รม
ธรรมจริยา 伦理道德
ธรรมจริยา ฉบับที่ 6 ปีที่ 3 ประจำ�เดือนเมษายน-มิถุนายน 2557
戒
定
2014年四月至六月第三年度第六期
慧
“การสร้างสรรค์แผ่นดินไทยให้เป็นแผ่นดินทอง หรือการช่วยตัวเองในปัจจุบันนี้ เห็นว่าจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำ�ความสงบให้เกิดขึ้นก่อนโดยเร็ว เพราะถ้าความสงบยังไม่เกิด เราจะคิดอ่านแก้ปัญหาหรือจะรวมกำ�ลังกันทำ�การงานช่วยตัวเองไม่ได้ ความสงบนั้น ภายนอกได้แก่ สภาวะอันเรียบร้อยเป็นปกติไม่มีความวุ่นวายขัดแย้ง ไม่มีการเอารัดเอาเปรียบเบียดเบียนหรือมุ่งร้ายทำ�ลายกัน ภายในได้แก่ ความคิดจิตใจที่ไม่ฟุ้งซ่าน หวั่นไหว หรือเดือดร้อนกระวนกระวาย ด้วยอำ�นาจความมักได้เห็นแก่ตัว ความร้ายกาจเพ่งโทษ ความหลงใหลเห่อเหิมอันเป็นต้นเหตุของอกุศลทุจริตทั้งหมด การทำ�ความสงบนั้นต้องเริ่มที่ภายในตัวในใจก่อน” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ : ที่ประชุมยุวพุทธิกสมาคมทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑๘ ๓๑ มกราคม ๒๕๓๐
ขอเชิญรวมทําบุญทิ้งกระจาดมหาทาน ประจําป 2557 本寺農曆七月初六至初八日舉行常年盂蘭勝會超度儀式 敬請各界善信居士 共結佈施功德
รวมถวายขาวสารอาหารแหง เพื่อแจกทานแกผูยากไร 1-3 สิสิงงหาคม วัวันนทีที่ ่ 1-3 หาคม 2557 2557
วันที่ 24 สิงหาคม 2557 วันประสูติพระกษิติครรภโพธิสัตว (ตี่จั่งอวงผูสัก) ถวายมหาสังฆทาน
无
就算
น
ก)
师父教导
คำ�สอนหลวงพ่อ 如果心存菩提
无论在哪里我们都像在寺庙的道场一样 如果心无菩提 就算在漂亮的大殿里内心也不会生起善德心
ถ้าจิตใจมีพุทธะอยู่ที่ไหนก็เหมือนอยู่ในพุทธสถาน ถ้าจิตใจปราศจากพุทธะแล้วแม้อยู่ในวิหาร อันงามวิจิตรก็ปราศจากจิตอันเป็นกุศล
พระเดชพระคุณพระคณาจารย์จีนธรรมปัญญาจริยาภรณ์ (ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อเย็นเชี้ยวซือหู)
荣誉顾问主席 ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ 上
仁 下 晁 大 和 尚 พระคณาจารย์จีนธรรมปัญญาจริยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดมังกรกมลาวาส ผู้สถาปนาและรักษาการวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ฯ
顾 问 主 席 ประธานที่ปรึกษา 释
圣
慈 หลวงจีนปลัดวิศิษฏ์ พูลศิริวิทย์
释
圣
财 หลวงจีนวินัยธรศิริชัย ภมรศิลปธรรม
释
圣
感 หลวงจีนศุภชัย โคตรสมบัติ
释 释
圣 圣
日 หลวงจีนสุริยันต์ อุทธา 敬 หลวงจีนจันทร์แก้ว วงศ์ชัย
总 编 辑 บรรณาธิการบริหาร
วารสารธรรมจริยา ฉบับที่ 6
副 总 编 辑 รองบรรณาธิการบริหาร 编 辑 部 กองบรรณาธิการ 作 释 释 林 李 邱 林
圣 圣 齐 玛 水 美
者 นักเขียนกิตติมศักดิ์ 量 淑 荣 理 莲 麗
หลวงจีนธวัชชัย แก้วสิงห์ หลวงจีนภานุวัฒน์ เลิศประเสริฐพันธ์ อ.เศรษฐพงษ์ จงสงวน ลดาวัลย์ กาญจน์ธีรโชติ อ.ธัญธารีย์ วชิรไกรพัฒน์ ดร.ธัญยากร อัญมณีเจริญ อ.สิริชัย ตันทรงเจริญ ระวี สุขสวัสดิ์
交 际 部 สมาชิกสัมพันธ์
治 พรชัย นันทธรรมชัย
文
图 释 清
圣
像 บรรณาธิการภาพ
温 หลวงจีนเมธา อรรถวิโรจน์กุล 官 อ.เฉลิมชัย วัฒนศักดิ์ศิริ
文 字 校 正 พิสูจน์อักษร 释 張
圣 卓
台 หลวงจีนวีระพงษ์ ปาสานนท์ 生 อ.พิชัย ธีรธรรมเสถียร
电 脑 处 理 คอมพิวเตอร์กราฟฟิก 明
丰 ศตพล สว่างแสง
จัดทำ�โดย ฝ่ายสารสนเทศวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ฯ
เลขที่ 75 หมู่ 4 ต.โสนลอย อ.บางบัวทองจ.นนทบุรี 11110 โทรศัพท์ 02-5711155 แฟกซ์ 02-9202131 เว็บไซต์ : http//watboromracha.com อีเมล์ : lengnoeiyi2@gmail.com : Dammajariya@gmail.com,www.facebook.com/ธรรมจริยา จัดพิมพ์โดย : สำ�นักพิมพ์ธรรมจริยา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเผยแผ่คำ�สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 2. เพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน 3. เพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมอันดีงาม 4. เพื่อใช้แสดงความคิดเห็นผลงานของภิกษุสามเณร 5. เพื่อแสดงกิจกรรมต่างๆภายในวัด โรงเรียน ชุมชน 6. เพื่อส่งเสริมการรักการอ่าน
宗旨
宣扬大成佛教 研习大乘佛理 提倡道德礼义 能对僧侣提良好建议 记叙本寺本校及附近活动情况 培养阅读习惯
目录
สารบัญ พุทธมหายาน พระไภษัชยคุรุไวฑูรย์พุทธเจ้า
8
โอวาทธรรม 14 วันเข้าพรรษา 2557 ศาสนพิธีมหายาน พิธีขอขมากรรมเจ้ากรรมนายเวร 16
8
ข่าวประจำ�ฉบับ สวดมนต์ข้ามปี 2556
22
งานบุญมหายาน 36 ประจำ�เดือนเมษายน-มิถุนายน ตำ�นานแห่งศรัทธา เทพเจ้าไท้อิม-ไท้เอี๊ยง 38
16
เรื่องจากปก ตำ�นานพระถังซำ�จั๋ง 44 นมัสการพระวัดจีน วัดโพธ์ิแมนคุณาราม
54
ห้องครัววัดบรมฯ ขนมบ๊ะจ่างเจ 60 44
目录
สารบัญ เรียนรู้ประเพณีจีน เทศกาลหยวนเซียว(เทศกาลโคมไฟ) 62 เกร็ดความรู้มหายาน พระสูตรสำ�คัญมหายาน 2 (ต่อ) 66 กิ่งหลิว หนทาง 72
62
66
ทำ�ไมต้องธรรม ความเห็นผิด คือ..... 74 แพทย์แผนจีน ปวดฟัน
76
อยู่ อย่าง สุข สัมพันธ์ดีมีสุข
78
อาหารใจ ความหวังที่ไม่มีความพยายาม 80 ศิลป์ มี ธรรม
82 ไม่ไกล้ไม่ไกล วัดไทรใหญ่ จ.นนทบุรี 84
84
编辑的活 จากบรรณาธิการ
เข้าสู่ไตรมาสที่สองของปี และเข้าสู่ไตรมาสแห่งพรรษา ของพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน โดยปกติการเข้าจ�ำพรรษาของ ฝ่ายมหายานนัน้ จะเข้าก่อนทางฝ่ายเถรวาทประมาณหนึง่ เดือน ซึง่ เป็นการนับแบบจันทรคติจนี จะมีพธิ ปี วารณาตนขมากรรม ต่อพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณอาจารย์ ( ซือหู ) ขมากรรมซึ่ง กันและกันในหมู่สงฆ์ รับฟังธรรมโอวาท เป็นแนวทางปฏิบัติ อันท�ำให้เกิดความสามัคคีธรรม เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อ เกิดความสงบเรียบร้อย การปฏิบัติทุกสิ่งทุกอย่างหากไร้ซึ่งความเสียสละ ไร้ซึ่ง ความมีน�้ำใจให้กันและกันแล้วย่อมท�ำให้เกิดความส�ำเร็จได้ ยาก และหากการปฏิบัติหรือการอยู่ร่วมกันด้วยความมีน�้ำใจ มีเมตตากรุณาต่อกัน ย่อมยังความส�ำเร็จและมีความสุขมาสู่ หมู่คณะนั้นโดยง่าย ความทุกข์และสุขจะเกิดขึ้นและอยู่กับเรา นานหรือสั้นนั้น อยู่ที่ท่านทั้งหลายจะยังยึดติดหรือปล่อยวาง สิ่งเหล่านั้นได้มากน้อยเพียงใด สุดแล้วแต่พิจารณาอันเป็นสิ่ง ปรารถนาของท่าน ขอให้ทุกท่านรักษากาย วาจา ใจ ให้เป็น ปกติสุข ทุกๆท่านเทอญ เจริญพร บรรณาธิการบริหารวารสารธรรมจริยา
大乘佛史 พุทธมหายาน
南無消災𨒂壽藥師佛
พระไภษัชยคุรุไวฑูรย์พุทธเจ้า 8
ธรรมจริยา 5
พระไภษั ช ยคุ รุ ไ วฑู ร ย์ พุ ท ธเจ้ า ชาวจี น ออกพระนามพระองค์ว่า “เอียะซือ ฮุก ” แปลว่ า พระพุทธเจ้าผู้เป็นครูแห่งยารักษาโรค พระนามเต็ม ของพระองค์คือ พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาส ชาว จีนออกนามพระพุทธเจ้าหรือพระโพธิสตั ว์บา้ งทับศัพท์ บ้างแปลศัพท์ ไม่มหี ลักเกณฑ์แน่นอน แล้วแต่อาจารย์ ที่แปลหรือที่บรรยาย จะใช้อย่างใหนบางองค์ ใช้ทับ ศัพท์และแปลศัพท์พระไภษัชยคุรุเป็นที่นับถืออย่าง แพร่หลายในหมูช่ าวพุทธศาสนามหายาน แต่ไม่มนี กิ าย เป็นของตนเองอย่างพระอมิตาภะพุทธเจ้า ในคัมภีร์พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาสัปตพุทธ ปูรวปณิธานสูตร กล่าวว่าทรงเป็นหนึ่งในพระไภษัชย คุรุทั้ง 7 ทรงมีพระอัครสาวกเบื้องซ้ายและเบื้องขวา คือ พระสุรยิ ประภามหาโพธิสตั ว์และพระจันทรประภา มหาโพธิสตั ว์ พระองค์ทา่ นมีหลายอย่าง ทีค่ ล้ายกับพระ อมิตาภะพุทธเจ้า เช่น มีพุทธเกษตรของพระองค์เช่น เดียวกับแดนสุขาวดีของพระอมิตาพุทธเจ้า ชือ่ ว่า ศุทธิ ไวฑูรย์พุทธเกษตร(淨琉璃世界) ใน “ไภษัชยคุรุ
ไวฑูรยประภาตถาคตมูลปณิธานสูตร” ได้แสดงไว้วา่ “นับพุทธเกษตรตั้งแต่ สหโลกธาตุไปทางมณฑล หนทางทิศบูรพา(ทิศตะวันออก) มีโลกธาตุหนึง่ นาม ว่า ศุทธิไวฑูรย์พุทธเกษตร เป็นที่ประทับแห่งพระ ผู้มีพระภาคเจ้าอันมีพระนามว่า “พระไภษัชยคุรุ ไวฑูรยประภาตถาคต” ด้วยพระฉัพพรรณรังสีแห่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ยังให้เกิดความ ส�ำเร็จขึ้นแล้ว ทั้งในทางโลกียะและโลกุตระ และ ศุทธิไวฑูรย์พุทธเกษตร แห่งนั้นส�ำเร็จแล้วด้วย แก้วไพฑูรย์” เป็นสถานที่ ที่ซึ่งมีแต่ความสันติสุขน่า รืน่ รมย์เช่นเดียวกับแดนสุขาวดีพทุ ธเกษตร การปฏิบตั ิ ธรรมก็เช่นกัน คือมีการสวดพระนามของพระองค์ ท่านอย่างสม�่ำเสมอ และรักษากุศลกรรมบถ 10 ละ จากอกุศลกรรมบถ 10 เช่นกัน เมื่อถึงแก่กรรม ด้วย พระบารมีพระองค์ท่าน จะเสด็จมารับดวงวิญญาณที่ ปรารถนาไปเกิด ณ ดินแดนพุทธเกษตร เพื่อบ�ำเพ็ญ ตบะ บารมี เพือ่ ให้เข้าสูพ่ ระอนุตตระสัมมาสัมโพธิญาณ แล้วจะไม่มีการเวียนว่ายตายเกิดอีก ธรรมจริยา 5 9
เนื่องจากพระองค์ท่านมีปณิธานที่จะให้สัตว์โลก ทุกรูปทุกนามปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ฉะนั้น ถ้าผู้ใด บูชานมัสการน้อมระลึกสวดพุทธนาม “น�ำ มอ หยก ซือ ลิว ลี กวง ยู ไล 南無藥師琉璃光如來 หรือ น�ำ มอ เซียว ไจ เอียง ซิว หยก ซือ ฟู 南無消 災延壽藥師佛 แปลว่า ขอนอบน้อมแด่พระนิรน ั ตรายจิรายุวัฒนาไภษัชยคุรุพุทธเจ้า” ด้วยอานิสงส์ แห่งการปฏิบตั ซิ งึ่ จะส่งผลให้ผทู้ หี่ มัน่ สวดภาวนา ท�ำให้ ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียน มีจิต และหน้าตาที่ สะอาดผ่องใส หมดจด ไม่มีราคีเศร้าหมอง ผู้ที่ป่วยก็ จะค่อยๆดีขึ้นและหายเร็วขึ้น มีสุขภาพแข็งแรง อายุ มั่นขวัญยืน สมหวังดังปรารถนาทุกประการ พระไภษัชยคุรุไวฑูรยพุทธเจ้าจะประดิษฐานทาง เบื้องซ้ายของพระศากยมุนีพุทธเจ้า ส่วนเบื้องขวา จะเป็นพระอมิตาภพุทธเจ้า วัดใน พระพุทธศาสนา ฝ่ายมหายานนิยมสร้างพระปฏิมาทั้งสามพระองค์เป็น พระประธานประดิษฐานในอุโบสถเพราะพระพุทธ 10 ธรรมจริยา 5
ศาสนาฝ่ายมหายานให้ความส�ำคัญและศรัธาเลือ่ มใสใน พระพุทธอดีตอีกสองพระองค์นี้เป็นอย่างมาก พุทธลักษณะพระปฏิมาของพระองค์นั้นทรงถือ รัตนเจดีย์ หรือบาตรบรรจุทิพยโอสถ หรือ บ้างก็ถือ แจกันในพระหัตถ์ที่ประสานกันในท่าสมาธิ บางแห่ง จะเป็นลักษณะแบพระหัตถ์ขวาออกในกิริยารับดวง วิญญาณไปเกิด ศิลปะทางธิเบตจะทรงถือต้นยาวิเศษ ชือ่ “อคทะ” ซึง่ ถือว่าเป็นยาทีส่ ามารถรักษาโรคได้ทกุ ชนิดและมีความศักดิ์สิทธิ์มาก ส่วนทางจีนนั้นจะทรง ถือเห็ดหลินจือ ซึ่งชาวจีนโบราณเชื่อว่า เห็ดหลินจือ เป็นของหายากที่สุดและเป็นยาอายุวัฒนะของเซียน หากเป็นภาพวาดของธิเบตจะวาดพระวรกายของ พระองค์เป็นสีน�้ำเงินเข้ม และทางด้านประเทศไทย ก็ได้แบบอย่างมาจากพระไภษัชยคุรไุ วฑูรยพุทธเจ้าใน การน�ำมาสร้างเป็นพระกริ่งที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ในวัดต่างๆ และวัตถุประสงค์ในการสร้างก็เพื่อแจก จ่ายให้กับชาวบ้านเพื่อให้เกิดพุทธคุณทางด้านการ รักษาโรค และสุขภาพนั่นเอง พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแก่พระอานนท์ว่า “หากสรรพสัตว์ทยี่ งั มีกรรมหนักอยู่ ได้ยนิ พระนาม ของ พระไภษัชยคุรไุ วฑูรยประภาตถาคตเจ้า ท่อง พระนามนี้ด้วยจิตแน่วแน่ และแนบแน่นอยู่กับ พระนาม โดยไม่มีความเคลือบแคลงสงสัยเลย แม้เพียงหนึ่งเดียวแล้วไซร้ ก็เป็นอันว่าสัตว์เหล่า นั้นจะไม่มีทางจะจมลงสู่อบายภูมิเป็นแน่แท้ ” ดูกรอานนท์ การปฏิบัติอันสูงยิ่งของพระพุทธเจ้าทั้ง หลายเป็นเรื่องที่ยากที่จะเชื่อ ยากที่จะเข้าใจ แต่หาก เธอสามารถมีจิดตั้งมั่นอยู่กับการปฎิบตั ินไี้ ด้ เธอก็จงรู้ เถิดว่า นี่เกิดจากพลังอ�ำนาจอันใหญ่ยิ่งของเหล่าพระ ตถาคตเจ้าทั้งหลาย “เมื่อครั้งพระไภษัชยพุทธเจ้า ยังได้เสวยชาติเป็นพระโพธิสัตว์อยู่นั้น พระองค์ ได้ทรงตั้งปณิธานอย่างยิ่งไว้ 12 ข้อ เพื่อให้ทุกสิ่ง ทุกอย่างที่สัตว์โลกปราถนา
ปณิธานข้อที่ 1 “ข้าฯขอตั้งปณิธานว่าในอนาคตชาติ เมื่อข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว จะมีรังสี อันสว่างเรืองรองฉายออกมาจากร่างของข้าฯ ยังแสง สว่างอันไม่สิ้นสุดให้บังเกิดแก่ดินแดนจ�ำนวนนับไม่ ถ้วน ร่างนีจ้ ะประดับด้วยมหาปุรสิ ลักษณะ 32 ประการ และลักษณะอันเป็นมงคล 80 ประการ ยิ่งไปกว่านั้น ข้าฯจะช่วยให้สตั ว์โลกทัง้ มวลเป็นเหมือนดังเช่นข้าฯนี”้ ปณิธานข้อที่ 2 “ข้าฯขอตัง้ ปณิธานในอนาคตชาติ เมือ่ ข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ร่างของข้าฯทัง้ ภายนอกและภายใน จะส่องแสงไปกว้างไกลด้วยความ ผ่องใสและความใสบริสุทธิ์ของแก้วไพฑูรย์ ร่างนี้จะ ประดับไปด้วยคุณธรรมอัน ประเสริฐและด�ำรงอยูอ่ ย่าง สงบท่ามกลางแสงที่พัวพันกัน สว่างเรืองรองมากกว่า พระอาทิตย์กบั พระจันทร์ แสงนีจ้ ะปลุกให้จติ ของสัตว์ โลกตื่นขึ้นจากความมืด และช่วยให้สัตว์โลกด�ำเนินไป ได้ตามทางการอธิษฐานของตน” ปณิธานข้อที่ 3 “ข้าฯขอตั้งปณิธานในอนาคตชาติ เมื่อข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ข้าฯจะ มอบของดีๆ จ�ำนวนมีไม่จบสิ้นให้แก่เหล่าสรรพสัตว์ เพื่อตอบสนองความต้องการทางร่างกายของพวกเขา เหล่าสัตว์นี้จะไม่มีวันอยากได้อะไรอีกเลย” ปณิธานข้อที่ 4 “ข้าฯขอตัง้ ปณิธานในอนาคตชาติ เมือ่ ข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ข้าฯจะน�ำพา ผู้ที่เดินตามทางของเดียรถีย์นอกศาสนาให้ไปในทางสู่ การตรัสรู้ และข้าฯจะน�ำพาผู้ที่เดินตามทางของสาวก ยานและของพระปัจเจกพุทธเจ้า ให้มาสู่เส้นทางของ มหายาน” ปณิธานข้อที่ 5 “ข้าฯขอตัง้ ปณิธานในอนาคตชาติ เมือ่ ข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ข้าฯจะช่วย เหลือสรรพสัตว์จำ� นวนเหลือคณานับทีป่ ระพฤติตนอยู่ ในธรรม ให้มศี ลี สะอาดบริสทุ ธิ์ ศีลนัน้ ได้แก่ศลี รากฐาน 3 ข้อของพระโพธิสัตว์ แม้แต่ผู้ที่ล่วงละเมิดศีลนี้ก็จะ ได้รบั ความบริสทุ ธิข์ องตนเองกลับมาหากได้ยนิ ชือ่ ของ
ข้าฯ และก็จะไม่ตกลงสู่ทางแห่งอบายต่อไป” ปณิธานข้อที่ 6 “ข้าฯขอตัง้ ปณิธานในอนาคตชาติ เมือ่ ข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว เหล่าสัตว์ที่มี ร่างไม่สมบูรณ์ ประสาทรับรู้ไม่ปกติ รูปร่างน่าเกลียด โง่ ตาบอด ใบ้ หูหนวก พิการ หลังค่อม เป็นขี้เรื้อน เป็นบ้าหรือทุกข์ทรมานด้วยโรคภัยอื่นใด หากได้ยิน ชื่อของข้าฯแล้ว จะมีร่างกายสมบูรณ์ กอปรไปด้วยสติ ปัญญา มีประสาทรับรู้เป็นปกติ สัตว์เหล่านี้จะปลอด จากโรคภัยและความทุกข์ทั้งปวง” ปณิธานข้อที่ 7 “ข้าฯขอตัง้ ปณิธานในอนาคตชาติ เมือ่ ข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว เหล่าสัตว์ที่ ป่วยอยู่ด้วยโรคด้วยโรคต่างๆผู้ซึ่งไม่มีใครช่วยเหลือ ไม่มีทีจะหันไปหา ไม่มีหมอ ไม่มียา ไม่มีครอบครัว ไม่มบี า้ น ผูซ้ งึ่ ยากไร้และทนทรมาน หากได้ยนิ ชือ่ ของ ข้าฯผ่านหูแล้วไซร้ จะหายจากโรคทั้งหลาย ด้วยกาย และใจที่สงบและสันโดษ สัตว์เหล่านี้จะเพลิดเพลิน กับบ้าน ครอบครัว และทรัพย์สมบัติมหาศาล และจะ บรรลุถึงพระอนุตตรสัมโพธิญาณในท้ายที่สุด ปณิธานข้อที่ 8 “ข้าฯขอตัง้ ปณิธานในอนาคตชาติ เมือ่ ข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว หญิงทั้งปวง ที่เบื่อหน่ายกับ “โรคเป็นร้อยๆที่เกิดแก่หญิง” และ ปรารถนาจะหลุดพ้นจากกายอันเป็นหญิงนี้ หากได้ยนิ ชื่อของข้าฯแล้วหญิงเหล่านี้จะบังเกิดใหม่เป็นชายทั้ง สิ้น จะกอปรไปด้วยคุณลักษณะอันประเสริฐ และจะ บรรลุซึ่งพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในท้ายที่สุด” ปณิธานข้อที่ 9 “ข้าฯขอตั้งปณิธานในอนาคตชาติ เมื่อข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ข้าฯจะ ช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้หนีรอดจากบ่วงของมาร และ หลุดออกจากพันธนาการของเส้นทางนอกศาสนา หาก สัตว์เหล่านี้หลงผิดอยู่ในป่าชัฏของมิจฉาทิฏฐิ ข้าฯจะ น�ำพาสัตว์เหล่านัน้ ไปสูส่ มั มาทิฐแิ ละค่อยๆปลูกฝัง การ ปฏิบัติของบรรดาพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย สัตว์เหล่านี้ ธรรมจริยา 5
11
จะบรรลุซึ่งการตร้สรู้อันประเสริฐโดยรวดเร็ว” ปณิธานข้อที่ 10 “ข้าฯขอตั้งปณิธานในอนาคตชาติ เมือ่ ข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว สรรพสัตว์ ทีถ่ กู จองจ�ำ กุมขัง พิพากษาประหารชีวติ หรือต้องทน ทุกข์และถูกดูแคลนอยู่ด้วยโองการของพระราชา รวม ทั้งผู้ที่มีกายและใจเป็นทุกข์อยู่ด้วยการกดขี่ข่มเหง นี้ สัตว์เหล่านี้เพียงแต่ได้ยินชื่อของข้าฯ ก็จะหลุดพ้น จากภัยเหล่านี้ เพราะเหตุจากพลานุภาพของบุญบารมี ที่ข้าฯได้บ�ำเพ็ญเพียรมา” ปณิธานข้อที่ 11 “ข้าฯขอตั้งปณิธานในอนาคตชาติ เมื่อข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว หากสัตว์ ใดที่ทนทรมานอยู่ด้วยความหิวและกระหาย จนถึง ขนาดว่าได้กระท�ำอกุศลกรรมไปด้วยความจ�ำเป็นที่จะ ต้องเอาชีวิตรอด หากสัตว์เหล่านี้ได้มีโอกาสได้ยินชื่อ ของข้าฯ และท่องชื่อของข้าฯ ด้วยจิตตั้งมั่นไม่เคลือบ แคลงสงสัยกับทัง้ แนบแน่นอยูก่ บั ชือ่ นีน้ ามนี้ ข้าฯก็จะ 12
ธรรมจริยา 5
บันดาลให้สัตว์เหล่านั้นเพลิดเพลินใจกับอาหารกับ เครื่องอันเป็นทิพย์ ในท้ายที่สุดข้าฯก็จะท�ำให้สัตว์นั้น ตั้งมั่นอยู่ในดินแดนของความสงบและความสุข” ปณิธานข้อที่ 12 “ข้าฯขอตั้งปณิธานในอนาคตชาติ เมื่อข้าฯได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว หากสัตว์ ใดที่ยากจนข้นแค้น ไม่มีเสื้อคลุมกายเพื่อปกป้องจาก ยุงและแมลง ทนกับความร้อนความหนาว และทน ทุกข์อยู่ทั้งกลางวันกลางคืน หากสัตว์นี้ได้ยินชื่อของ ข้าฯ และท่องชื่อของข้าด้วยจิตตั้งมั่นไม่เคลือบแคลง สงสัยกับทั้งแนบแน่นอยู่กับชื่อนี้ ความปรารถนาทั้ง ปวงของสัตว์นี้จะเป็นไปเช่นนั้น สัตว์เหล่านี้จะได้รับ เสื้อผ้านานาชนิดอันเป็นเลิศ มีเครื่องประดับล�้ำค่า มาลัยดอกไม้และแป้งประทินอันมีกลิ่มหอมตระหลบ สนุกสนานส�ำราฐไปกับเสียงดนตรีอันไพเราะกับความ บันเทิงอันเกษม มากจนเท่าที่จะพอใจ”
南无消灾延寿药师佛简称药师佛或药师如来。是华宗佛教大雄宝殿里供奉的三尊佛像之一,即释 迦牟尼佛、阿弥陀佛和药师佛。
药师的音译是鞞杀社窭噜。
药师如来在过去是世行菩萨道时,曾发十二大愿,即: 第一大愿:
愿我来世得阿耨多罗三藐三菩提时,自身光明炽然,照曜无量无数无边世界, 以三十二大丈夫相八十随好庄严其身,令一切有情如我无异。
第二大愿:
愿我来世得菩提时,身如琉璃,内外明彻净无瑕秽,光明广大功德巍巍,身善安 住 焰网,庄严过于日月,幽冥众生悉蒙开晓,随意所趣作诸事业。
第三大愿:
愿我来世得菩提时,以无量无边智慧方便,令诸有情皆得无尽,所受用物,莫令 众生有所乏少。
第四大愿:
愿我来世得菩提时,若诸有情行邪道者,悉令安住菩提道中,若行声闻、独觉乘者, 皆以大乘而安立之。
第五大愿:
愿我来世得菩提时,若有无量无边有情,于我法中修行梵行,一切皆令得不缺 戒,具三聚戒 ,设有毁犯闻我名已,还得清净不堕恶趣。
第六大愿:
愿我来世得菩提时,若诸有情,其身下劣诸根不具,丑陋顽愚盲聋瘖哑挛躄背偻 白癞癫狂种种病苦,闻我名已一切皆得端正黠慧,诸根完具无诸疾苦。
第七大愿:
愿我来世得菩提时,若诸有情,众病逼切无救无归无医无药无亲无家贫穷多苦, 我之名号一经其耳,众病悉得除身心安乐,家属资具悉皆丰足,乃至证得无上菩提。
第八大愿:
愿我来世得菩提时,若有女人,为女百恶之所逼恼,极生厌离愿舍女身,闻我名 已一切皆得转女成男具丈夫相,乃至证得无上菩提。
第九大愿:
愿我来世得菩提时,令诸有情,出魔罥网,解脱一切外道缠缚,若堕种种恶见稠 林,皆当引摄置于正见,渐令修习诸菩萨行速证无上正等菩提。
第十大愿:
愿我来世得菩提时,若诸有情,王法所录,缧缚鞭挞系闭牢狱或当刑戮,及余无 量灾难凌辱悲愁煎迫,身心受苦,若闻我名,以我福德威神力故,皆得解脱一切忧苦。
第十一大愿:
愿我来世得菩提时,若诸有情,饥渴所恼,为求食故造诸恶业,得闻我名专念 受持,我当先以上妙饮食饱足其身,后以法味,毕竟安乐而建立之。
第十二大愿:
愿我来世得菩提时,若诸有情,贫无衣服,蚊虻寒热昼夜逼恼,若闻我名专念 受持,如其所好即得种种上妙衣服,亦得一切宝庄严具华鬘涂香鼓乐众伎,随心所欲 皆令满足 。
药师神咒
噢喃无啪咔哇德
派萨嚓呀
苦录歪吞啦呀
噢喃无啪咔哇德
派萨丫
苦录歪吞啦呀
派萨丫 嘛哈
派萨丫
派萨呀
派萨丫派萨丫
仨目咔德
啦嚓
仨目咔德
吧啪 啦嚓丫 嗒踏喀哒丫 啊啦哈德
仨押仨 佛嗒丫
吧啪啦嚓丫 嗒踏喀哒丫 啊啦哈德
仨哇哈
哒呀嗒
噢
派萨丫
仨押仨 佛嗒丫
派萨丫
颂哈
如大众能信奉药师佛,要修药师法门,得读诵《药师琉璃光如来本愿功德经》,念药师咒,
念南无药师琉璃光如来名号 ,此为法门殊胜。能令发挥财富,所求皆得。乃至证得无上菩提。是 故,药师法门为末法必修法门。
ธรรมจริยา 5
13
师父偈语 โอวาทธรรม
พระคณาจารย์จีนธรรมปัญญาจริยาภรณ์ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณเย็นเชี้ยวซือหู
เจ้าอาวาสวัดมังกรกมลาวาส และรักษาการวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ฯ
ให้โอวาทพระภิกษุสามเณร เนื่องในวันปวารณาตัวเข้าพรรษา ณ วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ฯ วันพฤหัสบดี ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เวลา 08.00 น.
