จดหมายข่าว "สุวรรณภิงคาร" (ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนธันวาคม 2558 – มกราคม 2559)

Page 1

¥ u· ¥

§zw¥

«

{

·Å´°° ­Á ¿° ¡¸®¿¯ Ó¿´Ë«ÄÓº ¿°¨°½ ¿·¾®«¾¦¥× ½®¦Å¶¯µ¿·¢°× ®¸¿´Á¤¯¿²¾¯¦Ë°µ´° ¨Â¤ÂÓ §¾§¤ÂÓ ¥¾¦´¿ ® ® °¿ ®

Welcome to the ASEAN Economic Community

ÿčüøøèõĉÜÙćøĂĂîĕúîŤ


ðĎĝôüďÚĂċ ÝìóíĎÝìĉúòđĂûāċăîüġ üĆàÝìóíĎöĝċûóüčĄċü üĆàÝìóíĎöĝċûĀčãċÚċüĖþĉÚčáÚċüîĝċàôüĉĕðā üĆàÝìóíĎöĝċûĀčáĊûĖþĉóüčÚċüĀčãċÚċü üĆàÝìóíĎöĝċûĖõòĖþĉôüĉÚĊòÝđìùċ÷ üĆàÝìóíĎöĝċûÚčáÚċüòčăčî

óüüìċñčÚċü íü ĆüĆđĂċ

ăđĀüüìôüĉĕðā

ÚĆàóüüìċñčÚċü íü ĆĊáâüċ íü ùċÝùĒúč íü áđêċúċā ĆċáċüûġăđĀüüìĎ ĆċáċüûġíĀà÷ü

ĆďĞàîüĉÚĒþ ăđÛĕáüčæ óđæãĒ ðĆàüĆí ðĆàòĞĆû

āčþôÚüüú ìĊéĀđëč

òþčòüĊîòÚđþ

ĕþÛċòđÚċü ăđüĎûġ÷ü

ãđúĖăà

àċòôüĉãċăĊú÷Ċòñġ ÝìĉúòđĂûāċăîüġ úĄċĀčðûċþĊûòĕüāĀü Ć ĕúĐĆà á ÷čĂìđėþÚ ėðüāĊ÷ðġ ĖøÚäġ KWWS ZZZ KXPDQ QX DF WK

§¤§°° ¿¥Á ¿° เดื อ นธั น วาคมป 2558 นี้ นอกจากวั น ที่ 31 ธั น วาคมจะเป น วั น ที่ ทุ ก คน ตัง้ ตาคอยในฐานะวันสงทายปเกาเพือ่ จะรอตอนรับปใหมแลวนัน้ ยังเปนวันทีม่ คี วามสําคัญ ที่ตองจารึกลงในประวัติศาสตรของชาติไทยอีกวันหนึ่ง เพราะเปนวันที่ประเทศไทย และประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตจะมีการรวมตัวกันเปนประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) อยางเปนทางการ โดยมี เปาหมายของการรวมกลุมเศรษฐกิจเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว (Single Market and Production Base) เพื่อเสริมสรางโอกาสในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจาก ตางประเทศมายังอาเซียนและเพิ่มอํานาจการตอรองของอาเซียนในเวทีการคาโลก เมือ่ พูดถึงคําวา “เศรษฐกิจ” อาจฟงดูหา งไกลจากการศึกษาภาษาและวัฒนธรรม ตามแนวการศึ ก ษาด า นมนุ ษ ยศาสตร แต แ ท จ ริ ง แล ว เราสามารถใช วิ ธี ก ารศึ ก ษา ดานมนุษยศาสตรทาํ ความเขาใจมุมมองเกีย่ วกับเรือ่ งเศรษฐกิจและเรือ่ งอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ กั บ มนุ ษ ย ไ ด ดั ง เช น ชุ ด โครงการวิ จั ย เด น ในรอบป ที่ ผ า นมาของคณะมนุ ษ ยศาสตร เรือ่ ง “โลกทัศนของอาเซียนจากสุภาษิต” ทีม่ ี รองศาสตราจารย ดร.สุภาพร คงศิรริ ตั น เปนหัวหนาโครงการ งานวิจยั ชุดนีเ้ ปนการศึกษาภาษิตทีม่ กี ารพิมพเผยแพรของชาติอาเซียน จํานวน 5 ประเทศ ไดแก ไทย ลาว พมา อินโดนีเซีย และสิงคโปร โดยอาศัยกรอบแนวคิด เรื่องการศึกษาโลกทัศนผานเจาของภาษิต และไดแบงโลกทัศนเปน 3 ดาน ไดแก โลกทัศนตอ มนุษย (man to man) โลกทัศนตอ ธรรมชาติ (man to nature) และโลกทัศน ต อ สิ่ ง เหนื อ ธรรมชาติ (man to supernatural) โดยผลการศึ ก ษาส ว นหนึ่ ง ได แสดงใหเห็นถึง โลกทัศนของอาเซียนทีม่ ตี อ เศรษฐกิจและการคาดวย ดังนัน้ เพือ่ เปนการ ตอนรับ AEC ที่มาถึงกองบรรณาธิการสุวรรณภิงคารจึงไมพลาดที่จะเรียนเชิญทาน หัวหนาชุดโครงการวิจัยดังกลาว คือ รองศาสตราจารย ดร.สุภาพร คงศิริรัตน นําเสนอ สาระสําคัญของงานวิจัยในสวนที่เกี่ยวของกับมุมมองทางเศรษฐกิจของชาติตางๆ ใน อาเซียนที่สะทอนผานภาษิตของชาติเหลานั้นในคอลัมนคลังปญญา ซึ่งขอมูลดังกลาว นาจะเปนประโยชนตอสมาชิกอาเซียนทุกคนในการทําความเขาใจซึ่งกันและกันได มากยิ่งขึ้น โลกในศตวรรษที่ 21 นั้นเปนโลกที่แคบลงและมีแนวโนมที่จะกลายเปนโลกที่ ไรพรมแดน หมายความวา เราไมสามารถอยูตามลําพังอยางโดดเดี่ยวได เราจะตองมี เครือขาย มีพนั ธมิตร ดังนัน้ เราตองทําความรูจ กั ตัวตนของเราอยางถองแทในขณะเดียวกัน ก็ที่ตองเรียนรูตัวตนของเพื่อนรวมภูมิภาคและรวมโลก เพื่ออยูรวมกันอยางไรพรมแดน ไดอยางเขาใจและเปนสุข โดย “มนุษยศาสตร” ตองเปนสวนสําคัญในการศึกษาและ วิจัยเพื่อสรางองคความรูดานภาษา สังคมวัฒนธรรมของประเทศในกลุมอาเซียน เพือ่ สงเสริมใหคนไทยมีความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียน ไดอยางเปนรูปธรรม และ “สุวรรณภิงคาร” ก็ขอรวมมีบทบาทในการเปนสื่อกลางใน การถายทอดองคความรูเหลานั้นสูทานผูอานทุกคน ขอตอนรับทุกทานสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Welcome to the ASEAN Economic Community ดร.อรอุษา สุวรรณประเทศ บรรณาธิการ onusas@nu.ac.th


