จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์คณะ "สุวรรณภิงคารออนไลน์" ปีที่ 15 ฉบับที่ 4

Page 1

จดหมายขาวเพื่อการประชาสัมพันธ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลั ยนเรศวร »‚·Õè 15 ©ºÑº·Õè 4 à´×͹àÁÉÒ¹ – ¾ÄÉÀÒ¤Á 2563

ดอกแก�วช�อใหม� เรียนรู�และเข�าใจ

หางไกลโควิด-19


คณะกรรมการที่ปรึกษา คณบดี ค ณะมนุ ษ ยศาสตร รองคณบดี คณะมนุ ษ ยศาสตร ผู  ช ว ยคณบดี คณะกรรมการประจำคณะมนุษยศาสตร

บรรณาธิการ ผศ.ดร.ภาคภู ม ิ

สุขเจริญ

กองบรรณาธิการ ดร.สุ ว รรณี ดร.จุ ฑ ามาศ ดร.ศิ ริ น ุ ช ดร.สาทิ พ ย ดร.ณั ฐ พร อาจารย ธ นั ฏฐา อาจารย ว ราภรณ อาจารย ค ุ ณั ญ ญา อาจารย อ ุ บลวรรณ อาจารย ว รวิ ทย

ทองรอด บุญชู คูเจริญไพบูล ย เครือสูง เนิน ไขม ุก ข จันทรเต็ม ยูง หนู บัว พรหมมาตร โตอวยพร ทองเนื้อออน

ฝา ยศิลปกรรม นายณั ฐ วุ ฒ ิ

นลิน รัตนกุล

ฝา ยเลขานุการ นางสาวสุ ร ี ย  พ ร

ชุม แสง

ติ ด ต อสอบถามขอ มูลเพิ่ม เติม ไดที่ คณะมนุ ษ ยศาสตร มหาวิท ยาลัยนเรศวร 99 หมู  9 ต.ท า โพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 05-596-2035, 2055 0-5596-2000

บทบรรณาธิการ การเป ด โลกทั ศ น ก ารฝ ก สหกิ จ ศึ ก ษาของนิ ส ิ ต จากรั ้ ว มนุ ษ ยศาสตร เ สมื อ นเป น การเป ด บ า นให ส มาชิ ก ออกไปสู  ส ั ง คม โลกกวาง เตรียมความพรอมเบื้องตนจากการเปลี่ยนสภาวะจาก “ผูเรียน” ไปสู “คนทำงาน” ในสายงานตามแตที่ผูเรียนสนใจ เพื ่ อ แสดงศั ก ยภาพของตนเองออกมาในการฝ ก ปฏิ บ ั ต ิ ง าน อันเสมือนสังคมการทำงานจริง สุวรรณภิงคารฉบับนี้ จึงเปนฉบับที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ประสบการณฝกสหกิจศึกษา ของนิสิตในแตละสาขาวิชา อันนำ ความรู ประสบการณในรั้วมหาวิทยาลัยไปแสดงศักยภาพความเปน “มนุษยศาสตร” ในสังคมของการทำงาน หรือเรียกอีกนัยหนึ่งวา “เปนการเตรียมความพรอมหรือซอมจริง” กอนที่จะเขาสูสภาวะ การทำงานจริง ๆ สิ่งที่พึงสังเกตไดในประสบการณที่นิสิตนำมา ถายทอดในฉบับนี้ จะเห็นวา นิสิตคณะมนุษยศาสตรมีความพรอม และหลากหลายในตลาดงาน แมจะเปนเพียงแคการฝกปฏิบัติ สหกิจศึกษาซึ่งมีระยะเวลา 4 เดือน แตการฝกปฏิบัติในครั้งนี้ แสดงใหเห็นถึงขีดความสามารถ การยอมรับ และแหลงงาน ที่นิสิตสามารถปรับประยุกตใชความรูใหเทาทันกับภาวะการแขงขัน ในตลาดงานปจจุบัน ความหลากหลายขององคกร อาชีพและชิ้นงานอันเปน ผลงานเชิงประจักษนั้น มันคือความภาคภูมิใจของตั ว นิ สิ ต เอง สาขาวิ ช า คณะมนุ ษ ยสาสตร ตลอดจนสร า งชื ่ อ เสี ย งให ก ั บ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่มีนิสิตคุณภาพซึ่งไดรับการยอมรับจาก แหลงงานอยางกวางขวาง ป ด ท า ยด ว ยข า วประชาสั ม พั น ธ ใ นรั ้ ว ดอกแก ว ของเรา ในสภาวการณโควิด – 19 ที่ประชาคมโลกประสบปญหาอยู แมการ ระบาดของโรคระบาดที่สรางภาวะวิกฤตอยูในขณะนี้ แตโลกของการ ดำเนินชีวิตดวยการทำงาน ยอมตองกาวเดินตอไป ความอดทน มุ  ง มั ่ น และความสามารถยั ง รอคอยและท า ทายนิ ส ิ ต ผู  จ ะเข า สู  ตลาดงานตอไปเสมอ “ไมมีความสิ้นหวัง ทอแท ก็ยอมไมมีคำวา แพในโลกของงาน”

http://www.human.nu.ac.th humanadmission@nu.ac.th Faculty of Humanities NU

ผูชวยศาตราจารย ดร.ภาคภูมิ สุขเจริญ บรรณาธิการ


“New normal today is simplicity สวัสดีคะดิฉัน ดร.อรอุษา สุวรรณประเทศ ประธานหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด. คติชนวิทยา ยินดีตอนรับนิสิตใหมทุกคน ที่จะเขามาศึกษา ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในปการศึกษา 2563 นี้ โดยเฉพาะนิสิตที่สังกัดคณะมนุษยศาสตร หวังวาเราคงจะมี โอกาส ไดพบเจอกันบอยๆ นะคะ สำหรับสาขาวิชา “คติชนวิทยา” เปนศาสตรแหงสหวิทยาการที่มุงศึกษา และ ทำความเขาใจวิถีของมนุษยทั้งในดาน ผลผลิตทางวัฒนธรรมและปรัชญา ความคิด ซึ่งเปนมรดกตกทอดจากยุคบรรพบุรุษบรมโบราณสืบเนื่องมาจนถึงปจจุบัน เราศึกษา เรื่องของมนุษยเพื่อใหเขาใจมนุษยทั้งในกลุมเดียวกันและตางกลุม อันจะนำไปสูการ อยูรวมกันไดอยางสงบสันติ ในอดีตที่ผานมา มนุษยเคยผชิญหนากับโรคระบาดรายแรงที่คราชีวิตผูคน หลักแสนหลักลานคนทั่วโลกมาแลวหลายตอหลายครั้ง ไมวาจะเปนอหิวาตกโรค กาฬโรค ไขหวัดใหญ หรือเอชไอวี ปจจุบันนี้ เราก็กำลังเผชิญหนากับเชื้อไวรัส สายพันธุใหม COVID-19 ที่กำลังแพรระบาดในวงกวาง คราชีวิตผูคนไปมากมาย และสงผลกระทบตอ วิถีชีวิตของคนทุกสาขาอาชีพ รวมทั้งในวงการการศึกษาดวย ดวยวิกฤตการณนี้ผูคน ทั่วโลกตางพากันตื่นตัวกับการปรับเปลี่ยน รูปแบบพฤติกรรมการใชชีวิตแบบใหม หรือที่ เรียกกันวา “New normal” ที่เห็นไดชัดเจนคือผูคนจำนวนมากหันมาใหความสนใจ กับการดูแลสุขภาพ การรักษาความสะอาด การสวมหนากากอนามัย หรือแมแตการ รักษาระยะหางทางสังคม กระแสความตื่นตัวตอรูปแบบชีวิตวิถีใหมนี้ ในมุมมองของคติชนวิทยาแลว เปนเพียงความ “ปกติ” ประการหนึ่งที่เกิดขึ้นแกมนุษยชาติ เพราะเปนสิ่งที่เคยเกิดขึ้น แลวและจบไป และวนกลับมาเกิดขึ้นซ้ำใหม เปนเชนนี้เอง และเปนวัฏจักรเชนนี้เรื่อยไป ดังนั้น “New normal” ในวันนี้ ก็จะกลายเปนเรื่อง “Normal” ของโลกในวันหนา แตอยางไรก็ดี เมื่อเราจำเปนตองมีชีวิตอยูกับโลกในวันนี้ เราก็ตองปรับตัวใหเขากับ วิถีของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วเหนือความคาดหมาย ในมุมมองคติชนวิทยา วิกฤตการณตางๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกนี้เปนบททดสอบ สำหรับมนุษย ที่จะตองพยายามหาหนทางแกปญหา ปรับตัวและปรับใจ เพื่อดำรงชีวิต อยูใหไดดวยจิตใจที่เขมแข็ง และเบิกบานในสถานการณ COVID-19 ที่เกิดขึ้นนี้นับวา เปนการเปดโอกาสใหคณาจารยและนิสิตไดแสดงศักยภาพของตนเองผานการเรียนรู ดวยเทคโนโลยีสารสนเทศรวมสมัย ฝกการคนควาและเขาถึงแหลงขอมูลที่หลากหลาย นอกจากนี้รูปแบบวิถีชีวิตแบบ “New normal” เอง ก็เปนขอมูลวัฒนธรรมใหมที่ สามารถนำมาอภิปรายดวยสหวิทยาการในชั้นเรียน หรือเปนหัวขอวิจัยที่สามารถนำไป ศึกษาได แนนอนวาหลักสูตรคติชนวิทยาเองก็คงตองมีการปรับรูปแบบการจัดการเรียน การสอนใหทันสมัย รวมทั้งตองคำนึงถึงการเสริมสรางทักษะของโลกยุคใหมใหแกนิสิต ในฐานะพลเมืองดิจิตอล แตเหนืออื่นใดเราจะไมทิ้งหนาที่ ในการปลูกฝงใหนิสิตเกิดความ เขาใจ “แกนสาร” ของความเปนมนุษย ทีจ่ ะชวยกระตุน และผลักดันจิตวิญญาณของนิสติ ใหมีความสมบูรณพรอมในความเปนมนุษย ผูสามารถตระหนักถึงคุณคาอันแทจริงของ ชีวิต และสามารถดำรงอยูในสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาไดอยางมีความสุข

for our tomorrow

ผศ.ดร.อรอุษา สุวรรณประเทศ ประธานหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด. คติชนวิทยา

3

สุวรรณภิงคาร


สวัสดีคะนิสิตที่นารักทุกคน ในนามตัวแทนหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร ขอแสดงความยินดีกับ “นิสิตใหม” ทุกคน ที่สามารถผานการสอบคัดเลือกเขามาเปน “ลูกพระนเรศวร” และอยู ภายใตเขตรั้วสีเทา-แสดของเรา หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าภาษาจี น เปนหลักสูตรหนึ่งของคณะมนุษยศาสตรที่ปรับปรุงรายวิชาใหมๆ เพื่อตอบโจทนความตองการของตลาดแรงงาน และมุงผลิตบัณฑิต ใหมีทักษะสี่ดานเปนเลิศในภาษาจีน อีกทั้งยังสามารถนำความรูไป ประยุกตใชในการประกอบอาชีพไดหลากแขนงทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิเชน ภาคอุตสาหกรรมหนักและเบา อุตสาหกรรมการทองเที่ยว และโรงแรม อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส อุตสาหกรรมการ แปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมการแพทยและสาธารณสุข อุตสาหกรรม สื่อสิ่งพิมพ อุตสาหกรรมสื่อออนไลน อุตสาหกรรมสื่อบันเทิง งาน ตรวจคนเขาเมือง งานอาชีพอิสระ ตลอดจนงานดานการเรียน การสอนภาษาจีน ทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับ อุดมศึกษาเปนตน ในดานรูปแบบการเรียนการสอนของสาขาวิชานั้น ไดเนนเอกสารประกอบการเรียนการสอนที่เปนภาษาจีนและเนนการ ใชภาษาจีนในการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนเขาถึงรูปแบบภาษา ไวยากรณ และบริบทของเจาของภาษาไดดียิ่งขึ้น สุวรรณภิงคาร

4

แตดวยสถานการณโควิด 19 ซึ่งสงผลกระทบตอชีวิต ประจำวันของเราทุกคนอยางหลีกเลี่ยงไมได ทำใหตองมีการปรับตัว ในการใชชีวิตประจำวันรวมไปถึงการปรับรูปแบบการเรียนการสอน เปนแบบออนไลน เพื่อลดการแพรระบาดของโรค การสอนรูปแบบ ออนไลนจึงนับเปนความทาทายใหมของสาขาวิชาภาษาจีน อาจารย ผูสอนตองปรับตัวใหเทาทันการใชสื่อดานเทคโนโลยี เพื่อใชในการ ถายทอดองคความรู รวมไปถึงการออกแบบเนื้อหาการเรียนใหเขาใจ ไดงาย เหมาะสมตอเวลา และคำนึงถึงความพรอมในเรื่องของ อุปกรณของนิสิตเปนหลักดวย โดยโปรแกรมหลักที่สาขาวิชาใชจัด การเรียน การสอนคือ Microsoft Teams Google Classroom อยางไรก็ตาม แมการเรียนออนไลนจะมีความสะดวกสบาย และยืดหยุน แตในทางกลับกันการเรียนออนไลนก็ถือเปนเรื่องยาก ตอนิสิตในดานของการจดจอกับสิ่งที่กำลังเรียนอยู ฉะนั้นหากจะให การเรียนเกิดประสิทธิผลและสำเร็จตรงตามเปาหมายควรเริ่มที่ตัว นิสิตเปนหลัก โดยจำตองปรับตัวและมีระเบียบวินัยในตัวเองสูงกวา การเรียนในชั้นเรียนอยูคอนขางมาก สุดทายนี้ขอใหนิสิตที่นารัก ทุกคนจงมีความมุงมั่น พากเพียร รักษาสุขภาพใหแข็งแรง และอดทน ฝาวิกฤตครั้งนี้ไปดวยกันนะคะ ดร.อมรรัตน เนตรธัญญกรวงศ ประธานหลักสูตรวิชาภาษาจีน


