จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์คณะ "สุวรรณภิงคารออนไลน์" ปีที่ 15 ฉบับที่ 1

Page 1

จดหมายขาวเพื่อการประชาสัมพันธ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลั ยนเรศวร »‚·Õè 15 ©ºÑº·Õè 1 à´×͹µØÅÒ¤Á - ¾ÄȨԡÒ¹ 2562


คณะกรรมการที่ปรึกษา คณบดี ค ณะมนุ ษ ยศาสตร รองคณบดี คณะมนุ ษ ยศาสตร ผู  ช ว ยคณบดี คณะกรรมการประจำคณะมนุษยศาสตร

บรรณาธิการ ดร.ภาคภู มิ

สุขเจริญ

กองบรรณาธิการ ดร.สุ ว รรณี ดร.จุ ฑ ามาศ ดร.ศิ ริ น ุ ช ดร.สาทิ พ ย ดร.ณั ฐ พร อาจารย ธ นั ฏฐา อาจารย ว ราภรณ อาจารย ค ุ ณั ญ ญา อาจารย อ ุ บลวรรณ อาจารย ว รวิ ทย

ทองรอด บุญชู คูเจริญไพบูล ย เครือสูง เนิน ไขม ุก ข จันทรเต็ม ยูง หนู บัว พรหมมาตร โตอวยพร ทองเนื้อออน

ฝา ยศิลปกรรม นายณั ฐ วุ ฒ ิ

นลิน รัตนกุล

ฝา ยเลขานุการ นางสาวสุ ร ี ย  พ ร

ชุม แสง

บทบรรณาธิการ จดหมายขาวประชาสัมพันธ “สุวรรณภิงคาร” ฉบับนี้ถือวา เปนปฐมฉบับที่ออกสูสายตาทุกทานดวยสื่อออนไลน นับเปนการ สนองนโยบายของคณะมนุ ษ ยศาสตร แ ละประชาคมโลกในการ ชวยกันประหยัดทรัพยากร และเลือกใชเทคโนโลยีใหเทาทันโลก ยุคดิจิตัล แมนรูปแบบการสงสารจะปรับเปลี่ยนไป แตความเขมขน ของคอลัมนตางๆ ขาวประชาสัมพันธและกิจกรรม ยังอัดแนนดวย สาระประโยชนและความนาสนใจในแวดวงมนุษยศาสตรเชนเดิม (เพิ่มเติมคือความทันสมัย) เมือ่ เปนปฐมฉบับทางสือ่ ออนไลน ฉบับนีจ้ งึ ถือโอกาสแนะนำ และเสนอวิสัยทัศนของผูบริหารคณะมนุษยศาสตรชุดใหมใหทุกทาน ไดรูจักและมองเห็นวิสัยทัศนในการพัฒนาดานตางๆ ของคณะ มนุษยศาสตร ในอนาคตอันใกล ฉบับนีเ้ ริม่ ตนทีแ่ นะนำคณะผู “นำ” หรือผูบ ริหารจึงปรากฎ เนื้อหาแตละคอลัมนที่นาสนใจเกี่ยวกับคำวา “นำ” อีกหลากหลาย ไดแก การนำความรูทางวิชาการกับวิทยากรผูมากความสามารถ ดานคติชนวิทยา การนำเขาสูงานที่นาสนใจของอาจารยชาวตางชาติ การนำชื่อเสียงในการประกวดแขงขันทางดานภาษาฝรั่งเศส บุคลากร ผูนำชื่อเสียงกับรางวัลระดับชาติใน Hall of fame และการนำ ข า วกิ จ กรรมและประชาสั ม พั น ธ ม าเสนอให ร ั บ ทราบและชื ่ น ชม กาวยางแหงความทาทายดวยความสำเร็จของรั้วบานมนุษยศาสตร ของเรา จะเห็นวา คณะผูบริหารที่เขมขนดานวิสัยทัศน วิชาการ และกิจกรรมที่เขมแข็ง ยังคงปรากฎอยางตอเนื่อง และทันสมัย อยูทุกเมื่อ เพราะบานของเราคือ “มนุษยศาสตรแหงศตวรรษที่ 21”

ติ ด ต อสอบถามขอ มูลเพิ่ม เติม ไดที่ คณะมนุ ษ ยศาสตร มหาวิท ยาลัยนเรศวร 99 หมู  9 ต.ท า โพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 05-596-2035, 2055 0-5596-2000 http://www.human.nu.ac.th humanadmission@nu.ac.th Faculty of Humanities NU

ภาคภูมิ สุขเจริญ บรรณาธิการ


คณะผูบริหารคณะมนุษยศาสตร :

¹ ºÒÂáÅÐá¹Ç·Ò§¡ÒúÃÔËÒà ˹‹Ç§ҹ㹡ӡѺ นโยบายการบริหารงานและพัฒนาคณะมนุษยศาสตร

คณะมนุษยศาสตรเปนองคกรแหงความสุข มีความเปนเลิศทางวิชาการ และเปนผูนำทางวิชาการดานมนุษยศาสตรทั้งในระดับประเทศและในประชาคมอาเซียน ภายใตการบริหารงานแบบมีสวนรวมและบูรณาการของทุกภาคสวนใหเกิดความคลองตัว ลดเงื่อนไขและปญหาที่นำมาซึ่งความขัดแยง เพื่อนำไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน

ÃÑ¡ÉҨشá¢ç§ ¾Ñ²¹ÒÊÔè§ãËÁ‹ ãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§¡ÑººÃÔº·âÅ¡ 㪌ËÅÑ¡ºÙóҡÒúÃÔËÒçҹ㹤³ÐÏ Å´»˜ÞËÒ¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§ ÊÌҧ¤ÇÒÁá¢ç§áçÍ‹ҧÂÑè§Â×¹

รองศาสตราจารย ดร.ธัญญา สังขพันธานนท คณบดีคณะมนุษยศาสตร

คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร มีหนาที่และความ รับผิดชอบ ตามกรอบหนาที่ของสถาบันอุดมศึกษา ที่สอดคลองกับ ยุทธศาสตรชาติ แผนแมบท แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนดานการอุดมศึกษา โดยเฉพาะความสอดคลองกับนโยบาย และแผนการบริหารของมหาวิทยาลัยนเรศวร ในขณะเดียวกัน ก็ ส ร า งสรรค แ ละพั ฒ นาพั น ธกิ จ ให ส อดคล อ งกั บ ธรรมชาติ แ ละ อัตลักษณของคณะ เพื่อสรางความเปนเลิศทางวิชาการที่กอใหเกิด ประโยชนตอชุมชน สังคมและประเทศชาติ ตามกรอบพันธกิจ หลัก 5 ดาน คือ 1. ดานการผลิตบัณฑิต จัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตดาน มนุษยศาสตรในทุกระดับ ใหมีคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล พัฒนาหลักสูตรดานภาษาและดนตรี นาฏศิลปใหมีความหลากหลาย ทั้งสาขาวิชาและรูปแบบใหมๆ เชน หลักสูตรคูขนาน หลักสูตร ขามศาสตรขามสาย และ หลักสูตรประกาศนียบัตร ที่สอดคลองกับ บริบทการเปลี่ยนแปลงและตอบโจทยความตองการของประเทศ ดวยการสรางเครือขายความรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานทั้งภาย ในและภายนอกมหาวิทยาลัย ภาครัฐและเอกชน รวมถึงความรวมมือ ทางวิชาการกับการจัดการเรียนการสอนในลักษณะ World – Class Education (Learning from International Models of Excel-

lence and Innovation Learning by inspiration) เพื่อเสริมสราง ศักยภาพ ของบัณฑิตใหมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และสอดคลอง กับคุณลักษณะของผูเรียนในศตวรรษที่ 21 ควบคูไปกับการพัฒนา นิสิตใหมีคุณลักษณะและอัตลักษณที่พึงประสงค มีแรงบัลดาลใจ และจินตนาการในการสรางสรรคผลงานตามศักยภาพของตน 2. ดานการวิจัย มุงสรางศักยภาพและขีดความสามารถ ในการวิจัยในระดับของอาจารยและนิสิต สนับสนุนใหเขาถึงแหลงทุน ในการวิจัยใหมากขึ้น ขยายขอบขายงานวิจัยลงสูปญหาในทองถิ่น สร า งเครื อ ข า ยงานวิ จ ั ย ด า นมนุ ษ ยศาสตร ก ั บ สถาบั น ภายนอก และหนวยงานการวิจัยที่เกี่ยวของ จัดสรรสิ่งอำนวยประโยชนที่เอื้อ ตอการสรางนักวิจัยหนาใหม แปรผลงานวิจัยที่กอใหเกิดคุณคาและ มูลคาเพิ่ม ทั้งในดานการพัฒนาการเรียนการสอนทางดานภาษา ดนตรี นาฏศิลปและศิลปะการแสดง นำผลการวิจัยเผยแพรสู สาธารณะ เพื่อสรางภาพลักษณทางวิชาการแกคณะและการสราง รายไดจากผลงานการวิจัย 3. ดานการบริการวิชาการแกสังคม เพิ่มศักยภาพในการ บริการวิชาการแกสังคมใหมากขึ้นอยางเปนรูปธรรม โดยระดมทุน ทางดานศิลปวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาตางประเทศที่มีอยู เพื่อสรางโอกาส ชองทางในการนำวิชาการไปสูสังคมทั้งในเขต 3

สุวรรณภิงคาร


ภาคเหนือตอนลางและประชาคมทองถิ่น ทั้งภาครัฐ เอกชน เชน การอบรม การสอนภาษาตางประเทศ การแสดงศิลปวัฒนธรรม เพื่อเสริมสรางศักยภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทุก เพศ วัย และเปนที่พึ่งทางวิชาการแกสังคมและสรางรายได 4. ดานสงเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม พัฒนาและ ยกระดับคณะมนุษยศาสตรใหเปนผูนำในการสรางสำนึกดานการ อนุรักษศิลปวัฒนธรรมของชาติ องคความรูและภูมิปญญาทองถิ่น ส ง เสริ ม ให ม ี ก ารศึ ก ษาค น คว า เพื ่ อ ฟ  น ฟู ภ ู ม ิ ป  ญ ญาศิ ล ปะและ วัฒนธรรมทองถิน่ ทีก่ ำลังสูญหาย นำมาประยุกตบรู ณาการเพื่อพัฒนา ใหดขี น้ึ จัดกิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรมอยางยัง่ ยืนและเปนรูปธรรม 5. ดานบริหารจัดการ พัฒนาปรับปรุงระบบริหารจัดการ ในคณะใหเปนองคกรแหงความสุข (Happy Workplace) มีความ คลองตัว ทันสมัยและมีธรรมาภิบาล กระจายภาระงานและ

ดร.ฐิติรัตน สุวรรณสม รองคณบดีฝายบริหาร

ดานการบริหารงานบุคคล คณะใหความสำคัญตอการ พัฒนาทรัพยากรบุคคลทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน โดยได จัดสรรงบประมาณสำหรับการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ไมวาจะเปน การเขารวมอบรม ประชุม สัมมนา และทุนสนับสนุนการศึกษาตอ ใหแกบุคลากรสายวิชาการ และสนับสนุนการเขารับการอบรมเพื่อ เพิ่มพูนความรูและทักษะดานวิชาชีพของสายสนับสนุน นอกจากนั้น จะไดจัดใหมีการอบรม ความรูสำหรับผูบริหารรุนใหม กิจกรรม เพื่อสรางความสุข 8 ประการ ในที่ทำงาน (Happy Workplace) นอกเหนือจากโครงการที่จัด เปนประจำทุกป คือ โครงการพัฒนา บุคลากรสายวิชาการดานการ จัดทำผลงานเพื่อขอกำหนดตำแหนง ทางวิชาการ และโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน เพื่อการ เขาสูตำแหนง ดานอาคารสถานที่ เนื่องจากสภาพอาคารมีอายุการใชงาน กวา 30 ป จึงเนนการทำนุบำรุงซอมแซม เพื่อใหเกิดประโยชน การใชงานอยางสูงสุด โดยคำนึงถึงความจำเปนความคุมคาในการใช งบประมาณ นอกจากนั้น มีการทบทวนมาตรการดานความปลอดภัย ในการใช อ าคารและการประหยั ด พลั ง งานเพื ่ อ ให ส อดรั บ กั บ สุวรรณภิงคาร

