง ระดับกรม หรือเทียบเทา และเขียนอางชื่อ หนวยงาน ระดับสูงมากอน โดยให เขียนกลับคํานําหนา ดังนี้ มหาดไทย, กระทรวง, กรมการปกครอง. ศึกษาธิการ, กระทรวง, กรมสามัญศึกษา. ชื่อองคกร,//สถาบัน,//หนวยงาน.//( ปที่พิมพ).//ชื่อหนังสือ.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ สํานักพิมพ์. ตัวอยาง สํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี , สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั งคมแห งชาติ . (2553). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบ พ.ศ.2550–2554. กรุงเทพมหานคร : วี.เจ. พริ้นติ้ง. 1.1.6 ถาไมมีชื่อผูแตง ใหเขียนชื่อเรื่องในตําแหนงของผูแตง 1.1.7 ถาเปนหนังสือที่มีบรรณาธิการ และผูอางอิงตองการอางถึงหนังสือทั้งเลม ใหเขียน ชื่อ บรรณาธิการแทนผูแตง และใสคําวา บรรณาธิการ สําหรับเอกสารภาษาไทย และคําวา ed. หรือ eds. แลวแตกรณีสําหรับเอกสารภาษาตางประเทศ ตัวอยาง Forbes, S. M., ed. 1.1.8 ปดทายชื่อผูแตงหรือบรรณาธิการดวยเครื่องหมาย มหัพภาค ( . ) ตัวอยาง วิรัลพัชร วงศวัฒนเกษม, บรรณาธิการ. (2550). ภาวะผูนําทางการศึกษา. นครราชสีมา : ซี.เอน.เอม 1.2 ชื่อหนังสือ 1.2.1 ชื่อหนังสือที่เปนภาษาตางประเทศให พิมพตัวใหญเฉพาะอักษรตัวแรกของ ชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องรอง (ถามี) ซึ่งมักพิมพตามหลังเครื่องหมาย มหัพภาคคู ( : ) และชื่อเฉพาะ พิมพ ตัวหนา ตัวอยาง Cunningham, Ian. (1999). The wisdom of strategic learning, 2ndedn. Great Britain : Chester and Printed.


53

1.3 สถานที่พิมพและสํานักพิมพ 1.3.1 ให ระบุ ชื่อจั งหวัด หรือชื่อเมือง ถาชื่ อเมืองไมเป น ที่ รูจักแพรห ลาย หรืออาจทําให สับสนกับเมืองอื่น ใหระบุชื่อจังหวัดหรือเมืองหรือประเทศที่สํานักพิมพนั้นตั้งอยู 1.3.2 ถาในเอกสารนั้น มีชื่อสํานักพิมพตั้งอยูในเมืองมากกวา 1 เมือง ให เลือกเมืองแรก 1.3.3 พิมพเฉพาะชื่อสํ านั กพิ มพ ส วนคําระบุ สถานะของสํ านั กพิมพ เชน ห.จ.ก., บริษัท, Publishers, Co., Ltd. หรือ Inc. ใหตัดออก สํานักพิมพที่เปนของสมาคม วิทยาลัย มหาวิทยาลัย ให ระบุชื่อเต็ม เชน สํานักพิมพสถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ เปนตน 1.3.4 ถาไมปรากฏสํานักพิมพหรือสถานที่พิมพ ใหระบุ (ม.ป.ท.) หรือ (n.p.) ชื่อผูแตง.//( ปที่พิมพ).//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.//ม.ป.ท.//n.p./:/สํานักพิมพ. 1.4 ปพิมพ 1.4.1 ระบุปที่พิมพงานนั้น (สําหรับงานที่ไมตีพิมพเผยแพร ปพิมพ หมายถึง ปที่ผลิตงาน นั้น) 1.4.2 งานที่อยูระหวางการจัดพิมพเผยแพร ใหใชคําอยูในวงเล็บวา (กําลังจัดพิมพ) หรือ (in press) แลวแตภาษาของงานนั้นๆ 1.4.3 ถาไมปรากฏปพิมพ ใหระบุตัวอักษรอยูในวงเล็บวา (ม.ป.ป.) สําหรับภาษาไทย หรือ (n.d.) สําหรับภาษาอังกฤษ ชื่อผูแตง.//(ม.ป.ป.) / (n.d.).//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/สํานักพิมพ.