“ทุกนาทีในรั้วมหาวิทยาลัยแห�งนี้

มีค่าเสมอ

ยินดีตอนรับนิสิตใหมทุกคนนะคะ ชวง COVID-19 อาจจะไมคอยไดเจอหนากัน เพราะตองรักษาระยะหางระวังการติดเชื้อ ยังไงก็ขอใหนอง ๆ นิสิตใหมทุกคน ดูแลตัวเอง รักษาสุขภาพกันดวยนะคะ การไดเขามาเรียนรั้วมหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งชื่อของมหาวิทยาลัยแหงนี้ตั้งตาม พระนามกษัตริยผูเปนมหาราชของประเทศไทย จึงอยากจะแนะนำนอง ๆ นิสิต ใหดำรง ตนอยูในความตั้งมั่น หมายถึง การตั้งมั่น ใฝรู ใฝเรียน ใฝศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพ ของตนใหมากที่สุดเทาที่จะมากได ตักตวง เก็บเกี่ยวประสบการณจากมหาวิทยาลัย แหงนี้ไปใหไดมากที่สุด เพื่อนำไปเปนอุปกรณในการหาเลี้ยงชีพ เลี้ยงตนเองและ ครอบครัว และเมื่อสามารถเลี้ยงตนเองและครอบครัวไดแลว จงนำความรู ประสบการณ ตางๆ ที่ไดรับ ไปพัฒนาสังคม และประเทศชาติตอไป ไมใหเสียชื่อพระนาม ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผูเสียสละทุกอยางเพื่อกอบกูอิสรภาพและดูแล ปกปอง รักษาประเทศไทยใหเจริญมาถึงทุกวันนี้ เมื่อไดเขามาเรียนแลว อีกสิ่งหนึ่งที่อยากจะฝากคือ การดูแลตนเอง เมื่อเรา ออกจากบานมา อิสระยอมเกิดขึ้นกับเรา แตอยาใหอิสระกับตัวเราจนลืมหนาที่ของตน 1. หนาที่ของความเปนนิสิต “ตองเรียน ปฏิบัติตามกฏระเบียบตาง ๆ ของทาง มหาวิทยาลัย” 2. หนาที่ของความเปนลูก “ใชเงินทุกบาทที่พอแมผูปกครองสงมาให เพื่อ การเรียน” ดูแลตัวเอง รับผิดชอบหนาที่ของเราใหดีที่สุด ไมใหเดือดรอนทั้งตนเอง และ ผูอื่น สุ ด ท า ยนี ้ ขอให น ิ ส ิ ต ใหม ท ุ ก คนมี ค วามสุ ข และสนุ ก กั บ การเรี ย นในรั ้ ว มหาวิทยาลัยแหงนี้ จงจำไววา “ทุกนาทีในรั้วมหาวิทยาลัยแหงนี้มีคาเสมอ” สาขาวิชาดุริยางคศาสตรตะวันตก มุงเนนใหบัณฑิตเปนคนดี เปนที่ยอมรับ ในระดับสากล และเปนกำลังพลใหกับสังคมดนตรี โดยแบงออกเปน 2 แขนงวิชา ไดแก แขนงวิชาดนตรีคลาสสิก และ แขนงดนตรีประยุกต และในชวง COVID-19 ทางสาขา วิชาไดปรับรูปแบบการเรียนการสอนเปน Online ในรายวิชาที่เปนทฤษฎี สวนใน รายวิชาที่เปนการปฏิบัตินั้น ทางสาขาที่การเรียนตัวตอตัวเหมือนเดิม แตมีมาตรการ การปองกันที่เขนขน เชน การลางมือกอนเขาหอง การวัดอุณหภูมิ การกระจาย หองเรียนใหไมเกิดการแออัด เพื่อลดความเสี่ยงของการติดโรค อาจารยวราภรณ ยูงหนู ประธานหลักสูตรดุริยางคศาสตรสากล

5

สุวรรณภิงคาร


“ ดนตรีนำชีวิตสู�ศาสตร�และศิลป� “

เพื่อการสร้างสรรค์และพัฒนาชาติ

ขอแสดงความยินดีกับนิสิตใหมทุกคนนะคะที่ไดกาวเขาสูรั้วของมหาวิทยาลัย นเรศวร อยางเต็มภาคภูมินะคะ สำหรับปนี้ถือวาเปนการเปดเรียนพรอมกับสถานการณ COVID-19 ที่ทุกคนไมคาดคิด จึงทำใหกิจกรรมตางๆ ที่เราจัดเปนประจำในชวงเปด ภาคเรียนนั้นตองงดจัดไป ซึ่งอาจทำใหการปรับตัวในการใชชีวิตรูปแบบใหมยังไม คลองตัวนัก การเปลี่ยนผานในชีวิตไดกาวเขาสูการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยเปนสิ่งที่ แสดงใหเห็นถึงความรับผิดชอบตางๆ ที่จะตองมีมากขึ้น เพื่อมุงพัฒนาศักยภาพตนเอง ใหไดมากทีส่ ดุ รวมทัง้ ตัง้ ใจในการสะสมประสบการณในวิชาชีพทีต่ นเองเลือกเพือ่ สามารถ นำไปประกอบอาชีพไดอยางมีศักดิ์ศรีสมกับความเปนลูกขององคสมเด็จพระนเรศวรฯ ตามที่นิสิตไดถวายสัตยปฏิญาณตอหนาพระองค นอกจากนี้ จงดำรงตนตั้งมั่นอยูใน ความดีและความซื่อสัตยสุจริตตออาชีพของตนเองในอนาคต สาขาวิชาดุริยางคศาสตรไทย มุงเนนผลิตบัณฑิตใหเปนไปตามปรัชญาของ หลักสูตร คือ ดนตรีนำชีวิตสูศาสตรและศิลปเพื่อการสรางสรรคและพัฒนาชาติ ดังนั้น บัณฑิตที่ไดเขามาศึกษาในหลักสูตรจึงตองมีความสามารถทั้งในดานปฏิบัติเครื่องดนตรี และทฤษฎีตางๆ ของดนตรีไทย รวมทั้งการรวมทำกิจกรรมสงเสริมหลักสูตรตางๆ ที่ทาง สาขาวิชาไดจัดขึ้นเพื่อสรางรากฐานทางประสบการณในชีวิตของนิสิต สามารถนำไป พัฒนาตอยอดทางความคิดและวิชาชีพของตนเองได อีกทั้งยังสามารถเปนกำลังสำคัญ ที่จะนำพาศาสตรดานดนตรีไทยเปนที่รูจักในระดับสากล สำหรับในสถานการณที่ทางสาขาวิชาไดรับผลกระทบจาก COVID-19 นั้น จึงได มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนใหเปนรูปแบบออนไลน โดยทาง สาขาวิชาพยายามที่จะหาสิ่งที่เหมาะสมที่สุดกับรายวิชาตางๆ โดยอิงจากมาตรการ ปองกันของมหาวิทยาลัยเปนสำคัญ จึงมีการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาทฤษฎี เปนแบบออนไลน แตในรายวิชาปฏิบัตินั้นใหมีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบเดิม โดยมีมาตรการปองกันอยางเครงครัด เพื่อใหนิสิตปลอดภัยและไดรับประโยชนสูงสุด ดร.ณัฏฐนิช นักป ประธานหลักสูตรดุริยางคศาสตรไทย

สุวรรณภิงคาร

6


ขอแสดงความยิ น ดี ก ั บ นิ ส ิ ต ใหม ค ณะมนุ ษ ยศาสตร ประจำปการศึกษา 2563 ทุกคนนะคะ และขอตองรับเขาสูรั้วบาน มนุษยศาสตรอันอบอุน ที่จะเปนแหลงใหความรูและเปนแหลงเรียนรู ทั้งทางวิชาการ ทางสังคม รวมถึงกิจกรรมเสริมหลักสูตรหลากหลาย รูปแบบ ที่ทั้งหลักสูตรและคณะฯ ไดสรางสรรคขึ้นมาเพื่อพัฒนานิสิต ทุกคนใหไปสูความสำเร็จทางการศึกษา และนำความรูความสามารถ ทั้งในหองเรียนและบูรณาการกับประสบกาณนอกหองเรียนไปใชใน การประกอบอาชีพไดอยางเต็มภาคภูมิ สาขาวิ ช านาฏศิ ล ป ไ ทยได ท ำการเป ด สอนในระดั บ ปริญญาตรี ในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานากศิลปไทย เปนครั้งแรก ในปการศึกษา 2543 และไดมีการปรับปรุงหลักสูตร ตามรอบของการใชหลักสูตรเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน เพราะใหหลักสูตร มีความทันสมัย ตอบสนองตอความตองการของผูใชบัณฑิตไดเปน อยางดี ตลอดระยะเวลา 20 ปที่ผานมา หลั ก สู ต รนาฏศิ ล ป ไ ทยได ม ี ก ารจั ด การเรี ย นการสอน ในหลักสูตรเปน 4 กลุมรายวิชา เพื่อใหครอบคลุมตอการนำความรู ความสามารถเพื่อประกอบอาชีพไดหลากหลาย ไดแก 1.กลุมรายวิชาทักษะปฏิบัติทางดานทักษะนาฏศิลปไทย นาฏศิลปสากล และศิลปะการแสดงพื้นถิ่น 2.กลุมรายวิชาทางดานประวัติและทฤษฏีทางดานศิลปะ การแสดงนาฏศิลป รวมถึงวรรณกรรมการแสดงและการวิเคราะห วิจารณงานทางดานศิลปะการแสดง 3.กลุ  ม รายวิ ช าทางด า นการวิ จ ั ย และการออกแบบ สรางสรรคการแสดง รวมถึงการออกแบบในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 4.รายวิชาทางดานการบริหารจัดการทางดานการแสดง และวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน

ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 เกิดภาวะการ การระบาดของโรค Covid – 19 นี้ ทางสาขาวิชานาฏศิลปไทย ไดมีการเตรียมความพรอมในการจัดการเรียนการสอนทั้งในรายวิชา ทฤษฏีและวิชาปฏิบัติ โดยออกแบบแนวทางการปฏิบัติที่คำนึงถึง สุขภาวะของผูสอนและผูเรียน รวมถึงเนื้อหารายวิชาและองคความรู ที่ผูเรียนควรจะไดรับ ดังนั้นจึงไดจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ ของการเรียนในหองเรียนและการเรียนนอกหองเรียน โดยแบงเปน รายวิชาทฤษฏี จำนวน 4 รายวิชา เรียนนอกหองเรียน (Online) สวนรายวิชาที่ทีการปฏิบัติการ ไดจัดการเรียนการสอนในหองเรียน โดยการจำกัดจำนวนผูเรียนใหมีระยะหางทางสังคมตามมาตรฐาน ของสาธารณะสุข รวมถึงมีการใหทั้งผูสอนและผูเรียนสวมหนากาก อนามัยตลอดเวลา จัดใหมีการวัดอุณหภูมิของรางกายและลางมือ ดวแอลกอฮอลเจลทุกครั้งกอนเขาหองเรียน รวมทั้งไดจัดการทำ ความสะอาดและฆาเชื้อโรคในหองเรียนทั้งกอนและหลังการเรียน การสอน จึงมั่นใจไดวาการจัดการเรียนการสอนของสาขาวิชา นาฏศิลปไทย ในสถานะการณ Covid – 19 มีความสะอาดและ ปลอดภัย และมีอาจารยที่ปรึกาของนิสิตคอยสอดสองดูแล แนะนำ เรื่องการเรียนการและการปฏิบัติตนของนิสิตใหมอยางสมำเสมอ ทายนี้ ขอใหนิสิตใหมทุกคน จงตั้งใจศึกษาหาความรู ทั้งใน หองเรียนและนอกหองเรียน เก็บเกี่ยวประสบการณที่มีคุณคา ตลอดระยะเวลาที่เปนนิสิตคณะมนุษยสาสตร เพื่อนำความรูและ ประสบการณไปประกอบอาชีพและพัฒนาสังคมตอไป อาจารยรัชดาพร สุคโต ประธานหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลปไทย 7

สุวรรณภิงคาร


“ Bonjour et bienvenu

à notre maison

Bonjour et bienvenu à notre maison นี่เปนคำกลาวตอนรับเปนภาษา ฝรั่งเศส แปลวา สวัสดีคะ ยินดีตอนรับสูบานของเรา ครูขอแสดงความยินดีกับนิสิต ชั้นปที่ 1 ทุกคนที่สามารถสอบเขาศึกษาตอที่คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ของเราแหงนี้ ครูหวังวานิสิตทุกคนจะตั้งใจศึกษาหาความรูอยางเต็มที่ เก็บเกี่ยว ประสบการณการเรียน การทำกิจกรรมในรัว้ มหาวิทยาลัยใหมากทีส่ ดุ เพราะประสบการณ ทุกอยางจะเปนประโยชนกับนิสิตในการทำงานในอนาคต ดานการเรียน คณะมนุษยศาสตรของเรามีภาษาตางๆ มากมายใหนิสิต เลือกเรียน ขอเพียงนิสิตมีใจใฝรูนิสิตจะรูจักภาษาตางๆ และมีทักษะพหุภาษา ซึ่งเปน หนึ่งในทักษะจำเปนที่นิสิตจะตองใชในชีวิตการทำงานในอนาคต รวมทั้งนิสิตจะเรียนรู และเขาใจพหุวัฒนธรรมอันจะทำใหนิสิตมีความคิดที่เปนสากล เขาใจผูคน วัฒนธรรม และสังคมของผูอื่น ดานกิจกรรม การเขารวมหรือทำกิจกรรมตางๆ ทั้งในระดับของภาควิชา คณะ หรือ มหาวิทยาลัยลวนแลวแตมีสวนฝกใหนิสิตรูจักบริหารเวลาเปน มีความสามารถ ในการปรับตัวและทำงานรวมกับผูอื่น ตลอดจนเรียนรูที่จะแกไขปญหาเฉพาะหนาได ดังนั้นการเรียนในรั้วมหาวิทยาลัยจึงเปนเหมือนสังคมจำลองใหนิสิตไดลองใชชีวิตกับ เพื่อนๆ กับคณาจารยและบุคลากรของมหาวิทยาลัยกอนที่จะตองกาวออกไปเผชิญกับ สังคมจริง ครูขออวยพรใหนิสิตทุกคนใชชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยอยางมีความสุข และ เติบโตเปนผูใหญที่เพียบพรอมไปดวยสติปญญาและคุณธรรมเพื่อเปนคนที่ดีของสังคม ตอไป