4

งบประมาณสูภาควิชาและหลักสูตรใหมากขึ้น สรางกลไกและ กิจกรรมที่กอใหเกิดความรักสามัคคี การทำงานรวมกันในหมูคณะ มีบรรยากาศการอยูรวมกันอยางเปนประชาธิปไตย เคารพในเสรีภาพ ทางวิชาการ ใหความสำคัญกับสำนึกความรับผิดชอบตอหนาที่และ สวนรวม มากกวาการควบคุมกำกับ ลดเงื่อนไขที่จะนำไปสูปญหา ความขัดแยงภายในองคกร สรางเสริมขวัญและกำลังใจ ของบุคลากร สรางจิตสำนึก “ความเปนเรา” ใหเกิดขึ้นกับบุคลากรในคณะ ปรับปรุงสิ่งแวดลอม บรรยากาศในคณะใหเปน ชุมชนสีเขียว (green community) สรางจิตสำนึกเชิงนิเวศ (eco awareness) อยางยั่งยืน การขับเคลือ่ นพันธกิจดังกลาว จักดำเนินไปตามหลักการของ การจัดการอุดมศึกษา ตามทีก่ ำหนดตามพระราชบัญญัตกิ ารอุดมศึกษา พ.ศ.2562 คือ หลักความรับผิดชอบตอสังคม หลักเสรีภาพทางวิชาการ หลักความเปนอิสระ หลักความเสมอภาคและหลักธรรมาภิบาล

สภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง แตยังคงสงเสริมการทำงานอยางมี ประสิทธิภาพสูงสุด ของบุคลากรและนิสิต อีกทั้งคณะจะไดเริ่ม ดำเนินการกิจกรรมและโครงการที่เกี่ยวขององคประกอบของการ เปนสำนักงานสีเขียว เชน การอบรมความรูเกี่ยวกับการจัดการ สิ่งแวดลอม ความสะอาด ระบบ การจัดการของเสีย การเลือกใชวัสดุ อุปกรณเครื่องใชสำนักงาน ที่เปนมิตรกับธรรมชาติ การลดผลกระทบ ตอสงแวดลอม เพื่อเตรียมความพรอมเขาสูมาตรฐานสากลตอไป ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศของคณะ มนุษยศาสตรนั้นมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนระบบ สารบรรณออนไลน ระบบขอมูลบุคลากร และระบบประเมินผล การปฏิบัติติราชการของบุคลากร ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ซึ่งถือเปนนวัตกรรมในการปฏิบัติงาน และมีหนวยงานอื่นภายใน มหาวิทยาลัยขอเขามาศึกษาดูงาน แลวปจจุบันกำลังดำเนินการ จัดทำระบบครุภัณฑออนไลน เพื่อความสะดวกในดานการบริหาร จัดการดานพัสดุ นอกจากนั้นยังมีแผนการพัฒนาระบบการบริหาร งานวิจัยภายในคณะฯ และระบบฐานขอมูลอื่นๆ รวมถึงการอบรม ใหความรูดานเทคโนโลยี สารสนเทศสำหรับบุคลากรทุกฝาย เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน ทุกพันธกิจของคณะ ดานการเงินและพัสดุ การปฏิบัติงานงานการเงินและพัสดุ เปนไปตามระเบียบ การเบิกจายเงินกระทรวงการคลังเกี่ยวกับ การจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ ระเบียบมหาวิทยาลัย นเรศวร การบริหารงบประมาณและการเงินรายได พ.ศ.2561 และอื่นๆ ที่เกี่ยวของ มีการแจงเวียนแนวปฏิบัติดานการเบิกจาย ที่เกี่ยวขอกับงานการเงิน และพัสดุอยางสม่ำเสมอ มีการจัดทำ รายงานทางการเงินและขอมูล อยางเปนระบบ เพื่อใหเกิดความ โปรงใส คุมคา มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบได และคำนึงถึงการ ประหยัดเปนสำคัญ


รองศาสตราจารย ดร.พงศกร เมธีธรรม รองคณบดีฝายวิชาการ

ความรับผิดชอบที่สำคัญของงานวิชาการ คือ พันธกิจดาน การผลิตบัณฑิต ซึ่งประกอบไปดวยสองสวนที่สำคัญ ไดแก ดานสนับสนุนการผลิตบัณฑิต และดานพัฒนากระบวนการจัดการ เรียนการสอนน โดยพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตนี้จะขับเคลื่อนไปสู เปาหมาย ภายใตวิสัยทัศนของทานคณบดี ที่วา “ผลิตบัณฑิตใหมี คุณภาพและมาตรฐานสากล เพิ่มหลักสูตรรูปแบบใหมใหหลากหลาย สรางเครือขายทางวิชาการ เพิ่มความเชี่ยวชาญดานภาษาแกบัณฑิต” การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตดานมนุษยศาสตรใหมีคุณภาพ และไดมาตรฐานในระดับสากลนั้น ตองเปนไปในทุกระดับ ทั้งระดับ ปริญญาตรี โท และ เอก งานวิชาการจะใหความสะดวก ชวยเหลือ และเอื้อประโยชนกับทางคณาจารยและภาควิชาใหสามารถพัฒนา หลักสูตรทั้งดานภาษา ดนตรี และนาฏศิลป ที่มีความเขมขนทางดาน วิชาการ มีความทันสมัยเทาทันตอความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว มีความหลากหลายในรายวิชาและหลักสูตรทั้งที่เปนรูปแบบเดิม และแบบใหม เชน หลักสูตรคูขนาน หลักสูตรขามศาสตร ขามสาย และหลักสูตรประกาศนียบัตร ที่สอดคลองกับบริบททางสังคม ที่เปลี่ยนแปลงและตอบโจทยดานความตองการของประเทศ นอกเหนื อ ไปจากการพั ฒ นาหลั ก สู ต รที ่ ม ี ค ุ ณ ภาพ และทันสมัยแลว การสรางเครือขายความรวมมือทางวิชาการกับ หนวยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จะชวยขับเคลื่อนใหการ ผลิตบัณฑิตของคณะมนุษยศาสตรเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยงานวิชาการ จะมุงสรางความรวมมือในสวนภาคภาครัฐ และภาค เอกชน รวมถึงความรวมมือกับสถาบันตางประเทศ เพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุดแกนิสิตและบัณฑิตของคณะ คณะมนุษยศาสตรไมไดมุงเนนการจัดการเรียนการสอน เพื่อเสริมสรางศักยภาพของบัณฑิตใหมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง เทานั้น แตยังตองมุงพัฒนานิสิตใหมีคุณลักษณะและลักษณที่ พึงประสงค ในการใชชีวิตและการทำงาน รวมถึงพัฒนาทักษะของ ผูเรียนในศตวรรษที่ 21 ไมวาจะเปน ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี และตองมีทักษะชีวิตและอาชีพ ควบคูกันไปดวย