2. หนังสือพิมพในโอกาสพิเศษ หนังสือพิมพในโอกาสพิเศษ เชน หนังสืองานศพ งานวันสถาปนา กฐิน หรืออื่นๆ ซึ่งถือเปน เอกสารอางอิงทีส่ ําคัญ ใหลงรายการอางอิงเหมือนหนังสือธรรมดา โดยเพิ่มเติมรายละเอียดของหนังสือ ดังกลาวไวใน วงเล็บ (…) ทายรายการ


54

3. หนังสือแปล หนังสือแปล มีแบบและหลักเกณฑในการบันทึกรายการอางอิงดังนี้ ชื่อผูแตง.//(ปพิมพ).//ชื่อเรื่อง.//แปลโดย ชื่อผูแปล.//สถานที่พิมพ/:/สํานักพิมพ. เชน Riding, R.J., Krejcie, D.W., and Rayner, S.J. (1998). (2548). มหาวิทยาลัยกับชุมชนเมือง. แปลโดย อัปสร ทรัยอัน และคณะ. กรุงเทพมหานคร : แพรพิทยา. Foucault, M. (1972). The archaeology of knowledge. Translated by A. M. S. Smith. London : Tavisstock. 4. บทความในหนังสือ บทความในหนังสือในที่นี้ อาจหมายถึง เรื่องที่เขียนบทหนึ่งในหนังสือเลมเดียวกันที่มีผูเขียน หลายคน มีแบบ และหลักเกณฑ ในการบันทึกรายการอางอิงดังนี้ ชื่อผูเขียนบทความ.//( ปพิมพ).//ชื่อบทความ.//ในชื่อบรรณาธิการ (ถามี),//ชื่อเรื่อง,//เลขหนา.// สถานที่พิมพ/:/สํานักพิมพ. 4.1 การระบุชื่อบรรณาธิการใหเขียนชื่อตน ชื่อกลาง (ถามี) โดยใชชื่อยอ และตามดวยชื่อ สกุลตามลําดับ 4.2 ถามีบรรณาธิการตั้งแต 2 คน ใหใชเครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นแตละชื่อ และใชคํา วา และ (and) กอนชื่อสุดทาย 4.3 ระบุคําวา (บรรณาธิการ) หรือ (ed.) หรือ (eds.) ภายในวงเล็บไวหลังชื่อ เพื่อใหรู วาบุคคลนั้นเปนบรรณาธิการ ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) 4.4 สวนเลขหนา หมายถึงเลขหนาที่ปรากฏในเลม ใหระบุเลขหนา เชน 467-468. หรือ 467-468. หลังเลขหนาใชเครื่องหมาย มหัพภาค ( . ) ตัวอยาง Takeuchi, H., and Nonaka, I. (2004). Knowledge creation and dialectics. In Hitosubashi on Knowledge Management, 2000, 1-29. New York: McGraw Hill.


55

5. บทความในวารสาร บทความในวารสาร มีรูปแบบใน การเขียนรายการอางอิง ดังนี้ ชื่อผูเขียนบทความ.//(ปที่พิมพ).//“ชื่อบทความ”/ชื่อวารสาร,//ปที่หรือเลมที่/:/เลขหนา. ตัวอยาง Sveiby, K.E. (2001). “A knowledge-based theory of the firm to guide in strategy formulation.” Journal of Intellectual Capital, 2 : 344-358. 5.1 ชื่อวารสาร 5.1.1 ชื่อวารสารใชตามที่ปรากฏในหนาปกในของวารสาร ใชตัวหนา 5.1.2 เขียนชื่อเต็มโดยใชตัวใหญตัวแรก หรือในกรณีใชชื่อยอตองเปนชื่อยอที่ นักวิชาการในศาสตรสาขานั้นๆ ยอมรับ เชน Journal ใชตัวยอ J. 5.2 ปที่ หรือเลมที่ (Volume) 5.2.1 วารสารที่มีทั้ง ปที่ หรือ เลมที่ (volume) และ ฉบับที่ (number) ใหระบุให ครบถวนแตระบุเฉพาะตัวเลขเทานั้น ไมตองพิมพคําวา ปที่ เลมที่ หรือ ฉบับที่ 5.2.2 วารสารที่ไมมีปที่หรือเลมที่ มีแตฉบับที่ ใหระบุเฉพาะ ตัวเลข ฉบับที่ 5.2.3 ในกรณีที่เอกสารนั้นไมมีปที่ หรือ เลมที่ (volume) และ ฉบับที่ (number) แตมีเดือน ปพิมพ ใหใชชื่อเดือน ตามหลัง ป 5.3 เลขหนา 5.3.1 ระบุหนาที่บทความนั้นตีพิมพวา เริ่มจากหนาใดถึงหนาใด โดยไมมีคําวา หนา 5.3.2 ถาบทความพิมพตอในหนาอื่นของวารสารฉบับเดียวกัน ระบุเลขหนาที่ปรากฏ ทั้งหมดโดยใช เครื่องหมาย จุลภาค ( , ) คั่น เชน 326, 352 6. บทความในหนังสือพิมพ รายการอางอิงของบทความในหนังสือพิมพคลายกับรายการอางอิงของบทความในวารสาร ตางกันตรงที่ไมมีการระบุปที่ หรือ เลมที่ แตระบุวันที่ ของหนังสือพิมพเพิ่มเติม ชื่อผูเขียนบทความ.//(ปที่พิมพ).//วัน เดือน.//“ชื่อบทความ”.//ชื่อหนังสือพิมพ.//เลขหนา.