อาจารยนิภารัตน อิ่มศิลป ประธานหลักสูตรภาษาฝรั่งเศส

สุวรรณภิงคาร

8


สวัสดีนิสิตใหมรหัส 63 ทุกคน ยินดีตอนรับสูสาขาวิชาภาษา เกาหลี คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยนิสิตที่ไดเลือกเขามาศึกษาตอ ระดับอุดมศึกษาในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเกาหลีนั้น ยอมเปนผูที่มีความสนใจในตัวภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีเปนอยางมาก จึงได ตัดสินใจเลือกศึกษาตอในสาขาวิชานี้ ซึ่งทางสาขาวิชาสามารถยืนยันและการันตี ไดวาการเรียนการสอนดานภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีของคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวรนั้นเขมขนและเขมแข็งไมแพที่อื่น เพราะอาจารยประจำ สาขาวิชาทั้งชาวไทยและชาวเกาหลี เปนผูที่มีประสบการณในดานการสอน ภาษาเกาหลีมาอยางยาวนาน อีกทั้งสภาพแวดลอมของมหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งตั้งอยูในจังหวัดพิษณุโลก ศูนยกลางการศึกษาของเขตภาคเหนือตอนลาง จะชวยสรางบรรยากาศ ใหนิสิตรูสึกอบอุนที่ไดมาเรียนในที่แหงนี้ ที่สำคัญ ระบบ รุนพี่รุนนองของ สาขาวิชาภาษาเกาหลีมุงเนนในเรื่องของความสัมพันธที่ใกลชิด ระหวางพี่นอง เพื่อน เปนการดูแลและชวยเหลือซึ่งกันและกัน ทั้งทางดาน การเรียน และทางดานการใชชีวิตในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงการสงมอบโอกาส และประสบการณดีๆ จากพี่สูนอง เพื่อนสูเพื่อน โดยเฉพาะในสถานประกอบการ ที่มีศิษยเกาเอกภาษาเกาหลีไปกรุยทางใหรุนนองไวหมดแลว ทางสาขาวิชา มั่นใจวา ศิษยเกาเอกภาษาเกาหลีของที่นี่ไดไปสรางชื่อเสียงไวมากมายหลาย วงการ อาทิ ลาม นักแปล ครู อาจารย พนักงานของบริษัท โรงงานของ เกาหลี เพราะฉะนั้นการเลือกเรียนสาขาภาษาเกาหลี มหาวิทยาลัยนเรศวร เรียกไดวา เปนใบเบิกทางสูอนาคตไดอยางไมตองสงสัย จากสถานการณ COVID-19 ที่สงผลกระทบตอวงการการศึกษาทั่วโลก สงผลใหเกิดการดำเนินวิถีชีวิต แบบใหมเพื่อใหทุกคนสามารถกาวขามความเสี่ยงทั้งหลายจากโรคระบาดได มหาวิทยาลัยนเรศวรก็ไดปฏิบัติตาม นโยบายของจังหวัดพิษณุโลกและประเทศคือการใหจัดการเรียนการสอนเปนรูปแบบออนไลน ตั้งแตชวงปลายภาค การศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2562 โดยในระหวางการปดภาคเรียนฤดูรอนจนถึงชวงเปดภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2563 อาจารยในมหาวิทยาลัยไดเขารับการอบรมเรื่องการใชเทคโนโลยีในการสอน โดยเฉพาะการจัดการเรียน การสอนในรูปแบบออนไลน อาจารยประจำสาขาวิชาภาษาเกาหลีทั้งชาวไทยและชาวเกาหลีเองก็ไดเขารับการอบรม เพื่อพัฒนาทักษะการใชสื่อการสอนและโปรแกรมตางๆ ซึ่งทำใหสามารถจัดการเรียนการสอนผานระบบออนไลน ไดอยางไมมีอุปสรรคมากนัก โดยทางสาขาวิชาภาษาเกาหลีไดเลือกใชระบบ G-Suite for Education เปนตัวหลัก ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งมีทั้งการใช Google Classroom เปนหัวใจหลักของการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียน การสอนและใช Google Meet ในการสอนผูเรียนแบบถายทอดสด และมีการใชโปรแกรมเสริมตางๆ อาทิ โปรแกรม Microsoft Teams โปรแกรม Zoom และอีกมากมายเพื่อใชเสริมในกรณีที่ระบบหลักอยาง Google Meet นั้น มีปญหา เวลาใชงาน รวมถึงแอพฯ ตางๆ เชน KakaoTalk หรือ Line เพื่อใหนิสิตกับอาจารยสามารถสื่อสารกันได ตลอดเวลา นิสิตใหมในปการศึกษา 2563 จะไดรับประสบการณใหมในการเรียนแบบออนไลนและการเรียนในหอง ตามปกติโดยคำนึงถึงเรื่องการปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรค COVID-19 แมจะเปนการเรียนการสอน ผานชองทางหรือระบบใดก็ตาม สาขาวิชาภาษาเกาหลีก็ยังคงจัดการเรียนการสอนดวยความเขมขนและความ เอาใจใสผูเรียน เพื่อใหบัณฑิตจากเอกภาษาเกาหลีทุกคนเดินทางไปสูความสำเร็จในเสนทางที่ทุกคนไดฝนไวตอน กอนจะตัดสินใจเขามาเปนนิสิตใหม ณ ที่แหงนี้ ดร.จุฑามาศ บุญชู ประธานหลักสูตรภาษาเกาหลี 9

สุวรรณภิงคาร


สวัสดีและขอตอนรับนิสิตใหมสาขาภาษาญี่ปุน ปการศึกษา 2563 ทุกคนคะ กอนอื่นขอชื่นชมในความตั้งใจ ของทุกคน ที่ฝาฟนอุปสรรคตางๆ จนสามารถเขามาเปนสมาชิกใหมของสาขาวิชาภาษาญี่ปุนในปนี้ ซึ่งปนี้เรามีสมาชิกใหมถึง 79 คน ครูและอาจารยทุกทานหวังวาทุกคนจะไดรับความรูและมีความสุขกับการกาวไปขางหนากับภาษาญี่ปุนนะคะ และ แมวาในปการศึกษา 2563 นี้ อาจารยผูสอนและนิสิตทุกชั้นป โดยเฉพาะอยางยิ่งนิสิตป 1 จะตองเจอกับความทาทายตามวถี New Normal หรือภาษาญี่ปุนคือ ニューノーマル หรือ 新 しい 日常 ทั้งการเรียนออนไลนในชวงแรก รวมถึงไมมีกิจกรรมบางอยางที่เคยไดทากันมาตลอดในทุกๆ ป แตอาจารยในสาขาทุกคนก็ไดเตรียมพรอมและพยายาม หาวิธีการที่จะใหนิสิตทุกคนไดรับความรูใหมากที่สุดแมในชวงเวลาที่มีขอจำกัดเชนนี้ รวมถึงรุนพี่ๆ ก็ไดสรางสรรคกิจกรรม ตอนรับนองๆ ป1 กันอยางกระตือรือรน เชน การปฐมนิเทศออนไลน สราง Facebook Group เพื่อติดตอสื่อสารขอมูล และการแนะนำตัวผานแอปพลิเคชั่น เปนตน นอกจากนั้น สาขาวิชาภาษาญี่ปุนมีการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ และทำกิจกรรม กับมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุนหลายแหง ถึงแมในชวงแรกนี้กิจกรรมจะยังคงเปนกิจกรรมออนไลน แตกิจกรรมตางๆ ก็ยังจะ คงมีอยางตอเนื่อง ซึ่งกิจกรรมเหลานี้จะชวยสรางเสริมประสบการณที่มีคุณคาใหพวกเราไดอยางแนนอน และเมื่อชวงเวลา การเรียนออนไลนจบลง นิสิตป 1 จะตองเขามาเรียนในมหาวิทยาลัยอยางเต็มตัว ก็คงเปนเรื่องตื่นเตนสำหรับพวกเราไมนอย เพราะจะไดพบเพื่อนใหมและอาจารยอกหลายคนที่ยังไมเคยไดทักทายกัน เขามาศึกษาในสถานที่ใหมๆ อาคารเรียนที่ยัง ไมรูจัก แตครูเชื่อวาเมื่อทุกคนไดกาวเขามาในรั้วมหาวิทยาลัยแหงนี้ ทุกคนจะไดรับการดูแลและไดรับคำแนะนำจากพี่ๆ และอาจารยอยางเต็มที่ ขอใหนิสิตใหมทุกคนมีกำลังใจ มุงมั่นและพรอมเปดรับประสบการณใหมๆ ที่จะผานเขามานับจากนี้ อยางเต็มที่คะ อาจารยทุกคนเปนกำลังใจและรอตอนรับนิสิตทุกคนอยูนะคะ แลวพบกันคะ ดร.ศิรินุช คูเจริญไพบูลย ประธานหลักสูตรภาษาญี่ปุน

