Heanbook 1 ol

Page 1

To Be Chinese Buddhist Novice Handbook

¤ÑÁÀÕÊà³Ã¨Õ¹

Mongkonkamalavaswittayalai School Watboromrachakanchanaphisekanusorn

Name .............................................................................................


โรงเรียนมังกรกมลาวาสวิทยาลัย

วัดมังกรกมลาวาส ( เล่งเน่ยยี่ 1 )

01

วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ ( เล่งเน่ยยี่ 2 )


ก�ำหนดการ

โครงการบรรพชาสามเณรนักเรียน ปีการศึกษา 2560 น้อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ระหว่างวันที่ 23 – 30 เมษายน พ.ศ. 2560 ค�ำชี้แจง 23 เม.ย. 60 พิธีปฐมนิเทศ ณ วัดมังกรกมลาวาส (เล่งเน่ยยี่) กรุงเทพฯ 24 – 28 เม.ย. 60 เข้าค่ายอบรมก่อนบรรพชา ณ วัดมังกรบุปผาราม จ. จันทบุรี 29 – 30 เม.ย. 60 พิธีบวชนาค - และพิธีบรรพชา ณ วัดบรมราชาฯ จ. นนทบุรี *หมายเหตุ นักเรียนที่เข้าปีการศึกษานี้ จะพ�ำนักและศึกษาต่อที่วัดบรมราชา (เล่งเน่ยยี่ 2) จ. นนทบุรี

พิธีปฐมนิเทศ ณ โรงเรียนมังกรกลาวาสวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 23 เมษายน 2560 เวลา 07.00 – 09.00 น. - ผู้ปกครองและนักเรียนรับประทานอาหารเช้า / ลงทะเบียน / รายงานตัว เวลา 09.30 น. - ทุกท่านพร้อมกัน ณ หอประชุม / รับชมวีดีทัศน์และรับฟังการแนะน�ำโรงเรียน เวลา 10.00 น. (พิธีการมังกรสดุดีและพิธีการผู้บริหารกล่าวต้อนรับ) - หลวงจีนสังฆรักษ์สัญชัย เสี่ยซัง ผู้แทนผู้อ�ำนวยการโรงเรียนมาถึง จากนั้น จุดธูปเทียนบูชาสรีระสังขาร พระคณาจารย์จีนธรรมปัญญาจริยาภรณ์ ผู้สถาปนาโรงเรียน - หลวงจีนธวัชชัย เสี่ยเหลี่ยง หัวหน้ากลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน กล่าวรายงาน - พิธีการมังกรสดุดี มอบเกียรติบัตรแก่สามเณรนักเรียนผู้มีผลการเรียนดี ปีการศึกษา 2559 - หลวงจีนสังฆรักษ์สัญชัย เสี่ยซัง กล่าวต้อนรับผู้ปกครองและนักเรียน (สารจากผู้อ�ำนวยการ) 02


เวลา 11.00 น. - สอบวัดความรู้ 5 วิชาพื้นฐาน / และทดสอบเชาว์ปัญญา เวลา 12.00 น. - ผู้ปกครองและนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันสอบ เวลา 13.00 น. - ซ้อมพิธีถวายสักการะมอบตัวเป็นศิษย์ ณ อุโบสถ เวลา 13.30 น. (พิธีถวายสักการะมอบตัวเป็นศิษย์) - หลวงจีนธรรมรัตจีนประจักษ์ ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ผู้จัดการโรงเรียน มาถึง จากนั้นจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย - ผู้แทนนักเรียนน�ำนักเรียนทั้งนั้นสักการะพระเดชพระคุณหลวงพ่อ - พระเดชพระคุณหลวงพ่อให้โอวาทธรรมและตัดผม - พิธีขมากรรมบุพการี / นักเรียนปลงผม (เสร็จพิธี)

03


เข้าค่ายอบรมเตรียมความพร้อมก่อนบรรพชา 24 – 28 เมษายน 2560 ณ วัดมังกรบุปผาราม (เล่งฮั้วยี่) อ. แหลมสิงห์ จ. จันทบุรี 24 เมษายน 2560 เวลา 05.30 น. - ตื่นนอน อาบน�้ำ ท�ำกิจส่วนตัว เวลา 06.00 น. - ไหว้พระสวดมนต์เช้า เวลา 06.30 – 08.00 น. - ฝึกการจัดโต๊ะภัตตาหารเจถวายพระสงฆ์ - ฝึกการอุปัฏฐากพระสงฆ์ในเวลาภัตกิจ - รับประทานอาหารเช้า เวลา 08.30 - 13.00 น. - คณะครูและนักเรียนเดินทางมุ่งสู่วัดมังกรบุปผาราม (เล่งฮั้วยี่) จ. จันทบุรี (บริการอาหารกลางวันระหว่างการเดินทาง) - เข้านมัสการพระประธานในอุโบสถ และนมัสการพระอธิการจี้เซ้ง ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส - ชี้แจงระเบียบ กิจวัตรประจ�ำวัน หน้าที่รับผิดชอบ / เก็บสัมภาระ เวลา 14.30 – 17.30 น. - อบรมมารยาท / วัตรปฏิบัติขั้นพื้นฐาน (ประมาณ 1 ชั่วโมง) - อบรมบทสวดส�ำหรับพิธีบรรพชา (ประมาณ 2 ชั่วโมง) เวลา 18.00 น. - รับประทานอาหารเย็น - อาบน�้ำ / พักตามอัธยาศัย เวลา 19.00 น. - อบรมบทสวดส�ำหรับพิธีบรรพชา เวลา 20.00 น. - ไหว้พระสวดมนต์เย็น / อบรมความรู้ทางศาสนา / พักผ่อน 04


