จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์คณะ "สุวรรณภิงคารออนไลน์" Vol. 16-1

Page 1

Vol. 1 / 2564 จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศว ร
คณะกรรมการที่ปรึกษา คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ รองคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ผู้ช่วยคณบดี คณะกรรมการประจำคณะมนุษยศาสตร์ กองบรรณาธิการ ดร.สุวรรณี ทองรอด ดร.จุฑามาศ บุญชู ดร.ศิรินุช คูเจริญไพบูลย์ ดร.สาทิพย์ เครือสูงเนิน ดร.ณัฐพร ไข่มุกข์ อาจารย์ธนัฏฐา จันทร์เต็ม อาจารย์วราภรณ์ ยูงหนู อาจารย์คุณัญญา บัวพรหมมาตร์ อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน บรรณาธิการ ผศ.ดร.ภาคภูมิ สุขเจริญ ฝ�ายศิลปกรรม นายณัฐวุฒิ นลินรัตนกุล ฝ�ายเลขานุการ นางสาวสุรีย์พร ชุมแสง บทบรรณาธิการ ติดต�อสอบถามข�อมูลเพิ่มเติมได�ที่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ต.ท่าโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 05-596-2035, 2055 0-5596-2000 http://www.human.nu.ac.th humanadmission@nu.ac.th Faculty of Humanities NU สถาบันอุดมศึกษาแหลงวิชาการที่ใหทั้งความรู ประสบการณ อันเปนประโยชนตอบุคคล สังคมและประเทศชาติ ใตพระนาม มหาวิทยาลัยนเรศวรนี้ มีพันธกิจสำคัญที่มุงเนนงานวิจัย เพื่อเผยแพร และรับใชสังคมเปนหลัก คณะมนุษยศาสตร หนวยงานหนึ่งในสถาบัน แหงนี้ก็เชนกันที่พรอมจะรังสรรค ปรับประยุกตงานวิจัยสาย มนุษยศาสตร เพื่อประโยชนของสังคมสวนรวม สุวรรณภิงคารฉบับนี้จึงมาพรอมกับประเด็น "มนุษยศาสตร กับงานวิจัย พัฒนาไทยสูสากล" ซึ่งเสนอผลงานวิจัยของสมาชิก ใน รั้วมนุษยศาสตรที่นาสนใจ สรางสังคมใหเปนสังคมแหงการเรียนรู เติม เต็มดวยความรู การประยุกตใชจากงานวิจัยตางๆ ใหเกิด ประโยชน และยั่งยืน เชนกลิ่นดอกแกวที่ขจรขจายไปทั่วสารทิศ นั่นเอง ผูชวยศาตราจารย ดร.ภาคภูมิ สุขเจริญ บรรณาธิการ
Idioms from Classical Mythology ถ้อยคำสำนวนจากปกรณัมคลาสสิก “ “ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อุษา พัดเกตุ* สุวรรณภิงคาร 3 * อาจารยประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร เนื้อหาโดยสังเขป เปนการนำเสนอคำศัพทและสำนวนภาษาอังกฤษ ที่มีตนกำเนิด จากตำนานเทพเจาและวีรบุรุษกรีกและโรมัน ดวยการอธิบายความหมาย และที่มาของคำศัพทและสำนวนเหลานั้น ผานเรื่องเลาในปกรณัม ที่ เกี่ยวของพรอมยกตัวอยางที่เปน ปจจุบันประกอบ เพื่อใหผูอานเขาใจได ในทันทีและนำไปใชงานไดแบบสำเร็จรูป เหตุจูงใจในการเขียนและวัตถุประสงคในการเผยแพร เขียนหนังสือแบบที่เคยอยากอานสมัยเรียนหนังสือ แตหาอาน ไมไดเปนภาษาไทย แบบที่เด็กอานได ผูใหญอานดี อานไดทุกกลุมอาชีพ จะอานเอาสาระหรือเพื่อความบันเทิงก็ไดทั้งนั้น อานสนุก และอานซ้ำๆ ไดหลายๆ รอบ อานแลวตองรอง “ออ” และเอาไปใชในชีวิตจริงได เอาไปใชเพิ่มอรรถรสในการดูหนัง ฟงเพลง และทำความเขาใจศิลปะ และอารยธรรมตะวันตก เอาไปเลา ตอเอื้อเฟอถึงคนอื่นๆ ไดอีก กระบวนการเขียนหนังสือ ถามองการเขียนหนังสือเลมนี้ดวยกระบวนการวิจัย ก็จะมี ชวงเวลาเก็บขอมูลยาวนานมาก เพราะใชความรูและประสบการณ ทางภาษาที่คอยๆ สั่งสมกลั่นกรองมาเรื่อยๆ หนังสือเลมนี้ก็คือ ผลิตผล หนึ่งจากกระบวนการนั้น ถาขอมูลพรอม เวลาเขียนจริงๆ ก็จะเขียนได เรื่อยๆ คอนขางสม่ำเสมอทั้งเนื้อหาและภาษาที่ใช ไปรอลุนอีกทีตอน สงตนฉบับใหสำนักพิมพพิจารณาคะ คำแนะนำในการเขียนหนังสือ เขียนหนังสือแบบที่เราอยากอาน ผลงานปจจุบันและที่กำลังจะเกิดขึ้น บทความวิชาการและบทความวิจัยที่เผยแพรแลวและที่กำลัง รอเผยแพร ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะชวงหลังๆ ที่ เขียนงานเพราะอยากเขียน ไมใชเพราะจำเปนตองเขียน เปนชุดงาน เขียนที่ชอบและภูมิใจคะ
เทคนิคการสรุปความ ผูชวยศาสตราจารยวรารัชต มหามนตรี* สุวรรณภิงคาร * อาจารยประจำภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร หนังสือเรื่อง เทคนิคการสรุปความ มีเนื้อหาครอบคลุมวิธีการ สรุปความงานเขียนประเภทตาง ๆ ที่พบเห็นไดจากสื่อในชีวิตประจำวัน อาทิ สารคดี บันเทิงคดี บทวิเคราะห บทวิจารณ บทสัมภาษณ โดยนำ วิธีการจดบันทึกแบบ Cornell Notes ของ Dr. Walter Pauk มา ประยุกตใชในการเขียนเรียบเรียงเนื้อความสรุป อีกทั้งยังมีการสรุปความใน การเขียนผลงานวิจัยเพื่อใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการเขียนผลงาน บางองคประกอบ และเพื่อปองกันการลักลอกและละเมิดลิขสิทธ งานวรรณกรรม พรอมตัวอยางประกอบอยางชัดเจนในแตละบท เพื่อ ผูอานสามารถศึกษาเรียนรูไดดวยตนเอง จึงเปนประโยชนตอนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย นักวิชาการ และผูสนใจในทุกสาขาอาชีพ เหตุจูงใจในการเขียนหนังสือเลมนี้ เพื่อใชประกอบการสอนในรายวิชา 208114 การสรุปความ ซึ่ง เปนวิชาบังคับตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร และใชในการยื่นขอกำหนด ตำแหนงทางวิชาการเปนรองศาสตราจารย กระบวนการเขียนหนังสือ กระบวนการเขียนหนังสือมีขั้นตอนหลักๆ 7 ขั้นตอน ไดแก 1. คนควาขอมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่กลาวถึงการสรุปความ เพื่อ หาประเด็นที่ตางกับหนังสืออื่นที่มีวางขาย 2. กำหนดประเด็นหลัก/ชื่อบท 3. วางโครงเรื่อง/กำหนดหัวขอยอยในแตละบท 4. เพิ่มรายละเอียดคำอธิบายและตัวอยาง 5. พิสูจนอักษร 6. สงใหบุคคลภายนอกอานเพื่อวิพากษ 7. สงโรงพิมพ วัตถุประสงคในการเผยแพรหนังสือเลมนี้ เพื่อใหความรูแกนิสิตรวมถึงบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับวิธีการสรุป ความสารประเภทตาง ๆ ที่พบเห็นไดในชีวิตประจำวัน ฝากขอคิด/คำแนะนำ ในการเขียนหนังสือ การเขียนหนังสือเปนงานที่ตองใชเวลาในการศึกษาคนควาขอมูล วิเคราะห สังเคราะห และเขียนเรียบเรียง จึงควรมีการวางแผน การเขียน และมีวินัยในการเขียนเพื่อใหงานสำเร็จตามจุดมุงหมายและ ตามกำหนด หนังสือเทคนิคการสรุปความเปนประโยชนตอบุคคลในทุกสาขา อาชีพ เนื่องจากการสรุปความเปนทักษะที่สำคัญในการติดตอสื่อสารโดย