ดร.จิรานุวัฒน สวัสดิ์พิชญสกุล รองคณบดีฝายวิจัยและนวัตกรรม

นโยบายดานการพัฒนาวิจัยและบริการวิชาการของคณะ มนุษยศาสตรในปงบประมาณ 2563 นั้นจะมุงเนนไปที่การสงเสริม และพั ฒ นาการวิ จ ั ย ที ่ ต อบโจทย ใ นการพั ฒ นาชุ ม ชนและท อ งถิ ่ น ในเขตภาคเหนือตอนลางมากขึ้นเพื่อใหเกิดการพัฒนาและยกระดับ รายไดในชุมชนใหมาขึ้นตามนโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาล เนื่องจากที่ผานมาการวิจัยของนักวิชาการสายมนุษยศาสตร นั้นยังคงมุงเนนไปที่การพัฒนาองคความรูเชิงพื้นฐาน (Basic Research) เปนสวนมาก ซึ่งงานวิจัยเหลานี้เริ่มจะไมตอบโจทย ผูเรียนและการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยในโลกยุคปจจุบันหรือโลกยุค ดิสรัปชั่น (disruption) อีกตอไป ในโลกยุคที่การพัฒนาเปลี่ยนแปลง ไปอยางรวดเร็วและเทคโนโลยีไดถูกนำมาใชในการพัฒนามากขึ้น ทำใหผูวิจัยดานมนุษยศาตรตองปรับตัวกับบริบทโลกใหมที่เปลี่ยน แปลงไปดวยเชนกันดวยเหตุนี้ทางคณะของเราจึงมีนโยบายเนนการ ทำวิจัยดานมนุษยศาสตรที่ตอบโจทยการพัฒนาทองถิ่นใหมากขึ้น ซึ่งจะเนนการวิจัยเชิงบูรณาการกับศาสตรอื่นใหมากขึ้น (interdisciplinary Research) และนำผลวิจัยที่ไดนี้ไปประยุกตใชในการพัฒนา ชุมชนหรือทองถิ่นใหมากขึ้น โดยทางคณะฯ จะใหความสำคัญในการ ทำความรวมมือกับหนวยงานวิจัยทั้งภายในและภายนอก เพื่อทำวิจัย แบบบูรณาการรวมกันอยางเปนรุปธรรม ยกตัวอยาง เชน ภาควิชา ภาษาตางๆ รวมมือกับคณะหรือวิทยาลัยที่มีผลิตภัณฑหรือสินคา เปนของตนเอง ในการแปลฉลาก ทำเวบไซด ทำแอพพลิเคชั่น เปนภาษาตางๆ เพื่อใหสินคาเหลานั้นกาวเขาสูความเปนสากล มากขึ ้ น โดยเฉพาะการผลั ก ดั น สิ น ค า เหล า นี ้ ใ ห เ ป น ที ่ ร ู  จ ั ก ในเขต อนุภาคลุมแมน้ำโขง รวมถึงการสรางจุดเดนใหผลิตภัณฑนั้นๆ ดวยองคความรูดานคติชนและภูมิปญญาชาวบาน นอกจากนี้ การให ความสำคัญแกสังคมผูสูงอายุยังเปนอีกแนวทางการสงเสริมการวิจัย และบริการวิชาการของคณะฯ เชน การสงเสริมพัฒนาวิจัย ดานดนตรี หรือนาฏยศิลปเพื่อผูสูงอายุและผูดอยโอกาส เปนตน

5

สุวรรณภิงคาร


ผูชวยศาสตราจารยวาที่รอยตรี ดร.โสภณ ลาวรรณ

ดร.วศินรัฐ นวลศิริ

รองคณบดีฝายกิจการนิสิตและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

ผูชวยคณบดีฝายวิเทศสัมพันธ

ใชความสุนทรียเปนสื่อกลาง ประกอบกับการลดขั้นตอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ใหการเขาถึงกับความใกลชิดกับ นิสิต ทั้งกลุมภาษา กลุมดนตรี และศิลปะการแสดง โดยทำคณะ มนุษยศาสตร ใหเหมือนบานของนิสิตเอง อนุรักษ สงเสริม รวมรวม ฟนฟู สืบสาน ศิลปวัฒนธรรม ตามอัตลักษณนิสิตคณะมนุษยศาสตร

งานวิเทศสัมพันธคณะมนุษยศาสตรดำเนินนโยบายตาม พั น ธกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย โดยเฉพาะด า นการพั ฒ นาความเป น นานาชาติและความสัมพันธระหวางประเทศ ดังตอไปนี้ ประการแรก เปนตัวกลางในการประสานงานกับอาจารยชาวตางประเทศผาน หัวหนาภาควิชาใหสามารถจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อ พัฒนานิสิตไดอยางมีประสิทธิภาพ ประการที่สอง อำนวยความ สะดวกในการทำบันทึก และกิจกรรมภายใตขอตกลงทางวิชาการกับ สถาบันในตางประเทศของแตละภาควิชา และสรางความรวมมือ ระหวางภาควิชา ประการที่สาม สงเสริมใหนิสิตที่ไดไปแลกเปลี่ยน ในตางประเทศ นำความรูและประสบการณมาถายทอดใหกับ นิสิตอื่นๆ ประการที่สี่ รวมมือกับกองพัฒนาภาษาและกิจการ ต า งประเทศของมหาวิ ท ยาลั ย ในโครงการและกิ จ กรรมต า งๆ ประการสุดทาย พัฒนาเครือขายความรวมมือและแสวงหาหนวยงาน ในตางประเทศเพือ่ สนับสนุนพันธกิจตางๆ ของคณะและมหาวิทยาลัย

“พหุภาษา รูคุณคาศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น”

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศศิณัฐ พงษนิล ผูชวยคณบดีฝายประชาสัมพันธ

เพื่อดำเนินงานรูปแบบตางๆใหสนองตอบ ตลอดคลองกับ กลยุทธ และอัตลักษณ ของมหาวิทยาลัยและคณมนุษยศาสตร ประสานงานเพื่อใหการสื่อสาร การนำเสนอรูปแบบสื่อ นวัตกรรม และนำเสนอผลงานสรางสรรคในรูปแบบตางๆ ทั้งดานภาษา และ ศิลปกรรมที่ผลิตโดยคณะมนุษยศาสตร ตลอดจนเครือขายที่ เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกประเทศ ไดนำเสนอสูสังคมและผูใช บริการอยางทันเหตุการณและทันสมัย