ต่างบ�ำเพ็ญเพียร อยู่ร่วมสามัคคีธรรมกัน เป็นหมู่สงฆ์ตลอด สามเดือนเมื่อพระภิกษุได้ ศึกษาธรรมะ เข้าถึงธรรมะ ประพฤติปฏิบัติธรรม รู้ธรรมะแล้วเอาธรรมะที่ ศึกษามา รู้มา เอาสัจธรรมของธรรมะ นี้ไปเผยแผ่สั่งสอน พุทธศาสนิกชน 14
ธรรมจริยา 5
วันนี้เป็นวันเข้าพรรษาของพุทธศาสนา ฝ่ายมหายาน ในพุทธศาสนามหายานช่วงเริ่มเข้า พรรษาจีนปีนี้ ในวัน 15 ค�่ำ เดือน 4 จนถึง 15 ค�่ำ เดือน 7 จีน ซึ่งอยู่ในช่วงหน้าฝนนี้ พระพุทธเจ้าจึง ทรงเมตตาในสามเดือนนี้พระภิกษุจะจาริกไปไหนมา ไหนไม่สะดวกจึงให้จำ� พรรษาอยูภ่ ายในอารามนัน้ และ ในช่วงเข้าพรรษาสามเดือนนีพ้ ระภิกษุกต็ า่ งศึกษาพระ ไตรปิฎก ต่างปฏิบตั ธิ รรมนัง่ สมาธิ ต่างบ�ำเพ็ญเพียร อยู่ ร่วมสามัคคีธรรมกันเป็นหมู่สงฆ์ตลอดสามเดือนเมื่อ พระภิกษุได้ศกึ ษาธรรมะ เข้าถึงธรรมะ ประพฤติปฏิบตั ิ ธรรม รู้ธรรมะแล้วเอาธรรมะที่ศึกษามา รู้มา เอาสัจจะ ธรรมของธรรมะนี้ไปเผยแผ่สั่งสอนพุทธศาสนิกชน การเป็นพระภิกษุจะต้องมีปณิธานตัวนี้ มีการโปรดตัว เอง บ�ำเพ็ญตัวเอง ให้เป็นพระภิกษุที่มี ศีล สมาธิ ปัญญาให้บริบูรณ์ และปฏิบัติตนเองให้บริสุทธิ์นี่เป็น เมตตาของพระพุทธองค์ให้เหล่าพระภิกษุสงฆ์มโี อกาส ได้ประพฤติปฏิบัติร่วมกันสามัคคีธรรมกันตลอดสาม เดือน ตามความรู้สึกของซือหูเองที่อยู่ร่วมกันตลอด สามเดือนนี้อบอุ่นใจดีนะ ได้สามัคคีธรรมกัน เอาหลัก ธรรมะมาปฏิบัติร่วมกัน
ศึกษาธรรมะว่าได้อะไร สอนให้ มีศลี ธรรมมีสมาธิจติ ใจ ไม่วอกแวกแล้วก็จะเกิดปัญญาขึ้นมา ปัญญานั้นคือ ความแจ่มแจ้ง ความสดใส ความรู้เข้าถึงสิ่งต่างๆ ที่ดี และถูกต้อง เรียกว่าปัญญา ฉะนั้นศึกษาพระไตรปิฎก นั้นแล้ว ก็รักษาศีลปฏิบัติตนอย่าให้ผิดพระวินัย ไม่ใช่ เรื่องนิดหน่อยก็ท�ำให้เกิดความรู้สึกเป็นทุกข์ อันสิ่ง เหล่านี้ไม่ดี การอยู่ร่วมกันมากๆ พระทั้งหลาย สามเณรทั้ง หลาย น่าจะเกิดสิง่ ทีด่ ๆี ร่วมกันเพราะเราเป็นเสมือน ครอบครัวใหญ่ เมื่ออยู่ร่วมกันจะต้องมีความเห็น อกเห็นใจกัน ช่วยเหลือเอือ้ อาทรกัน เมตตาซึง่ กัน และกัน ซึ่งคนที่อาวุโสกว่าต้องเอ็นดูให้ความรักความ เมตตาน้องซึง่ เป็นความภูมใิ จทีผ่ ทู้ เี่ ป็นพีผ่ ทู้ อี่ าวุโสได้มี โอกาสได้ท�ำความดี ได้ดูแลน้องๆ มีโอกาสช่วยเหลือ ครอบครัวของเรา ดูแลน้องๆที่เพิ่งเข้ามาใหม่ จะต้อง เอาจิตวิญญาณที่บริสุทธิ์ ท�ำจริงจัง ท�ำด้วยความขยัน ท�ำด้วยความหมัน่ เพียร ท�ำด้วยจริงใจ ด้วยภาคภูมใิ จที่ มีโอกาสตรงนี้ผู้ที่ท�ำเท่ากับสอนสั่งตนเอง ให้เป็นผู้ให้ ให้จริยธรรม ให้คณุ ธรรม เอาความประพฤติทดี่ แี ล้วถูก แล้ว มาสอนน้องๆ เพราะซือหูสอนพระภิกษุสามเณร มาตลอดระยะเวลาห้าสิบกว่าปีปจั จุบนั ก็ยงั สอนอยู่ ซึง่ ตัวซือหูเองรับหน้าที่สอนพระเป็นร้อยๆรูปที่วัดโพธิ์ แมนสิบห้าปีเต็มๆ สอนตั้งแต่มีพระห้ารูปจนเพิ่มเป็น หลายๆร้อยรูป เป็นสิ่งที่ปฏิบัติเป็นไปตามแนวทาง ปณิธานของซือกงสมัยก่อนซือกงสั่งให้ซือหูไปท�ำงาน อะไรต่างๆซือหูไม่เคยปฏิเสธเลยและไม่เคยหลบหลีก
ปัญญานั้นคือความแจ่มแจ้ง ความสดใส ความรู้เข้าถึง สิ่งต่างๆ ที่ดีและถูกต้อง เรียกว่า ปัญญา
ไม่เคยบอกว่าผมไม่ทำ� ผมไม่ชอบอย่างนีซ้ อื หูไม่เคยเลย ตลอดสิบห้าปีทรี่ บั ใช้ซอื กงโดยไม่มขี อ้ แม้ ท�ำด้วยดุษณี ยภาพ ไม่มีค�ำที่สองแล้วสิ่งที่ซือหูเคยท�ำกับปัจจุบันนี้ เหมือนกัน แต่โลกมันอาจเจริญ ทุกสิง่ ทุกอย่างมันอาจ จะเปลีย่ นไป ตลอดสิบห้าปีทอี่ ยูก่ บั ซือกง ซือหูไม่เคยมี เรือ่ งส่วนตัวเลยทุกสิง่ ทุกอย่างท�ำแต่เรือ่ งของส่วนรวม ที่ซือกงท่านมอบหมายให้ซือหูท�ำ สมัยก่อนซือหูอยู่ที่วัดโพธิ์แมนสิบห้าปีต้องกลาง มุ้งจ�ำวัตร และที่ห้องก็มีพระอยู่ห้องเดียวกับซือหูอยู่ ด้วยกันหกรูป ซือหูสอนพระที่วัดโพธิ์แมนตลอดสิบ ห้าปีด้วยความจริงใจ ภาคภูมิใจ ไม่มีข้อแม้ไม่มีสิ่ง ตอบแทน ไม่ได้รับการยกเว้น ไม่มีสิทธิพิเศษ เสื้อผ้า ซือหูก็ซักเอง ท�ำวัตรสวดมนต์ต้องตื่นเช้ากว่าคนอื่น ท�ำห้องท�ำความสะอาดก็ตอ้ งท�ำเองไม่มเี ณรไม่มพี ระมา ช่วยซือหูทำ� หรอก แม้วา่ ช่วงนัน้ ได้เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาส แล้ว ทุกสิง่ ทุกอย่างเหมือนกันกับทีพ่ ระภิกษุรปู อืน่ ๆ นี่ เป็นสิ่งที่เราท�ำความความภาคภูมิใจ มีโอกาสสอนพระ ใหม่ แล้วพระใหม่ก็เหมือนกับเณรที่บวชใหม่ เขาดีใจ ไหม เขาดีใจ สมัยก่อนเขาให้เกียรติคนที่สั่งสอนเรียก ว่าพระครูไม่ได้เป็นยศนะแต่เป็นการเรียกให้เกียรติ พระอาจารย์ผู้ที่สั่งสอน ฉะนั้นพระเก่าๆ ปัจจุบันนี้ยัง เรียกซือหูเป็นพระครูอยูเ่ ลย ว่าครัง้ สมัยก่อนเคยอบรม สั่งสอนเขา ทุกสิ่งทุกอย่างยังคงฝั่งอยู่ในสมองอยู่ใน จิตใต้ส�ำนึกพิมพ์อยู่ในดวงใจของพวกเขาตลอด
จะต้องเอาจิตวิญญาณที่บริสุทธิ์ ท�ำจริงจัง ท�ำด้วยความขยันท�ำด้วย ความหมั่นเพียร ท�ำด้วยความจริงใจ ด้วยความภาคภูมิใจ...ให้เป็นผู้ให้ ให้จริยธรรม ให้คุณธรรม ธรรมจริยา 5
15
การเสียสละ เป็นยอดแห่งความดี การตั้งใจตั้งปณิธาน ที่จะสร้างความดี เป็นสิ่งสูงสุดของความส�ำเร็จ
แต่สมัยนี้โลกเปลี่ยนไปเป็นโลกาภิวัฒน์ เป็นโลก ของเทคโนโลยี เป็นโลกสมัยใหม่ทุกสิ่งก็เลยทันสมัย หน่อยหนึ่ง แตกต่างกับสมัยก่อนอยู่อย่างเรียบง่าย พระ สามเณร ผูท้ ไี่ ด้มโี อกาสอบรมสัง่ สอนก็ตอ้ งสัง่ สอน ด้วยความเมตตา สัง่ สอนด้วยความทีอ่ ยากให้พวกเรามี ระเบียบวินยั สง่างาม เดิน ยืน นัง่ นอน ฉัน ด้วยความ เรียบร้อยสง่างาม ผู้ที่รับการสั่งสอนก็รับด้วยความ ภูมิใจ ฉะนั้นพวกเราทุกรูปเหมือนกับครอบครัวใหญ่ วันนี้เป็นวันเข้าพรรษา ทุกรูปอยู่ด้วยกันด้วยความรัก ทุกรูปอยู่ด้วยกันด้วยความเมตตาผู้น้อยเคารพผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ก็เมตตากับผู้น้อย พวกซือเฮียก็ควบคุมดูแล สามเณรทัง้ หลายให้อยูอ่ ย่างเรียบร้อยและเป็นตัวอย่าง เป็นผู้น�ำที่ดีกับซือตี๋ทั้งหลายนี่จะเป็นการเข้าพรรษาที่ มีความหมาย เป็นโอกาสที่ให้พวกเราศึกษาว่าอะไรคือ ชีวิตที่แท้จริง อะไรคือสิ่งที่ท�ำให้เป็นคนอย่างบริบูรณ์ จะต้องมีปรัชญาของชีวติ จะต้องสร้างสรรค์ความดีของ ชีวิต น�ำปรัชญาน�ำความดีเหล่านั้นออกมาใช้น�ำออกมา เป็นพลัง ซึง่ เป็นโอกาสทีด่ ี อย่าคิดว่าศึกษาอย่างนัน้ ไม่ ดี ศึกษาอย่างนี้ไม่ชอบ เราจะเอาความรู้ที่ศึกษาอะไร ต่างๆมาเป็นพื้นฐานของชีวิตเราย่อมดีทั้งนั้น ซือหู เรียนจบเพียงมัธยมสามเองสมัยหกสิบปีก่อน ซือหูไม่ ได้เรียนมหาวิทยาลัยมากมายอย่างพวกเราหรอก เช่น พวกเราบางรูปเรียนจบปริญญาโทด้วยเก่งกว่าซือหู ตั้งเยอะแยะ ปรัชญาของชีวิตไม่ใช่เรียนจากโรงเรียน
16
ธรรมจริยา 5
หรอกพระเณร ให้เกิดจากจิตของตัวเราเองไปค้นหา ความจริงแห่งชีวิต วันนี้ซือหูก็ได้พูดสาธยายสิ่งต่างๆ จุดหมายก็สู่เข้าพรรษาการอยู่ด้วยความรักสามัคคีกัน แล้วหมู่สงฆ์ของเราจะมั่นคงจะไม่หวั่นไหว ทุกรูปอยู่ ร่วมกันเสียสละร่วมกัน การเสียสละเป็นยอดแห่ง ความดี การตั้งใจตั้งปณิธานที่จะสร้างความดีเป็น สิ่งสูงสุดของความส�ำเร็จ ยอมรับยอมศึกษาเป็นบ่อ เกิดความดี ปณิธานเป็นบ่อเกิดความส�ำเร็จ สามเดือน เราพัฒนาความเจริญทัง้ กายและใจท�ำให้หมูค่ ณะมัน่ คง สามัคคี วันนีข้ อให้พระเณรทุกรูปท�ำจิตใจให้มนั่ คง อย่าท้อแท้ เป็นผู้กล้าหาญ จะได้มีความก้าวหน้า ครอบครัวของเราจะได้อบอุน่ เห็นใจซึง่ กันและกัน อย่าเอาทิฏฐิสว่ นตัวท�ำส่วนรวมไม่ดี ขอให้พระภิกษุ และสามเณรทุกรูปจงเจริญในธรรมยิ่งขึ้นไป
大乘佛教守夏节 仁晁大师于农历四月十五日给比丘及沙弥的慈悲讲话【摘要】 今天是大乘佛教守夏节的开始。全体比丘沙弥都住在寺庙修行,不随便外 出,因为是雨季,有很多野兽出没比较危险,两千多年前佛祖就规定要在这三 个月里闭关修身,习佛养性。大家在一起就是一个大家庭,要互相关心,互 相爱护。比丘要爱护沙弥,教育沙弥,以身作则,言传身教;沙弥要尊敬比 丘。守夏节一共整整三个月,在这三个月里,比丘沙弥要严格修身养性,禅 定和认真研究佛经佛理,要修有完整的戒、定、慧,先戒然后才能定,能定 了以后才能产生智慧,有了智慧才能看世界、看人生,懂得人生真谛,才能 选择人生的道路,使自己能够超凡;同时教化众生,用学到的佛教道德真理 向社会宣传教化,和众生一起修行菩萨道。师父跟随师公十多年,师公也是 这样教师父的;师父在普门报恩寺的时教几百位比丘也是这样教的,师父是 默默耕耘、无私奉献。守夏节是一个很好的机会,大家要亲密合作,不动摇 不退转,牺牲奉献。牺牲奉献是最高的善业,发愿要造善业是最高的功果。 各位不要让个人的主见影响到整体。
ธรรมจริยา 5
17
大乘宗教仪式 ศาสนพิธีมหายาน
梁 皇 寶 懺
พิธีสวดมนต์ขอขมากรรมเจ้ากรรมนายเวร
ขมากรรมสูตรเหลี่ยงอ๊วงป๋อฉ�่ำ งานประจ�ำปีอนั ศักดิส์ ทิ ธิ์ ของวัดเล่งเน่ยยี่ คือ พิธสี วดมนต์ขมากรรมเจ้ากรรมนายเวร เหลียงอ๊วง ป๋อฉ�่ำ จะมีเป็นประจ�ำทุกๆปี ในเดือน 2 ขึ้น 12 ค�่ำ ถึง วันขึ้น 16 ค�่ำ ตามจันทรคติจีน พิธสี วดมนต์ขมากรรมเจ้ากรรมนายเวรนี้ เป็น คติความเชื่อในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ซึ่งมี การพรรณนาอรรถรส แห่งพระสูตรนีว้ า่ เกีย่ วกับเรือ่ ง วิบากกรรมที่สรรพสัตว์ทั้งหลายไม่สามารถหลีกพ้นได้ เว้นแต่ผู้ด�ำรงตนอยู่ในโพธิสัตวมรรค อันเป็นหนทาง สู่อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ต�ำนานเรื่องการก�ำเนิดพระสูตรนี้ เริ่มต้นในสมัย ราชวงศ์พระเจ้าเหลียงบูต่ ี้ กล่าวว่าในสมัยนัน้ แผ่นดิน จีนได้รับร่มเงาแห่งศาสนาพุทธ เป็นที่พึ่ง พระเจ้า เหลียงบู่ตี้ทรงมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาเป็นอย่างดียิ่ง มีพระราช ศรัทธาสร้างวัดวาอาราม โรงเจ ประทับไว้ทวั่ ทัง้ แผ่นดิน เหลี่ยง และยังทรงด�ำรงตนเป็นพุทธมามกะที่ดี ทรง 18
ธรรมจริยา 5
สนพระทัยในการศึกษาพระสัจธรรมค�ำสอนอีกด้วย เหตุเพราะการกุศลนี้ ท�ำให้กลับกลายเป็นอกุศล เกิดจากพระนางฮีลีฮองเฮา พระมเหสีของพระองค์ เอง ทรงมีความอิจฉาริษยา และเกลียดชังในศาสนา พุทธเป็นอันมาก เพราะพระนางคิดว่าพระสวามีสนใจ แต่การพระศาสนา มากกว่าตนเอง จนเป็นเหตุให้ พระนางคิดกระท�ำการ อันเป็นบาป เป็นเวรต่อพระ ศาสนา พระนางทรงติเตียนพระพุทธศาสนาทุกๆ เรือ่ ง อีกทั้งยังกล่าวอาบัติหยาบชั่วช้าแก่พระอริยสงฆ์ ทรง ท�ำลายศาสนสถาน และพระธรรมคัมภีร์จ�ำนวนมาก วันหนึ่งพระเจ้าเหลียงบู่ตี้ ทรงมีพระราชศรัทธา นิมนต์พระอริยสงฆ์ มาฉันภัตตาหารในพระราชวัง พระนางจึงออกอุบายให้ ห้องเครื่องท�ำ ภัตตาหาร เจือปนเนื้อสัตว์ ซึ่งพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาฝ่าย มหายานจะฉันเฉพาะอาหารมังสวิรัติ โดยคิดว่าพระ สวามีของตนจะต้องเสียพระราชศรัทธาต่อพระสงฆ์ ผู้ มีจิตเสพเนื้อสัตว์อันเป็นการละเมิดพระโพธิสัตว์ศีล
อย่างแน่นอน(พระโพธิสตั ว์ศลี คือศีลข้อปฏิบตั ขิ อง พระสงฆ์ในฝ่ายมหายาน มีหลักส�ำคัญว่าด้วยเรือ่ ง การงดเว้นเนือ้ สัตว์ เพือ่ อนุเคราะห์สรรพสัตว์โลก) แต่เมื่อถึงเวลาฉันภัตตาหาร พระอริยสงฆ์ทุกๆองค์ ต่างนั่งนิ่งเฉย ไม่ฉันของถวายทานทั้งปวงนั้น พระเจ้าเหลียงบู่ต้ีเห็นดังนั้นแล้วจึงทรงถามพระ อริยสงฆ์ว่า “เหตุใดพระคุณท่านจึงมิฉัน?” พระ อริยสงฆ์ตอบพระเจ้าเหลียงบู่ตี้ไปว่า “มหาบพิตร ภัตตาหารเหล่านี้ล้วนเกิดจากการท�ำปาณาติบาต เบียดเบียนชีวิตผู้อื่น พวกอาตมาภาพจึงมิฉัน” เมื่อทรงทราบความจริง พระเจ้าเหลียงบู๊ทรง สั่งให้น�ำภัตตาหารเหล่านั้นไปเททิ้งที่ข้างก�ำแพงเมือง กลับปรากฏว่าภัตตาหารเหล่านั้นได้งอกเป็น ผักที่มี กลิ่นฉุน 5 ชนิด คือ ต้นหอม กุยช่าย ผักชี หลักเกี้ยว กระเทียม พุทธศาสนิกชนต่อๆมาจึง พากันเชื่อว่า ผักเหล่านี้มีต้นก�ำเนิดจากเนื้อสัตว์ ผู้ถือศีลกินเจจึงห้ามบริโภคผักทั้ง 5 ชนิด หลังจากเวลาผ่านมาไม่นาน พระนางฮีลีฮองเฮา ทรงประชวรและสิ้นพระชนม์ ด้วยแรงแห่งบาปเวรที่ ทรงกระท�ำไว้ ท�ำให้เกิดมลทินต่อพระศาสนา ดวง วิญญาณของพระนางจึงไปจุติ เป็นงูในอเวจีมหา นรก ทรงได้รับทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัส วันหนึ่ง ไปเข้าพระสุบินพระเจ้าเหลียงบู๊ตี้ขอให้ทรงช่วยเหลือ
พระเจ้าเหลียงบูต่ จี้ งึ นิมนต์ พระอริยสงฆ์ทงั้ หลายมา รจนาพระธรรมคัมภีร์ และสวดมนต์ เพื่อส่งผล บุญให้พระนางฮีลฮี องเฮา ในไม่ชา้ ดวงวิญญาณของ พระนางก็ได้รอดพ้นจากเปลวไฟมหาอเวจีนรก เสด็จสู่ สรวงสวรรค์ นีค้ อื เหตุแห่งความเชือ่ เรือ่ งนี้ จึงมีพธิ กี าร สวดพระสูตรนี้ขึ้น สืบทอดกันมาตราบจนทุกวันนี้ อย่างไรก็ตามพุทธศาสนิกชนทัง้ หลาย พึงร�ำลึกว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นมา เพราะเหตุจากการกระท�ำ หนหลัง ไม่มีพระผู้เป็นเจ้า จะสามารถมาลิขิตชีวิต เราได้ เหตุที่เราเป็นไปก็เพราะผลแห่งวิบากกรรม ประดุจดัง เราก�ำถ่านไฟ เราก็ย่อมรู้สึกร้อนและ ทรมานเอง หากเราก�ำน�้ำแข็ง เราย่อมรู้สึกเย็น เยือกด้วยตนเอง ดังนั้นทุกสิ่งทุกอย่างย่อมเกิดจากการกระท�ำของ เราเอง หากเราท�ำดีจักได้ดี หากท�ำชั่วก็ย่อมมีผลชั่ว ตอบแทน จงน�ำพระพุทธองค์สถิตไว้ในใจของท่าน พระองค์จักทรงเป็นก�ำลังใจน�ำเราสู่หนทางแห่ง ความดี อันเป็นทางเจริญแห่งชีวิต ทุกๆ ท่านก็จะ ได้พบกับความสงบสุขทีถ่ าวร ไม่ใช่สขุ แบบปลอมๆ อีก ต่อไป ขออ�ำนวยพรทุกๆ ท่านจงได้พบ แสงแห่งธรรมะ ที่มั่นคงสถาพร จงได้เดินทางถึง แดนพระนิพพานสุข ในเร็ววันเทอญ ธรรมจริยา 5
19
大乘佛教有一个重要的活动叫慈悲道场,目的是超度罪灵。每年农历二 月十二到十六日,龙莲寺都举行常年道场,依照梁皇当年忏本礼拜忏悔过去 罪过的程序,让僧众演颂佛法,消灾延寿,俗称梁皇宝忏。 梁皇宝忏源起自南朝时期梁武帝【公元464-549年】,虔诚信仰佛教,他在 全国大建佛寺宣扬佛教,自己也三次出家修行。但皇后郗氏生性嫉妒,对六 宫动念出口犹如毒蛇。她还妒忌梁武帝学佛修行,曾扯破佛教经书;她轻欺 三宝,曾将葱、蒜、韭等几种污菜以及腥膻之肉外边用面包裹,假意供佛斋 僧,破僧净戒,坏佛清规。在往生后的数月,有一天梁武帝正要就寢時,听 闻外面有骚乱的声音,于是出去一看,竟然是一條大蟒蛇,而且睜大眼睛望 著他。这時候武帝大惊不已,不知如何是好,便对蛇说:「朕的宮殿严警, 不是你们蛇生之地,看來你必定是妖孽。」蛇于是对武帝说:「我是你的皇 后郗氏,妾因為生前喜欢爭宠,而常怀瞋心及嫉妒心,性情惨毒,损物害 人,所以死后墮入蛇身。现在沒有饮食可吃,又沒有洞穴可以庇身,而且每 一片鱗甲中有许多虫在咬,真是痛苦万分。由于深感皇帝平日对妾的厚爱, 所以才敢显现丑陋的形貌在您的面前,希望能祈求一些功德,使我脫离蟒蛇 之身。」蛇说完之后就不见了。 武帝將这个情形告诉志公禅师,禅师对梁武帝说:「必需礼佛忏悔才能 洗滌罪业。」武帝于是请志公禅师搜集整理佛经,录取佛陀的名号,並且依 佛经來撰写忏悔文,总共写成十卷。然后武帝便择吉大设水陆道场,并依照 忏本为皇后礼拜忏悔,不日功德园满。有一天,突然闻到异香遍滿室內,久 久不散。武帝抬起头來,看见有一个容仪端丽的人,前来对他说:「我是蟒 蛇的后身,因为承蒙皇帝为我作功德,所以现在已经超生忉利天,今天特來 致谢。」言毕就不见了。 以后人们便依照忏本忏悔罪业。梁皇宝忏从梁朝流传至今一千余年,若 能依此忏文虔诚礼拜、忏愧忏悔,並检讨改过,以慈悲、智慧的法水洗淨愆 尤,必得佛陀慈光加被,业障消除,善根增长,身心清淨,平安吉祥。龙 莲寺每年举行的慈悲道场,整整五日五夜,善男信女满满一堂,大家诚心奉 献,天佑福德。
ธรรมจริยา 5
21
本期新闻 ข่าวประจำ�ฉบับ
1.道德与语言夏令营 เปิดโครงการเข้าค่ายคุณธรรม เสริมทักษะภาษา พัฒนาสู่อาเซียน
พระเดชพระคุณพระคณาจารย์จนี ธรรมปัญญาจริยาภรณ์ (ท่านเจ้าคุณเย็นเชีย้ ว) รองเจ้าคณะใหญ่จนี นิกาย พร้อมด้วย นายฉัตรชัย ชูเชื้อ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกาญจนบุรี ให้เกียรติเป็นประธาน เปิดโครงการเข้าค่ายคุณธรรม เสริมทักษะภาษา พัฒนาสู่อาเซียน โรงเรียนมังกรกมลาวาสวิทยาลัย ระหว่าง วันที่ 20-25 เมษายน 2557 ณ ส�ำนักสงฆ์เชตวันไทรโยค จ.กาญจนบุรี โดยโครงการนี้จัดขึ้นเพื่อพัฒนา ศักยภาพทางด้านภาษาเพื่อให้ก้าว ทันกับโลกยุคอาเซียน โดยมีสามเณรนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 และ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทั้งหมด เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ โดยการเข้าค่ายครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากอาสา สมัครของมหาวิทยาลัยชั้นน�ำต่าง ๆ เพื่อมาให้ความรู้และแนะน�ำแนวทางการเรียนภาษาให้กับสามเณรนักเรียน ทัง้ ภาษาอังกฤษและภาษาจีน นอกจากความรูท้ างวิชาการแล้วยังมีการสอดแทรกความรู้ คุณธรรมจริยธรรม เพือ่ ให้เกิดอันเป็นประโยชน์และสร้างสรรค์ต่อไป 道德与语言夏令营 佛历2557年4月20-25日,龙莲中学在北碧府测旺西僧舍举行道德与语 言夏令营活动。与时俱进,为明年东盟一体化准备。仁晁大师为活动主席并 亲自主持这次活动典礼。