56

ในกรณีที่ไมปรากฏชื่อผูเขียนบทความใหลําดับดวย ชื่อบทความ.//(ปที่พิมพ).//วัน เดือน.//ชื่อหนังสือพิมพ.//เลขหนา. ตัวอยาง วิสิฐ ตันติสุนทร. (2552). วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน. “ผลตอบแทน กบข. ครั้งแรกปรับตัวดีขึ้น”. มติชน. 22. Nareerat Wiriyapong. (2009). Thursday, June 18. “Survey: Thai SMEs most perrimistic,” Bangkok Post. B3. 7. บทความในสารานุกรม การเขียนรายการอางอิงบทความในสารานุกรมคลายกับรายการอางอิงบทความในวารสาร ชื่อผูเขียนบทความ.//(ปที่พิมพ).//“ชื่อบทความ”.//ในชื่อบรรณาธิการ.//ชื่อสารานุกรม,//ป ที่หรือเลมที่/:/เลขหนา.//สถานที่พิมพ/:/สํานักพิมพ

ตัวอยาง รัตนะ บัวสนธิ์. (2550). “การประเมินอภิมาน”. ใน บุญศรี ไพรัตน และคณะ (บรรณาธิการ). สารานุกรมศึกษาศาสตร. 66-69. กรุงเทพมหานคร : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Willower, Donald J. (1992). “Educational Administration: Intellectual Trends”. In Marvin C. Alkin. Encyclopedia of Educational Research, 364-374. New York : Macmillan. 8. วิทยานิพนธ การเขียนรายการอางอิงวิทยานิพนธ ใหระบุชื่อผูเขียนวิทยานิพนธ ชื่อวิทยานิพนธ ระดับ ปริญญา ชื่อสาขาหรือภาควิชา คณะ ชื่อมหาวิทยาลัย ปพิมพ


57

ชื่อผูเขียนวิทยานิพนธ.//(ปพิมพ).//ชื่อวิทยานิพนธ.//การคนควาอิสระหรือวิทยานิพนธ หรือ ดุษฎีนิพนธ.//มหาบัณฑิตหรือดุษฎีบัณฑิต.//ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา/คณะ/ชื่อมหาวิทยาลัย. ตัวอยาง กิ่งกอย นอยสะปุง. (2551). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูประกอบการสําหรับการจัดการฝกอบรมใหกับ ลูกจางในจังหวัดลําพูน. การคนควาอิสระ. มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. McClelland S.D. (2002). A training needs assessment for the united way of Dunn County, Wisconsin. Master Dissertation, University of Wisconsin-Stout, USA. 9. รายงานการประชุมทางวิชาการ รายงานการประชุมทางวิชาการที่พิมพเผยแพรในลักษณะบทความหรือบทหนึ่งในหนังสือรวม บทความ ใหลงรายละเอียดในลักษณะเดียวกับรายการอางอิงของบทความในหนังสือ โดยชื่อของการ ประชุมที่เปนภาษาตะวันตก เชน ภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของแตละคําใหเขียนตัวใหญทุกตัว ยกเวนคํา บุพบท (preposition) คําสันธาน (conjunction) และ คํานําหนานาม (article) ไมตองพิมพดวยอักษรตัว ใหญ เวนแตคําดังกลาวจะเปนคําแรกของการประชุม ชื่อผูเขียนบทความ.//(ปที่พิมพ).//ชื่อเรื่องบทความ.//ใน ชื่อบรรณาธิการหรือชื่อผูรวบรวม.//ชื่อหัวขอ หรือเรื่องการประชุม.//ชื่อการประชุม.//เลขหนา.//สถานที่พิมพ/://สํานักพิมพ. ตัวอยาง Thumin, F.J., Craddick, R.A., and Barclay, A.G. (1973). Meaning and compatibility of a proposed corporate name and symbol, Proceedings of the 81st Annual Conference of the American Psychological Association, 8 : 835-836. วีรยุทธ บุญมี. (2556). แนวทางการใชสารสนเทศจัดการธุรกิจโฮมสเตยที่มีประสิทธิผลในเขตพื้นที่ จังหวัดชัยภูมิ. ใน ยาใจ พงษบริบูรณ (บรรณาธิการ). การสงเสริมความรูเชิงบูรณาการสู ประชาคมอาเซียน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแกน, 256-264. ขอนแกน: แอนนาพริ้นติ้ง.