สุวรรณภิงคาร

6


กระบวนทัศนการศึกษาคติชนวิทยา

ã¹ÈµÇÃÃÉ·Õè

21

นางณัฐนิภาภัสร ปพนอัครมงคล1

เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2562 เวลา 9.00-12.00 น. หลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตและหลักสูตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาคติชนวิทยา ภาควิชาภาษาศาสตร คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนา ไดจัดกิจกรรม พัฒนาศักยภาพนิสิตดานวิชาการและการวิจัย โดยไดรับเกียรติจาก รศ.ดร.ปฐม หงษสุวรรณ อาจารยประจำภาควิชาภาษาไทยและภาษา ตะวันออก และผูอำนวยการสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปนวิทยากรบรรยายความรูเรื่อง กระบวนทัศนการศึกษาคติชนวิทยาในศตวรรษที่ 21 ณ หอง HU4103 อาคารมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร การจัดกิจกรรมครั้งนี้ ไดรับความสนใจจากคณาจารย นิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร นักศึกษาปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม และผูสนใจเขารวมฟงการบรรยายเปนจำนวนมาก วิทยากรไดบรรยายเกี่ยวกับกระบวนทัศนและทฤษฎีเพื่อการศึกษา คติชน โดยใหความหมาย ลักษณะเดน และความสำคัญของแนว ทฤษฎีตางๆ ที่จะสามารถนำไปประยุกตใชในการศึกษาคติชน ในศตวรรษที่ 21 เชน แนวคิดวาทกรรม อำนาจ ของ Michel Foucault ที่วาดวยความรู หรือการนิยามความรูในบางสิ่งขึ้นมา เพื่อสรางอำนาจในการกำหนดความจริงในสิ่งนั้น แนวคิดการรื้อสราง ของ Jacques Derrida ที่เนนการหารอยแยกของตัวบท (text) ซึ่งทำใหพบสิ่งที่แฝงอยูในตัวบทและทำใหตีความตัวบทในแงมุมใหม แนวคิดภาพแทนของ Stuart Hall ที่ใชภาษาเพื่อนำเสนอบางสิ่ง ที่ทำใหผูคนในแตละวัฒนธรรมเกิดความเขาใจความหมายตอสิ่งนั้น ตรงกัน แนวคิดเรื่องอัตลักษณ ที่มีความแปรเปลี่ยนสัมพันธกับบริบท เวลา และสถานที่ แนวคิดเพศภาวะ รวมถึง แนวคิดทฤษฎี คติชน สรางสรรค ของศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.ศิราพร ณ ถลาง ที่เสนอ

ใหเห็นการนำนิทานพื้นบานมาปรับใชในสังคมสมัยใหม และกระบวน การสร า งสรรค ร ู ป แบบประเพณี ร  ว มสมั ย ที ่ ม ี ค วามสอดคล อ งกั บ สภาพเศรษฐกิจและสังคมในปจจุบัน พรอมกันนี้วิทยากรไดยก ตัวอยางการประยุกตใชทฤษฎีทางมานุษยวิทยาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใชศ ึกษาขอมูล คติชนวิทยาอีกดว ย เพื่อให ผู  เข า ร ว มฟ ง การบรรยายเขาใจความสำคัญของทฤษฎีที่สามารถใชเปนแนวทาง การการศึกษาขอมูลทางคติชนวิทยาไดเปนอยางดี นอกจากนี้วิทยากรยังชี้ใหเห็นแนวโนมของการศึกษาดาน คติชนวิทยาในศตวรรษที่ 21 ที่ไดนำเอาทฤษฎีและกรอบแนวคิด ทางสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มาประยุกตเพื่อการศึกษา ทำให การศึกษาดานคติชนวิทยาในปจจุบัน มีความเปนสหวิทยาการ มากขึ้น ทั้งหมดนี้จึงเปนแนวทางสำคัญใหผูเขารวมโครงการมีความ เข า ใจในกระบวนทั ศ น ก ารศึ ก ษาทางคติ ช นวิ ท ยามากยิ ่ ง ขึ ้ น และสามารถนำความรู  ท ี ่ ไ ด ร ั บ ไปประยุ ก ต ใช เ พื ่ อ พั ฒ นาผลงาน วิชาการและงานวิจัยดานคติชนตอไป ในชวงทายของการบรรยาย วิทยาการไดฝากขอคิดสำคัญ แกผูเขารวมโครงการคือ เมื่อโลกเปลี่ยน วิธีการทางความคิด และ แนวทางการศึกษาขอมูลตางๆ รวมถึงขอมูลทางคติชนลวนมีการ เปลี่ยนแปลงและเคลื่อนไหวตลอดเวลาเชนกัน ดังนั้นนักวิจัย จึงจำเปนตองคนควาหาความรูใหมๆ และพัฒนาตนเองอยูเสมอ เมื่อทำการศึกษาหรือวิจัย เราสามารถศึกษาขอมูลทางคติชนไดทั้ง ในรูปแบบการดำรงอยูและการเปลี่ยนแปลง ทั้งหมดนี้ลวนเปน แนวทางใหผูเขารวมโครงการเกิดความเขาใจในกระบวนทัศนตางๆ เพิม่ ขึน้ และสามารถนำไปประยุกตใชเพือ่ พัฒนาศักยภาพ ดานวิชาการ และงานวิจัยในการศึกษาคติชนในยุคศตวรรษที่ 21 ตอไป

1 นิสิตระดับปริญญาเอก ชั้นปที่ 1 หลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคติชนวิทยา

ภาควิชาภาษาศาสตร คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยนเรศวร

7

สุวรรณภิงคาร


When Work Turns to Pleasure Nancy Guigue Catane

One of the things I always look forward to is the annual conferences of educators held locally or overseas. Attending the said conferences has been my greatest desire for so many years in the sense that I get to know and listen to some of the world's greatest innovators in the field of education. It also enables me to mingle and interact with professionals concerning their teaching and research expertise. Just recently, I presented my abstract to the VietTESOL International Convention in the peaceful, laid-back, and historical ancient capital of Vietnam, Hue City. It was held at the University of Foreign Languages at Hue University. The theme for this year's convention, "English Language Education: Empowerment, Engagement, and Diversity" aims to inspire and create positive changes in English education in the 21st century and beyond. On the first day of the conference, guests, delegates, and participants were welcomed by the organizing committee headed by VietTESOL President, Dr. Bao Kham. สุวรรณภิงคาร