22
ธรรมจริยา 5
ธรรมจริยา 5
23
ทัศนศึกษาระหว่างทาง
24
ธรรมจริยา 5
แบ่งกลุ่มร่วม ท�ำกิจกรรม
ธรรมจริยา 5
25
สรงน�้ำวันมหาสงกรานต์
26
ธรรมจริยา 5
สวดมนต์ภาวนา
ธรรมจริยา 5
27
2.守夏节 วันเข้าพรรษาจีน
วันเข้าพรรษาจีน ก�ำหนดวันที่ 15 เดือน 4 ตามจันทรคติจีน( 四月十五日 ) ของทุกๆปี คณะสงฆ์จีน นิกายแห่งประเทศไทย จะท�ำพิธีปวารณาตัวเข้าพรรษา เพื่อปฏิบัติธรรมอยู่ในวัดตลอดไตรมาส ในปี 2557 นี้ ตรงกับวันที่ 13 พฤษภาคม และในวันเข้าพรรษาพระภิกษุสงฆ์จะท�ำ พิธีสามีจิกรรมปวารณาตัว จะปวารณากับ ผูเ้ ป็นอุปชั ฌาย์เจ้าอาวาสวัดนัน้ ๆ ดังทีพ่ ระภิกษุวดั มังกรกมลาวาสและ วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ฯ จะ ปวารณาตัวกับพระคณาจารย์จนี ธรรมปัญญาจริยาภรณ์ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณเย็นเชีย้ วซือหู ท่านเจ้าอาวาส (上仁下晁本師) วันเข้าพรรษาของจีน จะไม่ตรงกันกับในประเทศไทย เนือ่ งจากฤดูกาลของไทยกับจีนไม่ ตรงกัน แต่พุทธวินัยและพุทธบัญญัติพร้อมทั้งการปฏิบัติ ที่ปฏิบัติมาจากครั้งพุทธกาลนั้นไม่มีข้อแตกต่างกัน 守夏节在每年农历的四月十五日举行。泰国华宗在此三个月在寺庙中严 守戒律,并为此举行守夏礼仪式。在泰国佛历2557年5月13日那天华宗的比 丘举行了盛大的守夏礼仪式,并愿意接受寺庙住持忏悔自己所犯的过失。故 此,泰国龙莲寺及敕赐普颂皇恩寺的诸比丘接受了来自泰国华宗副尊长(御 封拍康那壮真达摩般若乍利益蓬)忏悔了自己所犯的过失。 中国大乘佛教的守夏节和泰国小乘佛教的守夏节除了在时间上有区别之 外,其余的各项例如受戒、精进修行等方面均无差异。
28
ธรรมจริยา 5
ธรรมจริยา 5
29
3.选举2557年度沙弥学生会主席
พิธีบรรพชาสามเณรนักเรียน ประจำ�ปี 2557
วัดมังกรกมลาวาสวิทยาลัย จัดพิธีบรรพชาสามเณร เพื่อเข้าสู่การเป็นสามเณรนักเรียน โรงเรียนมังกรกมลา วาสวิทยาลัย ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2557 เพื่อศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประจ�ำปีการศึกษา 2557 หลักสูตรพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ด้วยความเมตตาอุปถัมภ์ ของพระคณาจารย์จนี ธรรมปัญญา จริยาภรณ์ (ท่านเจ้าคุณเย็นเชีย้ ว) ทีท่ า่ นปรารถนาให้กลุ บุตรผูม้ จี ติ ศรัทธาเข้าบรรพชา เพือ่ รับโอกาสทางการเรียน การศึกษา และศึกษาในพระธรรมวินยั อบรมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานจีนนิกาย นับเป็นการสร้างศาสนทายาท ที่มีคุณภาพต่อพระศาสนาและสังคมสืบไป 佛历2557年6月13日,龙莲中学举行选举活动.从沙弥学生中选出代表,并从 代表中选出主席和副主席。龙莲中学校长圣慈大师作了讲话,鼓励学生努力 学习,这样才能使学校和寺庙能不断进步繁荣。这次选举活动学生会主席释 圣悟,副主席释圣华、释圣宗、释圣敢,秘书长释圣妙及学生代表30位。
30
ธรรมจริยา 5
ธรรมจริยา 5
31
32
ธรรมจริยา 5
ธรรมจริยา 5
33
4.2557年度沙弥学生出家仪式
เลือกตั้งประธานสามเณรนักเรียน ประจำ�ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนมังกรกมลาวาสวิทยาลัย ได้ดำ�เนินการโครงการปลูกฝังประชาธิปไตยในโรงเรียน โดยมีการจัดเลือกตั้งประธาน สามเณรนักเรียน ในวันศุกร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.2557 มีการจัดตั้งพรรคแต่ละพรรคเพื่อนำ�เสนอนโยบายในการบริหารและ ปฏิบัติงาน สำ�หรับพรรคที่ได้รับการลงคะแนนเสียงอย่างเป็นเอกฉันท์ คือ หมายเลข 1 “พรรค ยรู๋ ยรื่อ จง เทียน” หลังจาก นั้น โรงเรียนมังกรกมลาวาส มีคำ�สั่งให้ดำ�เนินการจัดตั้งสภาสามเณรนักเรียนขึ้น พร้อมทั้งแต่งตั้งประธานสามเณรนักเรียนและ คณะกรรมการสามเณรนักเรียน เพื่อเข้ารับปฏิบัติหน้าที่ประจำ�ปีการศึกษา 2557 นี้ รายนามผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง มีดังนี้ 1. สามเณรธีระศักดิ์ เชื้อนิล เป็น ประธานสามเณรนักเรียน 2. สามเณรศิรสิทธิ์ ลาวเลิศ เป็น รองประธานสามเณรนักเรียน 3. สามเณรรัฐพล รุ่งเรือง เป็น รองประธานสามเณรนักเรียน 4. สามเณรธรรมวิทย์ แก้วแสง เป็น เลขานุการคณะกรรมการสามเณรนักเรียน 5. สามเณรจรณชัย นวลขาว เป็น เลขานุการสภาสามเณรนักเรียน / เหรัญญิก และคณะกรรมการสามเณรนักเรียนอีก 30 รูป ทั้งนี้ผู้อำ�นวยการโรงเรียนมังกรกมลาวาสวิทยาลัย หลวงจีนปลัดวิศิษฏ์ เสี่ยชื้อ กล่าวให้โอวาทแก่ผู้ที่ได้รับตำ�แหน่งว่า “ขอให้ประธานสามเณรนักเรียน และคณะกรรมการสามเณรนักเรียนทุกรูป ให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความวิริยะอุตสาหะ เพื่อให้ เกิดความจำ�เริญวัฒนาสถาพร มาสู่โรงเรียนและพระศาสนาสืบต่อไป” 佛历2557年5月10日,泰京龙莲寺举行沙弥学生出家修行仪式。仁晁大师主持这次典礼。共有四十 位小学生成为小沙弥,并进入龙莲中学就读初中一年级。培养华宗佛教后备人才,是仁晁大师二十多 年来一直履行的大愿之一。
34
ธรรมจริยา 5
ธรรมจริยา 5
35
重要时辰 งานบุญมหายาน
ประจำ�เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2557 11 กรกฎาคม 2557 วันอาสาฬหบูชา/วันพระจีนขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 12 กรกฎาคม 2557 วันร�ำลึกชาตกาลท่านเจ้าคุณหลวงปู่โพธิ์แจ้งมหาเถระ วันเข้าพรรษาเถรวาท 15 กรกฎาคม 2557 วันส�ำเร็จมรรคผลพระกวนอิมมหาโพธิสัตว์ 27 กรกฎาคม 2557 วันพระจีน ขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 7 1 - 3 สิงหาคม 2557 งานบ�ำเพ็ญกุศลทิ้งกระจาดมหาทานประจ�ำปี 10 สิงหาคม 2557 วันออกพรรษามหายาน / เทศกาลจงหยวน สาร์ทจีน / วันพระจีน ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 7 12 สิงหาคม 2557 พิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ 24 สิงหาคม 2557 วันประสูติพระกษิติครรภ์มหาโพธิสัตว์ / วันถวายอุลัมพนะมหาสังฆทาน 25 สิงหาคม 2557 วันพระจีน ขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 8 27 สิงหาคม 2557 วันประสูติองค์กินนรราชา ก�ำใจโพธิสัตว์ 7 กันยายน 2557 วันประสูติพระจันทรประภาโพธิสัตว์ / เทศกาลไหว้พระจันทร์ / วันพระจีน ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 8 15 กันยายน 2557 วันฉลองพระพุทธประสูติกาล พระบรมคุรุศาสดาทีปังกรพุทธเจ้า วันร�ำลึกการละสังขารหลวงปู่โพธิ์แจ้งมหาเถระ 23 กันยายน- 3ตุลาคม 2557 เทศกาลกินเจมหาศีลบริสุทธิ์ 24 กันยายน 2557 วันพระจีนขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 9
36
ธรรมจริยา 5
六月到九月(阴历) 六月十五日
三寶節 聞法日
六月十六日
普公上座法誕紀念日 小乘佛教守夏節
六月十九日
觀音菩薩成道日
七月初一日
聞法日
七月初六到初八日
本寺盂蘭勝會超渡儀式
七月十五日
大乘佛教解夏 中元莭 聞法日
七月十七日
母親莭
七月廿九日
地藏菩薩聖誕 供養盂蘭盆齋僧儀式
八月初一日
聞法日
八月初三日
監齋菩薩聖誕
八月十五日
月光菩蕯聖誕 中秋節 聞法日
八月廿二日
燃燈古佛聖誕 普公上座圓寂紀念
八月三十日-九月初十日 本寺九皇勝會 九月初一日
聞法日
ธรรมจริยา 5
37
太 阳 星 君
太 阴 星 君 38
ธรรมจริยา 5
神圣加持 ตำ�นานแห่งศรัทธา
เทพเจ้าไท่เอี๊ยง เทพเจ้าไท่อิม
เริ่มต้นในยุคสมัยจีนโบราณ ประกอบด้วยความ เชือ่ การไหว้เทพเจ้า นับถือให้ความเคารพธรรมชาติ ไม่ ว่าจะเป็นฟ้าดิน หรือ ดวงดาว ก็จะเกี่ยวพันกันหมด ชาวจีนโบราณมีความเชื่อ ขนบธรรมเนียมในการไหว้ พระ ไหว้เทพเจ้าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ และยังรวมถึง “พระอาทิตย์กับพระจันทร์” ซึ่งเป็นการแสดงถึง ความกตัญญูที่มนุษย์มีต่อธรรมชาติ ที่ได้รับความ อบอุ่น แสงสว่าง เป็นการขอบคุณที่ท�ำให้อยู่ดีมีสุข และเจริญรุ่งเรือง ในประวัติศาสตร์ชาวจีนสมัยก่อน ไม่มีศาสนา ชาวจีนอยู่กันเป็นกลุ่ม เป็นเผ่า ต่างริเริ่ม ท�ำการเกษตรเพาะปลูก ทั้งนี้ต้องอาศัยธรรมชาติเป็น หลัก ดังนั้นก่อนการเพาะปลูกในแต่ละฤดู ก็จะมีการ เซ่นไหว้บวงสรวงเทพยดาฟ้าดิน เทพเจ้าที่สถิตอยู่ใน ธรรมชาติให้ได้รับความพึงพอใจ และประทานพรอัน ดีกลับมาสู่มนุษย์ เพื่อให้ฝนตกตามฤดูกาล ไม่มีภัย พิบตั ิ ไม่วา่ จะเป็นความแห้งแล้ง น�ำ้ ท่วม แผ่นดินไหว หรือพายุ เป็นต้น ไม่เฉพาะชาวจีนเท่านั้นที่นับถือ เทพเจ้าในธรรมชาติ ผู้ที่ท�ำเกษตรกรรมทั่วโลกรวม ถึงประเทศไทย จ�ำต้องพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ ทั้งฟ้า ฝน แสงแดด น�้ำขึ้นน�้ำลงทั้งนั้น ท�ำให้เกิดการนับถือ ธรรมชาติเป็นเทพเจ้าขึน้ แต่หากการเซ่นไหว้บวงสรวง หรือพิธกี รรมอาจต่างกันออกไป ขึน้ อยูก่ บั สถานทีห่ รือ ภูมิประเทศที่แตกต่างกัน เทพเจ้าไท่เอี๊ยง(สุริยะเทพ) คนจีนมีความเชื่อ ว่าดวงอาทิตย์เป็นตัวแทนของผู้ชาย ความแข็งแกร่ง แสงสว่าง ความอบอุ่น การก�ำเนิดก่อเกิดแห่งสรรพ ชีวติ ในต�ำนานเทพเจ้าของชาวกรีก และเทพของฮินดู จะมีการบูชาดวงอาทิตย์หรือสุริยะเทพนี้ด้วยเช่นกัน
หรือแม้แต่ศาสนาหรือนิกายส่วนใหญ่บนโลกใบนี้ล้วน ให้ความส�ำคัญกับสุรยิ ะเทพ อันเป็นเทพเจ้าทีม่ อี ำ� นาจ ทั้งก่อเกิด และท�ำลาย ในวันที่ 19 เดือน 3 ตาม จันทรคติจีนของทุกปีจะเป็นวันประสูติของท่าน เทพเจ้าไท่อิม(จันทราเทวี) ดวงจันทร์เป็น ตัวแทนของเพศหญิง มีความนุ่มนวล สงบร่มเย็น และชาวจีนยังเปรียบเป็นสัญลักษณ์แห่งความรักอีก ด้วย ตามต�ำนานของ เทพธิดาฉางเอ๋อ ในวันเพ็ญ เดือนแปดตามปฏิทินจีน จะมีการไหว้ ถวายสักการะ ซึ่งถือเป็นหนึ่งในแปดสารทใหญ่ของชาวจีนในแต่ละ ปี ซึ่งการไหว้ครั้งนี้ก็คือ “ไหว้พระจันทร์” หรือเรียก ว่า “เทศกาลจงชิว” เทศกาลนีถ้ อื เป็นการรวมญาติของ ชาวจีนอีกเทศกาลหนึ่ง มีการมอบของขวัญให้ผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่จะเป็นขนมไหว้พระจันทร์เป็นหลัก ช่วงนี้ เป็นช่วงที่พระจันทร์ขึ้นเต็มดวงสว่างไสวงดงามที่สุด จึงมีประเพณีกินขนมชมจันทร์ เทพไท่อมิ ไท่เอีย๊ งยังถือตามหลักโหราศาสตร์ จีน เป็นดวงดาวเกื้อหนุนดวงชะตาชีวิต ในหลัก พระพุ ท ธศาสานาฝ่ า ยมหายานถื อ ว่ า เป็ น พระ โพธิสตั ว์ คือพระสุรยิ ประภามหาโพธิสตั ว์และพระ จันทรประภามหาโพธิสัตว์ ทั้งสองพระองค์เป็น อัครสาวกเบื้องซ้ายและเบื้องขวาของพระไภษัชย คุรุไวฑูรย์พุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ แดนศุทธิไวฑูรย์ พุทธเกษตร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของโลกเรา ศาสนิกชนมักสักการะบูชาเพื่อขอความคุ้มครอง ให้บังเกิดความเป็นสิริมงคล ความเจริญรุ่งเรืองเป็น แสงสว่างแห่งชีวิต ให้น�ำมาซึ่งความสงบสุขทั้งตนเอง และครอบครัว ธรรมจริยา 5 39
太阳星君 太阴星君 太阳星君:又称太阳公、太阳菩萨、太阳神、日神。每年农历三月十九 日是太阳不冷不热的温暖日子,中国人把定为太阳星君的生日。太阴星君: 又叫月娘、太阴星主、月神、月光菩萨。每年农历八月十五日是月亮最亮最 圆的日子,中国人把定为太阳星君的生日。现代人还把太阳喻为坚强勇敢, 是男人的象征;把太阴喻为温柔美丽,是女人的象征。 拜太阳星君和太阴星君是古代的人敬畏大自然所传流下来的活动。 自古以来,人们的日常活动、生活、生存都必须依赖大自然,特别是阳 光,它不仅能给光明和温暖,而且还给一年的季节变化,让动物、植物及人 类以生长发育、新陈代谢,让社会发展进步。人们希望能够风调雨顺,没有 灾害,平平安安过日子。所以不论是中国、泰国乃至全世界各民族都有祭拜 太阳神和太阴神活动。佛教还把这两位神明供奉为菩萨。龙莲寺和皇恩寺也 都有供奉,善男信女如诚心奉拜,将能平安幸福,前途光明。
40
ธรรมจริยา 5
饮 师水 恩思 不源 忘
ดื่มน�้ำ ระลึกถึงต้นน�้ำ รู้บุญคุณ ต้องทดแทน
ธรรมจริยา 5
41
増褔护身 เพิ่มพูนบารมีเสริมพลังชีวิต เหรียญท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4
ด้านหน้า
เหรียญท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 ปีพ.ศ.2553วัดบรมราชากาญจนาภิเษก อนุสรณ์ฯ โดยคณาจารย์จีน พระภิกษุสามเณรร่วมพิธีพุทธาภิเษก ตามพิธีแบบจีนโบราณเนื้อพระสร้างด้วยโลหะทองแดงผสมมวลสาร ศักดิ์สิทธิ์ชุบทอง กรรมวิธีการสร้าง ปั๊มด้วยเครื่องจักรตัดขอบด้วยเครื่อง ลักษณะรูปเหรียญ ด้านหน้า ประกอบด้วยรูปองค์ท้าวจตุโลกบาล คือ ท้าวจตุมหาราชทั้ง 4 พระองค์ ดังนี้คือ 1.ท้าวธตรัฐมหาราช ปกครองทิศบูรพา เป็นเจ้าแห่งพวกคนธรรพ์ (ถือพิณ) 2.ท้าววิรุฬหกมหาราช ปกครองทางทิศทักษิณ เป็นเจ้าแห่งกุมภัณฑ์ (ถือร่ม) 3.ท้าววิรณุ ปักษ์มหาราช ปกครองทางทิศปัจฉิม เป็นเจ้าแห่งพวกนาค (ถือดาบและงู) 4.ท้าวกุเวรมหาราช (เวสสุวัณ) ปกครองทางทิศอุดร เป็นเจ้าแห่ง พวกยักษ์ (ถือเจดีย์) ด้านล่างของเหรียญสลักชือ่ วัดภาษาจีน 7 ตัว 敇賜普頌皇恩寺 ด้านหลังเหรียญประกอบด้วยสัตว์มงคล 4 ชนิด คือ เต่า มังกร เสือ และหงส์ อยู่ประจ�ำทิศทั้งสี่ด้าน ตรงกลางเป็นอักษรจีนค�ำว่า “四大天王” ตีโค๊ดรูปสวัสดิกะ พุทธคุณ เสริมวาสนาอ�ำนาจบารมี คุ้มครองป้องกันภัย แคล้วคลาด และเมตตามหาลาภ
四大天王
ด้านหลัง 42
ธรรมจริยา 5
四大天王圣牌。此牌是佛历2553年本寺按照华 宗佛教传统仪式所铸造。质地是红铜渡金,前 面由四大天王法像组成下面写着寺名,后面是 四大神兽,即龟、龙、虎、凤,表示四面,周 围着佛徽卍,如善男信女能请回去供奉,将能 加持福禄,保佑平安。
ผ้ายันต์เมตตามหาธารณี พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
ผ้ายันต์เมตตามหาธารณี พระอวโลกิเตศวรโพธิสตั ว์ ทีร่ ะลึกงานสมโภชเปิดวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอณุสรณ์ฯ พ.ศ.2551 โดยคณาจารย์จนี วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ฯ และคณะพระภิกษุสามเณรร่วมพิธพี ทุ ธาภิเษก ตามพิธีแบบจีนโบราณ กรรมวิธีการสร้าง พิมพ์ภาพด้วยผ้าเนื้อดี อักขระยันต์ธิเบตโบราณ จานด้วยมือท่านพระคณาจารย์จีนทุกแผ่น ลักษณะด้านหน้าเป็นภาพพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรปางพันเนตรพันกร ประทับอยู่ตรงกลาง รอบผ้ายันต์บรรจุ พระคาถาหัวใจและคาถาศักดิ์สิทธิ์โบราณ พุทธคุณ เสริมสร้างความสิริมงคล ช่วยเหลือปกป้องคุ้มครองจากภยันตรายต่างๆ และเมตตามหาลาภ
吉祥品 神圣符。此符布是佛历2551年本寺开观时,华宗诸位宗长带领众大师一起诵 经作法,经过一系列程序而成。符的四周排列着藏文经咒,中间是千手千眼 观世音菩萨的庄严法像,如善男信女能请回去供奉,将能平安吉祥、消灾解 难,上于门顶能财源广进。
ธรรมจริยา 5
43
封面 เรื่องจากปก
ตำ�นานพระถังซำ�จั๋ง 44
ธรรมจริยา 5
ชื่อของพระถังซ�ำจั๋ง เป็นที่ทราบกันดี ในเรื่อง “ไซอิ๋ว” ที่ถูกถ่ายทอดออกมาให้ได้รับรู้หลายต่อหลาย ครั้ง ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของหนังสือ ภาพยนตร์ และบทละครโทรทัศน์ หรือแม้กระทัง่ การ์ตนู เรือ่ งราว เหล่านี้ส่วนใหญ่เราจะรับรู้ในเรื่องของปาฏิหาริย์ต่างๆ ตามหนังสือบทประพันธ์
จริงๆแล้วพระถังซ�ำจั๋งเป็นผู้ทรงเสียสละตนเอง เพือ่ พระพุทธศาสนาอย่างแท้จริงการเดินทางรวมระยะ เวลาเดินทาง 17 ปี ระยะทางการเดินทางทั้งหมดรวม ทั้งสิ้น 5 หมื่นลี้ หรือประมาณ 25,000 กิโลเมตร ผ่านหลาย ประเทศ ด้วยม้าและการเดินเท้า นับว่าไม่ ง่ายเลย ท่านได้มอบผลงานอันมีคา่ และมีบญุ คุณอันยิง่ ใหญ่ที่มีต่อชาวพุทธทั่วโลก ทุกประเทศ ทุกนิกาย ซึ่ง สิ่งนั้นก็คือบันทึกประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา พระ ธรรมคัมภีร์ และพระสูตร ท่านอุทศิ ตนในการแปลพระ คัมภีรอ์ ย่างตัง้ ใจ ในระยะเวลา 19 ปีทา่ นได้แปลคัมภีร์ ทั้งหมด 75 เรื่อง 1,335 ม้วน ครอบคลุมถึงผลงาน ทัว่ ไปทีเ่ กีย่ วกับพุทธศาสนาของอินเดียในสมัยศตวรรษ ที่ 5 นอกจากนี้ ในปั้นปลายชีวิต ท่านอาจารย์ยังได้ แปล “พระมหาปรัชญาสูตร” รวม 600 ม้วนซึ่งเป็น พระสูตรเล่มใหญ่ที่สุด ชีวประวัติ พระถังซ�ำจัง๋ มีชอื่ จริงว่า “พระอาจารย์เสวียนจัง้ ” เมือ่ เกิดมานัน้ ท่านมีชอื่ ว่า “เฉินหุยหรือเฉินยี”่ เป็นคน