ดร.พรหมพิสิฐ พันธจันทร* * อาจารยประจำภาควิชาภาษาศาสตร คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร กลองเพลอาจกลาวไดวาเปนสัญลักษณทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญอยางห นึ่ง ของชาวพุทธอีสาน และสัญญาณกลองเพลก็ถือไดวาเปนสื่อสัญญาณทางพระพุทธศาสนา อันเปรียบเหมือนเสียงสวรรค เสียงแหงบุญทาน ตามความเชื่อของชาวพุทธอีสาน โดย เนื้อหาที่สำคัญของหนังสือเลมนี้จะประกอบไปดวย 1) แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับกลอง เพล สัญญาณกลองเพลและคุณคาทางจริยธรรม 2) คติความเชื่อของกลองเพลและ สัญญาณกลองเพลบนวิถีชุมชนอีสาน 3) คุณคาทางจริยธรรมทั้งภายใน (จิตใจ) และ ภายนอก (พฤติกรรมและชุมชน) อันเกิดจากสัญญาณกลองเพล 4) สถานการณและสภาพ ปญหาของกลองเพลและสัญญาณกลองเพลในปจจุบัน กรณีพื้นที่ศึกษาตำบลพังขวาง เมือง สกลนคร และ 5) รูปแบบ แนวทางในการอนุรักษ สืบทอดและเผยแพรวัฒนธรรมกลองเพล กรณีพื้นที่ศึกษาตำบลพังขวาง เมืองสกลนคร เหตุจูงใจในการเขียนหนังสือเลมนี้ หนังสือเลมนี้เปนผลผลิตที่ไดจากการทำโครงการวิจัยเรื่อง “สัญญาณกลองเพล : การสืบทอดและคุณคาทางจริยธรรมในวิถีชุมชนอีสาน” ซึ่งไดรับงบประมาณสนับสนุน การวิจัยภายใตทุนวิจัยที่มุงเปาตอบสนองความตองการในการพัฒนาปร ะเทศดาน มนุษยศาสตร ป 2560 พรอมทั้งไดรับงบประมาณสนับสนุนในการตีพิมพเผยแพรจาก สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยเหตุจูงใจที่ สำคัญในการเขียนหนังสือเลมนี้ก็เพื่อการอนุรักษสืบทอดภูมิปญญา คติความเชื่อและ วัฒนธรรมชุมชนทองถิ่นอีสานที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาไดคงดำรงอยูและเผยแพรออกไป อยางกวางขวาง กระบวนการเขียนหนังสือ สำหรับการกระบวนการเขียนหนังสือที่ไดจากการวิจัยที่สำคัญ คือ การออกแบบ โครงสรางของหนังสือในแตละบทควรใหมีเนื้อหาที่เหมาะสม โดยพยายาม ไมใหผูอาน มีความรูสึกวากำลังอานงานวิจัยใหไดมากที่สุด วัตถุประสงคในการเผยแพรหนังสือเลมนี้ หนังสือทางวิชาการเลมนี้ไมไดเขียนขึ้นเพื่อมุงหวังในเชิงพาณิชย แตมุงหวังเพื่อ เผยแพรภูมิปญญาและคติความเชื่อที่สำคัญของคนอีสานที่มีตอพระพุทธศาสนาผานสื่อ สัญญาณกลองเพล ซึ่งในปจจุบันอยูในภาวะที่เสี่ยงตอการสูญหายอันเ นื่องมาจากความ เจริญกาวหนาของเครื่องมือสื่อสารทางเทคโนโลยีสมัยใหมที่กำลังเขามาอยางไมหยุดยั้ง ฝากขอคิด/คำแนะนำ ในการเขียนหนังสือ การเขียนหนังสือที่ไดจากงานวิจัยสามารถเปนจุดเริ่มตนในการเขียนหนังสือ ประเภทอื่นไดตอไป กลองเพล : คติความเชื่อและคุณค่าทางจริยธรรม ที่ซ่อนเร้นอยู่บนวิถีชุมชนอีสาน สุวรรณภิงคาร 5