25 – 27 เมษายน 2560 เวลา 05.30 น. - ตื่นนอน อาบน�้ำ ท�ำกิจส่วนตัว เวลา 06.00 น. - ไหว้พระสวดมนต์เช้า เวลา 06.30 – 08.00 น. - ฝึกการจัดโต๊ะภัตตาหารเจ / อุปัฏฐากพระสงฆ์ - รับประทานอาหารเช้า - ฝึกความรับผิดชอบต่อส่วนรวม เวลา 08.30 – 10.30 น. - อบรมบทสวดส�ำหรับพิธีบรรพชา (เริ่มการสอบแข่งขัน) เวลา 10.40 – 12.00 น. - ฝึกการจัดโต๊ะภัตตาหารเจถวายพระสงฆ์ - ฝึกการอุปัฏฐากพระสงฆ์ในเวลาภัตกิจ - รับประทานอาหารกลางวัน ฝึกมารยาทและการใช้อุปกรณ์ในเวลา ภัตกิจเสมือนพระสงฆ์ - หลังจากรับประทานอาหารกลางวัน นักเรียนสามารถพักตามอัธยาศัย / สอบมนต์ เวลา 13.00 – 14.30 น. - กิจกรรมผูกสัมพันธ์-สร้างสรรค์ลูกมังกร เวลา 15.30 – 17.30 น. - อบรมบทสวดส�ำหรับพิธีบรรพชา (สอบแข่งขัน) เวลา 18.00 น. - รับประทานอาหารเย็น / อาบน�้ำ / พักตามอัธยาศัย เวลา 19.00 น. - อบรมบทสวดส�ำหรับพิธีบรรพชา (สอบแข่งขัน) เวลา 20.00 น. - ไหว้พระสวดมนต์เย็น / อบรมความรู้ทางศาสนา / พักผ่อน

05


28 เมษายน 2560 เวลา 05.30 น. - ตื่นนอน อาบน�้ำ ท�ำกิจส่วนตัว ท�ำความสะอาดห้องและเก็บสัมภาระให้พร้อม เวลา 06.00 น. - ไหว้พระสวดมนต์เช้า เวลา 06.30 – 08.00 น. - ฝึกการจัดโต๊ะภัตตาหารเจถวายพระสงฆ์ - ฝึกการอุปัฏฐากพระสงฆ์ในเวลาภัตกิจ - รับประทานอาหารเช้า ฝึกมารยาทและการใช้อุปกรณ์ในเวลาภัตกิจเสมือน พระสงฆ์ - กราบลาพระประธานในอุโบสถ และกราบลาพระอธิการจี้เซ้ง ผู้รักษาการ แทนเจ้าอาวาส เวลา 08.30 – 13.00 น. - เดินทางมุ่งสู่อ่าวกระทิง ทัศนศึกษาระบบนิเวศทางทะเล และบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ - ทัศนศึกษาและเรียนรู้ประวัติศาสตร์น�้ำตกพลิ้ว ย้อนรอยพระพุทธเจ้าหลวง เสด็จประพาส (บริการอาหารกลางวันก่อนออกจากอ่าวกระทิง) เวลา 14.00 น. - เดินทางมุ่งหน้าสู่วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ (เล่งเน่ยยี่ 2) จ. นนทบุรี เวลา 18.00 น. - เดินทางถึงวัด. / เก็บสัมภาระ / นมัสการพระประธานในอุโบสถ กราบนมัสการปฐมบูรพาจารย์ผู้สถาปนาวัด และนมัสการพระเดชพระคุณ ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส / พระเถระผู้ใหญ่ - รับประทานอาหารเย็น - อาบน�้ำและปลงผมใหม่อีกครั้ง เวลา 19.30 – 20.30 น. - ไหว้พระสวดมนต์เย็น และนมัสการสิ่งศักดิ์สิทธิ์รอบวัด / พักผ่อน 06


พิธีบวชนาค และพิธีบรรพชา 29 – 30 เมษายน 2560 ณ วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ (เล่งเน่ยยี่ 2) อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี 29 เมษายน 2560 เวลา 05.30 น. - ตื่นนอน อาบน�้ำ ท�ำกิจส่วนตัว เวลา 06.00 น. - ไหว้พระสวดมนต์เช้า เวลา 06.30 – 08.00 น. - ฝึกการจัดโต๊ะภัตตาหารเจและอุปัฏฐากพระสงฆ์ / รับประทานอาหารเช้า - ฝึกความรับผิดชอบต่อส่วนรวม เวลา 08.30 น. - ชมวีดีทัศน์ประวัติ-ความส�ำคัญของวัด และประวัติปฐมบูรพาจารย์ เวลา 09.30 น. - รับโอวาทธรรมก่อนเป็นนาค / พิธีขมากรรมพระเดชพระคุณ ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส เวลา 10.30 – 13.20 น. - ฝึกการจัดโต๊ะภัตตาหารและอุปัฏฐากพระสงฆ์ - รับประทานอาหารกลางวัน / หลังจากนั้นเปลี่ยนชุดเป็นนาค เวลา 13.30 – 13.50 น. - สวดขมากรรมพระรัตนตรัย รอบที่ 1 เวลา 14.10 – 14.30 น. - สวดขมากรรมพระรัตนตรัย รอบที่ 2 เวลา 15.00 – 16.00 น. - เทศน์สอนนาคโดย พระเดชพระคุณ พระครูสิริธรรมภาณ เจ้าอาวาสวัดละหาร เวลา 16.30 – 17.30 น. - ซ้อมบทสวดพิธีการบรรพชา เวลา 18.00 น. - รับประทานอาหารเย็น 07


เวลา 19.00 – 20.00 น. - พิธีท�ำขวัญนาค - ซ้อมพิธีบรรพชา

30 เมษายน 2560 เวลา 05.30 น. - ตื่นนอน อาบน�้ำ ท�ำกิจส่วนตัว เวลา 06.00 น. - ไหว้พระสวดมนต์เช้า เวลา 06.30 – 07.30 น. - ฝึกการอุปัฏฐากพระสงฆ์ในเวลาภัตกิจ - รับประทานอาหารเช้า / ผู้ปกครองรับประทานอาหารเช้า เวลา 08.30 น. - ขบวนแห่นาครอบบริเวณดทศบาลเมืองบางบัวทอง เวลา 09.40 น. - นาคและสาธุชนพร้อมกัน ณ อุโบสถ ชั้น 3 - คณะสงฆ์ประกอบพิธีถวายพุทธบูชา เวลา 11.00 น. - ถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ / สาธุชนรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 12.15 น. - ทุกท่านพร้อมกัน ณ เวทีพิธีการ ลานจอดรถ A - นายนิสิต จันทร์สมวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี ประธานในพิธี จุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช - ประธานในพิธีกล่าวถวายพระราชกุศลเบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ - นาคทั้งนั้นกราบพระบรมฉายาลักษณ์ - ประธานในพิธี คณะรองประธาน มอบผ้าไตรจีวรแก่นาค - จากนั้นตั้งขบวนแห่เวียนประทักษิณารอบอุโบสถ 3 รอบ - นาคเข้าสู่อุโบสถแล้วจึงเริ่มพิธีบรรพชา (เสร็จพิธี ประมาณ 15.30 น.) 08