มณฑลเหอหนาน มีชีวิตอยู่ในช่วงประมาณระหว่าง ปี ค.ศ. 602 ถึง ค.ศ. 664 ช่วงชีวติ ของท่านคาบเกีย่ ว ระหว่างสมัยราชวงศ์สุยกับสมัยราชวงศ์ถัง ท่านเสวียนจั้งเกิดมาในตระกูลขุนนางเดิม และ เป็นตระกูลที่ทรงความรู้และให้ความส�ำคัญกับการเล่า เรียนอ่านเขียน ท่านเป็นน้องเล็กสุดในบรรดาพี่น้อง ทั้งหมด 4 คน ทวดของท่านเสวียนจั้งรับราชการเป็น นายอ�ำเภอ ส่วนปู่ของท่านได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ปราชญ์ ส่วนบิดาเป็นนักคิดนักปราชญ์ขงจื้อตามแบบ ดัง้ เดิม ได้ลาออกจาก ต�ำแหน่งหน้าทีแ่ ละมาปลีกตัวอยู่ อย่างเงียบๆ เพราะเกิดความวุ่นวายทางการเมือง ในวัยเยาว์ ท่านเสวียนจัง้ เป็นเด็กทีม่ คี วามเฉลียวฉลาด มากและฉายแววทางภูมิปัญญามาตั้งแต่ เด็ก เป็นคน ขยันขันแข็งและกระตือรือร้นในการอ่านต�ำรับต�ำราทาง ศาสนา ส่วนใหญ่เป็นต�ำราเก่าแก่และงานเขียนของนัก ปราชญ์ยคุ โบราณของจีน ถึงแม้วา่ จะอยูใ่ นวัยต้นๆ จะ ได้รับการศึกษาตามแบบขงจื้อก็ตาม ผู้ท่ีให้การศึกษา ตามแบบขงจือ้ ให้แก่ทา่ นเสวียนจัง้ และพีน่ อ้ งชายหญิง ก็คือ “ผู้เป็นบิดาของท่านนั่นเอง” แต่หากว่าท่าน เสวียนจั้งนั้นมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็น อย่างยิ่ง เพราะพี่ชายของท่านผู้หนึ่งก็อุปสมบทเป็น ภิกษุในพระพุทธศาสนา ครั้นเมื่อบิดาของท่านเสวียนจั้งเสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 611 ท่านจึงไปอาศัยอยู่กับพี่ชายที่บวชเป็นพระ ภิกษุที่วัดชิงตู (Jingtu Monastery - 淨土寺) ตั้ง อยู่ในเมืองลั่วหยัง อยู่ทางทิศตะวันตกของมลฑลเหอ หนาน อันเป็นเมืองในอาณัติของราชวงศ์สุย นาน 5 ปี โดยระหว่างนั้นก็ได้ศึกษาหาความรู้ทางศาสนาพุทธ แบบมหายาน เมื่อมีอายุได้เพียง 11 ปีท่านเสวียนจั้ง สามารถสวดพระคัมภีร์ได้ พอมีอายุได้เพียง 13 ปีจึง ท�ำการบรรพชาเป็นสามเณรเมื่อมีอายุได้ 18 พรรษา ท่านจึงกลายเป็นสามเณรที่มีชื่อเสียงมาก ได้รับการ ยกย่องว่าเป็น “อาจารย์แห่งพระไตรปิฎก” ธรรมจริยา 5 45
เพราะท่านเป็นผู้มีความแตกฉานในสุตตันตปิฎก วินัย ปิฎก และอภิธรรมปิฎก และยึดมั่นในปรัชญาของ พระพุทธศาสนาอย่างเคร่งครัด อีกทัง้ ยังสามารถแสดง ธรรมเทศนาที่เข้าใจง่าย ในปี ค.ศ. 618 เมื่อเกิด ความวุ่นวายและการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของ จีน เพราะเวลานัน้ เป็นช่วงเปลีย่ นผ่านจากรัชสมัยจาก ราชวงศ์สยุ ไปเป็นราชวงศ์ถงั ซึง่ ราชวงศ์สยุ ล่มสลายลง สามเณรเสวียนจัง้ กับพระภิกษุพชี่ ายจึงหนีไปอยูท่ เี่ มือง เฉิงตูที่ตั้งอยู่ใน มณฑลเสฉวนและในขณะที่บรรพชา เป็นสามเณร สามเณรเสวียนจั้งก็ออกเดินทางเพื่อไป กราบไหว้พระภิกษุสงฆ์ที่มีชื่อเสียงตามที่ต่างๆ ทั่ว อาณาจักรจีน และเพือ่ ไปศึกษาหาความรูจ้ ากต�ำราทาง ศาสนาพุทธทีก่ ระจัดกระจายกันอยูต่ ามทีต่ า่ งๆ โดยได้ หมัน่ ศึกษาพระธรรมคัมภีรจ์ นท่านกลายเป็นสามเณรที่ มีความสามารถในการแสดงธรรมเป็นอย่างมาก ต่อมาในปี ค.ศ. 622 เมื่อมีอายุได้ 20 ปี ท่าน อุปสมบทเป็นพระภิกษุทเี่ มืองเฉิงตู ท่านเทีย่ วเดินทาง ศึกษาพระธรรมไปทัว่ จนเดินทางไปถึงเมืองฉางอัน ใน สมัยพระเจ้าถังไท่จงฮ่องเต้องค์ที่ 2 ของราชวงศ์ถัง เมือ่ เรียนรูพ้ ระคัมภีรม์ ากขึน้ พระภิกษุเสวียนจัง้ ก็รสู้ กึ ว่าพระคัมภีรท์ มี่ อี ยูใ่ นจีนเวลานัน้ ไม่คอ่ ยเพียงพอ เนือ้ ความแปลได้ไม่ครบถ้วนและตีความไม่ถูกต้องท่าน สังเกตเห็นว่าแม้คมั ภีรเ์ พียงหนึง่ เล่ม กลับมีคนแปลไป ในความหมายทีแ่ ตกต่างส่วนใหญ่ เนือ้ หามักจะขัดแย้ง ซึ่งกันและกัน ไม่มีต�ำราเล่มไหนจะเป็นมาตรฐานใน การศึกษาได้เลย ท่านจึงปรารถนาที่จะศึกษาพระพุทธ ศาสนาให้ถอ่ งแท้ลกึ ซึง้ และถูกต้องมากกว่านี้ ด้วยเหตุ นี้จึงเป็นบ่อเกิดแห่งความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะ เดินทางไปศึกษาพระธรรมที่อินเดีย อันเป็นแหล่งต้น ก�ำเนิดดั้งเดิมของพระพุทธศาสนา ณ ที่เมืองฉางอันเวลานี้ ภิกษุเสวียนจั้งพยายาม อย่างหนักที่จะเล่าเรียนภาษาสันสกฤตและศึกษาพระ ธรรมมากขึน้ เพือ่ เป็นการเตรียมพร้อมทีจ่ ะเดินทางไป 46 ธรรมจริยา 5
ศึกษาพระธรรมที่อินเดีย จนถึงปี ค.ศ. 626 ก็เรียนรู้ จนเกิดความเชี่ยวชาญช�ำนาญในภาษาสันสกฤต ในปี ค.ศ. 627 พระภิกษุเสวียนจั้งตัดสินใจ ออกเดิ น ทางไปแสวงธรรมและศึ ก ษาพระธรรมที่ มหาวิทยาลัยนาลันทา ที่ประเทศอินเดีย จุดที่ท่านเริ่ม ออกเดินทางคือเมืองฉางอัน ขณะนั้นวิทยาลัยนาลัน ทาถือว่าเป็นแหล่งศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนา ที่ มีชื่อเสียงและมีกิตติศัพท์อันเลื่องลือมาก เหมือน ชะตากรรมได้ชักน�ำไว้แล้ว พระศีลภัทร ซึ่งเป็นพระ อธิการบดีของมหาวิทยาลัยนาลันทา เสด็จมาเยือนนคร ฉางอัน และได้พบกับพระภิกษุเสวียนจั้ง เมื่อทราบถึง ความตั้งใจของพระภิกษุเสวียนจั้งแล้ว ท่านจึงกล่าว เอาไว้ว่า “การที่ท่านจะได้เรียนรู้ความหมายของพระ ธรรมอันศักดิ์สิทธิ์อย่างแท้จริง ท่านควรจะมาเรียนที่ มหาวิทยาลัยนาลันทาแห่งนี้ โดยเราจะเป็นพระอาจารย์ ผู้ฝึกสอนท่านด้วยตัวเราเอง” พระภิกษุเสวียนจั้งมีผู้คุ้มกันพระภิกษุ เดินทาง ไปด้วย ณ เวลานั้นพระเจ้าถังไท่จงห้ามมิให้ผู้คนใน อาณาจักรเดินทางไปดินแดนภายนอก เพราะเวลานั้น ราชวงศ์ถงั ก�ำลังท�ำสงครามกับพวกเติรก์ ตะวันออกอยู่ และทรงมีราชโองการให้ปดิ เส้นทางการเดินทางสูต่ ะวัน ตกเอาไว้ โดยอนุญาตให้ชาวต่างชาติและขบวนสินค้า ผ่านได้เท่านั้น [โดยบัญญัติไว้ว่า หากผู้ใดฝ่าฝืนกฏนี้ จะต้องโทษถึงขั้นประหารชีวิต] กฎนี้ท�ำให้พระสงฆ์ มากมายทีต่ อ้ งการจะเดินทางสูต่ ะวันตกต้องหยุดความ ตัง้ ใจเอาไว้ แต่พระภิกษุเสวียนจัง้ ท่านเห็นว่า อุปสรรค เพียงเท่านี้ไม่สามารถจะเปลี่ยนความตั้งใจท่านได้ พระภิกษุเสวียนจัง้ และคณะลอบเดินทางออกจาก อาณาจักรผ่านทางเมืองเหลียงโจวของ มณฑลกานซู่ และผ่านไปทางมณฑลชิงไห่ ต่อจากนัน้ ก็เดินทางผ่าน ทะเลทรายโกบีไปที่เมืองคูมุลหรือเมืองฮามิ ที่ปัจจุบัน อยู่ในมณฑลซินเจียง ทะเลทรายโกบีขึ้นชื่อในเรื่องที่ เป็นแหล่งฝังร่างของนักเดินทางจ�ำนวนมากมาย
เนือ่ งจากในเวลากลางวันทะเลทรายแห่งนีจ้ ะมีอณุ หภูมิ สูงมาก แต่พอในเวลากลางคืนกลับหนาวมาก และ นอกจากอากาศที่เลวร้ายอยู่แล้วยังเป็นแหล่งที่ขาด แหล่งน�้ำและแหล่งอาหาร ท�ำให้ทะเลทรายแห่งนี้เป็น ที่ฝังร่างของนักเดินทางจ�ำนวนมากมาย กลิ่นอายแห่ง ความตายอบอวลตลอดทางเดินสูต่ ะวันตก ระหว่างทาง ท่านพบเห็นโครงกระดูก ซากพระพุทธรูปมากมาย ซึง่ ท่านก็ทราบดีแก่ใจว่า เขาเหล่านีค้ อื ผูท้ ตี่ อ้ งการจะแสวง บุญไปยังดินแดนตะวันตกเช่นเดียวกับท่านนั่นเอง
เหตุการณ์หนึง่ ซึง่ เป็นทีน่ า่ ประหลาด ในบันทึก บางฉบับได้มีการกล่าวถึงการเผชิญหน้ากับโจรใจโฉด หลายครัง้ ซึง่ พระภิกษุเสวียนจัง้ และคณะก็แคล้วคลาด มาได้ราวกับปาฏิหาริยท์ กุ ครัง้ เช่นเหตุการณ์ในวันหนึง่ ขณะที่ท่านและคณะได้เดินทางข้ามแม่น�้ำอยู่นั้น ก็มี กลุ่มโจรสลัดกลุ่มใหญ่ปรากฏตัวขึ้นพร้อมทั้งเข้าปล้น ทรัพย์สิน เงินทอง อาหาร แต่เนื่องด้วยโจรกลุ่มนี้นั้น นับถือภูติผีเป็นพระเจ้า จึงต้องการน�ำคนไปบูชายัญ ให้กับเทพเจ้าที่ตนเองนับถือด้วย ซึ่งก็บังเอิญว่า พระ ภิกษุเสวียนจั้งนั้นมีลักษณะตรงตามที่ต้องการพอดี พวกโจรจึงพากันจัดแท่นบูชายัญบนเรือของตนเอง กันอย่างขยันขันแข็งด้วยความ อิ่มเอิบใจที่จะได้เซ่น บวงสรวงแก่ภูตผีที่พวกตนนับถือ เมื่อการก่อสร้าง แท่นบูชายัญแล้วเสร็จ จึงได้นำ� ท่านขึน้ ไปบนแท่นเพือ่ บูชายัญ ในขณะนัน้ พระภิกษุเสวียนจัง้ นัน้ ท่านหาได้แสดง
ทีทา่ หวาดกลัวแต่อย่างใดไม่ ยังคงความสงบเยือกเย็น ราวกับว่าท่านปลงใจได้ว่าอะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิดไป ตามกรรม ท่านจึงกล่าวกับเหล่าโจรว่า “ในเมื่อท่าน ต้องการบูชายัญเราให้กบั พระเจ้าของท่านแล้ว เรา ก็จะไม่ขัดขืนแต่ประการใด” จากนั้นท่านก็นั่งลงใน ท่าขัดสมาธิ พร้อมทั้งเริ่มออกเสียงสวดมนค์พระนาม ของพระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์เจ้า ทุกๆพระองค์ ซึ่ง ก็ราวกับปาฏิหาริย์ เพราะจูๆ่ ก็เริม่ มีลมวูบใหญ่พดั แรง จนกิง่ ไม้ขนาดใหญ่ทอี่ ยูบ่ นฝัง่ นัน้ หักโค่นลงมา ฟ้าเริม่ ผ่าเหมือนกับมีพายุใหญ่ จนเรือของโจรสลัดบางล�ำถึง กับล่มลงในแม่น�้ำ เหล่าโจรสลัดพากันกลัวอกสั่นขวัญ หายกับสิ่งที่ก�ำลังเกิดขึ้น เสียงร้องขอความช่วยเหลือ ดังระงมไปทั่ว ซึ่งขณะนั้น ผู้ร่วมทางคนหนึ่งในคณะ ของท่านเกิดความคิดขึ้นมาจึงร้องตะโกนบอกพวก โจรว่า “พวกท่านไม่รู้หรือว่า บุคคลที่ท่านก�ำลังจะ บูชายัญนัน้ คือ พระเสวียนจัง้ ผูย้ งิ่ ใหญ่ การทีพ่ วก เจ้าหมิน่ ท่านเช่นนี้ มิเห็นหรือว่าแม้แต่พระเจ้าของ พวกเจ้าก็ยังทรงพิโรธ จนถึงกับจมเรือพวกเจ้าลง แล้ว” พวกโจรที่ก�ำลังขวัญหนีดีฝ่อได้ยิน เช่นนั้นจึงพา กันก้มตัวลงกราบกรานพระภิกษุเสวียนจั้ง พร้อมกับ อ้อนวอนขอความเมตตา ให้ทา่ นอภัยให้กบั สิง่ ทีพ่ วกตน ได้กระท�ำลงไปในครัง้ นี้ แต่ในครานัน้ พระภิกษุเสวียน จัง้ ท่านอยูใ่ นอารมณ์สมาธิแล้ว ท่านจึงมิได้สนใจกับสิง่ ที่เกิดขึ้นแต่อย่างใด ยังคงนั่งหลับตาอย่างสงบ โดย ปราศจากทีท่าตื่นตระหนกกับสิ่งรอบข้างแต่อย่างใด จนเมือ่ หัวหน้าของโจรสลัดคลานขึน้ ไปยังแท่นบูชายัญ พร้อมกับสะกิดเรียกท่าน อย่างแผ่วเบา ท่านจึงลืมตา ขึ้น พร้อมกับถามอย่างสงบนิ่งว่า “นี่ถึงเวลาส�ำหรับ การบูชายัญแล้วหรือ” ความใจเย็นของท่านกับการ เผชิญหน้ากับความเป็นตายในครัง้ นีท้ ำ� ให้เหล่าโจร เชื่อมั่นว่าท่านเป็นผู้วิเศษมีอิทธิฤทธิ์ จึงกล่าวขอ ขมาท่านพร้อมทั้งแล่นเรือมาส่งให้ถึงฝั่งอีกด้วย ธรรมจริยา 5 47
หลังจากพระภิกษุเสวียนจั้งจาริกมาถึง ประเทศ อินเดียแล้วนั้น ท่านก็ได้เดินทางไปยังเมืองแคชเมียร์ ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาในสมัย นัน้ ซึง่ ในแคชเมียร์นมี้ พี ระสงฆ์บรรพชาอยูก่ ว่า 5,000 รูป ท่านจึงได้พ�ำนักอยู่ที่นี่ พร้อมกับเรียนรู้ธรรมะจาก พระอาจารย์ชื่อดังในสมัยนั้นเป็นเวลาถึง 2 ปี ท่าน ยังได้ผ่านเมืองมากมายจนกระทั่งได้ผ่านมาพบกับ โรงเรียนแห่งหนึ่งซึ่งยึดหลักค�ำสอนว่า จิตเท่านั้นที่ คงอยูใ่ นโลกนีท้ เี่ ป็นของจริง ส่วนทุกสิง่ ทีเ่ หลือนัน้ เป็นเพียงแต่ภาพลวงตาส�ำหรับเราเท่านั้นยึดเป็น แก่นสารไม่ได้ ซึง่ ท่านก็มคี วามศรัทธาในความคิดเช่น นี้เหมือนกัน จากนัน้ มาท่านก็แสวงบุญไปยังสถานทีท่ ี่ พระพุทธเจ้าได้ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และ ปรินิพพาน หลังจากได้ไปสักการะสังเวชนียสถาน ทุกแห่งแล้ว ท่านก็ได้ตั้งเป้าหมายการเดินทางไปที่ มหาวิทยาลัยนาลันทาซึง่ เป็นทีห่ มายใน การศีกษาของ ท่านตั้งแต่แรก มหาวิทยาลัยนาลันทาเป็นสังฆาราม สถานศึกษา ในทางพุทธศาสนา ฯพณฯ เยาวหราล เนห์รู เขียนไว้ ใน Glimpses of World History ว่า สถาบันการ ศึกษาที่มีคุณภาพในอินเดียยุคนั้น มี ๔ เมือง คือ ตัก กสิลา มถุรา อุชเชนี และนาลันทา แต่ทมี่ ชี อื่ เสียงเป็นที่ ยอมรับออกสูส่ ายตาของต่างประเทศ ก็คอื มหาวิทยาลัย นาลันทา ในยุคนั้น มีนักศึกษาประมาณ ๑๐,๐๐๐ มีครูรวม ทั้งเจ้าหน้าที่ของมหาวิทยาลัยประมาณ ๑,๐๐๐ คน มีการสอนวิชาทุกอย่างที่อินเดียมีอยู่ในสมัยนั้น สอน ทั้งพุทธ พราหมณ์ สอนทั้งหินยาน มหายาน สอน ทั้งพระเวท มีภาควิชาอยู่ ๕ แขนงให้เลือกเรียน คือ พุทธปรัชญา วรรณคดี ตรรกวิทยา แพทย์ศาสตร์ และ คัมภีร์พราหมณ์ แต่มีวิชาหลักบังคับให้เรียน คือ พระ ไตรปิฎก พระภิกษุเสวียนจั้ง เดินทางมาถึงนาลันทา ในปีพ.ศ. ๑๓๐๐ (ค.ศ. ๗๕๗) ได้บันทึกเอาไว้ว่า 48 ธรรมจริยา 5
พระเจ้ า หรรษวรรธนะ แห่ ง ราชวงศ์ คุ ป ตะ พ.ศ. ๑๑๔๙–๑๑๙๑ (ค.ศ. ๖๐๖–๖๔๘) ทรงให้ความ อุปถัมภ์อย่างแข็งแรง โดยทรงสร้างกุฏิเป็นโลหะทั้ง หลัง ถวายราชทรัพย์ที่ได้จากภาษีหมู่บ้าน ๑๐๐ หมู่ บ้าน ให้แก่มหาวิทยาลัยทัง้ หมด และทรงก�ำหนดให้ชาว บ้าน ๒๐๐ ครัวเรือน ในหมูบ่ า้ น คอยดูแลจัดหาข้าวสาร นมเนย ถวายพระภิกษุในมหาวิทยาลัยไม่ให้บกพร่อก นาลันทามหาวิหารในยุคนัน้ จะ เรียกว่าอยูใ่ นราชูปถัมภ์ ก็ได้ เพราะกษัตริย์ทุกๆ พระองค์ ทรงถือเป็นเกียรติ อย่างสูงทีไ่ ด้อปุ ถัมภ์สงั ฆารามแห่งนี้ ดังเช่นที่ พระเจ้า พลาทิตย์ทรงสร้างวิหาร ๑ หลัง เป็นวิหารรวมศาสนา อืน่ ๆ เข้าไปท�ำพิธกี ไ็ ด้ พระเจ้าเทวปาละ ทรงอุทศิ ทีด่ นิ ให้แก่ มหาราชา พุลบุตร และสร้างวิหารอีกหนึ่งหลัง ทั้งกับทรงยกหมู่บ้านราชคฤห์สี่แห่ง หมู่บ้านคยาหนึ่ง แห่ง ให้มหาวิทยาลัยเก็บผลประโยชน์
การเรี ย นการสอน เป็ นไปอย่ า งเข้ มงวด คื อ อาจารย์คนหนึ่งสอนลูกศิษย์เพียง ๔ คน ใช้เวลาสอน ตั้งแต่เช้า จนตะวันตกดิน เปิดโอกาสให้มีการปุจฉา วิสัชนากันได้อย่างเต็มที่ ใครสงสัยอะไรก็ซักถามกัน ได้อย่างถี่ถ้วน ให้รู้แจ่มแจ้งในทุกแขนงวิชา นาลันทา จึงเป็นแดนแห่งเสรีภาพ ในความเชื่อ ความคิด แก่ นักศึกษาอย่างเต็มที่ ด้วยเหตุนี้วิทยาการทั้งหลาย จึง เจริญรุ่งเรืองตามล�ำดับ
พระภิกษุเสวียนจั้งเดินทางกลับมาถึงนครซีอาน ในปีพ.ศ. ๑๑๘๘ รวมระยะเวลาเดินทาง ๑๗ ปี ระยะ ทางรวมทั้งสิ้นกว่า ๑๕,๐๐๐ ไมล์ สิ่งที่น�ำกลับมานั้นมี พระคัมภีรแ์ ละพระพุทธรูปทีท่ า่ นสะสมมาเป็นเวลานาน ปี หลังจากเดินทางถึงเขตชายแดนแล้ว ท่านจึงได้ส่ง จดหมายไปยังพระจักรพรรดิเพื่อขอพระราชทานพระ อภัยโทษ พร้อมทัง้ บอกเล่าเรือ่ งราวทีท่ า่ นได้ประสบพบ เจอมาระหว่างการเดินทางอันแสนล�ำบากนัน้ เมือ่ พระ จักรพรรดิได้รบั จดหมายแล้วก็ทรงมีความสนพระทัยใน ข้อมูลต่างๆ รวมถึงประเทศทางตะวันตกด้วย จึงได้มี รับสัง่ อภัยโทษให้กบั ท่าน แล้วเรียนเชิญท่านมายังเมือง หลวง หลังจากการศึกษาแล้ว พบว่า พระถังซ�ำจั๋งนั้น ได้นำ� พระคัมภีรก์ ลับมาด้วยกว่า 600 เล่ม ซึง่ ส่วนใหญ่ เป็นค�ำสอนของลัทธิมหายาน เมื่อท่านจากไปครั้งนั้น ต้องไปแบบหลบๆ ซ่อนๆ เสี่ยงชีวิต แต่เมื่อท่านได้ กลับมาอีกครั้ง ถนนเต็มไปด้วยผู้คนที่มาแสดงความ ชื่นชมต้อนรับท่านกันทั่วไป หลังจากเข้าเฝ้าแล้วท่าน ก็เข้าพักอยู่ที่วัดหงฝู (Hong Fu) ในกรุงฉางอัน ด้วย พระราชูปถัมภ์ของจักรพรรดิถงั ไท่จง ท่านพระอาจารย์ เสวียนจั้งได้จัดท�ำโครงการแปลพระคัมภีร์อันยิ่งใหญ่ โดยเปิดรับสมัครพระภิกษุชั้นผู้ใหญ่และนักวิชาการผู้ มีชื่อเสียงจากท้องถิ่น ต่างๆ มาแปลพระคัมภีร์เป็น เวลานานถึง 19 ปีองค์จักรพรรดิได้ทรงขอให้ท่าน เขียน ข้อมูลเหล่านั้นขึ้นเป็นรูปเล่มเพื่อเป็นประโยชน์ ในอนาคตรวมทัง้ ยังทรงขอให้ ท่านท�ำงานในพระราชวัง โดยมีศกั ดิเ์ ป็นขุนนางในพระราชวังด้วย แต่ทา่ นปฏิเสธ เพราะท่านอยากมุ่งมั่นกับการแปลพระคัมภีร์ให้คน รุ่นหลังได้ศึกษามากกว่า ต่อมาพระจักรพรรดิจึงทรง สนับสนุนการแปลพระคัมภีร์มากขึ้น โดยทรงถึงกับ ตั้งศูนย์กลางการแปลพระคัมภีร์ขึ้นมาให้กับท่านพระ อาจารย์เสวียนจั้งโดยตรง รวมถึงทรงสนับสนุนเบี้ย ปัจจัย บุคคลากรพร้อมอุปกรณ์การเขียนทัง้ หลาย เพือ่ ความสะดวกต่อการด�ำเนินการแปลคัมภีร์ จากภาษา
ต่างๆ มาเป็นภาษาจีน ซึ่งต่อมามีส่วนอย่างมากต่อ การเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในประเทศจีน พระอาจารย์เสวียนจั้งยังได้แต่งหนังสือค�ำสอนขึ้นมา เองอีกหลายเล่มเพื่อมุ่งเน้นหลัก ธรรมที่ท่านได้ศึกษา โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับจิดวิญญาณ ท่านได้แปลค�ำ สอนต่างๆ จากภาษาสันสกฤตมาเป็นภาษาจีน