Ì´¡´ ®¦Å¶¯µ¿·¢°×

t¾ £Å £¯ ¥° ¨±¾¡Å ¾¡³ « l° ¡Á©m¾ l u ´ ¥²¬ ´¥ q ¥¶ ¯ »n m©¤ª´¬ ¥´ ´¥¤q ¥ ³ ¶¥´ ³ ¶£ 1 เ มื่ อ วั น ที่ 2 1 พ ฤ ศ จิ ก า ย´Ã.ÍÑน ¨©ÃÒ 2ÍÖé§μÃС٠5 5Å 8 ผูเ ขียนไดมโี อกาสเขารวมโครงการซากุระหรรษาภายใตหวั ขอ“เรียนอยางไรใหเกงทัง้ 4ทักษะจากประสบการณการเรียนภาษาญีป่ นุ ในตางประเทศ”จัดโดย หลักสูตรภาษาญีป่ นุ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวรซึง่ ไดรบั เกียรติจากผูช ว ยศาสตราจารย ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม ผูช ว ย อธิการบดีฝา ยวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม มาเปนวิทยากรบรรยายความรูแ ละถายทอดประสบการณทที่ าํ ใหอาจารยประสบความสําเร็จใน การเรียนภาษาญีป่ นุ ผูเ ขียนเห็นวาสาระสําคัญทีว่ ทิ ยากรบรรยายในวันนัน้ นาจะเปนประโยชนตอ แวดวงมนุษยศาสตร ไมเฉพาะแตผสู อนและผูเ รียนภาษา ญี่ปุนเทานั้น แตหลักคิดและวิธีการตางๆ จากประสบการณของทานวิทยากรนาจะสามารถนําไปปรับประยุกตใชไดกับการเรียนการสอนภาษาทุกภาษา รวมทั้งนาจะเปนประโยชนตอผูที่ตองการประสบความสําเร็จในการคนพบสิ่งที่ตัวเองอยากจะเปนและวางแผนที่จะไปใหถึงสิ่งที่ตองการได จึงอยากจะ ถายทอดสาระสําคัญจากการฟงบรรยายในวันนั้นแกทานผูอาน ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยภาษาตางประเทศโอซากาดวยทุนรัฐบาลญีป่ นุ มีผลงานเขียนตําราภาษาญี่ปุนอีกหลายเลมที่เปนที่รูจักแพรหลาย อาทิ ภาษาศาสตรภาษาญี่ปุนเบื้องตน : Japanese Linguistics, 82 คํากริยาวิเศษณ นิ โตะ อิชิ, 80 คํากริยาวิเศษณลงทายดวย ริ เปนตน นับไดวาอาจารยเปนผูที่ประสบความสําเร็จบนเสนทางการเรียนการสอนภาษาญี่ปุนทานหนึ่งใน ประเทศไทย บนเสนทางแหงความสําเร็จของผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม นั้น อาจารยเลาใหฟงวากอนที่ตนเองจะมาเปนอาจารยสอนภาษาญี่ปุน ในมหาวิทยาลัย สมัยปริญญาตรีนั้นเคยคิดที่จะสอบเขาเรียนในสาขาวิชานิติศาสตร แตไมประสบความสําเร็จ จึงเบนเข็มมาเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษ แทน โดยในขณะที่เรียนปริญญาตรีสาขาวิชาภาษาอังกฤษอยูนั้น อาจารยก็ไดคนพบ “Perfect me” ของตนเอง และนี่คือคําถามแรกที่อาจารยถามผูเขารวมโครงการวา “Perfect me ของคุณคืออะไร” ...วาแต “Perfect me”นี่คืออะไรกัน– “Perfect me” ก็คือ ภาพอันสมบูรณแบบที่คุณคิดวาตัวคุณอยากจะเปน อยางนั้น หรือพูดใหงายเขาก็คืคุณมองเห็นภาพตัวคุณที่คุณอยากจะเปนวาเปนอยางไร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม คนพบ “Perfect me” ของตนเอง โดยพบวาตนเองนั้นอยากเปนอาจารยสอนในระดับ มหาวิทยาลัย ซึ่งมีแรงจูงใจมาจากการดูภาพยนตรและการตูน มาถึงตรงนี้ทานผูอานคิดออกหรือยังคะวา “Perfect me” ของทานคืออะไร ถายังคิดไมออกก็ไมเปนไรนะคะ เรามาดูกันตอวาเมื่ออาจารยทานคนพบ “Perfect me” ของตนเองแลวอาจารยทําอยางไรตอไป ในทัศนะของผูเขียน “Perfect me” ก็เหมือนกับความฝนที่เราอยากจะเปน ถาเราปลอย ใหเปนเพียง “ฝนหวาน” มันก็จะอยูกับเราเพียงชั่วคราว แตถาเราเปลี่ยนความฝนใหเปน “เปาหมาย” ความฝนนั้นก็อาจจะกลายเปนความจริงไดในวันหนึ่ง เชนเดียวกับ ผูชวยศาสตราจารยดร.ณัฏฐิรา ทับทิม หลังจากที่อาจารยทราบแลววาตนเองอยากเปนอะไร อาจารยก็คิดตั้งคําถามเพื่อหาหนทางวาทําอยางไรจึงจะสามารถกาวไปถึงจุดที่มุงหวังได โดย อาจารยไดหาคําตอบเพื่อนําพาตัวเองไปสูจุดหมายที่ตองการอยางเปนขั้นเปนตอน ดังลักษณะ ตอไปนี้

คําถาม คําตอบ คําถาม คําตอบ คําถาม คําตอบ คําถาม คําตอบ คําถาม คําตอบ 1

อยากเปนอาจารยมหาวิทยาลัย ตองทําอยางไร ตองจบการศึกษาในระดับปริญญาโท (ในสมัยนั้น) ตองเรียนตอปริญญาโท ตองทําอยางไร ตองมีเงินในการเรียนตอ หาเงินเรียนตอ ตองทําอยางไร ตองหาทุนการศึกษา หาทุนการศึกษา ตองทําอยางไร ตองเรียนดี เรียนดี ตองทําอยางไร ตองขยัน

ÍÒ¨Òà»ÃШÓÊÒ¢ÒÇÔªÒÀÒÉÒÞÕè»Ø†¹ ÀÒ¤ÇÔªÒÀÒÉÒμÐÇѹÍÍ¡ ¤³ÐÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ

·Å´°° ­Á ¿°

Perfect me อยากเปนอาจารยมหาวิทยาลัย

®¤µ¥ ɵªÁ¡ºÉ° µ¦ ¦³ µ­´¤¡´ Í ñĊòĀċÝú úÚüċÝú 3


·Å´°° ­Á ¿°

จากการคนพบ Perfect me และการคิดหาหนทางที่จะ ทํ า ให ไ ปถึ ง จุ ด ที่ มุ ง หวั ง นี่ เ อง เป น จุ ด เริ่ ม ต น ให อ าจารย หั น มา ตื่ น แต เ ช า เพื่ อ ลุ ก ขึ้ น มาอ า นหนั ง สื อ พิ ม พ ภ าษาอั ง กฤษ ก อ นที่ จ ะไปเรี ย นที่ ม หาวิ ท ยาลั ย โดยอาจารย อ า นข า ววั น ละ 1 ข า ว พร อ มทั้ ง หาศั พ ท ที่ ไ ม เข า ใจโดยการเป ด พจนานุ ก รม และจดลงบนหนั ง สื อ พิ ม พ โดยทํ า แบบนี้ ทุ ก วั น หนั ง สื อ พิ ม พ ภาษาอังกฤษ 1 ฉบับทีซ่ อื้ มานัน้ อาจารยใชอา นทุกวันวันละ 1 ขาว จะใชเวลาประมาณหนึ่งเดือนก็จบ อาจารยเลาวา ตอนที่อาน ข า วในหนั ง สื อ พิ ม พ นั้ น ไม ไ ด มี ก ารจดสรุ ป ออกมาเป น สมุ ด จดศัพทแตอยางใด เนื่องจากเมื่ออานทุกๆ วัน ก็มักเจอคําศัพท ซํ้าไปซํ้ามา ก็ทําใหจําไดเองโดยอัตโนมัติ และอาจารยก็ทําอยางนี้ มาเรื่อยๆ จนติดเปนนิสัย และทําตอเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้เลย ทีเดียว นอกจากการอ า นหนั ง สื อ พิ ม พ ภ าษาอั ง กฤษทุ ก เช า แล ว ในวันเสาร-อาทิตยก็นั่งอานหนังสือภาษาอังกฤษที่มหาวิทยาลัย ดวย โดยอาจารยมองวา การทําซํ้าๆ จนติดเปนนิสัย ทําซํ้าติดตัว จนเกิดเปนปญญา จะทําใหความรูต า งๆ ทีเ่ ราอานหรือฟงนัน้ เขามา อยูในตัวโดยตัวเราเองจะกลายเปนคลังขอมูลภาษา (Corpus in me) การค อ ยๆ เพี ย รทํ า วั น ละนิ ด อย า งต อ เนื่ อ งจนติ ด เปนนิสัยนั้นจะทําใหคอยๆ ซึมซับไปโดยอัตโนมัติและไมรูสึก ลําบาก อาจารยเลาวา จากจุดเริม่ ตนดวยการอานหนังสือพิมพภาษา อังกฤษ ทําใหสามารถสอบชิงทุนแลกเปลี่ยนไปยังประเทศญี่ปุน ไดในขณะที่เรียนอยูในชั้นปที่ 2 โดยขณะนั้นเรียนภาษาญี่ปุนไป นอยมาก เนื่องจากตนเองเรียนวิชาเอกภาษาอังกฤษ แตเนื่องจาก การสอบชิงทุนขณะนัน้ ใชภาษาอังกฤษในการสอบ อีกทัง้ ลักษณะ ของขอสอบก็เปนการใหผูสอบเขียนอธิบายและออกความคิดเห็น ในประเด็นที่เกี่ยวของกับสังคม การเมือง เปนตน อาจารยเลาวา ทีต่ นเองสามารถทําขอสอบได นาจะเปนเพราะการอานหนังสือพิมพ ดวย เนื่องจากการอานหนังสือพิมพนั้น นอกจากจะทําใหทักษะ การอานพัฒนาแลว ยังทําใหไดคําศัพท ไวยากรณ และยังเปน การเปดโลกทัศนใหเห็นมุมมองความคิดในการมองสิ่งตางๆ ของ บุคคลอื่นดวย ที่กลาวมาขางตน เปนวิธีการฝกทักษะการอานของอาจารย โดยเริ่ ม ต น จากการอ า นหนั ง สื อ พิ ม พ ภ าษาอั ง กฤษทุ ก ๆ เช า โดยเคล็ ด ลั บ ของอาจารย อ ยู ที่ ก ารทํ า สมํ่ า เสมอ ทํ า ให ติ ด เป น นิสัย และเมื่อติดเปนนิสัยแลวจะไมรูสึกยากลําบากแตอยางใด

4 ®¤µ¥ ɵªÁ¡ºÉ° µ¦ ¦³ µ­´¤¡´ Í ñĊòĀċÝú úÚüċÝú

ลํ า ดั บ ต อ ไปอาจารย ไ ด เ ล า ถึ ง จุ ด เริ่ ม ต น ในการฝ ก ทั ก ษะการฟ ง ของตนเอง โดยในขณะที่อาจารยไดทุนไปแลกเปลี่ยนที่ประเทศญี่ปุนนั้น อาจารยมีความรูภาษาญี่ปุนนอยมาก การสื่อสารที่ใชในญี่ปุนขณะนั้น ตองอาศัยการวาดภาพและยังจําเปนตองใชภาษาอังกฤษอยู อาจารยจึง เริ่มตนการฝกทักษะการฟงดวยการเปดโทรทัศนชอง CNN เพื่อฟงขาว ภาษาอังกฤษทุกวัน ในขณะที่ฝกทักษะภาษาอังกฤษอยูนั้น ขณะเดียวกัน อาจารยก็เริ่มเรียนภาษาญี่ปุนอยางจริงจัง เริ่มฝกทักษะการฟงภาษาญี่ปุน จากโทรทัศนดวย (อาจารยเลาวา ในสมัยนั้นอินเทอรเน็ตยังไมมีการหา รายการขาวละคร ภาพยนตรภาษาตางประเทศดูเปนเรือ่ งทีท่ าํ ไดยาก) แตใน ปจจุบันมีอินเทอรเน็ตซึ่งเปนชองทางที่ชวยใหเราสามารถฝกทักษะการ ฟงการอานไดอยางอยางสะดวกมากขึ้น อาจารยจึงไดแนะนําใหผูเรียน ภาษาตางประเทศใชประโยชนในการฝกฟงขาว ดูละคร หรือภาพยนตร จากแหลงขอมูลตางๆ ทางอินเตอรเน็ตดวย


นอกเหนือจากวิธีการเรียนภาษาตางประเทศจากประสบการณจริง ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม ยังไดนาํ เสนอ “Learning Pyramid” ซึ่ ง เป น แผนภาพที่ อ ธิ บ ายถึ ง วิ ธี ก ารในการเรี ย นภาษาต า งประเทศให ประสบความสําเร็จ ดังนี้