8

He wished everyone to enjoy the delicate and authentic local foods, nostalgic Hue folksongs, as well as the distinctive culture. Most of all, he wished us all to enjoy Hue City and its alluring history. After the Plenary Session with Fredricka Stoller from Northern Arizona University and her topic, "Empower and Engage your Students: Make a Commitment to Reading Fluency Instruction", I presented my paper entitled, “Improving the English Skills of Humanities Students Through the Use of SNS” with few presenters and participants around. Due to time constraints, questions from the audience were no longer entertained because we lagged thirty minutes behind schedule. I was drawn to the next presenter's topic on exploring the effectiveness of using authentic videos to teach listening skills. Her research was quite relatable to what I have been teaching for many years now, listening and speaking courses. She stated the obvious about listening comprehension skills and how they vary from student


to student due to their different learning styles and abilities. Furthermore, using video clips in listening lessons has been considered as one of the most effective ways to develop students' listening skills. My classroom experience of using video clips in lessons has been a great help to support and enhance the students’ vivid imagination so that they can relate the topics to their everyday life. To sum it up, there were a lot of interesting topics that helped teachers and educators alike to improve one's quality of teaching. Personally speaking, this convention has taught me on how to improve the quality of my teaching and the way the students learn. I then realized that being mindful of the way I teach can help me better understand on how to help students achieve deeper learning. By doing so, it can impact the students’ perception resulting in a more cooperative learning environment. The first day went smoothly as expected. It ended with a gala dinner in a very festive ambiance with authentic Vietnamese foods being served. And I must say, Vietnamese cuisine ranks on the top five of my favorite international dishes. I certainly had a great time during the gala dinner, with that good food coupled with good music, and a lot of dancing at the ballroom. Laughter from the delegates and participants echoed the whole area. That getting-to-know-you stage, and making connections drowned the entire place. Geographically, Hue is known as Vietnam's UNESCO World Cultural Heritage Site for the magnificent architecture of its Citadel, royal tombs, pagodas, and temples set in a poetic background of greenery on the banks of the Perfume River. To show the participants the splendor and beauty of this historical city, the organizing committee introduced the Hue Cultural Tour on the afternoon of the second day of the conference. Being someone who's always fascinated by places and its history, I grabbed the opportunity of joining the tour. I was mesmerized with what met my eyes while wandering inside the Citadel. Everything was just breathtaking. Though much has been damaged during the war or simply lost in time, a walk inside the walls of the huge Citadel complex provides a fascinating glimpse into the lives of Vietnam's last imperial dynasty. Roaming along the corridors of these enormous palaces reminds me of those countless Korean and Chinese historical dramas I have watched over the years. I was lost for words and imagined myself strolling hand in hand with the King. Perhaps I was a Queen or one of the favored Concubines in my previous life. Who knows?

Next stop on the itinerary was the Thien Mu Pagoda, a sprawling temple complex with its ancient architecture that is perched on a hill overlooking the picturesque Perfume River. The Pagoda is surrounded by a garden of flowers and plants that are carefully tended every day. After taking in the many sites, the tour ended with a relaxing afternoon cruise along the Perfume River back to the city. And it was time for me to prepare for my trip back to Thailand. All my business trips to attend these conferences almost always end with that leisurely tour in and around the conference venue. I feel a different kind of high when I am able to explore their remarkable surroundings and learn a thing or two about their history. And that time I spent in Hue City will always be etched in my memory as one of my pleasurable work-related trips. Looking forward to my next conference. Next month? Next year? Who knows? But hopefully, soon.

9

สุวรรณภิงคาร


นิสิตภาควิชาภาษาตะวันตกเขารวมกิจกรรมการแขงขันทักษะภาษาฝรั่งเศส

En souvenir de SAR la Princesse Galyani Vadhana et de sa vision pour l’enseignement du français : "Horizon 4.0 pour le français en Thaïlande” อ.ศโรชิน อาจหาญ อาจารยประจำภาควิชาภาษาฝรั่งเศส ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

ทุ กๆ ป ท างสมาคมครูภาษาฝรั่ง เศสแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ ส มเด็ จ พระกณิ ษ ฐาราชเจ า จะจั ด กิ จ กรรม ประจำป ถือเปนเวทีที่เปดโอกาสใหบรรดาผูเรียนภาษาฝรั่งเศส ในประเทศไทยทั้งในระดับมัธยมและอุดมศึกษาไดแสดงทักษะความ สามารถทางดานทีเ่ กีย่ วกับภาษาและประเทศฝรัง่ เศส เชน การแขงขัน เขียนตามคำบอก ทองบทกวี กลาวสุนทรพจน เขียนบรรยายภาพ รองเพลง เลาเรื่อง ละครสั้น หรือจะเปนการวาดภาพตามหัวขอ ที่กำหนด เปนตน นอกจากนี้ งานนี้ยังเปนเรียกไดวาเปนงานที่ทำให อาจารยทั้งจากโรงเรียนและมหาวิทยาลัยตางๆ ไดมาพบปะกัน อีกดวย สำหรับตัวฉันเอง ครั้งปเปนครั้งที่สองที่ฉันมีโอกาส ไดเขารวมกิจกรรมนี้ซึ่งหางจากครั้งแรกเปนเวลาถึงหกป และเปน สองครั้งที่ฉันมาในฐานะที่แตกตางกัน ตอนนั้นฉันเปนนักศึกษา ชั้นปที่สี่ มางานนี้ในฐานะผูรวมการแขงขันทักษะการวาดภาพ ตามคำบอกจากคำเชิญชวนของอาจารยในภาควิชา ครั้งนั้นฉันทั้งรูสึก ตื่นเตนและกดดันมาก ฉันไมไดชื่นชอบการแขงขันเทาไรนัก จึงบอก กับตัวเองวา ฉันแคมาทดลองความสามารถ มาเอาชนะตนเอง ก็เทานั้น แตอยางไรก็ตาม หากเราชนะมันก็ไมใชเพียงชื่อของเรา แตรวมไปถึงชื่อสถาบันของเราดวย และเมื่อถึงเวลาประกาศผล การแขงขันความรูสึกที่เกิดขึ้น คือโลงออก...โลงจากความกดดัน และภูมิใจในตัวเอง ปนี้ ฉันมีโอกาสไดไปรวมงานนี้อีกครั้งในฐานะอาจารย ผูฝกซอมและดูแลนิสิต ไมนาเชื่อจริงๆวาเวลาไดผานมาถึงหกปแลว... บรรยากาศของงานไมแตกตางไปจากเดิมเทาไรนัก สถานที่ก็เปน ที่เดิมกับที่ฉันเคยมา การตกแตงตางๆ ก็ยังคลายเดิม ปริมาณคน ยังลนหลาม ใครกันที่บอกวาภาษาฝรั่งเศสเริ่มไมเปนที่นิยมในแวดวง สุวรรณภิงคาร