58

10. แหลงสารสนเทศบนอินเตอรเน็ต บทความจากวารสารออนไลน/วารสารอิเล็กทรอนิกส (Electronic Journal) ชื่อผูเขียนบทความ.//(ปที่เผยแพร).//“ชื่อบทความหรือเอกสาร”.//ชื่อวารสาร.//ปที่หรือ เลมที่.//ฉบับที่ สืบคนเมื่อวันที่ เดือน ป,//จากแหลงที่อยูบนอินเตอรเน็ต ขอสังเกต ในการเขียนบรรณานุกรมบทความจากวารสารอิเล็กทรอนิกส เมื่อจบขอความ บรรทัดสุดทาย ของรายการบรรณานุกรมแตละรายการไมตองใสเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) เชน ศูนยฝกอบรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (2531). “แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผลการฝกอบรม ประเมินผลการฝกอบรม. ไดจากhttp://www.tu.ac.th/org/ofrector/person/train/ handbook/assess.html. สืบคนเมื่อ 13 สิงหาคม 2554 Glasersfeld, VonE. (2007) .“Radical constructivism-clear and compelling,” ConstructivistFoundations, 3 (1) : 52. Available from : http://www.univie.ac.at/constructivism/journal 3.1. Retrieved on 21 November 2010 11. การจัดเรียงและการพิมพรายการอางอิงทายเลม 11.1 รายการเอกสารอางอิงใหเรียงตามลําดับตัวอักษรชื่อผูแตง โดยใชหลักการเรียงตาม พจนานุกรม โดยเรียงเอกสารอางอิงที่เปนภาษาไทยกอน แลวจึงเรียงเอกสารอางอิงภาษาตางประเทศ อื่นๆ 11.2 ผูแตงคนเดียวกันมีเอกสารอางอิงที่พิมพปเดียวกันหลายรายการ และผูวิจัยไดนํามา อ า งอิ ง มากกว า 1 รายการ ในกรณี นี้ ให ใส อั ก ษร ก ข ค … หรื อ a b c … ลงต อ ท า ยป ที่ พิ ม พ ข อง เอกสารอางอิงนั้นโดยใหเรียงตามลําดับตัวอักษรของชื่อเรื่อง ดังนี้ ตัวอยาง บุ ญ ชม ศรี ส ะอาด. (2539ก). การวิ จั ย เบื้ อ งต น . มหาสารคาม : ภาควิ ช าพื้ น ฐานการศึ ก ษา คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ________. (2539ข). วิ ธี ก ารทางสถิ ติ สํ า หรั บ การวิ จั ย . เล ม 1. มหาสารคาม : ภาควิ ช าพื้ น ฐาน การศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.


59

Marek, E.A. (1986a). “They misunderstand, but they' l pass,” The Science Teacher, 53 (10, December) : 32-35. ________. (1986b). "Understandings and misunderstandings of biology concepts," The American Biology Teacher, 48 (1, January) : 37-40. 11.3. บรรณานุ กรมที่มีชื่อผู แต งคนเดี ย วกัน มีเอกสารอางอิงหลายรายการ ให ลงชื่ อผูแต ง เฉพาะบรรณานุกรมรายการแรกสวนรายการตอๆ มาใหใชวิธีขีดเสนตรงความยาวเทากับ 1.5 เซนติเมตร โดยเริ่มจากขอบซาย หลังจากนั้นใหใสเครื่องหมายมหัพภาคเหมือนการลงชื่อผูแตงตามปกติ เสนดังกลาว นี้ควรอยูระดับกึ่งกลางของตัวอักษรที่พิมพในบรรทัดนั้นๆ ดังตัวอยาง อนุ ม านราชธน, พ ระยา. (ม.ป.ป.) ข อ คิ ด เรื่ อ งภ าษาไทยบางป ระการ. (แถบบั น ทึ ก เสี ย ง). กรุงเทพมหานคร : วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร. ________. วัฒนธรรม. (2515). โดย เสฐียรโกเศศ (นามแฝง). กรุงเทพมหานคร : บรรณาคาร 11.4 กรณีผูแตงคนเดียว แตเขียนหนังสือหลายเลม ใหจัดเรียงลําดับของหนังสือตาม พ.ศ. จากเกามาหาใหม 11.5 การพิมพขอความแรกของแตละบรรณานุกรมใหชิดขอบซาย และไมตองตั้งใหชิดขอบ ขวา หากรายการพิมพยังไมจบในหนึ่งบรรทัดใหพิมพตอในบรรทัดถัดไป โดยยอหนาเขามา 0.5 นิ้ว จน จบรายการพิมพ 11.6 นักศึกษาควรคํานึงถึงความถูกตองทางภาษาและหลักการพิมพมากกวาความสวยงาม โดยไมควรตัดคํา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.