อาจารยอธิบายวา การเรียนนอกจากหลักสูตร และผูสอนแลว ผูเรียน ถือเปนองคประกอบทีส่ าํ คัญทีจ่ ะทําใหการเรียนการสอนประสบความสําเร็จ และจาก “Learning Pyramid” ดังภาพ จะเห็นไดวา หากผูเรียนฟงอาจารยบรรยาย ผูเรียนจะเกิดการเรียนรู 5 เปอรเซ็น หากผูเรียนอาน ผูเรียนจะเกิดการเรียนรู 10 เปอรเซ็น

หากผูเรียนเห็นภาพ ฟงเสียง ผูเรียนจะเกิดการเรียนรู หากผูเรียนทําการสาธิต ผูเรียนจะเกิดการเรียนรู หากผูเรียนมีการพูดคุยในกลุม ผูเรียนจะเกิดการเรียนรู หากผูเรียนมีการลงมือปฏิบัติจริง ผูเรียนจะเกิดการเรียนรู หากผูเรียนลงมือสอนคนอื่น ผูเรียนจะเกิดการเรียนรู

20 เปอรเซ็น 30 เปอรเซ็น 50 เปอรเซ็น 75 เปอรเซ็น 90 เปอรเซ็น

จาก “Learning Pyramid” ขางตนในฐานะผูเ รียนจึงจําเปนตอง หาวิธีการที่เหมาะสมกับตนเองเพราะวิธีการที่เหมาะสมกับตนเองของ แตละคนอาจไมเหมือนกัน ผูเรียตองคนหาวิธีการเรียนที่จะทําใหตนเอง เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงพั ฒ นาเพื่ อ พาไปสู จุ ด ที่ ต อ งการหรื อ ที่ เรี ย กว า “Perfect me” ไดนั่นเอง มาถึงตอนนีท้ า นผูอ า นคนพบ “Perfect me” ของทานแลวหรือยังคะ ถาคนพบแลว ก็อยาลืมลองมองยอนกลับไปหาวิธีการที่จะนําพาตนเอง ไปยังจุดที่เปน “Perfect me” ใหไดนะคะ เชื่อแนวาถาตั้งใจจริงแลว ทุกคนยอมตองประสบความสําเร็จไดอยางแนนอน

îćÜÿćüîùßøǰõĎđÖšćúšüîǰîĉÿĉêßĆĚîðŘìĊęǰ รู สึ ก ดี ใจมากที่ ไ ด เข า ร ว มในโครงการนี้ ค ะ วิ ท ยากรและอาจารย ไ ม เ พี ย งชี้ แ นะถึ ง วิ ธี ก ารเรี ย น ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในทุ ก ทั ก ษะเท า นั้ น แต ยั ง ถามกลั บ มาถึ ง ตั ว พวกหนู ถึ ง เป า หมายในอนาคตที่ นิ สิ ต ทุกคนควรจะมีอีกดวย อยางเชนเรื่อง Perfect Me ถือเปนจุดเริ่มตนของการจัดลําดับความสําคัญ ในชี วิ ต ทั้ ง ชี วิ ต ในด า นในการเรี ย นและเรื่ อ งอื่ น ๆ เป น ไปอย า งมี ขั้ น ตอนและประสบความสํ า เร็ จ อี ก ด ว ยค ะ โครงการนี้ เ ป น ทั้ ง แรงบั น ดาลใจ แล ว ก็ แรงผลั ก ดั น ให ห นู อ ยากตั้ ง ใจเรี ย นมากขึ้ น อี ก เพื่ออนาคตที่ตั้งใจไวในวันขางหนาคะ ถามีโครงการแบบนี้อีกหนูจะเขารวมอีกแนนอน ขอบพระคุณ มากคะ

สิ่ ง ที่ ข า พเจ า ได รั บ คื อ เรื่ อ งของแง คิ ด ในการเรี ย น การทํ า งาน สิ่ ง แรกที่ เ ราต อ งคิ ด ได นั้ น คือ ตองรูกอนวาตัวเรา นั้นมีเปาหมายคืออะไร ตองการจะเปนอะไร เมือรูแลวก็ตองมาคิดตออีกวา จะทํา สิ่งนั้นใหสําเร็จได เราจะตองทํายังไง รวมทั้งไดเรียนรูเทคนิคเพื่อที่จะพิชิตเปาหมายของวิทยากร แลว นําสิ่งที่เรียนรูมาจากวิทยากรมาปรับปรุงใหเปนวิธีการที่เราสามารถใชไดจริง เชน วิทยากรแนะนําวา วิทยากรเกงไดเพราะอานหนังสือพิมพ ซึ่งวิธีนี้ขาพเจาเองก็เห็นวาเปนวิธีที่ดีและทําตามไดงาย ก็ลอง มาทําตามดูบาง แตชวงแรกๆ ของขาพเจานั้น อาจจะมีความลําบากอยูมากในเรื่องของภาษา แตเมื่อทํา บอยๆ ก็สามารถเขาใจบทความไดงายขึ้น หรือการที่วิทยากรชอบจดศัพทจดบันทึกลงสมุด ซึ่งวิธีนี้ขาพเจา เองก็ทําอยูเหมือนกัน แตการจัดระบบไมคอยดี จึงรูสึกวาไมคอยไดประสิทธิผลกับการเรียน แตพอลองดู ที่สมุดของวิทยากรและฟงคําแนะนําจากวิทยากร ก็ทําใหการจัดบันทึกดูเปนระบบมากขึ้น และสามารถ ยอนกลับมาอานแลวเขาใจงายดีกวาเดิม

·Å´°° ­Á ¿°

îćÜÿćüíĆâüøĆêîŤǰÖčúíøóčçĉóÜýŤǰǰîĉÿĉêßĆĚîðŘìĊęǰ

®¤µ¥ ɵªÁ¡ºÉ° µ¦ ¦³ µ­´¤¡´ Í ñĊòĀċÝú úÚüċÝú 5


²¾ ¨¾ ¿

Áͧ àÍ àÍÍÕÍÕ«Õ«Õ ¼‹Ò¹ÀÒÉÔ ¹ÀÒÉÔμ ÃͧÈÒÊμÃÒ¨Òà´Ã. ÊØÀҾà ¤§ÈÔÃÔÃÑμ¹ 1

ป 2559 นี้ อาเซียนไดรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเรียบรอยแลวตั้งแต 31 ธันวาคม 2558 ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงมีความ ใกลชิดกันมากยิ่งขึ้นกวาเดิม อาจกลาวไดวาอาเซียนเปนหนึ่งเดียวกันทางดานเศรษฐกิจ อันไดแก การคาการลงทุน เราจึงควรที่จะรูวาประเทศสมาชิก ในอาเซียนมีมมุ มองเกีย่ วกับเศรษฐกิจอยางไร โดยผานภาษิตของชาติเหลานัน้ มุมมองเกีย่ วกับเศรษฐกิจทีจ่ ะนําเสนอมีสองประเด็น ไดแก มุมมองเกีย่ ว กับความสําคัญของเศรษฐกิจ และมุมมองเกี่ยวกับการคา