09


วัดมังกรกมลาวาส (เล่งเน่ยยี่)

ตั้งอยู่ เลขที่ 412 ถนนเจริญกรุง เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทาน ที่ดินเพื่อสร้างวัดเนื้อที่ 4 ไร่ 18 ตารางวา มีพระยาโชฎึกราชเศรษาฐี เจ้ากรมท่าซ้าย ร่วมกับพุทธศาสนิกชนชาวจีนก่อสร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2414 ใช้ระยะเวลา ในการก่อสร้างประมาณ 8 ปี จึงแล้วเสร็จ ให้ชื่อว่า “เล่งเน่ยยี่” ซึ่งมีความหมายคือ เล่ง แปลว่า มังกร เน่ย แปลว่า ดอกบัว ยี่ แปลว่า อารามหรือวัด ซึ่งนับเป็นสังฆารามตามลัทธินิกายมหายาน ที่มีศิลปะ งดงามและใหญ่ที่สุดของประเทศไทยในยุคนั้น ภายหหลังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระราชทาน นามวัดว่า “วัดมังกรกมลาวาส” โดยได้อาราธนาพระอาจารย์สกเห็งมหาเถระเป็นเจ้าอาวาส และโปรดพระราชทานสมณศักดิ์แก่พระอาจารย์สกเห็ง เป็นพระอาจารย์จีนวังสมาธิวัตร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะใหญ่จนี นิกายรูปแรกในประเทศไทย และ เป็นปฐมบูรพาจารย์ของวัด ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดมังกรกมลาวาส เจ้าอาวาสองค์ที่ 1 พระอาจารย์จีนวังสสมาธิวัตร (สกเห็ง) เจ้าอาวาสองค์ที่ 2 พระอาจารย์จีนวังสสมาธิวัตร (ก้วยหงอ) เจ้าอาวาสองค์ที่ 3 พระอาจารย์จีนวังสสมาธิวัตร (โล่วเข่ง) เจ้าอาวาสองค์ที่ 4 พระอาจารย์ฮวบจง (ฟุกยิ้ง) เจ้าอาวาสองค์ที่ 5 พระอาจารย์จีนวังสสมาธิวัตร (ย่งปิง) เจ้าอาวาสองค์ที่ 6 พระอาจารย์จีนวังสสมาธิวัตร (เซี่ยงหงี) เจ้าอาวาสองค์ที่ 7 พระอาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร (โพธิ์แจ้ง) ต่อมาเป็น พระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร เจ้าอาวาสองค์ที่ 8 พระจารย์จีนธรรมคณาธิการ (เย็นเจี่ยว) เจ้าอาวาสองค์ที่ 9 พระคณาจารย์ธรรมปัญญาจริยาภรณ์(เย็นเชี้ยว)

10


11


วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ฯ (เล่งเน่ยยี่2)

ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลโสนลอย อ� ำ เภอบางบั ว ทอง จั ง หวั ด นนทบุ รี เดิ ม เป็ น โรงเจขนาด เล็กที่พุทธศาสนิกชน ชาวบางบัวทองเลื่อมใสศรัทธามาช้านาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ด้วยความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ คณะสงฆ์จีนนิกายพร้อมด้วย พุทธบริษัท ไทย-จีน มีปณิธานจะสร้างวัดเพือ่ เป็นการเฉลิมพระเกียรติ และถวายพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี โดยมี พระคณาจารย์จีน ธรรมปัญญาจริยาภรณ์ (เย็นเชีย้ วมหาเถระ) เป็นประธานด�ำเนินการก่อสร้าง มีนายแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการส�ำนักพระราชวัง เป็นผูด้ ำ� เนินการก่อสร้าง เมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2539 ได้กราบทูลเชิญ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาปรินายก ทรงเป็นประธานวางศิลาฤกษ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทาน นามวัดว่า “วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสร คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์” วัตถุประถุประสงค์การสร้างวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ 1. เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสมหามงคลทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และแสดง ความจงรักภัคดี กตัญญูกตเวทิตาถวายเป็นพระราชกุศล แด่บูรพมหากษัตริย์ทุกๆ พระองค์ ที่คณะสงฆ์จีนนิกายได้เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร 2. เพื่อตั้งเป็นพุทธสถานให้สาธุชนได้ปฏิบัติธรรมและประกอบพิธีกรรม พร้อมทั้งเป็น ที่เผยแผ่พระพุทธศาสนามหายานจีนนิกาย 3. เพื่อตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม ไทย-จีน เป็นที่ศึกษาพระธรรมวินัยของพระภิกษุ สามเณร และสร้างศาสนทายาทของพระพุทธศาสนาสืบไป