ธรรมจริยา 5
49
ท่านอุทิศตนในการแปลพระคัมภีร์อย่าง ตั้งใจ ใน ระยะเวลา 19 ปีท่านได้แปลคัมภีร์ทั้งหมด 75 เรื่อง 1335 ม้วน ครอบคลุมถึงผลงานทั่วไปที่เกี่ยวกับพุทธ ศาสนาในอินเดีย ในสมัยศตวรรษที่ 5 นอกจากนี้ ใน ปัน้ ปลายชีวติ ท่านอาจารย์ยงั ได้แปล “พระมหาปรัชญา สูตร” รวม 600 ม้วนซึ่งเป็นพระสูตรเล่มใหญ่ที่สุด
จวบจนกระทั่ง อายุ 63 ปี เนื่องจากสุขภาพที่อ่อนแอ ลง รวมถึงการตรากตร�ำท�ำงานหนัก ท่านได้มรณภาพ ลงในวัดยู่หัว เมืองฉางอัน ท่านพระอาจารย์เสวียน จั้งมรณภาพเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 664 ก่อน มรณภาพท่านให้จดั พิธศี พเป็นเรียบง่าย แต่องค์ฮอ่ งเต้ ก็จัดงานให้ท่านอย่างยิ่งใหญ่และมีผู้มาเข้าร่วมพิธี มากมาย คนเรียกท่านว่า “ซานฉางฝ่าซือ” ที่แปลว่า “พระธรรมาจารย์ไตรปิฎก” ส่วนค�ำเรียกชื่อท่านว่า “พระถังซ�ำจัง๋ ” นัน้ มีความหมายว่า “พระไตรปิฎก ธรรมาจารย์แห่งราชวงศ์ถัง” ยามที่ท่านได้มรณภาพ ลงนั้น แม้แต่องค์จักรพรรดิก็ต้องทรงกรรแสง เอ่ย พระโอษฐ์ออกมาว่า “ดวงแก้วมณีอนั ล�ำ้ ค่าของชาติ ได้ สาบสูญไปเสียแล้ว” ปัจจุบันนี้ หลักฐานเกี่ยวกับท่าน ยังสามารถหาชมได้ในวัดเก่าแก่บางแห่งในประเทศ จีน รวมถึงประเทศญี่ปุ่นด้วย นอกจากผลงานทางพุทธศาสนาแล้ว พระถังซ�ำจัง๋ ยังน�ำสิ่งที่ได้เห็นได้ยินมาด้วยตนเองไปเล่าให้เปี้ยนจี ลูกศิษย์ฟัง และให้บันทึกเป็นหนังสือโดยให้ชื่อเรื่อง ว่า “บันทึกการเดินทางสูแ่ ดนตะวันตกสมัยราชวงศ์ 50 ธรรมจริยา 5
ถัง” (Datang’s Western Regions [“ต้าถังซี โหยวจี”้ (大唐西游记) โดยเขียนขึน้ เมือ่ ปี ค.ศ. 646 ใช้เวลาเขียนนาน 1 ปี บันทึกการเดินทางของพระ ภิกษุเสวียนจั้งนั้นมีคุณาประการมหาศาลต่อการศึกษา ประวัติศาสตร์ เพราะอุดมไปด้วยข้อมูลส�ำคัญของ ดินแดนในเอเชียกลางและเอเชียใต้ ท�ำให้คนในสมัย หลังทราบถึงสภาพของดินแดนเหล่านี้เมื่อ 1,300ปีที่ แล้ว นอกจากนี้ยังทราบถึงสภาพการเดินทาง สภาพ ภูมิประเทศของดินแดนที่พระภิกษุเสวียนจั้งเดินทาง ผ่านระหว่างการจาริก แสวงบุญ ประวัติความเป็นมา ของดินแดนนัน้ ๆ สภาพผูค้ น ดินฟ้าอากาศ วัฒนธรรม อันหลากหลาย ฯลฯ บันทึกการเดินทางนี้พระภิกษุ เสวียนจั้งได้เล่าถึงดินแดนต่างๆ กว่า 138 แห่ง ดิน แดนที่พระภิกษุเสวียนจั้งเดินทางผ่านไปด้วยตัวเอง นั้นมีทั้งหมด 110 แห่ง และที่เหลือเขียนบันทึกจาก ค�ำบอกเล่าของผู้อื่น พระถังซ�ำจั๋งจึงมีฐานะส�ำคัญในประวัติวัฒนธรรม ของจีนตลอดจนของตะวันออก ชีวิตของพระภิกษุ เสวียนจั้ง ได้เป็นแรงบันดาลในให้นักประพันธ์ในรุ่น หลังสร้างสรรค์เรื่องราวอันทรงคุณค่า มาช่วยจรรโลง โลกให้รื่นรมย์มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นงานศิลปะและงาน เขียน มีภาพวาดพระถังซ�ำจั๋ง มีงานเขียนอันส�ำคัญๆ เกิดขึ้นมากมาย อย่างเช่น “กาพย์กลอนว่าด้วยพระ ถังซ�ำจั๋งไปอัญเชิญพระคัมภีร์” ที่แต่งขึ้นมาในสมัย ราชวงศ์ซ่ง
และสุดยอดวรรณกรรมอมตะอย่าง “ไซอิว๋ ” ทีแ่ ต่งขึน้ มาในสมัยราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดย อู๋เฉิงเอิน ไซอิ๋ว เป็นเรื่องของการเดินทางไปยังชมพูทวีป (อินเดีย) เพื่ออัญเชิญคัมภีร์พระพุทธศาสนาของ พระ ถังซ�ำจัง๋ โดยมีสตั ว์เทพ 3 องค์เป็นเพือ่ นร่วมทาง ไซอิว๋ ได้แปลเป็นภาษาต่างๆ มากมาย รวมทัง้ ภาษาไทยและ มีหลายแนวคิดที่ซ่อนลึกอยู่ แนวคิดที่ 1 เป็นการเดินทางธุดงภ์ของพระ ถังซ�ำจั๋ง โดยมีศิษย์เอกคือ เห้งเจีย โป้ยก่าย และซัว เจ๋ง เป็นองครักษ์ซึ่งคนทั่วไปรู้เรื่องราวจากสื่อทีวีและ ภาพยนตร์ แนวคิดที่ 2 เป็นต�ำนานวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณีจีนที่ก�ำเนิดมาจากสมัยราชวงศ์ถัง เช่น การ ใช้สตางค์ โปรยทาน ก�ำเนิดทวารบาล การเผากระดาษ เงิน กระดาษทอง ฯลฯ แนวคิดที่ 3 การเดินทางธุดงค์ของพระถังซ�ำจั๋ง ซึ่งท่านบัณฑิตอู๋เฉิงเอิน เขียนไว้แท้จริง มิใช่การเดิน ทางในความหมายที่คนทั่วไปเข้าใจ แต่ ... เป็นการ
เดินทางของจิตวิญญาณ โดยการ บ�ำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีลสิกขา สมาธิสิกขา และปัญญาสิกขา และ ศิษย์เอกทั้ง 3 ของ พระถังซ�ำจั๋ง เปรียบเหมือนเป็น ตัวแทนของไตรสิกขาไม่มตี วั ตนจริงเป็นเพียงบุคลาทิษ ฐาน และการเดินทางต้องเผชิญกับยักษ์มารภูตผีปศี าจ ต่างๆ ซึง่ เปรียบเหมือนกิเลสหรืออกุศลธรรม ส่วนคนดี ทีพ่ บเจอในระหว่างเดินทางเป็นตัวแทนของกุศลธรรม จากที่ท่าน ล.เสถียรสุตเขียนไว้ว่าเห้งเจียมี ลักษณะขี้โมโห และมีความเฉลียวฉลาด หมูตือโป๊ยก่ายมีความโลภ และมักมากในการกิน ส่วนซัวเจ๋งมี ความโง่ซอื่ เป็นเจ้าเรือนแม้ชอื่ ก็ตงั้ ได้ตรงกับบุคลิกของ ตัวละคร อย่างเช่นเห้งเจียนี้ แปลว่า นักปฏิบัติ คือถ้า โกรธมากก็ต้องปฏิบัติให้มาก เพื่อควบคุมความโกรธ โป๊ยก่ายมีความโลภต้องเอาศีลแปดมาควบคุม ตา หู จมูก ลิน้ กายสัมผัสไว้ ส่วนซัวเจ๋งนีโ้ ง่กต็ อ้ งเอาปัญญา เข้ามาน�ำทางรวมศีล สมาธิ ปัญญา ของทั้งสามนี้เข้า ก็เป็นทางไปสู่ความหลุดพ้นได้ส่วนพวกปิศาจก็เป็น บุคลิกลักษณะจิตใจชนิดต่างๆ ของคนเช่นกัน ธรรมจริยา 5
51
唐三藏 玄奘(公元600~ 664年),法号:唐三藏。中国洛州缑氏(今河南洛 阳偃师)人。玄奘12岁出家,遍读佛典。因觉得当时佛典多有出入之处,令 人迷惑,玄奘于是决定去印度取经。玄奘在贞观三年时,一人从长安出发, 历经艰辛到达印度佛教中心那烂陀寺。玄奘拜住持戒贤为师,后升至该寺副 主讲。玄奘在贞观十九年回到长安,共带回佛舍利150粒、佛像7尊、经论 657部。其后,玄奘在唐太宗的支持下在长安大慈恩寺设译经场,与弟子等 人专心翻译所带回的佛典。玄奘及其弟子共译出佛典75部,1355卷。玄奘 的译典著作有《大般若经》、《心经》、《解深密经》、《瑜伽师地论》、 《成唯识论》等。《大唐西域记》十二卷,记述他西游亲身经历的110个国家 及传闻的28个国家的山川、地邑、物产、习俗等。玄奘被世界人民誉为中外 文化交流的杰出使者,其爱国及护持佛法的精神和巨大贡献,被誉为“中华 民族的脊梁”,世界和平使者。他以无我无人无众生无寿者相,不畏生死的 精神,西行取佛经,体现了大乘佛法菩萨,渡化众生的真实事迹。
西游记里的唐僧 《西游记》,作者“华阳洞天主人(一般认为是吴承恩或者李春芳)”, 它是古代长篇小说浪漫主义的高峰,在世界文学史上,它也是浪漫主义的杰 作。 小说里的唐僧是虚构的人物,与历史上的真实人物玄奘是有区别的。小 说里的唐僧,俗姓陈,小名江流儿,法号玄奘,号三藏,被唐太宗赐姓为 唐。为如来佛祖第二弟子金蝉长老投胎。在书中暗指火属性。他是遗腹子, 由于父母凄惨、离奇的经历,自幼在寺庙中出家、长大,在金山寺出家,最 终迁移到京城的著名寺院中落户、修行。唐僧勤敏好学,悟性极高,在寺庙 僧人中脱颖而出。最终被唐太宗选定,与其结拜并前往西天取经。在取经的 路上,唐僧先后收服了三个徒弟:孙悟空、猪八戒、沙僧,并取名为:悟 空、悟能、悟净,之后在三个徒弟和白龙马的辅佐下,历尽千辛万苦,终于 从西天雷音寺取回三十五部真经。功德圆满,加升大职正果,被赐封为旃檀 功德佛。手执由观音菩萨所赠的九环锡杖,身披锦襕袈裟。
52
ธรรมจริยา 5
ได้เดินทางไกลกับไซอิ๋ว ลิ่วลิ่วล่องไปในแดนจิต มากมีมายาสารพิษ มากฤทธิ์ร้อยพันสารภัย บางครั้งเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า นานาความอยากมักได้ คอยตั้งแต่จะเอาเข้าไป เท่าไรเท่าไรไม่เคยพอ บางครั้งรั้นโลดโดดดุ ราวไฟปะทุติดต่อ ท�ำลายไม่ยั้งไม่รั้งรอ เก่งกาจจริงหนอนะใจเรา บางครั้งงมเงื่องเซื่องซึมเซ่อ ละเมอเพ้อบ้าพาขลาดเขลา มืดมนหม่นมัวมั่วมึนเมา จับเจ่าจ่อมจมจนจ�ำเจ ถอยหลังนั่งยามตามดูจิต เห็นฤทธิ์เห็นรอยก�ำหราบเล่ห์ เห็นภูมิปัญญามาถ่ายเท เสน่ห์ผู้รู้ผู้ตีความ เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ พฤ. ๒ พ.ย. ๒๕๓๒ ธรรมจริยา 5
53
พระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร(เย็นเต็ก) เจ้าอาวาสวัดโพธิ์แมนคุณาราม เจ้าคณะใหญ่จีนนิกายแห่งประเทศไทย
普門報恩寺 วัดโพธิ์แมนคุณาราม 54
ธรรมจริยา 5
华宗礼佛 นมัสการพระวัดจีน
วั ด โพธิ์ แ มนคุ ณ าราม (โพวมึ้ ง ป่ อ อึ ง ยี่ ) (จีน:普門報恩寺 ) เป็นวัดในพุทธศาสนาฝ่าย มหายาน สังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย สืบทอดหลักธรรมค�ำสอนมาจากนิกายเซน สาขาหลิน ฉี (วิปัสสนากรรมฐาน) และเป็นศูนย์กลางหลักธรรม ค�ำสอนของนิกายวินัย และนิกายมนตรายาน ของวัชร ยาน ทิเบต และเป็นศูนย์กลางการปกครองคณะสงฆ์ จีนนิกายแห่งประเทศไทย และศูนย์กลางการเผยแผ่ หลักธรรมค�ำสอนของพุทธศาสนานิกายมหายาน และ วัชรยานอีกทัง้ เป็นแหล่งข้อมูลพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ของประเทศไทย เริ่มก่อสร้างสถาปนาวัดเมื่อปีพ.ศ. 2502 โดยมีพระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร (โพธิ์แจ้งมหาเถระ) อดีตเจ้าคณะใหญ่จีนนิกาย รูปที่ 6 เป็นผู้น�ำสร้าง พร้อมด้วยคณะข้าราชการชั้น ผู้ใหญ่ พ่อค้า ประชาชนตลอดจน พุทธบริษัทชาว ไทยและจีน ได้ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่
5 ธันวาคม พ.ศ. 2503 มีเนื้อที่ 12 ไร่เศษ ใช้ทุน ทรัพย์ในการก่อสร้างประมาณ 30 ล้านบาท ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2513 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ประกอบพิ ธี ย กยอดฉั ต ร เจดีย์ อุโบสถ และ พระราชทานพระปรมาภิไธย ย่อ “ภปร” ประดิษฐานหน้าบันอุโบสถ ปีพ.ศ. 2514 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระนามพระ ประธานอุโบสถว่า “พระพุทธวัชรโพธิคุณ” และ ในปีเดียวกันนี้ สมเด็จพระสังฆราช (อุฏฐายีมหา เถระ) ทรงพระกรุณาพระราชทานเป็นวัดพัฒนาดีเด่น พร้อมประกาศนียบัตรจากกรมการศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการแด่ท่านเจ้าคณะใหญ่จีนนิกาย (โพธิ์แจ้ง มหาเถระ) ที่ได้สร้างและพัฒนาวัดจนเป็นวัดพัฒนา ตัวอย่าง ธรรมจริยา 5
55
ลักษณะสถาปัตยกรรมวัดโพธิ์แมนสร้างตามหลัก ฮวงจุย้ ลักษณะรถม้าก�ำลังลากราชรถ ซึง่ ประตูทางเข้า วัดมีซุ้มประตู 5 ประตูเปรียบเหมือนม้าห้าตัว ก�ำลัง ลากราชรถ คือพระอุโบสถ อันมีพระศรีศากยมุนีพุทธ เจ้าเป็นประธาน ตัวพระอุโบสถเป็นลักษณะผสมผสาน ระหว่าง พุทธศิลป์ ไทย จีน และธิเบต พระอุโบสถ เป็นรูปทรงจีน พืน้ หินขัดลายจีน สถาปัตยกรรมของวัด โพธิ์แมนเป็นฝีมือออกแบบโดยเจ้าคุณโพธิ์แจ้งมหา เถระ อดีตเจ้าคณะใหญ่นิกายจีน ส�ำหรับถาวรวัตถุที่ ส�ำคัญๆของวัดมีอโุ บสถ 3 ชัน้ ยอดเป็นฉัตรเจดียบ์ รรจุ
พระบรมสารีรกิ ธาตุ ภายในประดิษฐาน “พระพุทธวัชร โพธิคุณ” ปิดทองเหลืองอร่าม พร้อมด้วยหมู่พระพุทธ รูป 1,000 องค์ ซึ่งประดิษฐานอยู่บนเพดานทั้ง 3 ชั้น ของอุโบสถ ฝาผนัง 2 ข้าง เป็นจิตรกรรมกระเบื้องโม เสครูปพระอรหันต์ 500 องค์อีกด้านหนึ่งเป็นเรื่องราว เกี่ยวกับการออกบิณฑบาตร โปรดสัตว์ในกรุงสาวัตถี ประเทศอินเดียสมัยพุทธกาล อีกด้านหนึ่งเป็นเรื่อง ราวพระอรหันต์ประชุมสังคยนาพระธรรมวินยั ฐานและ ขั้นเป็นหินอ่อนอิตาลี เสาเป็นลวดลายตัวมังกรสลัก 56 ธรรมจริยา 5
ปิดทอง หน้าพระอุโบสถ ประดิษฐานพระปรมาภิไธย ย่อ “ภปร” รอบอุโบสถล้อมด้วยลูกกรงแก้ว มีเสมา หินอ่อนและแกะสลักด้วยรูปท้าวจตุโลกบาลทั้งสี่ และ เครื่องหมายรูปวัชระธิเบต ด้านหน้าอุโบสถเป็นมหา วิหารท้าวจตุโลกบาลทั้งสี่ทิศ ภายในประดิษฐานพระ ศรีอารยเมตตรัยโพธิสตั ว์ และท้าวจตุโลกบาลทัง้ สี่ ด้าน หน้ามหาวิหารจารึกอักขระภาษาจีนธิเบต แกะสลัก ด้วยไม้สกั ปิดทองด้านหลังอุโบสถเป็นวิหารบูรพาจารย์
ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปหินอ่อน พร้อมพระ สาวกซ้ายขวา และรูปเหมือนอดีตท่านเจ้าคณะใหญ่ โพธิ์แจ้งมหาเถระ ซึ่งแกะสลักด้วยหินอ่อน จาก ประเทศอิตาลี นอกจากนี้ ยังมีวิหารพระอวโลกิเตศวร โพธิสัตว์ (พระกวนอิมโพธิสัตว์) ปางสหัสกร ปางสหัส เนตร (พันมือ พันตา) ซึ่งเป็นวัตถุโบราณ แกะสลัก ด้วยไม้จนั ทน์จากเมืองจีนสมัยราชวงศ์ถงั ทางเดินส่วน ใหญ่เป็นหินขัดนอกจากนี้ยังมี วิหารบูรพาจารย์ วิหาร บรรพบุรุษ หอศึกษาธรรมประภาศวิทยาคาร ห้องสมุด หออาคันตุกะ หอวัตถุธรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการ สงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย พร้อมด้วยหมู่กุฏิสงฆ์ เรียงรายอยู่โดยรอบอย่างเป็นระเบียบด้านนอกมีเจดีย์ ทรงญี่ปุ่น 3 ชั้น ศาลาพระพรหม ประตูมังกร 9 ขด องค์พระปัทมคุรุสมภพวัชรจารย์ธิเบต 7 ชั้น
เจดีย์ 7 ชั้นทรงจีน ศาลาเยาวราช วัชรเจดีย์ทรงธิเบต เดิมเป็นสถานทีบ่ รรจุสรีระของท่านเจ้าคุณโพธิแ์ จ้งมหา เถระ หอพระไตรปิฎก อาคารอนุสรณ์โพธิแ์ จ้งมหาเถระ ด้านขวาของพระอุโบสถเป็นอาคารส�ำนักงานเจ้าคณะ ใหญ่จีนนิกาย แห่งประเทศไทย ภายในจัดแสดง วัตถุโบราณล�้ำค่ามากมาย เช่น พระพุทธรูป และพระ โพธิสัตว์ และหยกแกะสลักเป็นพระโพธิสัตว์ห้าร้อย พระองค์ ตราประจ�ำต�ำแหน่งพระสังฆนายกนิกายมน ตรายาน คธาธุดงค์ พัดยศงาช้าง เป็นต้น ถัดมาเป็นห้องเก็บพัดยศ อัฐบริขารฝ่ายมหายาน และ ห้องเก็บพระคัมภีร์ มนตรา ฝ่ายมหายาน ประตู ด้านหน้าหอเก็บทาด้วยสีด�ำลงรักเขียนด้วยทองค�ำ เป็นรูปภาพต่าง ๆ สวยงามมากหอพระไตรปิฏกฉบับ มหายาน ซึ่งเป็นหอพระไตรปิฏกส�ำคัญที่สุดของโลก คือ เป็นสถานที่ประดิษฐานของพระไตรปิฏกของ มหายาน หินยาน และวัชรยาน(ทิเบต)นิกายมนตรยาน ซึ่งสิ่งล�้ำค่าที่สุดในนี้คือ พระไตรปิฏกฉบับจักรพรรดิ เหลียงบู้ตี้ ซึ่งในโลกนี้มีแค่ 3 ที่เท่านั้นที่มีการเก็บ รักษาอยูจ่ นถึงปัจจุบนั และสิง่ ล�ำ้ ค่าอีกอย่างหนึง่ คือพระ คัมภีร์ของวัชรยาน(ทิเบต)นิกายมนตรายาน ในโลกนี้ มีที่นี่ที่เดียวที่สมบูรณ์ที่สุด ซึ่งท่านเจ้าคุณโพธิ์แจ้งได้ อัญเชิญมาจากทิเบต ตามค�ำสั่งของท่านอาจารย์นอร่า รินโปเช่ ก่อนที่ทิเบตจะแตก 3 ปี วัดโพธิ์แมนคุณาราม (โพวมึ้งป่ออึงยี่) ปัจจุบันท่านเจ้าคุณพระมหาคณาจารย์จีนธรรม สมาธิวัตร (ท่านเจ้าคุณเย็นเต็ก) ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะใหญ่จีนนิกายรูปที่ 7 เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ แมนคุณาราม และเจ้าอาวาสวัดหมื่นพุทธเมตตา คุณาราม โอวาทธรรมของหลวงพ่อเจ้าคณะใหญ่จีน นิกาย ท่านเจ้าคุณเย็นเต็ก พระพุทธศาสนาสอนให้เราพึ่งตนเอง ตนเป็นที่ พึ่งของตน
ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น เราควรท� ำ สิ่ ง ที่ เ ป็ น กุ ศ ลเป็ น ธรรมะให้เกิดประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น เราเป็นชาวพุทธจะต้องปฏิบัติตามหลักธรรมค�ำ สอนทีพ่ ระพุทธองค์ตรัสสอน ละชัว่ ท�ำดี นัน่ คือค�ำสอน ที่ชัดเจน ต้องการให้ชาวพุทธเราปฏิบัติตาม ทุกๆคน หากมีความวิริยะอุตสาหะ บ�ำเพ็ญปฏิบัติตาม พระพุทธองค์ก็จะหาพบธรรมะได้ง่าย การเดินทางมาวัด วัดโพธิ์แมนคุณารามตั้งอยู่ที่ เลขที่ 323 ถนนสาธุประดิษฐ์ ซอย19 (ซอยวัดโพธิ์ แมน) เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10120 โทร. 02-2112363 , 02-2117885 โทรสาร 02–2127777 เปิดให้เยี่ยมชมได้ ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 07.00-18.00 น. ทางรถยนต์ใช้ทางด่วนขั้นที่ 1 ลงที่ถนนสาธุประดิษฐ์ แล้วกลับรถทางขวา ผ่านเซ็นทรัลพระราม3 ถึงถนน นราธิวาสราชนครินทร์ ให้เลี้ยวซ้ายเข้าซอยนราธิวาส ราชนครินทร์ 24 ถ้ามาจากฝั่งสาธุประดิษฐ์ เข้าซอย สาธุประดิษฐ์ 19 (ซอยวัดโพธิ์แมน)
ธรรมจริยา 5
57
好的人生 是安定心情 清醒 和有所作为
58
ธรรมจริยา 5
ชีวิตที่ดี คือ สงบ เย็น และเป็นประโยชน์
笔尖 ปลายพู่กัน 如果遇到冲击 而心情波动 我们要稳定心志 用智慧去分析
ถ้าพบสิ่งที่รุมเร้า ท�ำให้เกิดกิเลส แปรปรวนไป เราต้องท�ำจิตใจนั้น ให้สงบนิ่ง มีสติพิจารณา
斋菜膳食 ห้องครัววัดบรมฯ : อี๊มาลี
ขนมบ๊ ะ จ่ า งเจ .......................................