10

การศึกษาแลว ฉันอยากใหพวกเขาไดมาเห็นบรรยากาศที่นี่เหลือเกิน แทบทุกอยางยังคงเหมือนเดิม หากเปนความรูสึกขางในของฉันเอง ที่แตกตางออกไป ระหวางรอการแขงขัน ฉันเห็นความเครียด เห็นความตื่นเตนจากแววตาและทาทางของนิสิตแตละคน ซึ่งเปนสิ่ง ที่ฉันเขาใจเปนอยางดี เพราะฉันผานมันมาแลว ฉันจึงหลีกเลี่ยง การพูดอะไรที่อาจเปนการกดดันนิสิตและพูดใหกำลังใจเพื่อใหนิสิต ผอนคลายแทน ชวงเย็น ระหวางรอรับเสด็จ อาจารยทานหนึ่งที่นั่ง อยูขางกันเอยกับฉันวา “ฝกเด็กนี่ยากกวาแขงเองอีกนะ” ซึ่งฉันรูสึก เห็นดวยเปนอยางยิ่ง ตอนแขงเอง เราเพียงเรียนรูและทำความเขาใจ สิ่งตางๆ ดวยตัวเอง แตการฝกซอมนิดสิตมาแขงขัน นอกจากการ ทำความเขาใจกับตัวเองแลว เรายังตองหาวิธีและพยายามถายทอด สงตอสิ่งนั้นสูอีกคน จะทำยังไงใหพวกเขาเขาใจและทำไดอยางที่เรา ตองการไมใชเรื่องงายเหมือนลงมือทำเองเลยจริงๆ ในปนี้ ผลการแขงขันออกมาเปนที่นาพอใจ มหาวิทยาลัย นเรศวรของเรา มีชื่อติดอยูในแทบทุกรายการ และยิ่งกวายินดี กับความสำเร็จในความสามารถของนิสิตที่ไดฝกซอมกันมาเปนแรม เดือนก็คือการไดเห็นน้ำใจนักกีฬาที่นิสิตมีใหกัน ในการแขงขันยอมมี ผูชนะและผูแพ ภาพที่นิสิตที่ไมไดรับรางวัลแสดงความยินดีกับ เพื่อนๆ ที่ชนะการแขงกัน ภาพที่ผูไดรับรางวัลเสียใจไปกับเพื่อน ที่พลาดรางวัลจากการแขงขัน เปนสิ่งที่ทำใหฉันรูสึกประทับใจและ ดีใจมากกวาชัยชนะของตัวนิสิตเองเสียอีก ตอใหจะมีใครเปนผูแพ ในการแขงขันและไมไดรับรางวัลใดๆ แตสำหรับฉัน ทุกคนก็ยังเปน ผูชนะอยูดีเพราะนิสิตทุกคนที่ไดมาเขารวมลวนชนะการแขงขันกับ ตนเอง กลาออกจากมหาวิทยาลัยมาลองเขารวมการแขงขันสนาม ระดับประเทศ ถือวาไดประสบการณเพื่อเปนแรงขับเคลื่อนตนเอง ตอไป ซึ่งฉันคิดวามันมีคามากกวาชัยชนะในการแขงขันเสียอีก


Hall of Fame คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ขอแสดงความ ยินดีกับ ผูชวยศาสตราจรารย ที่รอยตรี ดร.โสภณ ลาวรรณ รองคณบดีฝายกิจการนิสิตและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ที่ไดรับการ คัดเลือกจากกระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) ใหเขารับโลเชิดชูเกียรติ ผูทำคุณประโยชนตอกระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดดีเดน ประจำป 2562 ซึ่งเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2562 ผูชวยศาสตราจารย วาที่รอยตรี ดร.โสภณ ลาวรรณไดเขารับรางวัล ‘วัฒนคุณาธร’ จากนายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม อาคารวัฒนธรรมวิศิษฎ กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) กรุงเทพฯ ซึ่งรางวัลนี้ เปนรางวัลเกียรติยศของกระทรวงวัฒนธรรมในระดับ ประเทศ ที่มอบใหเพื่อยกยองและเชิดชูเกียรติบุคคลและองคกร ที่ดำเนินงานอนุรักษมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงาน โดดเดนในการปฏิบัติงาน สงเสริมงานดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ดวยความเสียสละ วิริยะ อุตสาหะ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และมีผลงานเปนที่ประจักษแกผูรวมงานและสาธารณชน ที่กอใหเกิด ประโยชนแกชุมชน สังคม และประเทศชาติตอไป

11

สุวรรณภิงคาร


ขาว

วันอาทิตยที่ 13 ตุลาคม 2562 รองศาสตราจารย ดร.ธัญญา สังขพันธานนท คณบดีคณะมนุษยศาสตร คณะผูบริหาร คณาจารย สโมสรนิสิตและนิสิตภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร เขารวมพิธีนอมรำลึกเนื่องในวันคลายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ณ ลานพระบรมราชานุสาวรีย สมเด็จพระนเรศวรมหารา มหาวิทยาลัยนเรศวร ภายในงาน คณบดีคณะมนุษยศาสตรไดกลาวบทกลอนถวายอาลัย นอมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได

วันที่ 9 ตุลาคม 2562 รองศาสตราจารย ดร.ธัญญา สังขพันธานนท คณบดีคณะมนุษยศาสตร พรอมดวยคณะผูบริหาร คณาจารย ภาควิชาศิลปะการแสดง ภาควิชาภาษาตะวันออก ภาควิชาภาษา อังกฤษ และภาควิชาดนตรี รวมใหการตอนรับศาสตราจารย ชะภิพร เกียรติคชาธาร หัวหนาฝายความรวมมือจีน-ไทย มหาวิทยาลัยเฉิงตู มณฑลเสฉวน สาธารณรัฐประชาชนจีน ที่เดินทางมาเจรจาสานตอความรวมมือการพัฒนาหลักสูตรเชิง บูรณาการตามที่ไดเคยเจรจารวมกับ Professor Heyang Tuomeiciren ผูบริหารจาก College of Chinese& ASEAN, Chengdu University, China เมื่อวันจันทรที่ 19 สิงหาคม 2562 ที่ผานมา ณ หองรับแขก อาคารคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร สุวรรณภิงคาร