12


13


ชีวประวัติ

พระคณาจารย์จีนธรรมปัญญาจริยาภรณ์ ไพศาลสุนทรสมณกิจ ประสิทธิ์สิริมงคลคุณาภิวัฒน์ พุทธบริษัทจีนวิเนตา (เย็นเชี้ยวมหาเถระ) รองเจ้าคณะใหญ่จีนนิกาย รองประธาน-เลขานุการ-คณะกรรมการสงฆ์จีนนิกาย เจ้าอาวาสวัดมังกรกมลาวาส (เล่งเน่ยยี่) รักษาการเจ้าอาวาสวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ (ปฐมาจารย์ผู้สถาปนา) นามเดิม สุทธิธรรม นามสกุล โพธิวิสุทธิธรรม ชาติภูม ิ เกิดในตระกูลแซ่เจียม อ�ำเภอ โผวเล้ง มณฑล กวางตุ้ง ประเทศ จีน บิดา นายหยุ่นฮะ แซ่เจียม มารดา นางซิ่วเกียว แซ่ลี้ เชื้อชาติ จีน (แต้จิ๋ว) สัญชาติ ไทย เกิด พ.ศ. ๒๔๘๓ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร อายุ 76 ปี พรรษา 56 บรรพชา พ.ศ. 2502 ณ ส�ำนักสงฆ์หลับฟ้า พระนคร อุปสมบท พ.ศ. 2502 ณ วัดโพธิ์เย็น อ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี พระอุปัชฌาย์ พระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร (ปู่โพธิ์แจ้งมหาเถระ) พระกรรมวาจาจารย์ หลวงจีนคณาณัติจีนพรต (เย็นบุญ) พระอนุสาวนาจารย์ หลวงจีนธรรมรสจีนศาสน์ (ซิวแจ๋) ส�ำนัก วัดมังกรกมลาวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร อัธยาศัย พระเดชพระคุณท่านเป็นผู้มีปัญญาเฉียบแหลม จิตใจโอบอ้อมอารี เมตตากรุณา เจรจาไพเราะ มีความเพียรพยายาม กล้าหาญอดทน ยึดมั่นกตัญญูกตเวทิตา มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา มหายาน มาแต่เยาว์วัย เจริญรอยตามโยมมารดาผู้เป็นพุทธมามกะบ�ำเพ็ญ ฆราวาสธรรมและศาสนธรรมอย่างเคร่งครัด

14


15


16


入门早课

บทไหว้พระสวดมนต์เช้า ส�ำหรับนักเรียนก่อนบรรพชา 南 无 大 悲 观 世 音 菩 萨(三遍) น�ำ มอ ตา ปี กวน ซือ อิม ผู่ สัก ( 3 จบ )

大悲咒

มหากรุณาธารณีสูตร

南无·喝啰怛那·哆啰夜耶。南无·阿唎耶。 น�ำ มอ ห่อ ลา ตัน นอ ตอ ลา แหย่ แย / น�ำ มอ ออ ลี แย / 婆卢羯帝·烁钵啰耶。菩提萨埵婆耶。摩诃萨埵 ผ่อ ลู กิต ตี ซอ ปอ ลา แย / ผู่ ที สัก ตอ พอ แย / หม่อ ฮอ สัก ตอ 婆耶。摩诃迦卢尼迦耶。唵萨皤啰罚曳。数怛那 พอ แย / หม่อ ฮอ เกีย ลู นี เกีย แย / งัน สัก พัน ลา ฟา อี ซู ตัน นอ 怛写。南无悉吉利埵·伊蒙阿唎耶。婆卢吉帝·室 ตัน แซ / น�ำ มอ เสิด กิด ลี ตอ อี มง ออ ลี แย / ผ่อ ลู กิด ตี สิก 佛啰楞驮婆。南无·那啰谨墀。醯唎摩诃皤哆沙 ฟู ลา เลง ทอ พอ น�ำ มอ นอ ลา กิน ซี / ซี ลี หม่อ ฮอ พัน ตอ ซา 咩。萨婆阿他·豆输朋。阿逝孕。萨婆萨哆·那 แม / สัก พอ ออ ทอ เตา ซี พง / ออ ซี ยิน สัก พอ สัก ตอ นอ 摩婆萨多·那摩婆伽。摩罚特豆。怛侄他。唵·阿 มอ พอ สัก ตอ นอ มอ พอ แค / มอ ฟา ทา เตา / ตัน จิต ทอ งัน / ออ 婆卢醯。卢迦帝。迦罗帝。夷醯唎。摩诃菩提萨 พอ ลู ซี ลู เกีย ตี เกีย ลอ ตี อี ซี ลี / หม่อ ฮอ ผู่ ที สัก 埵。萨婆萨婆。摩啰摩啰。摩醯摩醯·唎驮孕。 ตอ สัต พอ สัต พอ / มอ ลา มอ ลา มอ ซี มอ ซี ลี ทอ ยิน / 俱卢俱卢·羯蒙。度卢度卢·罚阇耶帝。摩诃罚 กี ลู กี ลู กิด มง / ตู ลู ตู ลู ฟา แซ แย ตี / หม่อ ฮอ ฟา 17


阇耶帝。陀啰陀啰。地唎尼。室佛啰耶。遮啰遮 แซ แย ตี ทอ ลา ทอ ลา ตี ลี นี สิก ฟู ลา แย / แจ ลา แจ 啰。么么·罚摩啰。穆帝隶。伊醯伊醯。室那室 ลา • มอ มอ ฟา มอ ลา / หมก ตี ลี อี ซี อี ซี / สิก นอ สิก 那。阿啰嘇·佛啰舍利。罚娑罚嘇。佛啰舍耶。 นอ / ออ ลา เซียง ฟู ลา แซ ลี / ฟา ซอ ฟา เซียง ฟู ลา แซ แย / 呼卢呼卢摩啰。呼卢呼卢醯利。娑啰娑啰。悉唎 ฟู ลู ฟู ลู มอ ลา ฟู ลู ฟู ลู ซี ลี ซอ ลา ซอ ลา / สิก ลี 悉唎。苏嚧苏嚧。菩提夜·菩提夜。菩驮夜·菩 สิก ลี / ซู ลู ซู ลู / ผู่ ที แย ผู่ ที แย ผู่ ทอ แย ผู่ 驮夜。弥帝利夜。那啰谨墀。地利瑟尼那。婆夜 ทอ แย / มี ตี ลี แย นอ ลา กิน ซี / ตี ลี สิก นี นอ ผ่อ แย 摩那。娑婆诃。悉陀夜。娑婆诃。摩诃悉陀夜。 มอ นอ ซอ ผ่อ ฮอ เสิด ถ่อ แย ซอ ผ่อ ฮอ / หม่อ ฮอ เสิด ทอ แย 娑婆诃。悉陀喻艺。室皤啰耶。娑婆诃。那啰谨 ซอ ผ่อ ฮอ / เสิด ทอ ยี อี สิด พัน ลา แย • ซอ ผ่อ ฮอ นอ ลา กิน 墀。娑婆诃。摩啰那啰。娑婆诃。悉啰僧·阿穆 ซี ซอ ผ่อ ฮอ / มอ ลา นอ ลา ซอ ผ่อ ฮอ / เสิด ลา เจง ออ หมก 佉耶。娑婆诃。娑婆摩诃·阿悉陀夜。娑婆诃。 แค แย ซอ ผ่อ ฮอ / ซอ ผ่อ มอ ฮอ ออ เสิด ทอ แย ซอ ผ่อ ฮอ / 者吉啰·阿悉陀夜。娑婆诃。波陀摩·羯悉陀夜。 แจ กิด ลา ออ เสิด ทอ แย • ซอ ผ่อ ฮอ ปอ ทอ มอ กิด เสิด ทอ 娑婆诃。那啰谨墀·皤伽啰耶。娑婆诃。摩婆利· แย ซอ ผ่อ ฮอ / นอ ลา กิน ซี พัน แค ลา แย ซอ ผ่อ ฮอ มอ 胜羯啰夜。娑婆诃。南无喝啰怛那·哆啰夜耶。南 พอ ลี เซง กิด ลา แย ซอ ผ่อ ฮอ / น�ำ มอ ห่อ ลา ตัน นอ ตอ ลา 无阿利耶。婆嚧吉帝。烁皤啰夜。娑婆诃。唵·悉 แย แย / น�ำ มอ ออ ลี แย พอ ลู กิด ตี / ชอ พัน ลา แย ซอ ผ่อ 殿都。漫多啰。跋陀耶。娑婆诃。 ฮอ / งัน สิต ติน ตู • มัน ตอ ลา • ปัด ถ่อ แย • ซอ ผ่อ ฮอ • 18