ส่วนผสมและเครื่องปรุง 1. ข้าวเหนียวอย่างดี 2. ไชโป้ 3 . ถั่วลิสง 4 . เผือกกวน 5 . แปะก้วย 6 . เห็ดหอม
2 1 1 1 1 1
กิโลกรัม ขีด ขีด ขีด ขีด ขีด
7 . น้ำ�ตาล 1/2 ขีด 8 . ซีอิ๊วขาว 4 ทัพพี 9 . กระเทียมสับละเอียด 5 หัว 10 . พริกไทยป่น 3 ช้อนโต๊ะ 11 . ใบไผ่จีน 1 มัด
วิธีการทำ� 1. แช่ข้าวเหนียวกับน�้ำให้นุ่ม แล้วเอากระเทียมไปผัดกับน�้ำมันในกระทะจนมีกลิ่นหอม จึงน�ำ ข้าวเหนียวตามลงไปผัด 2. ใส่ไชโป้ ถั่วลิสง พริกไทย น�้ำตาล ซีอิ๊วขาวลงไปผัดกับข้าวเหนียวจนเป็นเนื้อเดียวกัน ตักข้าวเหนียวผัดใส่หม้อพักไว้ให้เย็น 3. น�ำใบไผ่เมืองจีนไปแช่น�้ำให้นุ่ม ล้างฝุ่นผงออกให้หมดแล้วน�ำไปม้วนเป็นก้นหอย ตักข้าวเหนียวผัดใส่ลงไปตรงกลาง 4. ใส่เผือกกวน แปะก้วย เห็ดหอม ตรงกลาง แล้วตัดข้าวเหนียวโปะปิดข้างบน จึงห่อใบไผ่ ให้มิด ใช้เชือกมัดให้แน่น น�ำไปต้มจนข้าวเหนียวสุกใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง
ประโยชน์จากการรับประทาน
60
ข้าวเหนียว ให้พลังงานช่วยบำ�รุงร่างกาย มีสารอาหารช่วยบำ�รุงผิวพรรณให้เนียนขึ้น ส่วนพริกไทยนอกจากเป็นตัวชูรสแล้ว ยังช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ให้หลอดเลือด เส้นเอ็น มีความยืดหยุ่น ถั่วลิสง เป็นธัญพืช ให้กากใย มีแมกนีเซียม ในแปะก๊วยมีสารช่วยบำ�รุง ประสาทและสมอง ธรรมจริยา 5
斋粽子
食品主料 /配料
1.糯米2公斤 2.萝卜干1两 3.花生米1两 4.芋头泥1两 5.白果1两 6.香菇1两 7.椰子糖0.5两,酱油4匙,蒜5个,胡椒粉3匙。使用油适量。
做法
1.浸软糯米 2.蒜炒香后放香菇、萝卜干再焯一下,再放糯米椰子糖酱油胡椒粉一起炒热。 3.用备好的竹叶来包并加上芋头泥,扎紧。 4.在开水里煮大概1小时熟。热吃。
效果
斋粽子有很好的营养价值,能补中益气,暖脾胃。
ความไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ ธรรมจริยา 5
61
中国风俗 เรียนรู้ประเพณีจีน
เทศกาลหยวนเซียว (เทศกาลโคมไฟ)
元宵节 วันขึ้น15ค�่ำเดือนอ้ายตามปฏิทินจันทรคติของ จีนเป็นเทศกาลหยวนเซียวซึ่งเป็นเทศกาลเก่าแก่อีก เทศกาลหนึง่ ของจีน และเป็นเทศกาลทีต่ อ่ จากเทศกาล ตรุษจีนคืนของเทศกาลหยวนเซียวเป็นคืนแรกของปี ใหม่ที่เห็นพระจันทร์เต็มดวง คืนนั้นมีประเพณีแขวน โคมไฟ ดังนั้นเทศกาลหยวนเซียวจึงมีอีกชื่อหนึ่ง ว่า“เทศกาลโคมไฟ”การชมโคมไฟและการกินขนม หยวนเซียวเป็นกิจกรรมส�ำคัญของเทศกาลหยวนเซียว เทศกาลหยวนเซียว (โคมไฟ) เทศกาลหยวนเซียวซึ่งเป็นหนึ่งในเทศกาลส�ำคัญ ของจีนนี้ ได้มีมากกว่า 2,000 ปี โดยตามปฏิทินทาง จันทรคติของจีน จะนับเอาวันที่พระอาทิตย์ โลกและ พระจันทร์มาอยู่ในระนาบเดียวกันเป็นวันแรกของปี หรือขึ้นหนึ่ง 1 ค�่ำเดือนอ้าย ซึ่งในสมัยโบราณจะเรียก เดือนอ้ายว่า “หยวน” (元) ส่วนค�ำว่า ”เซียว” (宵) หมายถึงกลางคืนเทศกาล เทศกาลนีจ้ งึ หมายถึงคืนที่ 62 ธรรมจริยา 5
พระจันทร์เต็มดวงเป็นครั้งแรกของปี (วันตรุษจีน คือวันปีใหม่ของจีน) และเหตุใดจึงต้องแขวนโคมไฟในเทศกาลหยวนเซียว ต�ำนาน “หยวนเซียว” ว่ า กั น ว่ า เมื่ อ นานมาแล้ ว เป็ น ยุ ค ที่ มี สั ต ว์ ร ้ า ย มากมายเที่ยวท�ำร้ายผู้คน ท�ำให้มนุษย์ต้องรวมตัวกัน ต่อสู้ กระทั่งวันหนึ่ง ได้มีวิหคสวรรค์บินหลงมายัง โลก แล้วถูกบรรดานายพรานพลั้งมือฆ่าตาย จนท�ำให้ เง็กเซียนฮ่องเต้ทรงพิโรธ ทรงมีราชโองการให้เหล่า ขุนพลสวรรค์เดินทางมาเพื่อปล่อยเพลิง เผาท�ำลาย มนุษย์และทรัพย์สินทั้งหลายให้หมดสิ้น ในคืน 15 ค�่ำ เดือนอ้าย ในครั้งนั้นธิดาของเง็กเซียนฮ่องเต้ เกิดจิต สงสารไม่อาจทนเห็นผูค้ นต้องประสบเภทภัย จึงแอบขี่ เมฆบินลงมายังโลกมนุษย์ เพื่อเตือนภัยล่วงหน้า เมื่อ นัน้ จึงมีผเู้ ฒ่าคนหนึง่ ได้เสนอแผนการว่า ในคืนวัน 14 ค�่ำ ถึง16 ค�่ำเดือนอ้าย ให้ทุกคนแขวนโคมประดับ
จุดประทัดเสียงดัง พร้อมกับจุดพลุ เช่นนี้แล้ว เง็ก เซียนฮ่องเต้จะเข้าใจว่าคนบนโลกถูกเผากันหมดแล้ว ทุกคนต่างเห็นด้วย แล้วแยกย้ายกันไปเตรียมการ ตามแผนนัน้ ในคืนวัน 15 ค�ำ่ เมือ่ เง็กเซียนฮ่องเต้ทรง ทอดพระเนตรลงมา ทรงเห็นว่าบนโลกนอกจากแดง เถือกไปหมดแล้ว ยังมีเสียงดังโหวกเหวก ต่อเนือ่ งเป็น เวลา 3 วัน จึงคิดว่าโลกถูกไฟเผาไปแล้ว เพื่อระลึก ถึงเหตุการณ์ในครั้งนี้ ท�ำให้ทุกปีเมื่อถึง 15 ค�่ำเดือน อ้าย ทุกๆบ้านก็จะมีการแขวนโคมไฟ และจุดประทัด เพื่อระลึกถึงวันดังกล่าว
บ้างก็ว่า เทศกาลหยวนเซียว เกิดขึ้นในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก(ก่อนคริสตกาล 206 ปี - ค.ศ. 25) เมื่อปี 180 ก่อนคริสตกาล จักรพรรดิฮั่นเหวิน ตี้ของราชวงศ์ฮั่นขึ้นครองราชย์ในวันขึ้น 15 ค�่ำเดือน อ้าย เพือ่ ฉลองเรือ่ งนี้ จักรพรรดิฮนั่ เหวินตีท้ รงก�ำหนด วันขึ้น 15 ค�่ำเดือนอ้ายเป็นเทศกาลโคมไฟ พอถึง คืนนั้น พระองค์จะเสด็จออกจากวังไปร่วมสนุกกับ ประชาชน วันนั้น ไม่ว่าบ้านเล็กบ้านใหญ่ ตรอกซอก ซอยล้วนแขวนโคมไฟหลากสีทมี่ รี ปู ลักษณะแบบต่างๆ ให้ชมกัน ถึงปี 104 ก่อนคริสตกาล เทศกาลหยวน เซียวได้ก�ำหนดเป็นเทศกาลส�ำคัญแห่งชาติ ท�ำให้การ ฉลองเทศกาลหยวนเซียวมีขนาดใหญ่โตยิ่งขึ้น ตาม ข้อก�ำหนด สถานที่สาธารณะต่างๆ และทุกบ้านต้อง ประดับโคมไฟ โดยเฉพาะย่านการค้าและศูนย์การค้า อีกด้านหนึง่ เล่ากันว่าประเพณีการชมโคมไฟเริม่ ขึน้ เมือ่ 1,900 ปีทแี่ ล้ว ในยุคของจักรพรรดิหมิงตี้ แห่ง ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก จักรพรรดิองค์นี้มีความศรัทธาใน ศาสนาพุทธ และทรงได้ยินมาว่าในวันขึ้น 15 ค�่ำของ เดือนอ้าย พระสงฆ์จะเข้าไปสักการะพระธาตุ พร้อม ทั้งจุดประทีบบูชาเพื่อแสดงความศรัทธา ดังนั้น จึงมี พระราชบัญชาให้วดั และวัง รวมไปถึงประชาชนท�ำการ แขวนโคมไฟ จนเป็นจุดเริม่ ต้นของกิจกรรมชมโคมไฟ อย่างแพร่หลาย มาถึงราชวงศ์ถงั (ค.ศ.618-907) ประเพณีการชม โคมไฟก็ยิ่งมีความพิถีพิถันมากขึ้น ภายในพระราชวัง หรือตามท้องถิ่น ทุกหนทุกแห่งล้วนมีการแขวนโคม ไฟ ทั้งยังพัฒนาไปเป็นตึกโคมไฟ ต้นไม้โคมไฟ วงล้อ โคมไฟ เช่นในยุคนี้ ประเพณีการชมโคมไฟมีต่อเนื่อง กันถึง 3 วัน และเมื่อล่วงเข้าราชวงศ์ชิง ก็มีการเพิ่ม การเชิดสิงโต เชิดมังกร แข่งเรือเข้าไปจนท�ำให้เทศกาล นี้มีสีสันมากยิ่งขึ้น ธรรมจริยา 5
63
รวมถึงศูนย์วัฒนธรรมต้องจัดงานโคมไฟขนาด ใหญ่ ไม่ว่าผู้หญิงผู้ชาย เด็กหรือผู้เฒ่าล้วนจะไปชม โคมไฟ ทายปริศนาโคมไฟและเชิดโคมไฟมังกรตลอด คืน ต่อมาประเพณีนี้ได้สืบทอดกันมาทุกยุคทุกสมัย ตามการบันทึก ปีค.ศ. 731 สมัยราชวงศ์ถงั เคยท�ำภูเขา โคมไฟสูง 7 เมตรที่ประกอบด้วยโคมไฟกว่า 5 หมื่น ดวงตั้งอยู่ในเมืองฉางอัน เมืองหลวงของราชวงศ์ถัง
โคมไฟ ขนมชนิดนี้มีรูปกลม ท�ำด้วยแป้งข้าวเหนียว ข้างในมีไส้หวาน ภาคเหนือของจีนเรียกขนมชนิด นี้ว่า“หยวนเซียว”ส่วนภาคใต้เรียก“ทังหยวน” หรือ“ทังถวน”ปัจจุบันขนมหยวนเซียวมีไส้หลายสิบ ชนิด เช่น ซันจา พุทรา ถั่วแดง โหงวยิ้น งา เนยและ ช็อกโกแลตเป็นต้น รสชาติของหยวนเซียวในพื้นที่ ต่างๆ จะแตกต่างกัน นอกจากชมโคมไฟและกินขนม หยวนเซียวแล้ว เทศกาลหยวนเซียวยังมีกิจกรรมการ ละเล่นต่างๆ มากมาย เช่น ระบ�ำไม้ต่อขา ร�ำพัด เชิด สิงโตเป็นต้น โดยเฉพาะการเชิดสิงโต มิเพียงแต่ใน ประเทศจีนเท่านั้น ไม่ว่าแหล่งชุมชนชาวจีนในแห่ง หนต�ำบลใดของโลกก็ตาม พอถึงเทศกาลส�ำคัญๆ ก็ จะจัดการแสดงเชิดสิงโตทั้งนั้น การเชิดสิงโตแบ่งเป็น ส�ำนักใต้กบั ส�ำนักเหนือ การเชิดสิงโตของส�ำนักใต้เน้น อิริยาบถและเทคนิคท่วงท่า ส่วนมากใช้สองคนเชิด ส่วนส�ำนักเหนือจะเน้นความสง่าผ่าเผย ปกติจะมี 10 กว่าคนกระทั่งหลายสิบคนเชิดด้วยกัน ขณะเชิดสิงโต นั้น จะมีดนตรีพื้นเมืองของจีนเล่นประกอบด้วย ไม่ ว่าผู้แสดงหรือผู้ชม ต่างสนุกสนานกันถ้วนหน้า ท�ำให้ โคมไฟที่แขวนอวดในเทศกาลหยวนเซียวส่วน บรรยากาศของเทศกาลหยวนเซียวคึกคักยิ่งขึ้น มากจะท�ำด้วยกระดาษสีต่างๆ จะท�ำเป็นรูปภูเขา สิ่ง ก่อสร้าง คน ดอกไม้ นกและสัตว์ชนิดต่างๆ โคม ไฟ“โจ่วหม่าเติง”เป็นโคมไฟที่มีเอกลักษณ์ของจีน อย่างเด่นชัด โคมเวียน“โจ่วหม่าเติง”เป็นของเล่น ชนิดหนึ่ง มีประวัติกว่าพันปีแล้ว ภายในโคมไฟได้ติด ตั้งกงล้อ พอจุดเทียนในโคมไฟ กระแสอากาศที่ได้รับ ความร้อนจากเปลวเทียนจะดันกงล้อที่ติดกระดาษรูป คนขี่ม้า ในอิริยบถต่างๆหมุนไปตามกงล้อ เงาของรูป คนขี่ม้าจะสะท้อนอยู่บนกระดาษชั้นนอกของโคมไฟ มองแล้วเสมือนม้าก�ำลังวิ่งห้อตะบึง การกิ น ขนมหยวนเซี ย วเป็ น ประเพณี ส� ำ คั ญ อย่างหนึ่งของเทศกาลหยวนเซียว สมัยราชวงศ์ซ่ง บัวลอย ขนมที่นิยมทานในเทศกาล ประชาชนนิยมกินขนมพื้นบ้านชนิดหนึ่งในเทศกาล เป็นสัญลักษณ์ของความปรองดอง 64 ธรรมจริยา 5
元宵闹花灯
正月是农历的元月,也就是一月份。正月初一是春节,春节刚过,每年农历的正月十五日,迎来 的就是中国的传统节日--元宵节。 农历每月的十五晚上,天上的月亮都是圆圆满满的。正月十五日是一年中第一个月圆之夜,也是一元 复始,大地回春的夜晚,人们对此加以庆祝,也是庆贺新春的延续。元宵节又称为“上元节”。 按中国民间的传统,在这天上皓月高悬的夜晚,人们要点起彩灯万盏,以示庆贺。出门赏月、燃灯放 焰、喜猜灯谜、合家团聚、同庆佳节,其乐融融。 元宵节也称灯节,元宵燃灯的风俗起自汉朝,到了唐代,赏灯活动更加兴盛,皇宫里、街道上处处挂 灯,还要建立高大的灯轮、灯楼和灯树,唐朝大诗人卢照邻曾在《十五夜观灯》中这样描述元宵节燃 灯的盛况“接汉疑星落,依楼似月悬。” 宋代更重视元宵节,赏灯活动更加热闹,赏灯活动要进行5天,灯的样式也更丰富。明代要连续赏灯 10天,这是中国最长的灯节了。清代赏灯活动虽然只有3天,但是赏灯活动规模很大,盛况空前,除 燃灯之外,还放烟花助兴。 “猜灯谜”又叫“打灯谜”,是元宵节后增的一项活动,出现在宋朝。 南宋时,首都临安每逢元宵节时制迷,猜谜的人众多。开始时是好事者把谜语写在纸条上,贴在五光 十色的彩灯上供人猜。因为谜语能启迪智慧又饶有兴趣,所以流传过程中深受社会各阶层的欢迎。 民间过元宵节吃元宵的习俗。元宵由糯米制成,或实心,或带馅。馅有豆沙、白糖、山楂、各类果料 等,食用时煮、煎、蒸、炸皆可。起初,人们把这种食物叫“浮圆子”,后来又叫“汤团”或“汤 圆”,这些名称“团圆”字音相近,取团圆之意,象征全家人团团圆圆,和睦幸福,人们也以此怀念 离别的亲人,寄托了对未来生活的美好愿望。 元宵节也是一个浪漫的节日,元宵灯会在封建社会中,也给未婚青年男女相识恋爱提供了一个机 会。因为传统社会的青年女子不允许外出自由活动,但是过节却例外,就是可以结伴出来游玩。元宵 节赏花灯正是一个交谊的好机会。年轻人借机顺便物色对象或交朋友。 随着时间的推移,元宵节的活动越来越多,不少地方节庆时增加了舞龙灯、舞狮子、踩高跷、划旱 船、唱秧歌、打太平鼓、玩走马灯等传统民俗表演。这个传承已有两千多年的传统节日,不仅盛行于 海峡两岸,就是在海外华人的聚居区也年年欢庆不衰。 泰国的元宵节也是春节接下来的最后高潮。各个华人社团都举行各色各样的庆祝活动。我们皇恩寺也 不例外。上午九点在大雄宝殿上供佛,晚上七点拜斗祈福,然后手奉灯烛绕佛殿三匝,以示对诸佛菩 萨博爱无私,救苦救难的大无畏精神的敬仰,和祈祷诸佛菩萨保佑国泰民安、风调雨顺。
ธรรมจริยา 5
65
66
ธรรมจริยา 5
大乘集智 เกร็ดความรู้มหายาน : อ.เสถียร โพธินันทะ
พระสูตรสำ�คัญ ของมหายาน 2 อวตังสกสูตร
อวตังสกสูตรนี้มหายานถือว่า เป็นสูตรที่ส�ำคัญ ที่สุด เพราะเป็นสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนเอง เป็นเวลา ๓ สัปดาห์ ในขณะที่พระองค์เข้าสมาธิหรือ อยู่ในสภาพธรรมกาย อวตังสก สูตรนี้มีต้นฉบับแปลที่ สมบูรณ์อยู่ ๒ ฉบับ คือ ๑. ฉบับที่แปลโดยพุทธภัทระ เป็นหนังสือ ๖๐ เล่ม แปลในสมัยราชวงศ์ชนิ ตะวันออก (Eastern Shin Dynasty ค.ศ. ๔๑๘-๕๒๐ พ.ศ. ๙๖๑-๑๐๖๓). ๒. ฉบับแปลของสิกษานันทะ ซึ่งได้ท�ำการแปล ในสมัยราชวงศ์ถัง (Tang Dynasty ค.ศ. ๖๙๕-๖๙๙ พ.ศ. ๑๒๓๘- ๑๒๙๒) เป็นหนังสือ ๘๐ เล่มจบ ใน กาลต่อมาคือในปี ค.ศ. ๗๙๖-๗๙๗ (พ.ศ. ๑๓๓๙๑๓๔๐) ปรัชญาได้เป็นผู้แปลอีกครั้งหนึ่ง ฉบับที่ ปรัชญาเป็นผู้แปลนี้เรียกกันว่า Practice and Vows of Samantabhadra เป็นหนังสือ ๔๐ เล่ม หนังสือ ๔๐ เล่มนี้รวมกับทศ-ภูมิกสูตร และสูตรอื่นๆ อีกจึง เป็นอวตังสกสูตรฉบับสมบูรณ์. ใจความส�ำคัญของสูตรนี้ก็คือ “เมื่อเราพิจารณา โลกในแสงจิตภาพของไวโรจนะพุทธะสูงสุด หรือ ธรรมกาย เราเห็นโลกเต็มไปด้วยความแจ่มใส เห็นโลก
(ต่อ)
แห่งแสงบริสทุ ธิแ์ ท้จริง ทุกสิง่ ทุกอย่างในโลกล้วนเป็น หนึ่ง หนึ่งนั้นคือสัจจะสูงสุด พุทธจิต สรรพสัตว์ เป็น หนึ่ง”. อนึ่ง เป็นที่น่าสังเกตว่า ผู้ที่สั่งสอนในสูตรนี้มิใช่ พระพุทธ หากแต่เป็นพระโพธิสัตว์กับเทวดา และ ในสูตรนี้เองยังได้อธิบายว่าบุคคลเหล่านี้สั่งสอนตาม เจตจ�ำนงของพระพุทธเจ้าเท่านั้น
ธรรมจริยา 5
67
คัณฑวยุหสูตร
ในคัณฑวยุหสูตรนี้เป็นสูตรที่บรรยายการจาริก แสวงหาโมกษะธรรมของชายหนุม่ คนหนึง่ ชือ่ ว่า สุธนะ ซึ่งมีเรื่องอยู่ว่า สมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ เชตวนาราม ของอนาถปิณฑิกท่ามกลางหมู่พระโพธิสัตว์ ๕๐๐ ซึ่ง มีสมันตภัทรโพธิสัตว์กับมัญชุศรีโพธิสัตว์เป็นหัวหน้า พระโพธิสัตว์เหล่านั้นก�ำลังคอยฟังพระธรรมเทศนา ของพระองค์ แต่พระพุทธเจ้าทรงเข้าสมาธิเสีย พร้อม ทั้งได้ทรงเนรมิตพระเชตวนารามให้ ใหญ่โตอย่างหา ขอบเขตมิได้ พระโพธิสัตว์จากสิบทิศได้พร้อมกัน มาเฝ้าพระองค์ และได้แต่งโศลกสรรเสริญพระองค์ พระพุทธเจ้าได้ทรงเปล่งรัศมีออกจากระหว่างขนตา ของพระองค์ส่องสว่างเห็นพระโพธิสัตว์ทั้งหลายและ ส่องสว่างตลอดทั้งสิบทิศ เป็นเหตุให้ดวงใจของพระ โพธิสัตว์ทั้งมวลเต็มเปี่ยมไปด้วยความกรุณา เพื่อจะ บ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสรรพสัตว์. มัญชุศรีโพธิสัตว์จึงได้ท่องเที่ยวสั่งสอนประชาชน ในที่ ต ่ า งๆ สมั ย หนึ่ ง ในขณะที่ ก� ำ ลั ง พั ก สั่ ง สอน ประชาชนอยูท่ เี่ มืองแห่งหนึง่ ในแคว้นธัญยการะมีเด็ก หนุม่ ในตระกูลมัง่ คัง่ คนหนึง่ ชือ่ สุธนะ นัง่ ฟังธรรมอยูใ่ น ทีช่ มุ นุมนัน้ ด้วย สุธนะนีน้ งั่ ฟังด้วยความปรารถนาเพือ่ ศึกษา และเพื่อตั้งใจจะบ�ำเพ็ญชีวิตแห่งพระ โพธิสัตว์ ให้สมบูรณ์ มัญชุศรีโพธิสัตว์จึงแนะน�ำแก่เขาว่า “ในการแสวงหาสัจธรรมนัน้ เธอต้องแสวงหาเพือ่ น ทีแ่ ท้จริงคอยช่วยเหลือเธอ จงไปทีภ่ เู ขามโยโฮประ เทศโษรกุ ณ ที่นั้นเธอจะพบสครเมฆภิกษุ ท่านจะ ให้ค�ำแนะน�ำที่ดีต่อเธอ” สุธนะจึงได้เดินทางไปพบสครเมฆภิกษุ ท่านก็ได้ สั่งสอนแก่เขาอย่างกว้างและแนะน�ำให้เขาไปหาเพื่อน คนอืน่ ต่อไปอีกโดยนัยนีส้ ธุ นะจึงได้เทีย่ วไปหาเพือ่ นถึง ๕๓ คน สุดท้ายได้ไปหาสมันตภัทรโพธิสตั ว์อาศัยค�ำสัง่ สอนของท่านสุธนะจึงได้ บรรลุธรรมธาตุสัจจะสูงสุด. 68
ธรรมจริยา 5
เล่มสุดท้ายของคัณฑวยุหสูตร ได้กล่าวถึงค�ำ ปฏิญาณของสุธนะ และความปรารถนาของเขาในการ ที่ประสงค์ไปเกิดในสุขาวดีวยุหภพ ค�ำปฏิญาณของสุ ธนะนั้น คือ ๑. นับถือพระพุทธ ๒. ขอให้ได้สรรเสริญพระตถาคต ๓. ขอให้ได้ถวายของแก่พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ๔. ขอให้ได้ล้างบาปในอดีต ๔. ขอให้จงยินดีในบุญกรรม และความสุขของ บุคคลอื่น ๖. ขอให้ได้อาราธนาพระพุทธเจ้าสั่งสอนธรรม ๗. ขอให้ได้อาราธนาพระพุทธเจ้าด�ำรงชีวิตอยู่ใน โลก ๘. ขอให้ได้ศึกษาพระพุทธศาสนาเพื่อสั่งสอนแก่ บุคคลอื่น ๙. ขอให้ได้บ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสรรพสัตว์ ๑๐. ขอให้ได้บ�ำเพ็ญบุญต่อบุคคลอื่น.