มุมมองเกี่ยวกับความสําคัญของเศรษฐกิจ

·Å´°° ­Á ¿°

ชาติตางๆ ในอาเซียน มีมุมมองเกี่ยวกับเศรษฐกิจที่สอดคลองกันวา เศรษฐกิจมีความสําคัญอยางยิ่ง เชน ลาว มองวาเศรษฐกิจมีความสําคัญ ตอการดํารงชีวิต โดยกลาวเปรียบเทียบวา ความทุกขที่เกิดจากการไมมีเสื้อผาเครื่องแตงกายสวมใสไมเปนทุกขเทาไร เพราะยังมีเรือนใหอยูอาศัย นอน แตหากไมมีขาวกินนับเปนความทุกขอยางยิ่ง เพราะไมสามารถที่จะนอนเฉยอยูในเรือนได จําเปนตองออกไปหาอาหารมาใสปากทอง ดังความวา “ທຸກບ່ມີເສື້ອຜາ ຝາເຮືອນດີພລີ້ຢູ ທຸກບ່ມີເຂົ້າຢູທອງ ນອນລີ້ຢູບ່ເປັ-ນ ทุกขไมมีเสื้อผา ฝาเรือนดีพอลี้ (หลบ) อยู ทุกขไมมีขาวอยูทอง นอนลี้อยูไมเปน” (หุมพัน รัดตะนะวง,้ 2007, หนา 26) พมามีมุมมองวา เศรษฐกิจมีความสําคัญมากยิ่งกวาการเมือง โดยเปรียบเทียบเรื่องของปากทอง ซึ่งเปนสัญลักษณทางเศรษฐกิจวามีความสําคัญ มากยิ่งกวาการเมืองความวา “ - เรื่องปากทองสําคัญกวาเรื่องการเมือง” (ปงญาจอ, 2552, หนา 188 อางอิงใน สุภาพร คงศิรริ ตั น และคนอืน่ ๆ, 2558, หนา 159) การทีภ่ าษิตพมากลาวเชนนี้ เนือ่ งจากตัง้ อดีตมา สหภาพเมียนมารประสบปญหาการเมืองทัง้ จากภายนอก และภายในประเทศมาตลอด เชน การตกเปนอาณานิคมของอังกฤษ ตอมาอยูใตอาณานิคมของญี่ปุนในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 (ชาญวิทย เกษตรศิริ, 2544, หนา 72, 75) ภายหลังแมจะไดรบั อิสรภาพจากเจาอาณานิคมแลวก็ตาม แตพมาก็ยงั คงประสบปญหาความขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศ กับกลุมชาติพันธุตางๆ รวมทั้งกลุมชาติพันธุเดียวกันดวย ซึ่งรองรอยความขัดแยงดังกลาวก็ยังปรากฏอยูในปจจุบัน คนพมาจึงเกี่ยวของกับการเมือง มาตลอด จนการเมืองกลายเปนวิถีชีวิตของพมาไปแลว แตเมื่อนําการเมืองมาเปรียบเทียบกับเศรษฐกิจ พมากลับใหความสําคัญกับเศรษฐกิจมาก ยิ่งกวาการเมืองเสียอีก แสดงวาในทัศนะของพมานั้น เศรษฐกิจสําคัญและจําเปนอยางยิ่งทั้งตอบุคคลในระดับปจเจกและระดับประเทศ กัมพูชามีมุมมองเกี่ยวกับเศรษฐกิจที่ใกลเคียงกับพมา โดยเปรียบเทียบเศรษฐกิจกับการทํานาที่ตองอาศัยนํ้าฝนเปนหลัก เนื่องจากในอดีตนั้น ระบบชลประทานยังไมพอเพียงเหมือนกับปจจุบนั นํา้ ฝนจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิง่ สําหรับการทํานาของคนกัมพูชา ในทํานองเดียวกันกับการ ศึกสงคราม แมวา จะตองอาศัยกําลังพล อาวุธยุทโธปกรณ แตในทัศนะของคนกัมพูชาแลว สิง่ ทีส่ าํ คัญยิง่ กวานัน้ ก็คอื เศรษฐกิจ ซึง่ ใชอาหารเปนสัญลักษณ 1

รองศาสตราจารยประจําภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

6 ®¤µ¥ ɵªÁ¡ºÉ° µ¦ ¦³ µ­´¤¡´ Í ñĊòĀċÝú úÚüċÝú


มุมมองเกี่ยวกับเศรษฐกิจของคนไทยสะทอนถึงความสําคัญของเศรษฐกิจออกมาในรูปของการมีฐานะมั่งคั่ง ดังความวา “มีเงินหรือจะไร ของ มีทองหรือจะไรแหวน” (ขุนวิจิตรมาตรา, 2543, หนา 418) ซึ่งก็หมายความวา หากมีฐานะทางเศรษฐกิจดีก็สามารถที่จะซื้อทุกสิ่งทุกอยางได ตามทีใ่ จอยากได โดยนัยนีก้ ค็ อื คนทีม่ ฐี านะมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจยอมมีฐานะทางสังคมทีม่ นั่ คงตามมา ซึง่ มุมมองดังกลาวนีส้ อดคลองกับคนอินโดนีเซีย ดังภาษิตความวา “Ada uang ada barang - มีเงินก็มขี อง หมายถึง เวลามีเงินก็จะไดขา วของทีด่ ”ี (Syahrul Ramadhan, 2002, p. 51 อางอิง ใน สุภาพร คงศิริรัตน และคนอื่นๆ, 2558, หนา 154) กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือหากมีฐานะทางเศรษฐกิจดียอมสามารถไดทุกสิ่งทุกอยางที่ตองการ สะทอนวาเศรษฐกิจมีความสําคัญอยางยิ่งในมุมมองของคนอินโดนีเซีย เชนเดียวกันกับภาษิตเวียดนามที่ใช “เงิน และ ทอง” เปนสัญลักษณของ เศรษฐกิจโดยเปรียบเทียบคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดี สามารถซื้อไดทุกอยางแมแตเทวดา ดังความวา “Có tiền mua tiên cũng được – มีเงินแลวซื้อเซียนก็ได” อีกบทหนึ่งเปรียบเทียบในทํานองวาหากมีฐานะทางเศรษฐกิจดีนอกจากจะไดทุกสิ่งทุกอยางแลว ยังดึงดูดคนอื่นใหเขา มาหาและนอบนอมตนได “Có tiền chán vạn người hầu, có bấc có dầu chán vạn kẻ khêu – มีเงินแลวไมตองกลัววาจะไมมีบริวาร มารับใช มีไตมีนํ้ามันไมตองกลัววาจะไมมีคนมาจุด” (Nguyen Thi Thuy Chau, 2559, แปลจาก http://daotao.vtv.vn/tien-bac-cuacai-trong-tuc-ngu-cua-nguoi-viet/) สวนมุมมองของสิงคโปรตอเศรษฐกิจนั้น นอกจากจะสะทอนถึงความสําคัญของเศรษฐกิจแลวยังสะทอนลักษณะความแหลมคมในเชิงธุรกิจ ทีม่ องเศรษฐกิจแบบครบวงจร อีกทัง้ สะทอนการรูจ กั นําเทคโนโลยีมาใชในการแปลงทรัพยากรทีเ่ ปนวัตถุดบิ แบบดัง้ เดิมใหกลายเปนสินคาทีเ่ พิม่ มูลคา ไดมากขึ้นกวาเดิม และรูจักที่จะ “รอจังหวะหรือโอกาส” ที่เหมาะสมเพื่อใหไดผลประโยชนที่คุมคา ดังภาษิตที่กลาววา “Have patience, the grass will be milk soon enough. - จงอดทนรอ ในไมชา หญาจะกลายเปลีย่ นเปนนํา้ นมอยางเพียงพอ” (ShivaliNayak and Madanmohan Rao, 2013, p.112 อางอิงใน สุภาพร คงศิริรัตน และคนอื่นๆ, 2558, หนา 159 ) ซึ่งมุมมองเชนนี้ทําใหสิงคโปรเปนประเทศที่ประสบความสําเร็จ ทางเศรษฐกิจ มีเศรษฐกิจมั่งคั่งและมั่นคงกวาประเทศอื่นในอาเซียน จะเห็นไดวาชาติอาเซียนลวนมีมุมมองที่สอดคลองกันวาเศรษฐกิจมีความสําคัญอยางยิ่ง