สุวรรณภิงคาร

10


ครูขอแสดงความชื่นชม ยินดีและขอตอนรับนิสิตใหมรหัส 63 ทุกคนสูบาน ดอกแกว ของเราอยางเปนทางการอีกครั้งนะคะ เรามาชวยกันพัฒนาบานหลังนี้ ดวยปญญา จริยธรรมกันไปพรอมๆ กันเพื่อประโยชนและชื่อเสียงของคณะมนุษยศาสตร ตอไป สาขาวิชาภาษาไทย ซึ่งนับวาเปนสาขาวิชาที่เกาแก (ก็ประเทศของเรายอมใช ภาษาไทยในการสื่อสารอยูแลว) หลายคนมองวาเปนวิชาที่งาย เรียนภาษาของเรา ทำไม จะเรียนไมได เราอาจจะตองทำความเขาใจกันสักหนอยวา สาขาวิชาแตละสาขาวิชานั้น เมื่อเรียนเขาไปใหถึงแกนหรือเนื้อหาเชิงลึกของแตละสาขายอมจะเห็นไดวา มันยังมี ความรูอีกหลายซอกหลายมุมที่บางคนยัง “รูไมจริง” หรือ “ไมรู” อยูอีกมากมาย ซึ่งแตละศาสตรนั้นยอมมีแบบฉบับของเนื้อหาที่มีความแตกตางกันไป นอกจากจะได ความรูเฉพาะทางในแตละศาสตรแลวนั้น สิ่งสำคัญที่จะทำใหเราประสบความสำเร็จ ในการเรียนไดคือการนำไปใช ตอยอดหรือปรับประยุกตใชในการดำเนินชีวิต และการ ทำงานในอนาคต แม ข ณะนี ้ ส ั ง คมโลกซึ ่ ง รวมถึ ง เราที ่ เ ป น อณู เ พี ย งน อ ยนิ ด กำลั ง เผชิ ญ กั บ ภาวะวิกฤตกับโรคระบาด โควิด–19 ซึ่งหลายคนหวาดกลัว และขาดความเชื่อมั่นในการ เขาสังคมเพื่อการศึกษาตอนั้น ไมมีผูใดที่ไมเกรงตอภาวะวิกฤตนี้ แตเพราะความเกรงกลัว ยอมตองสรางเกราะคุมภัยขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษยขอหนึ่ง กลาวคือ ความรูสึกปลอดภัยเพื่อนำไปสูภาวะสงบสุข ฉะนั้นอยากใหนิสิตทุกคนที่จะ เขามาศึกษาในรั้วดอกแกวของเรา และรวมถึงในมหาวิทยาลัยของเราไมตองเกรงกลัว ภาวะเหลานี้มากเกินไป เนื่องดวยทางสาขาวิชา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร วางมาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด–19 ไวอยางดี ทั้งการวางระยะหาง ทางสังคมในชั้นเรียน การเรียนการสอนออนไลนหากมีจำนวนนิสิตมากเกินไป การเตรียม สื่ออุปกรณดานการเรียนการสอนที่ทันสมัย หรือแมกระทั่งการรณรงคการใชหนากาก อนามั ย และการใช เจล/น้ ำ ยาฆ า เชื ้ อ โรคในการทำความสะอาดในสถานที ่ ต  า งๆ และรางกายของเรา รวมทั้งมหาวิทยาลัยของเรายังเปนศูนยการแพทยอันเปนศูนยกลาง ในเขตภาคเหนือตอนลางที่ใหความสำคัญกับการคัดกรอง การปองกัน และการรักษา จึงอยากใหนิสิตที่เขามาศึกษาในชวงโรคระบาดโควิด–19 นี้ วางใจในมาตรการความ ปลอดภัยในครั้งนี้ มาเรียนดวยความสบายใจ มั่นใจในความรู อยูดวยมาตรการ ปลอดภัย บานดอกแกว สาขาวิชาภาษาไทยยินดีตอนรับและพรอมที่จะสรางความมั่นใจ ทั้งดานวิชาการ การใชชีวิตและความปลอดภัยใน โควิด–19 เสมอคะ

ดร.สุวรรณี ทองรอด ประธานหลักสูตรภาษาไทย

11

สุวรรณภิงคาร


สวัสดีคะ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชมนาด อินทจามรรักษ ประธานหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตรคะ สาขาวิชาฯ ของเราอยูในภาควิชาภาษาศาสตร คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนานะคะ ขอเปนตัวแทนสาขาวิชาฯ ตอนรับนิสิตใหมทั้งนิสิตระดับปริญญาตรีและระดับ บัณฑิตศึกษาประจำปการศึกษา 2563 ของคณะมนุษยศาสตรทุกคนคะ ปการศึกษานี้ ถือเปนปพิเศษเลยก็วาไดนะคะ เพราะเราเจอกันผานระบบออนไลนตั้งแตวันปฐมนิเทศ จนวันเปดเทอมเราก็จัดการเรียนการสอนออนไลนจนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม เมื่อถึงวันที่ มหาวิทยาลัยใหจัดการเรียนการสอนในหองเรียนตามปกติเราก็จะไดพบกันคะ ขอใหนิสิต ทุกคนตั้งใจเรียนเก็บเกี่ยวความรูและประสบการณใหเต็มที่นะคะ สาขาวิชาภาษาศาสตร เปดสอนในระดับบัณฑิตศึกษาทั้งระดับปริญญาโท และปริญญาเอก โดยปริญญาโทจะเปนแบบ ก แบบ ก 2 คือเรียนรายวิชาและทำ วิทยานิพนธ สวนปริญญาเอกมี 2 แบบคือ แบบ 1.1 คือทำวิทยานิพนธอยางเดียว และแบบ 2.1 คือเรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธคะ นอกจากนี้ สาขาวิชาภาษาศาสตร ยังเปดสอนรายวิชาโทใหกับนิสิตระดับปริญญาตรีดวยนะคะ สาขาวิชาของเรามีอาจารย ที่มีความเชี่ยวชาญหลากหลาย นิสิตจะไดเรียนรูแนวคิดทฤษฎีทางภาษาศาสตร รวมถึง ไดฝกฝนการเปนนักภาษาศาสตรที่ดี สามารถทำวิจัยไดอยางสรางสรรค มีคุณธรรม และจริยธรรม นอกจากนี้ ยังมีโครงการบรรยายพิเศษโดยวิทยากรภายนอกที่จะชวย สรางแรงบันดาลใจหรือแนะนำแนวทางในการทำวิทยานิพนธใหแกนิสิตภาคการศึกษา ละ 1 ครั้งคะ รูปแบบการเรียนการสอนในชวงตนของภาคการศึกษา 1/2563 จะเปนการ สอนออนไลนผานโปรแกรม Microsoft Teams และโปรแกรมอื่นๆ ตามที่ผูสอน แตละวิชากำหนด เชน Facebook, Google Meet หลังจากวันที่ 1 สิงหาคม เราก็จะ พบกันในชั้นเรียนปกติ แตก็ยังคงมาตรการรักษาระยะหางอยูเหมือนเดิม การดตอง ไมตกคะ แลวพบกันนะคะ ผศ.ดร.ชมนาด อินทจามรรักษ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร

สุวรรณภิงคาร

12


สวัสดีคะ อาจารยสุนันทา เทศสุข ประธานหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพมาศึกษา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรคะ ในนามตัวแทนหลักสูตรสาขาวิชาพมาศึกษา ขอแสดงความยิ น ดี ก ั บ นิ ส ิ ต ใหม ท ี ่ ไ ด เข า ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย นเรศวรตามความมุงหวัง และยินดีตอนรับนิสิตใหมทุกคนสูครอบครัว คณะมนุษยศาสตรนะคะ หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าพม า ศึ ก ษา เปนหลักสูตรหนึ่งของคณะมนุษยศาสตรที่มุงผลิตบัณฑิตใหมีทักษะ ภาษาพมาจนสามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถ นำความรูไปประยุกตใชในการเขาสูอาชีพการเปนลามและการแปล ภาษาพมาในกิจกรรมทางเศรษฐกิจอันหลากหลาย อาทิ งานตาม โรงงานอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานพมา งานการขาวเพื่อความมั่นคง ในหลายมิติ งานการสื่อสารมวลชนและโทรคมนาคม งานตรวจคน เขาเมือง งานการแพทยและสาธารณสุข งานในองคกรเอกชน การประกอบอาชีพอิสระ ตลอดจนการสอนภาษาพมาทั้งในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษา เปนตน ในสวนของ รูปแบบ การเรียนการสอนของสาขาวิชานั้นเปนการสอนแบบ ชั้นเรียน โดยสื่อการสอนที่ใชหลักเปนผลงานที่อาจารยในสาขาวิชา ร ว มกั น จั ด ทำขึ ้ น ภายใต ก ารสนั บ สนุ น งบประมาณจากกระทรวง การตางประเทศและกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรม (ชื่อเดิม : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) นอกจากนี้ ยังใชสื่อออนไลนภาษาพมาประกอบการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูการใชรูปแบบภาษาและเขาใจเนื้อหาที่เปน ปจจุบัน