息惡行善 持戒習定 俢悲浄意 是眞佛子
ศึกษาในสมาธิ อบรมปัญญา ชำ�ระจิตให้ผ่องแผ้วหมดจด ระงับความชั่ว บำ�เพ็ญแต่ความดี สังวรในศีล ผู้ใดปฏิบัติดังนี้ ชื่อว่าเป็น พุทธบุตรอย่างแท้จริง ธรรมจริยา 5
69
惠能
ฮุ่ยเล้ง
70
ธรรมจริยา 5
5. ผ่าฟืนและตำ�ข้าว ฮุ่ยเล้งหลังจากได้อยู่โรงทำ�งาน ทุกวันต้องผ่าฟืนตำ�ข้าวเป็นกิจวัตร ตลอดการงานอื่นๆอีกทีต้องใช้ความ มานะอดทน กาลเวลาล่วงไปไม่น้อยกว่าแปดเดือน วันหนึ่ง พระสังฆปริณายกได้พบฮุ่ยเล้ง และได้กล่าวขึ้นว่า “ฉันได้พบเธอครั้งแรกก็ทราบดีว่า ความรู้ใน พุทธรรมของเธอนั้นมั่นคงดี ไม่เหมือนกับผู้อื่น แต่ฉันต้องคอยหลีกไม่พูดกับเธอ มิฉะนั้นจะมีคนทุศีลบางคน ทำ�อันตรายเธอ เธอเข้าใจไหม” ฮุ่ยเล้งนั้นตอบว่า “ขอรับ พระคุณอาจารย์ ศิษย์รู้สึกซาบซึ้งในพระเมตตากรุณาของอาจารย์ เพื่อไม่ให้ใคร สังเกตุในข้อนี้ กระผมก็ไม่กล้าเข้าไปไกล้ๆห้องของอาจารย์ นอกจากอยู่ในโรงงานตั้งหน้าตั้งตาทำ�งานเท่านั้น” อยู่มาวันหนึ่ง พระสังฆปริณายกเรียกประชุมบรรดาศิษย์ทั้งหมด ณ ห้องบูรพาจารย์
五,劈 柴 舂 米 惠能在後院槽廠,每天日劈柴舂米,這樣無聲無息地工作了八 個多月。他工作勤奮,雖苦無怨。 有一天,五祖大師來到後院,對惠能説: [ 我在初次接見你時,就看出你的見他,與衆不同,堪作法 器;但恐有惡人嫉妒害汝,所以我不和你多説什麽,不知你可曉 得否?] 惠能答道: [ 是的,弟子也知道和尚的慈悲和苦衷,所以也不敢到前院 去,只有在這裏埋苦幹,免得抛頭露面,多出是非。] 次日,五祖忽然召集衆弟子,於是諸門人,紛集祖堂。
ควรรีบทำ�ความเพียรในวันนี้ ผู้ไม่ประมาท ควรทำ�ความเพียรให้แน่วแน่ อ่านต่อฉบับหน้านะครับ ^^
ธรรมจริยา 5
71
杨柳情 กิ่งหลิว : 釋聖財
หนทาง “คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โพธิ สะวาหา”
“จงไป จงไป ข้ามไปยังฝั่งโน้น ข้ามไปให้พ้น อย่างสิน้ เชิง ก้าวพ้นจากอุปสรรค ข้ามพ้นจากความ ทุกข์ ลุถึงความรู้แจ้ง ไปสู่ฝั่งที่สงบมีแต่ความตื่นรู้ สู่ฝั่งที่มีแต่ความเบิกบาน” นี่คือความหมายของบทที่สวดไป ฉะนั้นทุกคน ทุกรูปต้องช่วยกัน อะไรที่เป็นสิ่งเล็กๆน้อยๆ อย่าง เช่นเห็นเศษกระดาษหล่นอยู่ เห็นเศษแก้วแตกตกอยู่ ที่พื้น แล้วเราเก็บสิ่งเหล่านั้นไปทิ้งในที่สมควรทิ้ง เรา ก็ได้บุญแล้ว บุญมันเกิดจากตรงนี่แหละ ของที่เก็บไม่ ดีไม่เรียบร้อยเราช่วยกันเก้บให้ดีให้เป็นระเบียบ ขยะ อยู่ตรงหน้าห้อง เราช่วยกันท�ำความสะอาดช่วยกัน ดูแล ซือหูท่านยังถือไม้กวาด กวาดสวนกวาดใบไม้ ท่านยังปฏิบัติเลย ฉะนั้นสามเณรทุกรูปก็ต้องท�ำด้วย จิตใจที่เสียสละ จิตใจที่อ่อนน้อมถ่อมตน อย่าท�ำด้วย 72 ธรรมจริยา 5
ความเห็นแก่ตัวหรือว่าท�ำไปอย่างนั้นเอง ไม่มีชีวิตชีวา พวกเรารักษากฎระเบียบวัด แต่เรามีชีวิตชีวา มีความ สุขในการปฏิบัติรักษาตามกฎระเบียบ อย่างมีค�ำจีนอยู่ หนึ่งค�ำคือ ค�ำว่า 道 แปลว่า หนทาง ทุกอย่างมีถนน มีหนทาง ถ้าเราออกนอกลูน่ อกทาง มันก็เป็นเรือ่ งทีไ่ ม่ ง่าย แต่ถา้ เราไปถูกทาง มันก็เป็นเรือ่ งทีง่ า่ ย หากจะพูด ถึงหนทางแห่งความดับทุกข์ เป็นส่วนหนึง่ ของอริยสัจ สี่ คือ มรรคมีองค์แปด หนทางแห่งการพ้นทุกข์แปด ประการ ได้แก่ สัมมาทิฏฐิคือปัญญาเห็นชอบ สัมมา สังกัปปะคือด�ำริชอบ สัมมาวาจาคือเจรจาชอบ สัมมา กัมมันตะคือการประพฤติดีงาม สัมมาอาชีวะคือเลี้ยง ชีพชอบ สัมมาวายามะคือความเพียรชอบ สัมมาสติ คือการมีสติชอบ สัมมาสมาธิคือสมาธิชอบ ฉะนั้นเรา อยู่ในวัดรักษากฎระเบียบอันดีงามของวัด จะท�ำให้เรา ทุกรูปเป็นคนทีเ่ ดินไปในทางทีถ่ กู ต้อง ท�ำให้อยูอ่ ย่างมี ความสุข และเป็นคนที่มีระเบียบวินัย
般若波罗蜜多心经最后一句咒语是 “揭谛 揭谛 波罗揭谛 波罗 僧揭谛 菩提娑婆诃” 意思是 : 十方众生,佛要救你!亿亿修 行,罕一得道!唯依念佛,得度生死! 同时佛明示【 般若波罗蜜多心经】是“大明咒、无上咒、无等等咒。般 若波罗蜜者,无量无边,无方无处,无去无来,无作无为,也无所无不为, 故名般若波罗蜜。般若波罗蜜是一切诸佛之母,能示世间诸法实相,是一切 诸佛法界!” 所以我们修行者要按经文中的教化去做,从实际生活中去体验。从小事 做起,如捡起纸片放进垃圾桶、打扫环境卫生等等。这些无所不有佛理佛 道。师父他老人家到现在还是这样做。 中文有个“道”字,它的意思是道路、道理。比喻人要走正道,要有秩 序,要有纪律,在我们修行者来说是要“戒”,不能随意,更不能偏离。需 要八正道即:“正见解、正思想、正语言、正行为、正职业、正精进、正意 念、正禅定。”如此所做,得度生死。
ธรรมจริยา 5
73
为什么要有道德 ทำ�ไมต้องธรรม : เด็กวัดบรมฯ
บริหารความสุขจากทุกข์ในการทำ�งาน บางทีคุณอาจเคยได้ยินค�ำว่า “เลือกงานที่คุณรัก และคุณจะรูส้ กึ เหมือนไม่ได้ทำ� งานเลยในชีวติ ของ คุณ” แต่จะมีสักกี่คนที่จะได้เจอกับงานที่รัก และมี ความสุขกับงานนั้นจริงๆ หลายครั้งหลายหนที่องค์กร หรือบริษทั ต่างๆ พยายามบอกให้พนักงานทุกคน ตัง้ ใจ ท�ำงานเพือ่ สร้างอนาคตทีด่ ี เพือ่ ความส�ำเร็จทีแ่ ท้จริงใน ชีวิต แต่ในชีวิตจริงของการท�ำงานกลับไม่เป็นอย่าง นั้นจริงหรือ? ผมเชื่อว่าหากเราออกไปถามความคิด เห็นจากคนสัก 100 คนแบ่งเป็นเปอร์เซ็นต์ว่า ใคร มีความสุขกับงานที่ท�ำอยู่บ้างตอนนี้ กลับกลายเป็นว่า เกินกว่าครึง่ นึงตอบอย่างเต็มปากว่า อยากเปลีย่ นงาน อยากลาออก เจ้านายงี่เง่า ท�ำงานก็ไม่เคยถูกใจเจ้า นาย และปัญหาต่างๆ อีกมากมาย ท�ำไมถึงเป็นอย่าง นั้น? ท�ำไมถึงไม่มีความสุข? เรื่องจริงของการท�ำงาน มันขัดกันกับทฤษฏีความส�ำเร็จโดยสิ้นเชิงจริงหรือ? วันนี้หากมีเวลาลองย้อนกลับดูตัวเอง ย้อนกลับ ไปดูเพือ่ นร่วมงาน ย้อนกลับไปดูเจ้านาย ย้อนกลับไป ดูสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราว่าสิ่งที่ผ่านมากับหน้าที่การ งานนั้นๆ เราต้องการความสุขจากวิชาชีพที่เราเลือก เอง หรือ เป็นความสุขของวิชาชีพทีม่ คี นโน้นคนนีบ้ อก ว่าดีและเลือกให้ วันนี้หากไม่ใช่แล้วสิ่งที่ต้องการนั้น คืออะไร? แล้วคุณจะค่อย ๆ พบค�ำตอบ การท�ำงานมีอยู่ 2 ด้านเสมอ คือ ท�ำส�ำเร็จกับ ท�ำไม่สำ� เร็จ แต่คนส่วนใหญ่ชอบมองแค่ความส�ำเร็จ 74 ธรรมจริยา 5
ไม่เคยวิเคราะห์ อีกด้านหากไม่ส�ำเร็จ พอส�ำเร็จก็เป็นสุข พอไม่ ส�ำเร็จก็เป็นทุกข์แต่ส่วนใหญ่ไม่ค่อยส�ำเร็จ โน้มเอียง ไปทางทุกข์ซะมากกว่า บางครัง้ เราอาจวิเคราะห์ได้จาก สิ่งที่เราท�ำ เราอาจไม่มีความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ น้อย หรืออีกหลากหลายเหตุผลมากมาย แต่สงิ่ หนึง่ ใน หลักการของการสร้างความสุขให้กับการท�ำงานไม่ใช่ เรื่องยาก เป็นเรื่องง่ายแค่ปลายจมูก หากเรามีการวิเคราะห์งานที่ท�ำทั้งด้านบวกและ ด้านลบไป พร้อมๆ กัน สะสมประสบการณ์ต่างๆ ไป พร้อมๆ กับความมุ่งมั่น ตั้งใจ และพยายามถามตัว เองทุกครั้งในการท�ำงานว่า หากเราไม่ส�ำเร็จเราจะหา หนทางอย่างไรเพื่อความส�ำเร็จ จะท�ำอย่างไร ท�ำไม การเรียนรู้ถึงไม่มีวันสิ้นสุด ไม่ควรชื่นชมความส�ำเร็จ เพียงด้านเดียว ฝึกรับฟังความคิดเห็นหรือค�ำแนะน�ำ จากเพื่อนร่วมงาน และพัฒนาการท�ำงานให้เป็นทีม ซึ่งความส�ำเร็จที่อยู่แค่ปลายจมูกนี้สามารถใช้ได้กับ งานทุกประเภท 11 วิธีการท�ำงานอย่างมีความสุขตามทฤษฏี After Action Review คือ 1. เริ่มงานอย่างสดชื่น กระปรี้กระเปร่า ปลอดโปร่ง 2. ปรับปรุงบุคลิกภาพให้เหมาะกับต�ำแหน่งและ ลักษณะงาน
3. สนทนาแลกเปลี่ยนกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับงาน เสมอ 4. ศึกษาวิธีการท�ำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งกว่าเดิม 5. ใส่ความกระตือรืนร้นและพลังวังชาลงไปในงาน 6. หมั่นบันทึกและเตือนตัวเอง 7. หมั่นหาความรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา 8. หากต้องการคลายเคลียดให้ลองหาหนังสือธรรมะ มาอ่าน 9. อย่าจริงจังกับงานและชีวิตจนเคร่งเครียด 10. แบ่งงานออกเป็นส่วนๆ และล�ำดับความส�ำคัญ ของงาน 11. ก�ำหนดเวลาพักผ่อน เวลาท�ำงาน และเวลานั่ง สมาธิให้สมดุลชัดเจน ค�ำตอบหรือวิธแี ก้ปญั หานีไ้ ม่ใช่สงิ่ ทีด่ ที สี่ ดุ เพราะ ในชีวติ จริงของการท�ำงานมีความหลากหลาย ทัง้ หน้าที่ และผู้คน หากเมื่อเวลาเปลี่ยนไป สภาวะแวดล้อม รอบตัวเราเปลี่ยนไปปัญหาใหม่ก็ย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ และส่งผลให้วีธีการแก้ปัญหาต่างๆ เปลี่ยนตามไป ด้วยตามกาลเวลา หาเวลากับตัวเองเสมอวิเคราะห์ ตัวเองและเปิดรับมุมมองความคิดและพร้อมรับ ฟังความคิดเห็นจากคนรอบข้างเสมอ ปรับปรุง แก้ไขตนเองตลอดเวลา และหันมาศึกษาธรรมะ เพื่อให้มีสติ ซึ่งเป็นบ่อเกิดแห่งปัญญา
有些时候您可能听过这样一句话:“选择你喜 欢的职业,然后你就会觉得那并不是一种‘工作’” 。但是真正又有几个人能够遇到自己真正喜欢的 工作并且快乐工作的呢? 好几次,在一些机构和一些公司里都提到了 为了自己更好的前途,为了以后的成就,应该努 力认真地工作,但是现实生活的工作真是那样的 吗?我相信如果去调查100个人,问他们是否满 意现在的工作时,会有超过百分之五十的人认为 对自己现在的工作不满意。大部分人想要更换工 作、想要辞职、认为经理不近人情,工作时没有 让经理觉得满意和很多其它的问题。为什么会是 那样呢?为什么会觉得不快乐呢? 真正的工作时难道我们只是缺少了一些理论是 吗? 今天如果有时间可以返回过去看看自己,返 回去看看自己的同事,返回去看看自己的经理, 返回去看看自己周围的环境。我们应该想想我们 的快乐是来自我们真正的喜欢那份工作,还是别 人建议的工作呢?假如不是这样的,那么我们应 该做什么?然后你会慢慢地找到答案。 工作总是有两种结果,一种是成功而另一种 是失败。但是,大部分人只看到了成功的一面, 没有太多的去思考失败的一面。因为成功了就会 喜悦,而失败了就会烦恼。 但是大部分人都没有获得成功,都偏向了失败的 那面。有些时候,我们也许只分析了我们正在做 的事情,也许不太精通,也许是因为经验少,或 者是因为很多的其它因素。但是,想要在工作中 获得成功并不是一件难事,它近在咫尺——那就 是我们应该同时注意到工作中成功与失败的两个 方面,增加一些经验、信心和认真的态度,然后 尽量在每次工作的时候问自己:“如果我们失败 后怎么能让它转变为成功。”应该怎么去做,为 什么学习永无止境,不要仅仅只沉浸在成功的喜 悦中,应该锻炼自己接受来自同事的意见,让后 发展自己的工作团队,所以这种走向成功的方法 可以应用到任何一种工作。 十一种走向成功、快乐的工作方法,来自 After Action Review理论 1、以清新的心情、精神抖擞地开始工作。 2、随时调整自己的工作状态以适应自己的职 位和工作性质。 3、经常和一起工作的人交流意见。 4、学习先进的知识以提高工作效率。 5、增加工作的动力和积极性。 6、良好的记忆力和不断地提醒自己。 7、随时补充新的知识。 8、如果遇到了烦恼就阅读佛法。 9、不要为了工作而导致生活烦恼。 10、把工作按照重要的程度分级。 11、工作时注意休息,注意劳逸结合。 以上的答案不是解决问题最好的办法,因为 在真正的工作时会有很多不同的事情发生,随时 时间的改变,我们周围的环境也在不断变化。 新的问题总是不断的出现,这就影响到了解决问 题的办法也是随着时间不断变化的,这就需要不 断的面对自己,经常听取周围人的意见。不断地 调整自己,最后要经常学习佛法,这样才能让自 己更有智慧。
ธรรมจริยา 5
75
中医
แพทย์แผนจีน : 张卓生
ปวดฟัน
อาการปวดฟันทีเ่ กิดขึน้ มาเป็นอาการทีอ่ ดทนอย่าง ล�ำบาก มีค�ำสุภาษิตจีนกล่าวไว้ว่า “ฟันปวดเมื่อไหร่ ถึงเข้าใจคนที่ปวดฟัน” ความหมาย คือ รอให้ตัวเอง ปวดฟันก่อนแล้วถึงรู้ว่าความปวดอย่างร้ายแรงเป็น อย่างไร สมัยก่อนคนที่อายุ 50ปี ขึ้นไปถึงจะเริ่มมี อาการปวดฟัน แต่ปัจจุบันคนอายุ 30กว่า ก็เริ่มปวด ฟันแล้ว นั้นเป็นเพราะว่าคนสมัยใหม่ใช้ชีวิตประจ�ำ วันอย่างเคร่งเครียดจึงไม่ค่อยระมัดระวังทางด้านการ กินกับการพักผ่อน เช่น นอนดึกบ่อย กินของที่หวาน เกินไป เค็มเกินไป เผ็ดเกินไป เปรีย้ วเกินไป หรือ มัน เกินไป เป็นเช่นนีก้ จ็ ะท�ำให้อวัยวะบางส่วนของร่างกาย รับไม่ไหว จึงแสดงออกทางด้านฟันและเหงือก เริ่ม ต้นด้วยอาการเสียวฟันผ่านไปไม่กี่วันก็เริ่มปวด บาง คนอาจคิดว่าเคีย้ วถูกอาหารทีแ่ ข็งเกินไปก็เพราะว่าคน ทีม่ อี ายุมากแล้วไม่เหมือนวัยหนุม่ สาว ทีข่ า้ งในอวัยวะ แข็งแรงสามารถปรับปรุงแก้ไขด้วยตนเองได้แต่ไม่ใช่ อวัยวะจะมีปญั หาพร้อมกัน ไม่อย่างนัน้ ท�ำไมปวดฟัน แค่ชว่ งใดช่วงหนึง่ แต่กม็ นี อ้ ยมากทีป่ วดทีเดียวทัง้ หมด การรักษาอาการปวดฟันด้วยแพทย์แผนตะวันตก หมอส่วนใหญ่ก็จะสั่งยาแก้อักเสบกับยาแก้ปวด เพื่อ ขจัดอาการอักเสบและเจ็บปวดซึ่งยาแก้ปวดนั้น ผล คือท�ำให้ระบบประสาทชินชาไม่รู้สึกปวดอาจจะท�ำให้ อักเสบลดลงไม่ปวดเป็นชั่วครั้งชั่วคราวแต่อีกไม่นาน อาการปวดฟันทีส่ ว่ นนัน้ จะเริม่ ปวดขึน้ มาอีก หมอฟัน ส่วนใหญ่คิดว่าฟันนั้นเสียแล้วจึงใช้วิธีถอดฟัน 76 ธรรมจริยา 5
หลังจากนั้นใส่ฟันปลอมเข้าไปแต่การใช้งานการของ ฟันปลอมจะเคี้ยวไม่ดีเท่าฟันแท้ของตนเอง แพทย์แผนจีนที่รักษาอาการปวดฟันก็ไม่ใช่แต่ รักษาอาการปวด แต่จะรักษาต้นเหตุของอาการปวด เท่ากับว่าแพทย์แผนจีนรู้ว่า อาการปวดเป็นเพียง แค่การแสดงออกของความผิดปกติของอวัยวะภายใน ที่มีปัญหา เช่น อาการปวดฟันหน้าบนสี่ซีกเกี่ยวกับ “หัวใจ” ปวดฟันหน้าล่างสีซ่ กี เกีย่ วกับ “ไต” ปวดฟัน บนทั้งหมดเกี่ยวกับ “กระเพาะ” ปวดฟันล่างทั้งหมด เกี่ยวกับ “ม้าม” ปวดฟันบนซ้ายเกี่ยวกับ “ดี” ปวด ฟันล่างซ้ายเกี่ยวกับ “ตับ” ปวดฟันบนขวาเกี่ยวกับ “ล�ำไส้ใหญ่” ปวดฟันล่างขวาเกีย่ วกับ “ปอด” อวัยวะ ส่วนใดที่มีปัญหาก็จะแสดงถึงอาการของฟันส่วนนั้น แพทย์แผนจีนเวลาทีร่ กั ษาอาการปวดฟันจะรักษา อวัยวะส่วนนั้นเป็นหลัก ถ้ารักษาอาการผิดปกติของ อวัยวะภายในหายแล้วอาการปวดฟันก็จะหายโดย อัตโนมัติ ระหว่างการรักษาของแพทย์แผนจีนจะให้กนิ ยาสมุนไพร 2-3 ครั้ง และให้ยาบ�ำรุงเพื่อให้อวัยวะที่ ผิดปกติสว่ นนัน้ แข็งแรงกลับมาเป็นปกติ พร้อมก�ำชับ ให้ความส�ำคัญในการดูแลตัวเองในเรื่องการกินอาหาร ที่มีประโยชน์ ออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอ และ พักผ่อน ให้เพียงพอ แต่วิธีที่ดีที่สุดตอนเวลามีอาการเสียวฟัน เกิดขึ้นก็ต้องรีบไปพบแพทย์ ไม่ควรรอให้อาการปวด ก�ำเริบหนักขึ้น.