12

วันที่ 24-25 ตุลาคม 2562 ดร.ฐิติรัตน สุวรรณสม รองคณบดี ฝายบริหาร, ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศศิณัฐ พงษนิล ผูชวยคณบดี ฝายประชาสัมพันธ พรอมดวยคณาจารย นิสิต และเจาหนาที่ คณะมนุษยศาสตร เขารวมการประชุมและนำเสนอผลงานวิจัย ในงานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ เครือขายความ รวมมือวิชาการ-วิจัย สายมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรครั้งที่ 12 ภายใตแนวคิด "โลกาเทศาภิวัตน : วิถีถิ่น วิถีไทย วิถีโลกสูการ พัฒนาอยางยั่งยืน (Glocal Society: from Locale to Globality for a Sustainable Society)” ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ ซึ่งในการเขารวมงานประชุมวิชาการในครั้งนี้มีคณาจารย และนิสิตรวมนำเสนอผลงานวิจัย จำนวน 4 ผลงาน ดังนี้ 1. งานวิจัยเรื่อง University Students’ Opinion Towards Learning English language Through Online Games โดย นายธนศักดิ์ ผาดเรือง และ ดร.ฐิติรัตน สุวรรณสม 2. งานวิจัยเรื่อง The Traditional Vocal Music of Phitsanulok province in the Choral music โดย ผศ.ดร.ศศิณัฐ พงษนิล 3. งานวิจัยเรื่อง คำเรียกชื่อสียอมผมในผลิตภัณฑเบอรินา โดย ผศ.ดร.ณรงคกรรณ รอดทรัพย 4. งานวิจัยเรื่อง การวิเคราะหขอผิดพลาดทางไวยากรณในการแปล ภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษของนิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ โดย ดร.รุจิรัตน ชัยแสง


วันที่ 31 ตุลาคม 2562 คณะมนุษยศาสตร จัดโครงการทบทวน แผนกลยุทธคณะมนุษยศาสตร เพื่อระดมความคิดเห็นและขอเสนอ แนะจากบุคลากรทุกภาคสวนของ และไดรวมกำหนดทิศทางในการ พัฒนาคณะมนุษยศาสตร ใหบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศนที่ได กำหนดไว ทั้งนี้ ไดรับเกียรติจากคณะผูบริหารมหาวิทยาลัย นำโดย ศาสตราจารยพิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี อธิการบดีมหาวิทยาลัย นเรศวร ศาสตราจารย ดร.จิระวัฒน พิระสันต รองอธิการบดี และ ผูชวยศาสตราจารย ดร.พีรธร บุณยรัตนพันธ รองอธิการบดี ใหเกียรติบรรยายในหัวขอ "นโยบายและทิศทางของมหาวิทยาลัย นเรศวรกับกลยุทธการพัฒนาคณะมนุษยศาสตร ในชวงแผนการ พัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 พศ.2560 - 2564 มหาวิทยาลัยนเรศวร" ณ โรงแรมภูแกว จ.เพชรบูรณ

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562 รองศาสตราจารย ดร.ธัญญา สังขพันธานนท คณบดีคณะมนุษยศาสตร และคณาจารยภาควิชา ภาษา ตะวันตกและภาควิชาภาษาอังกฤษรวมตอนรับอาจารยและ นิสิตแลกเปลี่ยนในโครงการ Marco Polo: Mobility in Actions of Students and Professors (Erasmus+) Ms Mariela Andrade Maureira สอนวิชาภาษาอังกฤษและเรียนปริญญาเอก สาขาวิชา Philological Studies ที่ University of Sevilla ประเทศสเปน ไดเดินทางมาแลกเปลี่ยนประสบการณดานงานวิจัย การเรียนการสอนภาษาสเปนและภาษาตางประเทศระหวางวันที่ 8-15 พฤศจิกายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2562 รองศาสตราจารย ดร.ธัญญา สังขพันธานนท คณบดีคณะมนุษยศาสตร พรอมดวยคณาจารยสาขาวิชาภาษาเกาหลี รวมให การตอนรับ Prof. Lee Kum-Young, Ph.D. รองคณบดีคณะมนุษยศาสตร และ หัวหนาภาควิชา Korean Language and Literature, Chungnam National University เมืองแทจอน สาธารณรัฐเกาหลี ที่เดินทางมาขอหารือเกี่ยวกับ การทำขอตกลงความรวมมือ เพื่อผลประโยชนระหวางทั้งสองมหาวิทยาลัย พรอมทั้งเสนอทุนการศึกษาระดับปริญญาเอก ใหแกคณาจารย และการเปด หลักสูตร 2 ปริญญา ระหวางคณะมนุษยศาสตร ของทัง้ สองมหาวิทยาลัยอีกดวย

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2562 รองศาสตราจารย ดร.พงศกร เมธีธรรม รองคณบดีฝายวิชาการ พรอมดวยคณะผูบริหาร หัวหนาภาควิชา ภาษาไทย หัวหนาภาควิชาภาษาอังกฤษ หัวหนาสำนักงาน เลขานุการคณะฯ และบุคลากรสายสนับสนุนคณะมนุษยศาสตร รวมใหการตอนรับคณะผูบ ริหาร คณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน จากคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครปฐม จำนวน 31 ทาน ที่เดินทางมาแลกเปลี่ยนเรียนรูประเด็น ดานการบริหารจัดการองคกรของ คณะมนุษยศาสตร การบริหาร จัดการหลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ณ หอง ประชุม HU 1307 อาคารคณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

13

สุวรรณภิงคาร


คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

รับสมัครนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ประจำปการศึกษา หลักสูตรระดับปริญญาโท (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต) จำนวน 4 หลักสูตร

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคติชนวิทยา

หลักสูตรระดับปริญญาเอก (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต) จำนวน 3 หลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคติชนวิทยา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร

การสมัคร สมัครผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ที่เว็บไซต

www.admission.graduate.nu.ac.th และชำระคาธรรมเนียมการสมัคร จำนวน 1,000 บาท

เปิดรับสมัครตลอดปีการศึกษา

ติดตอสอบถามเพิ่มเติมไดที่

หนวยบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร โทรศัพท 0 5596 2055, 0 5596 2067

www.human.nu.ac.th

Faculty of Humanities NU

Faculty of Humanities NU


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.