19


20


往生咒

จุติสุขาวดีธารณี

南无阿弥多婆夜。哆他伽多夜。哆地夜他。阿弥利 น�ำ มอ ออ มี ตอ พอ แย / ตอ ทอ แค ตอ แย ตอ ตี แย ทอ ออ มี 都婆毗。阿弥利哆。悉耽婆毗。阿弥唎哆。毗迦兰 ลี ตู พอ พี / ออ มี ลี ตอ เสิด ต�ำ พอ พี ออ มี ลี ตอ พี 帝。阿弥唎哆。毗迦兰多。伽弥腻。伽伽那。枳多 เกีย หลั่น ตี / ออ มี ลี ตอ พี เกีย หลั่น ตอ แค มี ยือ แค แค 迦利娑婆诃。(三遍) นอ จือ ตอ เกีย ลี ซอ พอ ฮอ ( 3 จบ )

21


三皈依

บทไตรสรณะคมน์

พระพุทธเจ้า , พระธรรม , พระอริยสงฆ์สาวก เป็นที่พึ่งอันเกษมสูงสุดของข้าพเจ้า ไม่มีที่พึ่งใดประเสริฐเสมือนพระรัตนตรัย 自皈依佛,当愿众生,体解大道,发无上心; จื่อ กุย อี ฟู ตง ยง จง เซง ที ไก ไต เตา ฝัด บู เซียง ซิม (礼僧) (กราบ) 自皈依法,当愿众生,深入经藏,智慧如海; จื่อ กุย อี ฝับ ตง ยง จง เซง ชิม ยิบ เกง จัง จี ฟุย ยี ไฮ (礼僧) (กราบ) 自皈依僧,当愿众生,统理大众,一切无碍,和南圣众 จื่อ กุย อี เจ็ง ตง ยง จง เซง ทง ลี ไต จง อี ไช บู ไง ฮอ น�ำ เซง จง (礼僧) (กราบ)

22


三宝忏悔文

บทขมากรรมพระรัตนตรัย 往昔所造诸恶业 อ๊วง ซิก ซ้อ เจ้า จู ออก เงียบ 从身语意之所生 ชง เซง งี อี จือ ส่อ เซง

皆由无始贪嗔痴 ไก อิว บู ซี ท�ำ จิน ชี 今对佛前求忏悔 กิม ตุย ฟู เชียน คิ้ว ฉ�่ำ ฟุย

师父忏悔文

บทขมากรรมซือหู 往昔所造诸恶业 อ๊วง ซิก ซ้อ เจ้า จู ออก เงียบ 从身语意之所生 ชง เซง งี อี จือ ส่อ เซง

皆由无始贪嗔痴 ไก อิว บู ซี ท�ำ จิน ชี 今对师父求忏悔 กิม ตุย ซือ หู คิ้ว ฉ�่ำ ฟุย

父母恩人忏悔文

บทขมากรรมบิดามารดาผู้มีพระคุณ 往昔所造诸恶业 อ๊วง ซิก ซ้อ เจ้า จู ออก เงียบ 从身语意之所生 ชง เซง งี อี จือ ส่อ เซง

23

皆由 无始贪嗔痴 ไก อิว บู ซี ท�ำ จิน ชี 今对父母恩人求忏悔 กิม ตุย แป๋ บ้อ อึง ยิ้ง คิ้ว ฉ�่ำ ฟุย


24


大 ต๊า 大 ต๊า 大 ต๊า 德 เต้ก 德 เต็ก 德 เต้ก 願 ย้ง 我 ง้อ 願 ย้ง 受 เซ่า 三 ซ�ำ 受 เซ่า

大 ต๊า 大 ต๊า 大 ต๊า 德 เต็ก 德 เต้ก 德 เต็ก 我 ง้อ 願 ย้ง 我 ง้อ 再 ใจ้ 受 เซ่า 求 คิ้ว

此 ชื่อ 求 คิ้ว 此 ชื่อ 求 คิ้ว 此 ชื่อ 出 ฉู 染 หยิม 出 ฉู 染 หยิม 出 ฉู 染 หยิม 家 กา 衣 อี 家 กา 衣 อี 家 กา 衣 อี เห ล่ง 我 หง่อ 得 เต้ก

25

เห ล่ง 我 หง่อ 得 เต้ก

令 เหล่ง

出 ฉู 家 กา

出 ฉู 家 กา

出 ฉู 家 กา

我 หง่อ 得 เต้ก


大 ต๊า 大 ต๊า 大 ต๊า 德 เต็ก 德 เต็ก 德 เต็ก 我 ง้อ 我 ง้อ 我 ง้อ 願 ย้ง 令 กิ๊ม 願 ย้ง 依 อี๊ 佛 ฟู๊

大 ต๊า 大 ต๊า 大 ต๊า 德 เต็ก 德 เต็ก 德 เต๊ก 我 ง้อ 我 ง้อ 我 ง้อ 令 กิ๊ม 願 ยง 令 กิ๊ม 依 อี๊ 佛 ฟู้