牙疼 牙疼起来是难以忍受的,有句俗话说:牙疼才知牙疼人。意思是说要等到自己牙疼了才 知道牙疼的利害。以前一般是50岁以上的人才开始牙疼,但是现在30多岁就开始疼了。那 是因为现代人生活紧张,在饮食和休息方面不太注意,例如经常晚睡或者吃太甜、太咸、太 辣、太酸或者太油的东西,这样就使到内脏某个部分接受不了而从牙齿表现出来。开头是牙 酸,不几天后就开始疼了,有些还以为是咬到硬食物。但是年轻人身体强壮能内脏能自行调 整处理。当然不是每个内脏都同时有问题,要不然怎么只是疼在某个部位,但也有极少数全 部牙齿都疼的。 牙疼,如果是找西医,医生一般是开消炎药和止疼药,来消除牙齿的炎症和疼痛。西医 的止疼药,就是让神经麻痹,不使知道有疼。也许一时炎消不疼,但是过了不久牙疼的部 分又开始疼痛起来了。接下来牙科医生大部分以为是牙坏了,便选择将牙拔掉,然后安上 假牙。不过假牙用起来远不如自己的真牙好,但是没办法了。 中医的医疗牙疼就不是治标,而是治本。也就是说中医知道牙疼只是表现,其本质问题在 于内脏。是内脏里面有火甚至虚了,中医认为:上前四颗门牙属心、下前四颗门牙属肾 、 上面牙属胃、下面牙属脾 、上左边牙属胆、下左边属肝 、上右边属大肠 、下右边属肺。 医生就对相关的内脏进行治疗。一般二到三剂中药就解决,不但内脏问题解决了,同时 牙也不疼了,医生还给一点补药使内脏健康恢复,并嘱咐以后要重视内脏的那个部分,在 生活上多加注意。最好在牙酸的时候就去看医生,不要尝试牙疼的滋味。
ธรรมจริยา 5
77
活得快来 อยู่ อย่าง สุข : ยามณี
ความสัมพันธ์ดีมีสุข^^ ตามที่อริสโตเติ้ล ได้กล่าวไว้ว่า มนุษย์เป็นสัตว์ สังคม แสดงให้เห็นว่า มนุษย์มีการด�ำเนินชีวิตที่พึ่งพา อาศัยกัน มีการแบ่งหน้าที่ ด�ำรงชีวิตอยู่โดยมีความ สัมพันธ์กันเป็นกลุ่ม เช่น ครอบครัว เพื่อนฝูง ทีม งาน ชมรม ผู้ที่ท�ำงานในหน่วยงาน ซึ่งแต่ละคนมัก มีเพื่อน โดยเฉพาะเพื่อนร่วมงานทั้งที่อยู่ในระดับที่ เหนือกว่า เท่ากัน และเพื่อนร่วมงานที่ต�่ำกว่า ไม่ว่า จะอยูใ่ นต�ำแหน่งใด บุคคลเหล่านีต้ อ้ งท�ำงานเกีย่ วข้อง และติดต่อสัมพันธ์กนั ในการท�ำงานร่วมกัน ถ้ามีความ
ตาม ที่อริสโตเติ้ล ได้กล่าวไว้ว่ามนุษย์เป็น สัตว์สังคม แสดงให้เห็นว่า มนุษย์มีการด�ำเนินชีวิตที่ พึ่งพาอาศัยกัน 78
ธรรมจริยา 5
สัมพันธ์อันดีก็จะท�ำให้งานมีประสิทธิภาพ แต่บางครั้ง เมือ่ มีความคิดเห็นไม่ตรงกัน อาจบัน่ ทอนความสัมพันธ์ ลงได้ เนื่องจากคนเรามักมองตัวเองเป็นศูนย์กลางของ จักรวาล จนแทบจะไม่คดิ จากคนอืน่ กลับมาหาเรา หรือ ถ้าคิดก็มกั คิดว่า คนอืน่ คงคิดเหมือนเรา ท�ำเหมือนเรา ถ้าไม่ทำ� อย่างทีเ่ ราคิดหรือคาดหวัง ก็จะท�ำให้รสู้ กึ ไม่สบ อารมณ์ ในการกระท�ำของทุกคนมีเหตุผลของตัวเอง เสมอ และทุกคนจะถูกที่สุดในเหตุผลของตัวเอง ซึ่ง จริงๆ แล้วไม่มีใครผิดหมด หรือถูกหมด ต่างมีส่วน ถูกและผิดด้วยกันทัง้ นัน้ เราจะให้ทกุ คนเป็นแบบทีเ่ รา อยากให้เป็นนัน้ คงเป็นไปไม่ได้ อย่ายึดติดในความเห็น ของตนเอง จนปิดกัน้ ความเห็นหรือเหตุผลของคนอืน่ องค์ประกอบง่ายๆ ของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เพือ่ ให้อยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข คือ การรูจ้ กั ตน และ การเข้าใจผู้อื่น เรื่องของการรู้จักตนนั้น เราควรต้อง วิเคราะห์ตนเอง เพื่อให้รู้จักตัวเองอย่างแท้จริง ทั้ง ลักษณะที่ดีและไม่ดี แล้วปรับปรุงตน ในส่วนที่เป็น ลักษณะที่ไม่ดี ซึ่งอาจสร้างปัญหาและอุปสรรคในการ
ท�ำงาน และการสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น การเข้าใจผู้อื่น ให้มากขึ้น แล้วยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล พัฒนาตนให้เข้ากับผู้อื่น หากคนเรามีความเข้าใจกัน แล้ว ความขัดแย้งก็จะลดน้อยลง ในทางกลับกัน ความ รู้สึกสงสารเห็นใจ รู้จักจักประนีประนอม ถนอมน�้ำใจ คนอื่นก็จะมีมากขึ้น คงจะดีไม่น้อยถ้าต่อไปนี้ ทุก คนในสังคมฝึกฝนการเปิดใจยอมรับกันและกันโดย ปราศจากเงื่อนไขใด ๆ เพราะความสัมพันธ์ที่ดีไม่มี ใครสร้างให้ เกิดขึ้นได้ด้วยตัวเราเอง
人缘与快乐 作家亚里斯多德曾经说过,人类是社会的动物。这说明人类是依靠群居而分工 合作。象家庭、朋友、团体、工作小组等等。特别是工作组,因为工作能力有高有 低,但如果能够真诚合作,工作就能顺利完成;如果有意见分支就会影响同事之间 的友谊而降低工作效率。 原因是人类总以自己为中心,自以为是。如果别人不按他的意愿去做,就感到 不合心意。每个人的做法都有他的理由,这也不是全对还是全错。不可能每个人都 按照你的意愿去做,不要固执己见,看不见别人的意见和原因。 合作愉快的人际关系的基本条件,是认识自己理解别人。认识自己是要检讨自 己,才能全面正确地认识自己的缺点和优点,并对缺点进行改变。因为缺点可能造 成工作上的障碍和问题。建立好人际关系并且很好的理解别人,接受别人的意见, 就能调整和别人的关系。如果大家能互相理解,矛盾就能减少;再加上能理解同 情,能调解,爱惜心就能提高。如果社会上都能无条件的互相开心献诚,那是很好 的现象,人们也能得到快乐。因为很好的人际关系不可能自己一个人建立。
ธรรมจริยา 5
79
精神粮食 อาหารใจ
: เด็กตลาดหน้าวัด
ความหวังที่ไม่มีความเพียร ก็จะเป็นแค่ความสิ้นหวัง คนเราทุกคนมีความฝันที่แตกต่างกันออกไป ไม่ ว่าจะเป็นความฝันที่อยากจะเป็น อยากจะมี อยากจะ ได้ในสิง่ ต่างๆ แต่คงไม่มใี ครทีจ่ ะนอนหลับเพียงแค่ชวั่ ข้ามคืน หลับไปพร้อมกับความฝัน แล้วตืน่ ขึน้ มาความ ฝันนั้นนั้นจะเป็นจริง ความส�ำเร็จต่างๆ อย่างที่ได้กล่าวไปในข้างต้น ไม่มีทางที่จะบรรลุผลเพียงแค่ชั่วข้ามคืน หรือเพียง
การ มีความหวัง ก็เหมือนเป็นการสร้าง ก�ำลังใจให้กับตัวเองเป็น เหมือนการชาร์จแบตโทรศัพท์ เติมพลังให้กับตัวเองเพื่อ ความพร้อมที่จะ ลงมือท�ำ 80
ธรรมจริยา 5
แค่งบี หลับไปแล้วตืน่ ขึน้ มาจะพบกับความส�ำเร็จ ความ เป็นจริงแล้วล้วนแต่ต้องผ่านขั้นตอนในการลงมือท�ำ เริ่มด้วยสิ่งที่เราสามารถท�ำได้เลย โดยที่ไม่ต้องลงทุน หรือลงแรงอะไร นั้นก็คือ การมีความหวังให้กับตัวเอง หวังไว้กอ่ นว่ามันจะต้องเป็นความจริง เราจะต้องท�ำให้ ได้ การมีความหวังก็เหมือนเป็นการสร้างก�ำลังใจให้กบั ตัวเอง เป็นเหมือนการชาร์จแบตโทรศัพท์ เติม
พลังให้กับตัวเอง เพื่อความพร้อมที่จะลงมือท�ำ หรือ เตรียมความพร้อมที่จะไปเผชิญกับอุปสรรค เพราะ ถ้าเรายังมีความหวังอยู่ในใจ ปัญหาหรืออุปสรรคที่ ผ่านเข้ามาก็เป็นเพียงแค่ทางผ่าน เป็นเหมือนบันได อีกขั้นให้เราก้าวเหยียบขึ้นไป ความฝันหรือความหวัง นั้นจะไม่มีทางเป็นจริง แต่หากปราศจากความเพียร ในการลงมือท�ำเหมือนกับในนิทานเรื่อง กระต่ายกับ เต่า นิทานเรื่องนี้ ไม่ได้บอกแค่ความเกียจคร้านของ กระต่าย หรือความเพียรพยายามของเต่าเท่านัน้ แต่ยงั ได้สอดแทรกถึงการมีความหวังของเต่า ซึ่งจริงๆแล้ว แค่เห็นคู่แข่ง เจ้าเต่าก็ควรจะยอมแพ้ต้ังแต่แรก แต่ ด้วยความหวังของมันที่อยากจะเอาชนะคู่แข่ง คือเจ้า กระต่ายที่ดูถูก มันกลับลงมือท�ำอย่างจริงจัง ไม่ย่อท้อ ต่ออุปสรรค ไม่ว่าเส้นทางจะยาวไกลแค่ไหน ในทาง กลับกัน เจ้ากระต่ายที่คิดว่าตัวเองยังไงก็ชนะอยู่แล้ว ซึ่งก็เป็นความหวังของมันเช่นเดียวกัน เพราะเมื่อดู จากคูแ่ ข่งแล้วไม่มที างทีเ่ จ้ากระต่ายจะแพ้แน่นอน แต่ แค่ความคาดหวังอย่างเดียวคงไม่พอทีจ่ ะท�ำให้มนั ชนะ คู่แข่ง มันกลับท�ำตัวหยิ่ง ทะนงตน เกียจคร้าน ขาด
ความเพียรทีจ่ ะลงมือท�ำ แอบไปหลับพักผ่อนใต้ตน้ ไม้ จึงท�ำให้สุดท้ายแล้ว ความหวังที่มีความเพียรของเจ้า เต่า ชนะสัตว์ที่มีความว่องไวกว่าอย่างเจ้ากระต่าย ที่มี ความหวังเช่นเดียวกันแต่ปราศจากความเพียรพยายาม ความฝันและความหวังจะไม่มที างเป็นจริงได้ หาก เราไม่มคี วามเพียรทีจ่ ะลงมือท�ำ ดังค�ำพูดของนาง ออง ซาน ซูจี ผู้ต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยในประเทศพม่ามา อย่างยาวนาน ที่ว่า ความหวังที่ไม่มีความเพียร ก็จะ เป็นแค่ความสิ้นหวัง
没有行动的希望只能是失望 我们每个人的梦想不同,不论是想做的、想有的、想要的。。。,这不是睡一睡梦一梦 起来就能实现。每一个成功都不是来的那么容易。要经过几个阶段,首先给自己信心和勇 气,才能面对困难和解决困难,然后动手实行才能实现。 乌龟和兔子赛跑的寓言就说明这个道理。骄傲懒惰的兔子以为乌龟没有可能跑赢它,就 去睡觉,想睡醒起来才跑还能赢乌龟;而乌龟知道它跑得比兔子慢,就努力地跑,结果乌 龟已经到了终点了兔子才来。 这说明没有行动的希望只能是失望。缅甸的民主领袖翁山苏姬也这样说过。
ธรรมจริยา 5
81
道 德 艺 术 ศิลป์ มี ธรรม
82
ธรรมจริยา 5
道 德 艺 术 ศิลป์ มี ธรรม
ธรรมจริยา 5
83
近在比邻 ไม่ใกล้ไม่ไกล : เด็กตลาดหน้าวัด
84
ธรรมจริยา 5
สวัสดี หนีห่าวทุกท่านค่ะ ... ไม่ใกล้ไม่ไกล ฉบับนีไ้ ปไหนกันต่อดี ไม่ไกลจริง ๆ ค่ะ อ�ำเภอทีเ่ ราจะ ไปไหว้พระกันนัน้ อยูใ่ กล้บางบัวทองเหมือนกันหละค่ะ จะว่ากันไปแล้วอ�ำเภอนี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของอ�ำเภอ บางบัวทอง แต่กไ็ ด้ยกฐานะจากกิง่ อ�ำเภอมาเป็นอ�ำเภอ ไทรน้อยนัน่ เอง ไทรน้อยเป็นอ�ำเภอทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ แต่ก็มีจ�ำนวนประชาชนน้อยที่สุดในนนทบุรีด้วย และ ที่น่าสนใจคือสภาพสังคมความเป็นอยู่ของชาวบ้านยัง คงใช้ชีวิตกันอย่างเรียบง่าย คงความเป็นชาวนนทบุรี ดัง้ เดิม ท้องไร่ ท้องนา สวนผัก สวนผลไม้ยงั คงมีอยูค่ ะ่ กลับไปทีว่ ดั ทีเ่ ราจะไปไหว้พระกันดีกว่า วัดทีเ่ ราจะ
ไปนั้น ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลไทรน้อย อ�ำเภอไทรน้อยค่ะ แต่ มีชอื่ ว่า “วัดไทรใหญ่” สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ.2410 มีเนือ้ ที่ 20 ไร่ เดิมนั้นชื่อว่า วัดมหานิโครธาราม ซึ่งค�ำว่า มหา แปลว่า ใหญ่ และนิโครธ แปลว่า ต้นไทร ต่อมาได้เรียก เป็น วัดไทรใหญ่แทนเพราะเรียกง่ายกว่ามาก วัดไทร ใหญ่ตั้งอยู่ริมคลองพระพิมลราชา และคลองทวีวัฒนา นอกจากที่ดิน 20 ไร่ ที่มีนางเง็ก แสงประภา เป็นผู้ ถวายแล้วนั้นยังมีที่ธรณีสงฆ์อีก 77 ไร่ 72 ตารางวา และมีนางผัน ค�ำคงจิต ถวายเป็นที่ธรณีสงฆ์ 15 ไร่ 96 ตารางวาด้วย ธรรมจริยา 5
85
พื้นที่โดยรอบ ปัจจุบันวัดไทรใหญ่ก�ำลัง ด�ำเนินการสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ (และใหญ่มาก) ด้วยแรงศรัทธาและก�ำลังบุญของพุทธศาสนิกชนทุก คน ทั้งชาวไทรน้อยและนักท่องเที่ยวทุกคน ซึ่งก็ใกล้ จะส�ำเร็จในเร็ววันนี้แล้ว ส�ำหรับจุดท�ำบุญไหว้พระ สักการะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิต์ า่ งๆ นัน้ มีอยูร่ อบพระอุโบสถหลัง เดิมและหลังใหม่เลยค่ะ เข้าไปด้านในพระอุโบสถกัน ค่ะ ภายในเป็นที่ประดิษฐานพระคู่บ้านคู่เมืองที่เป็น ที่ศรัทธาของชาวไทรน้อยเป็นอย่างมาก “หลวงพ่อ ทองค�ำ” พระพุทธรูปปางมารวิชัยเก่าแก่สมัยอู่ทอง ด้วยความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อทองค�ำ ชาวไทรน้อย ทุกคนต่างก็มากราบไหว้ขอพร และอาจจะกล่าวได้ ว่าใครที่เป็นชาวไทรน้อยทุกคนไม่มีใครไม่เคยไปไหว้ หลวงพ่อทองค�ำ ทุกท่านสามารถพูดคุยกับชาวบ้าน ถึงความศักดิส์ ทิ ธิข์ ององค์หลวงพ่อท่านได้เลยค่ะ และ 86
ธรรมจริยา 5
เมื่อไหว้สักการะองค์หลวงพ่อทองค�ำแล้ว ด้านนอก พระอุโบสถมีอีกหลายจุดท�ำบุญเลยที่เดียว ตรงนี้ก็สุด แล้วแต่วา่ ท่านศรัทธาอยากท�ำบุญตรงไหนก็แล้วกันค่ะ ที่ขาดไม่ได้เมื่อพูดถึงวัดไทรใหญ่ บางท่านอาจ จะถามว่าใช่ตลาดน�้ำไทรน้อย หรือเปล่า ตอบเลยค่ะ ว่าใช่ ที่นี่คือที่ตั้งของตลาดน�้ำไทรน้อยด้วย อย่าสับสน นะคะ ตลาดน�ำ้ ไทรน้อยทีว่ ดั ไทรใหญ่ ไหว้พระเสร็จอิม่ บุญแล้ว ไปอิ่มขนม ชอปปิ้งซื้อหาของกินต่อได้เลย ที่ ตลาดน�ำ้ แห่งนีย้ งั คงเป็นวิถชี าวบ้านในท้องถิน่ จริงๆ ที่ น�ำเอา ผลไม้หรือพืชผักต่างๆ ทีป่ ลูกเองกินเองมาขาย กัน ใครชอบซื้อพันธุ์พืชต้นไม้ต่างๆ ก็มีนะคะ อาหาร ส�ำเร็จก็เป็นแพอาหารให้เลือกชิมกันหลายอย่างเลยที เดียว ตลาดน�้ำที่นี่จะเปิดเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ และ วันหยุดนักขัตฤกษ์เท่านั้นค่ะ
การเดินทาง
หากท่านเดินทางจากถนนกาญจนาภิเษก (บางใหญ่ ทางก่อสร้างรถไฟฟ้า) สังเกตจากป้ายวัด บรมราชาฯก็ได้ค่ะขับตรงมาตามทางให้ท่าน เลี้ยวซ้าย เข้าเส้นทาง ถนนบ้านกล้วย-ไทรน้อย (ถ้ามาวัดบรม ราชาฯให้ใช้กลับรถใต้สะพาน แต่ถ้าไปไทรน้อยให้ เลีย้ วซ้ายก่อน) เมือ่ เลีย้ วเข้ามาให้ทา่ นขับตรงตามเส้น
ทางผ่านเขตชุมชนต่างๆ (13-14 กิโลเมตร) จนสุด ถนนทางจะเป็นสามแยก ท่านจะเห็นพระอุโบสถหลัง ใหญ่ตั้งตระหง่านอยู่ หรือท่านสามารถใช้บริการรถตู้ โดยสารได้สองสาย คือ พาต้าปิน่ เกล้า และ เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน และหากมาจากทางบางบัวทองก็มรี ถเมล์ สาธารณะท้องถิ่น จากบางบัวทองไปไทรน้อยด้วยเช่น กันค่ะ ส่วนฉบับหน้าจะพาไปใหนติดตามต่อได้นะคะ ธรรมจริยา 5
87
智力训练 นันทนาการ มาช่วยกันหาคำ�ศัพท์ภาษาจีน ในตารางกันนะครับ อยู่ตรงไหนกันบ้าง???
量 八 无 四 将 莲 正 陪
四 正 公 心 无 太 念 珠
成 道 言 阿 心 量 无 五
无 心 无 罗 可 无 心 吴
心 四 三 汉 量 汉 殿 佛
八 道 量 心 无 节 阿 喜
五 无 佛 教 三 宝 节 看
戒 请 像 普 快 罗 美 喔
四无量心 [sì wú liàng xīn] พรหมวิหารสี่ 五戒 [wǔ jiè] ศีลห้า 念珠 [niàn zhū] ลูกประคำ� 阿罗汉 [ā luó hàn] พระอรหันต์ 成道 [chéng dào] ตรัสรู้ 八正道 [bā zhèng dào] มรรคแปด 佛教三宝节 [fó jiào sān bǎo jié] วันอาสาฬหบูชา 佛像 [fó xiàng] พระพุทธรูป
88
ธรรมจริยา 5
โอม มา นี ปะ มี ฮง เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งชาวพุทธมหายานทั่วโลกสวดเป็นประจ�ำ โดยจะช่วยขับไล่สิ่งชั่วร้าย ผู้ที่หมั่นสวดมนต์บทนี้เป็นประจ�ำจะเห็นแจ้งในสภาวะธรรม ภาพด้านบนเป็นภาพเขียนสีลายพระคาถา ที่ปรากฎอยู่ทั่วไป ตามอุโบสถและพระวิหารต่างๆของวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ฯ ด้วยอ�ำนาจความศักดิ์สิทธิ์แห่งพระคาถานี้ิ์ จะก่อเกิดเป็นสิริมงคล และป้องกันภยันตราย หรือสิ่งอันอัปมงคลต่างๆ แก่ผู้ที่มาสักการะ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด พร้อมทั้งคุ้มครองให้เดินทางกลับบ้านโดยสวัสดิภาพ
“บุญน�ำท่านมา กุศลพาท่านกลับ”