แตดวยสถานการณโควิด 19 ซึ่งสงผลกระทบตอชีวิต ประจำวันของเราทุกคนอยางเลี่ยงไมได ทำใหตองมีการปรับตัว ในการใชชีวิตประจำวัน รวมไปถึงการปรับรูปแบบการเรียนการสอน เปนแบบออนไลน เพื่อลดการแพรระบาดของโรค การสอนรูปแบบ ออนไลน จ ึ ง นั บ เป น ความท า ทายใหม ข องสาขาวิ ช าพม า ศึ ก ษา อาจารย ผ ู  ส อนต อ งปรั บ ตั ว ให เ ท า ทั น การใช เ ทคโนโลยี ซ ึ ่ ง เป น ชองทางหลักในการถายทอดความรูแทนการถายทอดแบบตอหนา ในชั้นเรียน ผูสอนในสาขาวิชาทุกคนไดเตรียมความพรอมตอการ เรียนการสอนรูปแบบใหม ไมวาจะเปนการเรียนรูระบบการใชงาน ของโปรแกรมตางๆ การเลือกใชโปรแกรมใหเหมาะสมกับกระบวน การเรี ย นการสอนเพื ่ อ ความสะดวกในการถ า ยทอดองค ค วามรู  รวมไปถึงการออกแบบเนื้อหาการเรียนใหเขาใจไดงาย เหมาะสม ตอเวลา และคำนึงถึงความพรอมในเรื่องของอุปกรณของนิสิต เปนหลักดวย โดยโปรแกรมหลักที่สาขาวิชาใชจัดการเรียนการสอน คือ Microsoft Teams Google Classroom และ Line group อยางไรก็ตาม แมการเรียนออนไลนจะมีความสะดวกสบาย และยืดหยุน แตในทางกลับกันการเรียนออนไลนก็เปนเรื่องที่ยาก เพราะผูเรียนมีโอกาสสมาธิหลุดออกจากการเรียนไดงาย ฉะนั้น หากจะใหการเรียนเกิดประสิทธิผลและสำเร็จตามเปาหมายควร เริ่มที่ตัวนิสิตเอง ซึ่งตองปรับตัวและมีระเบียบวินัยในตัวเองสูงกวา การเรียนในชั้นเรียนคอนขางมาก สุดทายนี้ขอใหนิสิตทุกคนมุงมั่น ตั้งใจและอดทนฝาวิกฤตครั้งนี้ไปดวยกันนะคะ อาจารยสุนันทา เทศสุข ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพมาศึกษา 13

สุวรรณภิงคาร


ภาควิชาภาษาอังกฤษยินดีตอนรับนิสิตใหมรหัส 63 ทุกคนที่สอบผานการ คัดเลือกใหเขาศึกษาตอในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร และขอใชโอกาสนี้แนะนำภาควิชาและหลักสูตร ของเราใหนิสิตรูจักคราวๆ กอนที่นิสิตจะไดใชเวลาในอีก 4 ปตอจากนี้เก็บเกี่ยวความรู ฝกทักษะ และหาประสบการณในสิ่งใหมๆ ทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร ภาควิชาภาษาอังกฤษมีความพรอมที่จะพัฒนานิสิตใหเปนคนเกงงาน เกงคน เกงคิด เกงครองชีวิต เกงพิชิตปญหา ตามอัตลักษณบัณฑิตมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยหลักสูตรของภาควิชามีการดำเนินการตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร มุงพัฒนาทักษะ และองคความรูดานภาษาอังกฤษในทั้ง 4 กลุมรายวิชา ไดแก กลุมทักษะ (ฟง พูด อานเขียน) กลุมภาษาศาสตรภาษาอังกฤษ กลุมวรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน และกลุม การแปล ซึ่งทุกรายวิชาในหลักสูตรมีจัดการเรียนการสอนผานรูปแบบที่หลายหลาย เชน การบรรยาย การอภิปราย การฝกปฏิบัติ การศึกษาดูงานฯลฯ โดยคณาจารยของ ภาควิชากวา 40 คนที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานและมีประสบการณการสอนภาษา อังกฤษอยางยาวนาน ชวงเวลาในปแรกนี้คงเปนชวงที่นิสิตตองปรับตัวเขากับการเรียน และการใชชีวิตในมหาวิทยาลัย ซึ่งสิ่งที่สำคัญทีสุดและจะเปนกุญแจไปสูความสำเร็จ ในอนาคต คือ การวางแผนการใชเวลาอยางมีประสิทธิภาพ โดยนิสิตควรรูจักแบงเวลา ของชีวิตในแตละวัน ซึ่งควรมีทั้งการเรียนแลพการทำกิจกรรม ซึ่งการมีสวนรวมตางๆ จะทำใหนิสิตใหมปรับตัวและประสบความสำเร็จไดอยางที่มุงหมาย ทั้งนี้หากนิสิต มีปญหาใดๆ ขอใหนิสิตทราบวาคณาจารยทุกคนในภาควิชาพรอมรับฟงและชวยเหลือ นิสิตเสมอ

ผศ. ดร.ทศพล สุรนัคครินทร รองหัวหนาภาควิชาภาษาอังกฤษ

สุวรรณภิงคาร

14


ภาษาเวียดนาม จัดเปนภาษาในภาควิชาภาษาศาสตร คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนา เปนวิชาโทสำหรับนิสิตในคณะ และเปนวิชาเลือกเสรีทั่วไปสำหรับนิสิตคณะตางๆ รายวิชาที่เปดสอน ในปการศึกษา 1/2563 ประกอบดวยหมวดวิชาเลือกเสรี ไดแก วิชาภาษาเวียดนาม 1 ภาษาเวียดนาม 2 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไดแก ภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสาร หมวดวิชาโท ไดแก การสนทนา ภาษาเวียดนามและการอานภาษาเวียดนาม ประเทศเพื่อนบานอาเซียนอยางประเทศเวียดนาม ยังมี ความสัมพันธอันดีตอกันทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและการศึกษา ดังนั้นการเรียนรูเกี่ยวกับภาษาที่สามจึงเปนทักษะเพิ่มเติมสำหรับ นิสิตที่สนใจในดานภาษา การมีทัศนคติที่ดีตอภาษา (ไมเพียงแค ภาษาสากล) จะทำใหนิสิตมีมุมมองที่กวางมากขึ้น เขาใจถึงวัฒนธรรม ที่แตกตางกันไดมากขึ้น และนำไปสูการเปดใจยอมรับและการปรับตัว กับการใชชีวิตในอนาคตได คณาจารยภาษาเวียดนามขอแสดงความยินดีกับนิสิตใหม ที่ไดเขามาในรั้วมหาวิทยาลัยนเรศวรแหงนี้ ขอตอนรับเขาสูขั้นบันได ของการศึกษาและพื้นที่สำหรับผูที่ตองการคนควาหาความรูและ

เรียนรูการใชชีวิตเพื่อใหเกิดความสมดุลของชีวิต ไดแก การเรียน กิจกรรม สุขภาพ การเงิน ความรัก ขอใหนิสิตไดเก็บเกี่ยว ประสบการณชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยอยางมีความสุขคะ สำหรับรายวิชาภาษาเวียดนาม ใชการเรียนการสอน ออนไลนแบบผสมผสาน ไดแก 1. Line : นิสิตทุกคนใชไลนติดตอกันตลอดเวลา ดังนั้น จึงใชไลนกลุมเพื่อเขาถึงนิสิตไดอยางรวดเร็ว 2. Moodle E-learning นิสิตจะไดรับการแนะนำเกี่ยวกับ โปรแกรมนี้ผานไลน 3. Microsoft team เปนโปรแกรมสำหรับใหนิสิตไดเก็บ ไฟลและผลงานตัวเอง หลังจากผานไปประมาณ 1 เดือน นิสิตจะมีความคลองตัว กับการเรียนออนไลนไดมากขึ้นและจะเริ่มคุนชินกับการเรียนการ สอนออนไลนไดอยางลงตัวคะ อาจารยธนัฏฐา จันทรเต็ม อาจารยประจำสาขาวิชาภาษาเวียดนาม