家 กา

家 กา

家 กา

求 คิ้ว 得 เต็ก

求 คิ้ว 得 เต็ก

求 คิ้ว 得 เต้ก

皈 กุย 依 อี

之 จือ 佛 ฟู้ 法 ฝับ 法 ฝับ 法 ฝับ 法 ฝับ 僧 เจง 求 คิ้ว 僧 เจง 求 คิ้ว 僧 เจง 求 คิ้ว 得 เต้ก 得 เต้ก 得 เต็ก 出 ฉู 出 ฉู 出 ฉู

近 ขิน 圓 ยง

近 ขิน 圓 ยง

近 ขิน 圓 ยง

剃 度 文 บทพระพุทธมนต์บรรพชาสามเณร

三 ซ�ำ 依 อี๊ 再 ใจ้ 皈 กุย 佛 ฟู๊ 皈 กุย 之 จือ 依 อี 之 จือ 依 อี๊ 法 ฝับ 佛 ฟู๊ 法 ฝับ 佛 ฟู๊

* บทพระพุทธมนต์ ให้อ่านจากหน้าขวาไปหน้าซ้าย และเริ่มอ่านจากแถวขวามาแถวซ้าย ไร่จากบนลงมาล่าง 26


我 ง๊อ

盡 จิน 盡 จิน 盡 จิน

南 หน�่ำ 大 ต๊า

大 ต๊า

大 ต๊า

隨 ซุ๊ย

壽 ซาว 壽 ซาว 壽 ซาว

我 ง๊อ

我 ง๊อ

我 ง๊อ

出 ฉู

依 อี๋

再 ใจ้

乞 คึก

今 กิ๊ม 形 เห้ง 形 เห้ง 形 เห้ง 無 มอ

德 เต๊ก

佛 ฟู๊

今 กิ๊ม

家 กา

皈 กุ๊ย 皈 กุ๊ย 皈 กุ๊ย 如 ยี่ 依 อี๋

依 อี๋

僧 เจง 法 ฝับ 佛 ฟู

來 ไล 應 ยิ้น 供 กง

正 จิ้น 等 ตัง

正 จิ้น

覺 กก 世 ซือ

尊 จุน 三 遍 3

จบ

27

三 ซ�ำ

乞 คึก 求 คิ้ว

皈 กุ๊ย 依 อี๊

及 กิบ 十 สิบ

德 เต๊ก 德 เต๊ก 今 กิ๊ม 乞 คึก 求 คิ้ว

皈 กุ๊ย 依 อี๊

及 กิบ 十 สิบ

今 กิ๊ม 求 คิ้ว

皈 กุ๊ย 依 อี๊

及 กิบ

十 สิบ 學 หอก

學 หอก 學 หอก 事 ซือ 事 ซือ 事 ซือ


從 ช้ง

往 อ๊วง

從 ช้ง

往 อ้วง 從 ช้ง

往 อ้วง

語 งี๊

所 ซ้อ

語 งี้

所 ซ้อ

所 ซ้อ

之 จื้อ

諸 จู้

身 เซ้ง 昔 ซิ๊ก 意 อี้

所 สอ

造 เจ๊า 惡 ออก

身 เซ้ง 意 อี้

之 จือ

所 สอ

生 เซง 業 เหงียบ 生 เซง 一 อี 切 ไช

皆 ไก๊

由 อิ๊ว

無 บู่ 根 เกิน 始 ชี้ 罪 จุ๊ย

貪 ท�่ำ 懺 ฉ�ำ 瞋 จิ๋น 侮 ฟุย 痴 ชี 皆 ไก้

一 อี๊

切 ใช้

罪 จุ๊ย

昔 ซิก

身 เซ้ง

造 เจ้า

意 อี้

諸 จู้

悔 ฟุย

之 จือ

惡 ออก 所 สอ

業 เงียบ 生 เซง

皆 ไก้

由 อิว 無 บู่

障 เจียง 始 ซี 皆 ไก้ 貪 ท�ำ 懺 ฉ�ำ

語 งี้

瞋 จิ่น 痴 ชี

昔 ซิก

造 เจ้า 諸 จู้

惡 ออก

業 เงียบ

對 ตุ๊ย

皆 ไก้ 由 อิว

求 คิ้ว 懺 ฉ�ำ

貪 ท�ำ 瞋 จิ่น

今 กิ๊ม

無 บู่ 前 เชียน 始 ซี 佛 ฟู๊

悔 ฟุย

痴 ชี

28


普 โพว

摩 หม่อ 大 ตา

供 กง

般 ปอ

同 ถง

詞 ฮอ

養 เอียง 若 แย 若 หยก 飯 ฝัน

波 ปอ

悲 ปี

世 ซือ

音 อิม

羅 หล่อ 菩 ผู่

薩 สัก

時 ซือ

三 ซ�ำ

諸 จู

當 ตง

六 ลิ่ว

菩 ผู่

眾 จ้ง

味 มี

生 เซง

供 กง

禪 ซิม

及 กิบ

悅 หยุย 為 ไหว

佛 ฟู

僧 เจ็ง

食 เส็ก

法 ฝับ

法 ฝับ

有 เหย่า

喜 ฮี

充 ฉง

滿 มูน

29

界 ไก

情 เช็ง

殊 ซู

師 ซือ

利 หลี่ 菩 ผู่

薩 สัก

極 เกก 千 เชียน 供 กง 樂 ลก

百 ปัก

養 เอียง

界 ไก

化 ฟา

淨 เจ็ง

世 ซือ

阿 ออ 彌 มี

陀 ทอ 佛 ฟู

億 อี

身 เซง

釋 เส็ก

迦 เกีย 牟 เมา 尼 นี

尊 จุน

大 ตา

十 สิบ

薩 สัก

普 โพว

三 ซ�ำ

當 ตง

一 อี

下 เหี่ย

行 ฮัง

方 ฟัง

摩 หม่อ 賢 เหี่ยง 世 ซือ 詞 ฮอ

薩 สัก

菩 ผู่

薩 สัก

切 ใช้ 諸 จู

佛 ฟู

佛 ฟู

清 เช็ง 法 ฝับ

身 เซง 昆 พี 盧 ลู

遮 แจ๋

那 หน่อ 佛 ฟู

來 ไล้

圓 ยง

生 เซง

報 เปา

彌 มี

勤 เล็ก 尊 จุ่น 佛 ฟู

滿 มูน

身 เซง 盧 ลู

舍 แซ