มุมมองเกี่ยวกับการคา ภาษิ ต สะท อ นว า บางประเทศในอาเซี ย นมี มุ ม มองเกี่ ย วกั บ การค า ที่ น า สนใจ เช น อิ น โดนี เซี ย มี มุ ม มองว า กํ า ไรและขาดทุ น เป น เรื่ อ ง ปกติของการคา เพราะการขาดทุนเพื่อเปนบทเรียน อนาคตจะไดไมพลาดในการทําธุรกิจอีก ความวา “Rugi menghadang laba –

·Å´°° ­Á ¿°

แทน เพราะหากปราศจากอาหารทีเ่ ปนเครือ่ งหลอเลีย้ งชีวติ ของมนุษยแลว กองทัพก็ไปไมรอด ฉันใดฉันนัน้ เศรษฐกิจจึงเปนสิง่ สําคัญทีจ่ าํ เปนอยางยิง่ และไมสามารถแยกขาดจากวิถีชีวิตของมนุษย ดังภาษิตวา “ทํานากับนํ้า ทําศึกกับขาว” ภาษิตนี้มีความหมายวาทั้งสองสิ่งที่กลาวมานี้เปน สิ่งจําเปนคูกันและไมสามารถแยกขาดจากกันได (อุบล เทศทอง, 2548, หนา 154) โดยนัยนี้สะทอนวาเศรษฐกิจมีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับ คนกัมพูชา

®¤µ¥ ɵªÁ¡ºÉ° µ¦ ¦³ µ­´¤¡´ Í ñĊòĀċÝú úÚüċÝú 7


ขาดทุนรอกําไร - ขาดทุนกอนไมเปนไร เพื่อกําไรในวันขางหนา” (Syahrul Ramadhan, 2002, p. 334, p. 8 อางอิงใน สุภาพร คงศิริรัตน และคนอื่นๆ, 2558, หนา 164) สวนภาษิตสิงคโปรวา “He who has never been cheated cannot be a good businessman. – คนที่ไมเคยถูกโกง (ประสบกับการขาดทุนทางการคา) ก็ไมสามารถ เปนนักธุรกิจที่ดีได” (Shivali Nayak and Madanmohan Rao, 2013, p. 15 อางอิงใน สุภาพร คงศิริรัตน และคน อื่นๆ, 2558, หนา 165) นอกจากนี้ยังมีมุมมองวา นักธุรกิจตองรูจักแสวงหาชองทางการคาและหาสินคาที่มีคุณภาพ มาบริการแกลกู คา โดยเปรียบนักธุรกิจเหมือนกับผึง้ ทีจ่ ะหาเฉพาะนาํ ผึง้ สดจากเกสรดอกไมทอี่ ยูก บั ตนเทานัน้ จะไมหาจาก ดอกไมทรี่ ว งหลนบนพืน้ “A good bee never takes pollen from a fallen flower. – ผึง้ ทีด่ จี ะไมหานํา้ ผึง้ จากดอกไม ที่รวงหลน” (Shivali Nayak and Madanmohan Rao, 2013, p. 85 อางอิงใน สุภาพร คงศิริรัตน และคนอื่นๆ, 2558, หนา 165) เชนเดียวกับมาเลเซียที่ใหความสําคัญกับการคาขายเปนอยางมาก โดยเปรียบเทียบวาระหวางลูกกับลูกคา มาเลเซียใหความสําคัญกับลูกคามากกวาลูกของตนเอง สะทอนจากภาษิตความวา “lebih baik dibiarkan anak mati, daripada kehilangan pelanggan - ปลอยใหลูกตายดีกวาเสียลูกคา” (จาแจว [นามแฝง], 2531)

·Å´°° ­Á ¿°

มุมมองดานเศรษฐกิจของประเทศตางๆ ในอาเซียนเหลานี้ นาจะเปนหนึง่ ในปจจัยสําคัญทีท่ าํ ใหบางประเทศในอาเซียน เชน สิงคโปร อินโดนีเซีย และมาเลเซียประสบความสําเร็จอยางมากในดานเศรษฐกิจ สอดคลองกับรายงานเศรษฐกิจของ สํานักตางๆ ที่กลาววา สิงคโปรเปนประเทศที่มีรายไดเฉลี่ยตอคนตอปสูงที่สุดในอาเซียนและมีจุดแข็งคือเปนประเทศ ที่มีความชํานาญในการจัดการทรัพยากรบุคคลและธุรกิจ (uasean, มปป.) ประเทศอินโดนีเซียไดชื่อวาเปนประเทศ ทีม่ ขี นาดเศรษฐกิจใหญทสี่ ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเปนประเทศทีม่ เี ศรษฐกิจใหญเปนอันดับ 10 ของโลก (ศูนยขอ มูล ขาวสารอาเซียน, 2014) สวนมาเลเซียเปนประเทศที่มีรายไดตอหัวตอปสูงเปนอันดับ 3 ของอาเซียน ซึ่งสอดคลองกับ รายงานผลการคาระหวางไทยกับประเทศตางๆ ของกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย พบวา 10 อั นดับแรกของประเทศที่ไทยนําเขาสินคานั้น ประเทศมาเลเซียติดอันดับ 4 และไทยนําเขาสินคาจากประเทศ สิงคโปรเปนอันดับ 7 และนําเขาสินคาจากอินโดนีเซียเปนอันดับ 9 ซึ่งก็เปนเครื่องยืนยันวา มุมมองตอเศรษฐกิจของ ชาตินนั้ ๆ เปนปจจัยสําคัญตอการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจทําใหประเทศสมาชิกอาเซียนเหลานัน้ ประสบความสําเร็จดานเศรษฐกิจ