15

สุวรรณภิงคาร


สวัสดีคะ ดิฉัน อาจารย ดร.วรัญญา มอโท (อาจารยออ) เปนอาจารยประจำ สาขาวิชาภาษาสเปน ภาควิชาตะวันตก ในโอกาสการเริ่มปการศึกษาใหม ปการศึกษา 2563 นี้ ขอแสดงความยินดีกับนิสิตปายแดงทุกคนสำหรับการกาวเขามาเปนสมาชิกใหม ของบานหลังใหญอันอบอุนนามวา “มนุษยศาสตรนเรศวร” ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย นอกจากนิสิตจะไดเรียนรูทางดานวิชาการแขนงตาง ๆ แลว มหาวิทยาลัยยังชวยใหนิสิตไดเรียนรูการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม และสังคม โลกที่มีการเปลี่ยนแปลง เพื่อที่จะพัฒนาไปเปนผูใหญในวันขางหนาไดอยางมีคุณภาพ ตลอดระยะเวลาที่นิสิตทำการศึกษาในมหาวิทยาลัยนเรศวรแหงนี้ นิสิตจะไดรับความรัก ความอบอุนทั้งจากคณาจารย เจาหนาที่ และรุนพี่ศิษยปจจุบันทุกคน ดังนั้นขอใหนิสิต มี ค วามภาคภู ม ิ ใจที ่ ไ ด เข า มาเป น สมาชิ ก ใหม ใ นดิ น แดนสมเด็ จ พระนเรศวรแห ง นี ้ เพราะถือไดวาเปนผูมีความสามารถและมีโอกาสอันดีที่ไดเขามาศึกษาเลาเรียนในสถาบัน อุดมศึกษาชั้นนำของประเทศแหงหนึ่ง และเมื่อไดเริ่มตนชีวิตการเปนนิสิตแลวก็ขอให ตั้งใจศึกษาเลาเรียนอยางเต็มที่และเต็มความสามารถ ในฐานะที่เปนอาจารยประจำสาขาวิชาภาษาสเปน ขอใชโอกาสนี้แนะนำให นิสิตใหมทุกคนไดรูจักความเปนมาโดยสังเขปของสาขาวิชาเรา สาขาภาษาสเปน เปนสาขาวิชาโทนองใหมที่เปดสอนมาเพียง 2 ปกวาเทานั้น มีการเปดรายวิชาโทใหแก นิสิตคณะมนุษยศาสตรที่สนใจภาษาตางประเทศลงเรียนจำนวนทั้งหมด 6 รายวิชา จนกระทั่งปจจุบันนี้ ไดรับความสนใจจากนิสิตเปนจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ในแตละป เมื่อกลาวถึงการเรียนการสอนในชวงที่ระบบการศึกษาของไทยไดรับผลกระทบ จากการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ทำใหดิฉันในฐานะอาจารยผูสอน จำเปนตอง ปรับรูปแบบการสอนพอสมควร เนื่องจากในระหวางที่ทำการสอนออนไลนนั้นอาจเกิด ปญหาขึ้นบอยครั้ง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ปญหาสัญญาณอินเตอรเน็ต จึงทำใหตองคอยหา วิธีแกปญหาใหทันทวงที นอกจากนั้น ยังตองคิดวางแผนหารูปแบบการสอนที่นาสนใจ ที่ไมทำใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนายและยังคงมีสมาธิอยูในตลอดเวลาที่เรียนออนไลน โดยผูสอนเองมักจะมีการสอดแทรกมุกตลกขำขันหรือมีการใชสื่ออุปกรณที่พิจารณา แลววาชวยใหนิสิตสนุกสนานไปกับเนื้อหาที่เรียนและรูสึกผอนคลายไดบางระหวาง การเรียน ซึ่งเปนสิ่งที่ทาทายตัวผูสอนเปนอยางมาก สุดทายนี้ ดิฉันก็หวังเปนอยางยิ่งวา ในเวลาอันใกลนี้ทั้งคณาจารยและนิสิตจะไดกลับมาทำการเรียนการสอนในรูปแบบ ปกติอีกครั้ง เพื่อใหเราทุกคนไดสามารถมาทำกิจกรรมรวมกันในชั้นเรียนที่ขาดหายไป ในชวงการเรียนการสอนออนไลน ดร.วรัญญา มอโท อาจารยประจำสาขาวิชาภาษาสเปน

สุวรรณภิงคาร

16


Life before, during and after the Lockdown caused by the Corona Viruspandemic. Looking in depth on student’s emotional stability at Naresuan University from the stand point of a teacher. Corona Virus (covid 19) is the name that rings in the minds of the old, the young and new in this contemporary world. It has become a household name globally. In this article we will look through how the virus has affected our students both emotionally and academically. There is no doubt that Covid-19 has created a very big impact in the lives of students globally and given underprivileged students a hard time to go about their online educational programs. Life before Covid-19, students here in Naresuan University were going about their normal daily educational routine, going to class for lectures, discussing matters and chatting over coffee, playing sports together and having a time for other gatherings, extracurriculars and socializing. Such was the life of most students around here. Until the alarm of the Covid 19 pandemic sounded in a mildly slow dell which sounded like a joke but very terrible in the end. During the rising of the pandemic our students were preparing for their final exams 2 weeks before. Following this, then came the news that they had to leave the premises of the university and go back to their various homes with immediate effect. The situation struck at the students very hard and even Lecturers didn’t know what to do. Fumbling around to gather immediate knowledge to assist the students with their final exam and directing everyone to have it and conducting thus online. When you have 5 days to move out of your living situation what do u do? Imagine the emotional stress that the students went through after preparing massively for their final exams and all of a sudden, they were told to take their exams online again, being emotionally unprepared and technologically not ready as well. Gradually and firmly the virus came to stay and that lead us into lockdown. It was another emotionally traumatic situation for our students. Life during Covid. Fear, panic, anxiety and loneliness was the reality approaching mankind. I can recall some of the students sharing their situation with me during the lockdown. “Nun said: teacher I have actually moved with my parents and this is my study space. It is definitely not going to be the same, not being around my mates and my professors is something for me”. Words are beyond the description on how the virus stopped everything, such as the socio-economic impact of

this situation to mankind. As to when and how the economy will open is something no one can predict or know but it is that thought that everyone is grappling and wishing for. Indeed, the pandemic has given us much to think about. In the stillness of boredom or quietness from different perspectives, it has been quite a challenge to achieve basic roles or responsibilities without thinking of the necessary precautions that one has to take. There are many considerations in terms of the first step to the last. Why? Indeed, this virus has caught us unprepared and so each thought is now overreaching the other one can say that the everyday effects of the virus has left many of us overwhelmed. That is why any form of meditation or prayer can shelter us from the brunt of this crisis looming over all our heads. In the event of unfortunate sickness, an unexpected wave of sadness or even being hit by depression, family matters or issues, school responsibilities, apparent social strain - these are some factors that make our mindset change and adjust to the new normal We can shelve our complaints for next year and be grateful for whatever we have now. The ultimate sacrifice now is to follow the rules and take into consideration the welfare of others not just ourselves. The pandemic may have brought us to deeper awareness of our being. And to direct our presence and purpose in such restricted situations. It can leave us with an altered mindset to see the glass half full and not half empty. The major hurdle will be a battle against the virus, a straight and leading path for ourselves with still the guidance of teachers and the older or wiser, the hope that science may bring forth and the future that is ahead of us. Indeed, we must stay connected with each other more so in these prevailing and trying times. And we can still achieve what is needed to be achieved in our respective roles. Our lack of work ethic may now be overshadowed by doubts and fears of this pandemic. But now we have to upstage and tune in to a different beat. To be our best selves we will still need to rise to the challenge of the everyday new normal. Mr. James Yaw. Afrane Naresuan University Faculty of Humanities Department of English 17 17

รรณภิงงคาร คาร สุสุววรรณภิ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.