那 หน่อ 佛 ฟู

早 午 斋 文 บทพระพุทธมนต์ก่อนฉันข้าว

願 หยง

得 เต็ก

智 จี้

觀 กวน 文 บุน

密 มิก

食 เส็ก

大 ตา


慈 ชื่อ

上 เซี้ยง 我 ง้อ

愍 หมิง 仁 ยิ้ง 能 เหน่ง 故 กู 下 ฮา 特 ที้ 意 อี่ ตอบรับ 30 ครั้ง

慈 ชื่อ 為 ไว้ 愍 หมิง 本 ปุ๋น 故 กู 師 ซือ 大 ต๊า 慈 ชื่อ

如 ยี่ 來 ไล

愍 หมิง 故 กู 至 จี้ 真 จิ้น 三 遍

3

จบ

等 ตัง 正 จิ้น

覺 กก 是 ซื่อ 我 หงอ 世 ซื่อ 尊 จุน

皈 กุ้ย 慈 ชื่อ

上 เซี้ยง

今 กิม 依 อี้ 愍 หมิง 仁 ยิ้ง 隨 ซุย 佛 ฟู 故 กู 下 ฮา 佛 ฟู 竟 เก็ง 意 อี่ 出 ฉู 慈 ชื่อ 為 ไว้

家 กา 皈 กุ้ย 愍 หมิง 本 ปุ๋น 巳 อี 依 อี้ 故 กู 師 ซือ 法 ฝับ 竟 เก็ง 大 ต๊า 如 ยี่ 慈 ชื่อ 來 ไล 皈 กุ้ย 愍 หมิง 依 อี้ 故 กู 僧 เจง 竟 เกง

三 三 遍 3

จบ

3

จบ

至 จี้ 真 จิ้น 等 ตัง 正 จิ้น

覺 กก 是 ซื่อ 我 หงอ 世 ซื่อ 尊 จุน

30


飯 ฟัน

所 ซอ

提 ที

颯 สัก

我 งอ

稽 ใค

已 อี้

布 ปู

婆 ผ่อ 喃 น�ำ

稱 เชง

皈 กุย

食 เส็ก 謂 ไว

訖 หงึก 施 ซือ

者 แจ

詞 ฮอ

三 ซ�ำ

今 กิม 讚 จัน 大 ตา

願 หยง 必 ปิก

เมีย 準 จุ่น ว 三 ซ�ำ 提 ที

生 เซง

陀 ทอ

當 ตง 眾 จง

作 จก 皆 ไก๊

藐 擭 หวัก 其 คี

利 หลี่ 益 แย

俱 กี

若 หยก

喃 น�ำ

辨 ปาน 為 ไว 具 กี 諸 จู

佛 ฟู

法 ฝับ

菩 ผู่

胝 จือ

樂 หลก

怛 ตัน

施 ซือ

他 ถ่อ

布 ปู่

後 เฮา 必 ปิก

得 เต็ก

安 อ่อน

樂 หลก

姪 จิต 唵 งัน 折 จี๊

戾 ลี 主 จู

戾 ลี

準 จุน

首 เซา 依 อี 蘇 ซู

悉 เสิด 帝 ตี

惟 ไว

頭 เทา

慈 ชือ

頂 เตง

願 ยง 悲 ปี

垂 ซุย

面 เมง 禮 ลี

七 ฉิก

加 เกีย 俱 กี 護 ฟู

胝 จือ

结 斋 文 บทพระพุทธมนต์หลังฉันข้าว

所 ชอ

31

娑 ซอ 哆 ตอ


沙弥戒

ศีลสามเณร 10 ข้อ

1. 不杀生 2. 不偷盗 3. 不淫

: ปาณาติปาตา เวระมะณ

เว้นจากท�ำลายชีวิต

: อะพรหมฺจริยา เวระมณี

เว้นจากล่วงประเวณี

: อะทินนาทานา เวระมะณี เว้นจากลักขโมย

: มุสาวาทา เวระมะณี เว้นจากพูดเท็จ ส่อเสียด ค�ำหยาบ เพ้อเจ้อ

4. 不妄语

: สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี เว้นจากของมึนเมา สิ่งเสพติด และการพนัน

เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล

5. 不饮酒

6. 不非时食:วิกาละโภชะนา เวระมะณี 7. 不歌舞唱伎亦不往观听

:นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา เวระมะณี เว้นจากการฟ้อนร�ำขับร้อง, ประโคมดนตรี, ดูมหรสพ, ดูกระบวนทัพ

8. 不着花鬘好香涂身

:มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี เว้นจากการประดับร่างกายด้วยดอกไม้ , ของหอม , เครื่องประดับ

9 不坐卧高广大床: อุจฺจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี

เว้นจากการนั่งหรือนอนบนเตียงตั่งที่หรูหราดั่งบัลลังก์และสูงเกินศอกพระสุคต

10. 不捉持金银宝物: ชาตรูปะระชะตะปะฏิคฺคะหะณา เวระมะณี

เว้นจากการรับเงินและทอง

32


1.

礼佛方法

礼佛,就是向佛礼拜,是忏悔吾人所造之业 , 以为靡然障消灾增加福慧的殊胜法门,妙法莲华 经方便品中告诉我们:这些都可以成佛道,其中 以跪 拜 礼 佛 的 功 德 最 大 。