แหลงอางอิง กรมส ง เสริ ม การค า ระหว า งประเทศ. (2558). แหล ง นํ า เข า สิ น ค า ของไทย. สื บ ค น เมื่ อ 12 มกราคม 2558 จาก http://www.ops3.moc.go.th/infor/db_sql/gp_web_import2.asp จาแจว [นามแฝง]. (2531). ภาษิตเพือ่ นบาน ใน ไปลยางใหญ. 3 (22). สืบคนเมื่อ 9 มกราคม 2559 จาก http://www.katikala.com/somethingelse/content/ cover/cover22.html. ชาญวิทย เกษตรศิริ. (2544). พมา : ประวัติศาสตรและการเมือง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและ มนุษยศาสตร. ศูนยขอมูลขาวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ. (4 พฤษภาคม 2014). อินโดนีเซียติดโผเปนประเทศที่มีเศรษฐกิจลําดับ 10 ของโลก. สืบคนเมื่อ 10 มกราคม 2559 จาก http://thailand.prd.go.th สุภาพร คงศิริรัตน และคนอื่น ๆ. (2558). โลกทัศนของอาเซียนจากภาษิต. พิษณุโลก: โรงพิมพดาวเงิน. อุบล เทศทอง. (2548). ภาษิตเขมร : วิถชี วี ติ และโลกทัศนของชาวเขมร. วิทยานิพนธศลิ ปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัย ศิลปากร นครปฐม. Nguyen Thi Thuy. (2559). แปลจาก http://daotao.vtv.vn/tien-bac-cua-cai-trong-tuc-ngu-cua- nguoi-viet uasean. (มปป.). เศรษฐกิจของประเทศอาเซียน. สืบคนเมื่อ 10 มกราคม 2559 จาก www.uasean.com.

8 ®¤µ¥ ɵªÁ¡ºÉ° µ¦ ¦³ µ­´¤¡´ Í ñĊòĀċÝú úÚüċÝú


+DOO RI )DPH

¨ÒμؾѲ¹ áʧÊÇ‹Ò§ “à¡ÁÊ ” ¼ÙŒ·Ó¤Ø³»ÃÐ⪹ á¡‹¡ÃзÃǧÇѲ¹¸ÃÃÁ »ÃÐàÀ·àÂÒǪ¹ ÃдѺ¨Ñ§ËÇÑ´ ´ŒÒ¹ÈÔÅ»ÇѲ¹¸ÃÃÁ àÂÒǪ¹ ¤¹´Õ ÈÃÕ¾ÔÊØ·¸Ôì ÇѲ¹¸ÃÃÁ ¹Óª×èÍ àÅ×èͧÅ×ÍÁÒ

ªÒÇÁ¹ØÉÂ Ï Ã‹ÇÁÀÙÁÔ㨠㹤س¤‹Ò àÂÒǪ¹ ¤¹¡ÅŒÒ ¹‹Òª×蹪Á

ในคอลัมน Hall of fame ในฉบับนี้ เปนอีกหนึ่งความภาคภูมิใจของชาวมนุษยศาสตรที่ประกาศชื่อเสียงในแวดวง วัฒนธรรมของจังหวัดพิษณุโลก กับรางวัลอันทรงคุณคาผูท าํ คุณประโยชนแกกระทรวงวัฒนธรรม ประเภทเยาวชน ระดับจังหวัด ดานศิลปวัฒนธรรม นอยคนนักที่จะไมรูจักเจาของรางวัลคนนี้ เขาคือ นายจาตุพัฒน แสงสวาง หรือชื่อเลนที่เรียกกันติดปาก วา “เกมส” หนุม นอยรางใหญ ประธานสโมสรนิสติ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ดวยสวนตัวของผูส มั ภาษณจะเคย คุนกับภาพการจัดกิจกรรมตางๆ ที่เกมสเปนผูนํา เปนพิธีกร หรือเปนผูอยูเบื้องหลัง โดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม ถือวา เปนคนรุนใหมที่ใหความสําคัญกับกิจกรรมในรั้วมหาวิทยาลัยอยูเปนเนืองนิจ หนุม เกมสกลาวถึงการเลือกดําเนินกิจกรรมอันเปนงานทีต่ นเองชืน่ ชอบไววา เขาสนใจทีจ่ ะสรางความแปลกใหม นาสนใจ และพยายามลดความนาเบื่อจากกิจกรรมตางๆ เขามีความสุขทุกครั้งเมื่อเห็นรอยยิ้ม ความพึงพอใจของผูเขารวมกิจกรรม ความชื่นชอบของเขานี้ตั้งอยูบนอุดมการณที่นาสนใจ และสมควรนํามาเปนแบบอยาง กลาวคือ การทําความดีของเกมสนั้น เขาจะไมคาดหวังผลตอบแทนใดๆ แตสิ่งที่เขาไดกลับเปนความสุขกลับคืนมา ดังเชน การปดทองหลังพระ สักวันคนรอบขาง ก็จะไดเห็น ไดยิน ไดสัมผัสสิ่งที่เราทํา ซึ่งถาไมมีบุคคลที่ปฏิบัติเชนนี้ แลวใครจะเปนผูเริ่มตน สังคมก็จะขาดซึ่งรอยยิ้ม สําหรับรางวัลอันทรงเกียรติในครัง้ นี้ ถือเปนรางวัลทีส่ รางความภาคภูมใิ จใหกบั เกมสและวงศตระกูล เปนกําลังใจให “กลากาว” และพรอมทีจ่ ะปฏิบตั กิ จิ กรรมตางๆ ทีร่ กั ตอไป อยางนอย “คนทีป่ ด ทองหลังพระ” อยางเขา สักวัน ผูอ นื่ ก็ตอ งไดเห็น ไดชนื่ ชม อยางเชนรางวัลชีวิตรางวัลนี้ ขอแสดงความชื่นชมและยินดีมาในโอกาสนี้ครับ 1

ÍÒ¨Òà»ÃШÓÀÒ¤ÇÔªÒÀÒÉÒä·Â ¤³ÐÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ

·Å´°° ­Á ¿°

»Ãоѹ¸ â´Â...´Ã.ÀÒ¤ÀÙÁÔ ÊØ¢à¨ÃÔÞ1

®¤µ¥ ɵªÁ¡ºÉ° µ¦ ¦³ µ­´¤¡´ Í ñĊòĀċÝú úÚüċÝú 9


Ó¿´ Á °°®

·Å´°° ­Á ¿°

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2558 รองศาสตราจารย ดร.วัฒนา พัดเกตุ คณบดีคณะมนุษยศาสตร พรอมคณะอาจารยประจําหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี 10 สาขาวิชา รวมใหการตอนรับคณะครูและนักเรียน จากโรงเรียนอุตรดิตถ จังหวัดอุตรดิตถ ที่เดินทางมาเยี่ยมชมและ ศึกษาดูงานรับฟงการแนะแนวหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่คณะ มนุษยศาสตรเปดการเรียนการสอน ณ หองประชุม Slpoe HU1103 คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