การกราบนมัสการ คือ การถวายความเคารพด้วยศรัทธาบูชาต่อพระพุทธเจ้า เป็นการขอขมาในกรรมทั้งหลายที่กระท�ำ และเป็นไปเพื่อการน้อมกายถวายใจต่อ พระพุทธเจ้า ถือเป็นวิธีการสร้างบุญอย่างหนึ่งพระศาสนา มีข้อความส�ำคัญตอน หนึ่งในพระคัมภีร์สัทธรรมปุณฑริกสูตรกล่าวว่า “อาศัยวิธีการเหล่านี้ย่อมมีอานิสงส์ ให้ได้ถึงการบรรลุมรรคผลได้ หนึ่งในนั้นคือกุศลอันมากประมาณจากการคุกเข่ากราบ นมัสการพระพุทธเจ้า” การกราบนมัสการพระนัน้ เรามักคุน้ เคยกับการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ อย่างเถรวาท คือการคุกเข่าแบบเทพบุตร พนมมือ ล�ำตัวตั้งตรง แล้วกราบลงให้ 5 ส่วนของร่างกายสัมผัสพื้น ส�ำหรับศาสนาพุทธฝ่ายมหายานจีนนิกายนั้น มีการกราบ นมัสการที่เป็นเอกลักษณ์ สง่างาม แสดงออกซึ่งศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า มีความ คล้ายคลึงกับตอนท้ายของการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ แต่เริ่มต้นด้วยการยืน เพื่อกราบ มิได้นั่งท่าเทพบุตรแล้วกราบ สาเหตุที่ศาสนาพุทธฝ่ายมหายานจีนนิกาย ยืนเพื่อกราบนั้น เป็นเพราะในประเทศจีนมีอากาศที่หนาวมากไม่สามารถนั่งกระโย่ง กราบได้ ในการกราบนมัสการนั้นมีวิธีและรายละเอียดที่งดงาม เป็นการแสดงออกซึ่ง ความนอบน้อมด้วยกาย วาจา ใจ โดยนักเรียนสามารถศึกษาจากวิธีตามภาพ ดังนี้

33


ภาพแสดง 8 ขั้นตอนการกราบนมัสการพระ

34


2. 闻讯 หมึ่งสิ่ง เป็นคารวะวิธีที่ส�ำคัญลักษะหนึ่ง เกี่ยวเนื่องในช่วงก่อนและหลังการกราบ นมัสการพระ เพื่อง่ายต่อการเข้าใจ เราอาจเรียก หมึ่งสิ่ง ว่า การพนมมือโค้งค�ำนับ (จีนแต้จิ๋ว เรียกว่า “หมึ่งสิ่ง” จีนกลางเรียกว่า “เวิ่น – ซวิ้น”) ช่วงต้นทีพ่ ระพุทธศาสนามหายานเผยแผ่เข้าไปในประเทศจีน ราว พ.ศ. 610 คณะสงฆ์ในสมัยนั้นได้ประยุกต์เอาลักษณะท่าทาง “การโค้งค�ำนับเพื่อเรียนถาม อาจารย์ของบัณฑิตลัทธิขงจือ้ ” มาผนวกเป็นส่วนหนึง่ ในคารวะวิธขี องพระพุทธศาสนา มหายานในประเทศจีน จึงมีการปฏิบัติเช่นนี้สืบทอดต่อกันมา วิธีการ หมึ่งสิ่ง นั้น ควรยืนตรง พนมมือระดับอก แล้วโค้งค�ำนับลง 90 องศา ค้างไว้สักครู่ แล้วจึงเงย ขึ้นมาสู่สภาพเดิม 3. 上香方法 การจุดธูปบูชาพระ ธูป คือเครือ่ งหอมทีใ่ ช้จดุ บูชาพระ โดยปกติจะจุด 3 ดอก หมายถึงการ บูชาพระพุทธคุณ 3 ประการของพระพุทธเจ้า คือ พระปัญญาคุณ พระกรุณาธิคณ ุ และ พระบริสุทธิคุณ ศาสนาพุทธฝ่ายมหายานจีนนิกายให้ความส�ำคัญกับการบูชาด้วยธูป โดยเฉพาะการจับประคองธูปถวายอธิษฐานภาวนา ต้องล้างมือให้สะอาด เวลาจุด ธูป หากมีเปลวไฟห้ามใช้ปากเป่าเด็ดขาด ขณะถวายธูปต้องใช้มอื ขวาทับซ้ายลักษณะ คล้าย การวางมือขณะนั่งสมาธิ แต่ให้คว�่ำลง ชูในต�ำแหน่งระหว่างคิ้ว น�ำธูปสอดระหว่าง นิ้วชี้-นิ้วกลาง ทั้งซ้ายและขวา โดยประสาน นิ้วโป้งเป็นฐานรองรับ เอียงธูป 45 องศา และ อธิษฐานด้วยค�ำภาวนาว่า “愿以此香花 云、供养南无十方诸佛菩萨、

上 师三 宝 。 หง่วง อี ชือ เฮียง ฮวย ฮุ้ง ก้ง

เอีย๋ ง น�ำ มอ จับ ฮึง จู ฮุก ผู่ สัก เสีย่ ง ซือ ซ�ำ ป้อ” 35


佛门用语 ค�ำศัพท์ที่ใช้ในวัด (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) 佛祖 菩萨 顶礼 诸位 师伯 师父 师叔 师兄 师弟 早课 晚课 念佛 拜佛 闻讯 五观堂 供佛 忏悔 经堂 袈裟 袍(海清) 衣 衫裤 用斋 供养 跪

หุก – โจ้ว ผู่ - สัก เต่ง - ลี่ จู - อุ่ย ซือ – แปะ ซือ – หู ซือ – เจ็ก ซือ – เฮีย ซือ – ตี๋ จ๋า - ข่วย หมึ่ง – ข่วย เหนี่ยม - ฮุก ไป้ - ฮุก หมึ่ง - สิ่ง โง่ว - กวง – ตึ๊ง ก้ง – ฮุก ช�่ำ - ห่วย เก็ง – ตึ๊ง แก - แซ เพ้า / ไฮ่ แช อี ซา - โข่ว ก้ง - แจ ก้ง - เอี๋ยง กุ๋ย

พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ กราบนมัสการ (พระผู้ใหญ่) ทุกท่าน พระอาจารย์ลุง (ศิษย์ผู้พี่ของอุปัชฌาย์) พระอาจารย์ผู้เป็นเจ้าอาวาส / อุปัชฌาย์ พระอาจารย์อา (ศิษย์ผู้น้องของอุปัชฌาย์) ศิษย์ผู้พี่ ศิษย์ผู้น้อง ท�ำวัตรเช้า ท�ำวัตรเย็น สวดภาวนา ไหว้พระ การพนมมือโค้งค�ำนับ หอฉัน ถวายพุทธบูชา ขอขมา การเข้าเรียนมนต์ จีวร ชุดคลุมพิธีการ ผ้าสังฆาฏิพระสงฆ์ เสื้อ-กางเกง ฉัน (อาหาร/เครื่องดื่ม) ถวาย คุกเข่า

36





































Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.