วั น ที่ 26 พฤศจิ ก ายน 2558 รองศาสตราจารย ดร.วั ฒ นา พัดเกตุ คณบดีคณะมนุษยศาสตร ใหเกียรติกลาวตอนรับ และมอบ วุฒิบัตรแกคณะผูเขารวมโครงการอบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ สําหรับครูอาจารยระดับประถมศึ กษา และมัธยมศึกษา ประจํา ป 2558 จัดโดยคณะมนุษยศาสตร และ ภาควิชาภาษาอังกฤษ รวมกับสมาคมครูผูสอนภาษาอังกฤษแหงประเทศไทย เครือขาย ภาคเหนื อ ตอนล า งเพื่ อ ให บ ริ ก ารแก ค รู ผู ส อนภาษาอั ง กฤษใน เขต 9 จังหวัดภาคเหนือตอนลาง โดยไดรบั เกียรติจาก ดร.เสาวภาคย กัลยาณมิตร Mr.Richard Michael Glover และ Mr.Arthur John Pollock อาจารยประจําภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร เปนวิทยากรใหความรู ณ หองประชุม Main Conference กองบริการเทคโนโลยีและการสื่อสาร มหาวิทยาลัย นเรศวร

10 ®¤µ¥ ɵªÁ¡ºÉ° µ¦ ¦³ µ­´¤¡´ Í ñĊòĀċÝú úÚüċÝú

คณะมนุษยศาสตร ขอแสดงความยินดีกับ นายกฤษกร โชคทวีหิรัญ ศิษยเกาสาขาวิชาพมาศึกษา คณะมนุษยศาสตร ที่ไดรับรางวัล ชนะเลิศ การประกวดรองเพลงประเภทภาษาพมา และ นางสาว กนกวรรณ ปานจันทร นิสิตสาขาวิชาพมาศึกษา ชั้นปที่ 3 ไดรับ รางวัลรองชนะเลิศ การประกวดรองเพลงประเภทภาษาพมา ใน โครงการประกวดรองเพลงภาษาอังกฤษและเพลงภาษาพื้นบาน “STUDENT ASEAN SINGING CONTEST I” จัดโดย มหาวิทยาลัย ศรีปทุม เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2558 ที่ผานมา

วันที่ 8 ธันวาคม 2558 รองศาสตราจารย ดร.วัฒนา พัดเกตุ คณบดี คณะมนุษยศาสตร พรอมคณะผูบ ริหารหัวหนาภาควิชาภาษาอังกฤษ และหัวหนาภาควิชาภาษาตะวันออก รวมใหการตอนรับคณบดีและ ที ม ผู บ ริ ห ารจาก Faculty of Letters, Petra Christian University ประเทศอินโดนีเซีย ทีเ่ ดินทางมาเพือ่ หารือเกีย่ วกับความ รวมมือทางวิชาการโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนนิสิตและอาจารยใน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) และหลักสูตรศิลปศาสตร บัณฑิต (ภาษาจีน) ณ หองประชุม HU 1307 คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร


เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2558 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค พระราชทานปริญญาบัตรแกผูสําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจําป การศึกษา 2557 โดยมีผูสําเร็จการศึกษา จํานวน 5,286 คน แบงเปนผูสําเร็จการ ศึกษาระดับปริญญาตรี 4,452 คน ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก 834 คน ณ หอง พระราชทานปริญญาบัตร อาคารอเนกประสงค มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก คณะมนุษยศาสตร จึงขอแสดงความยินดีกบั บัณฑิต มหาบัณฑิตและดุษฎีบณ ั ฑิตทุกทาน มา ณ ที่นี้

วันที่ 21 – 22 พฤศจิกายน 2558 สาขาวิชาภาษาเกาหลี จัดโครงการ “คายภาษาและ วัฒนธรรมเกาหลี ครัง้ ที่ 1” เพือ่ เพิม่ พูนองคความรู และเสริมสรางความเขาใจดานภาษา และวัฒนธรรมเกาหลีใหแกนกั เรียน นิสติ /นักศึกษาทีเ่ รียนภาษาเกาหลี และสรางเครือขาย ความรวมมือระหวางหนวยงาน พรอมกันนี้ ยังไดรับเกียรติจาก น.ส.ชลาลัย จันทรศิษย ศิษยเกาสาขาวิชาภาษาเกาหลี มาเปนวิทยากรบรรยายความรูด า นวิชาชีพสําหรับผูท เี่ รียน ภาษาเกาหลีในประเทศไทย ณ อาคารปราบไตรจักร มหาวิทยาลัย

วันที่ 12 มกราคม 2559 ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.จันทิมา ซิมปสนั รองคณบดีฝา ยวิชาการ และกิจการตางประเทศ พรอมดวย ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.โสภา มะสึนาริ หัวหนาภาค วิชาภาษาตะวันออก และอาจารยชาวตางชาติประจําสาขาวิชาภาษาจีน รวมใหการ ตอนรับ Professor AN Ran , Dean of School of International Education ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน พรอมคณะผูติดตาม ที่เดินทางมาเพื่อเจรจาหารือ ความรวมมือทางวิชาการรวมกับคณะมนุษยศาสตร และแนะนําโครงการตางๆ ของ SCU ณ หองประชุม HU 1307 คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

·Å´°° ­Á ¿°

วันที่ 11 มกราคม 2559 ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.สุดสรวง ยุทธนา รองคณบดีฝา ยบริหาร ใหเกียรติเปนประธานในพิธเี ปด “โครงการสืบสานศิลปะการแสดงจากภาคเหนือตอนลาง สูดินแดนลานนา” เพื่อถายทอดความรูศิลปะการแสดงภาคเหนือตอนลางและศิลปะการ แสดงลานนาใหแกผเู ขารวมอบรมโครงการ ประกอบดวย นิสติ สาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ณ หอง 211 อาคารเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร

®¤µ¥ ɵªÁ¡ºÉ° µ¦ ¦³ µ­´¤¡´ Í ñĊòĀċÝú úÚüċÝú 11


§zw¥

¡¸®¿¯ Ó¿´Ë«ÄÓº ¿°¨°½ ¿·¾®«¾¦¥× ½®¦Å¶¯µ¿·¢°× ®¸¿´Á¤¯¿²¾¯¦Ë°µ´°

«

·Å´°° ­Á ¿°

{

¥ u· ¥

À°½ Ó¿ª¿ ·Ó ˨Ҧ°¿¯Ë¡Äº¦ Χº¦Å ¿¢Ë² ¤ÂÓ «Á¶ ÅͲ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.