สุวรรณภิงคาร 7 อดีตจนกระทั่งปจจุบัน และเชื่อมโยงขอมูลในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก เฉียงใตและวัฒนธรรมตะวันตก โดยขอมูลในทุกสวนจะมีการตรวจสอบ และยืนยันขอมูลความถูกตองจากผูรู ผูเชี่ยวชาญเฉพาะศาสตรตาง ๆ เชน ดานดนตรี ดานประวัติศาสตร เปนตน จากนั้นจึงทำการเรียบเรียง นำเสนอขอมูลที่นาสนใจ จัดระบบขอมูลตางเนื้อหาตาง ๆ อยางเปน ลำดับขั้นตอน จนออกมาเปนหนังสือเลมนี้ วัตถุประสงคในการเผยแพรหนังสือเลมนี้ เพื่อขยายฐานองคความรูทางดนตรีที่ไดจากประวัติศาสตร ตอยอดองคความรูจากขอมูลที่มีอยูเดิมในวงวิชาการ และเปนแนวทาง การศึกษาดนตรีจากหลักฐานทางประวัติศาสตรที่วิเคราะหวิพากษดวย ระบบดนตรีวิทยา และเปนประโยชนตอวงวิชาการไทยและตางประเทศ ฝากขอคิด/คำแนะนำ ในการเขียนหนังสือ ดวยการเขียนหนังสือในลักษณะการวิเคราะหเชิงประวัติศาสตร นั้น อาจตองมีการตรวจสอบขอมูลรอบดานเพื่อใหขอมูลที่นำเสนอเปน ขอมูลที่ถูกตองสมบูรณและทันสมัย จึงเปนสิ่งหนึ่งที่ผูเขียนอยากจะฝาก เปนขอแนะนำสำหรับผูที่สนใจการเขียนหนังสือในแนวนี้ อีกทั้งการเขียน หนังสือใหมีความนาสนใจและเปนที่ตองการใหกับกลุมผูอานหรือศาสตร สาขาเฉพาะทาง ควรจะตองมีการศึกษาแนวทางการศึกษาและประเด็น ที่ยังขาดหรือเปนความตองการในศาสตรและสาขานั้น ๆ ตลอดจนการมี ความคิดริเริ่มสรางสรรค จะสงผลใหหนังสือนั้น นอกจากจะ ขยายหรือ ตอยอดองคความรูในศาสตรเฉพาะทางหรือสาขาที่เกี่ยวของแลวยังมี ความนาสนใจและเปนที่ตองการในวงกวางมากยิ่งขึ้นดวย ขอใหฝากผลงานทั้งปจจุบันและผลงานที่กำลังจะเกิดขึ้น ฝากติดตามผลงานหนังสือเรื่องเครื่องดนตรีสยามในจดหมาย เหตุชาวฝรั่งเศส สมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช พ.ศ. 2199-2231 รูปโฉมใหมในการจัดพิมพครั้งที่ 2 ซึ่งอยูระหวางการดำเนินการจัดพิมพ โดยสำนักพิมพมหาวิทยาลัยนเรศวร นอกจากนี้ยังมีผลงานวิจัยใน วัฒนธรรมดนตรีไทยที่ไดรับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยนเรศวร ดนตร พื้นบานในเขตภาคเหนือตอนลาง ทุนการวิจัยจากคณะมนุษยศาสตร ผลงานสรางสรรคทางดนตรี ทุนการวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแหงชาติ และสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ที่พรอมออกเผยแพรเร็ว ๆ นี้
* อาจารยประจำภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ทำนองซออู้ อาจารยประชากร ศรีสาคร* รายละเอียดของหนังสือที่เขียน กลาวถึงบทบาทในการแปลทำนองที่ปรากฏในดนตรีไทย แนวทางการแปลทำนองอยางเปนลำดับขั้นจนกระทั่งการแปรเปลี่ยน ของทำนองเปนทางซออูอยางซับซอน นอกจากนี้ผูเขียนยังไดรวมรวม ทางซออูในเพลงพื้นฐานที่สำคัญที่กลุมคนเครื่องสายควรรู เพื่อใหผูท สนใจจะรูจักซออูไดจดจำสำนวนกลอนซออูไวเปนแบบอยาง เพื่อนำไป ปรับใชใหเหมาะสมในบริบทอื่นตอไป และในสวนภาคผนวกไดมี QR Code Scan ให Scan เพื่อไดฟงทางซออูที่ปรากฏในหนังสือเลมนี้ครบทุกเพลง เหตุจูงใจในการเขียนหนังสือเลมนี้ ลีลาในการดำเนินทำนองซออูถือเปนความนาทึ่งที่มีเสนหอยาง ที่สุด ทั้งทำนองลวงหนา ลาหลัง และอิหลักอิเหลื่อ ในปจจุบันพบวายัง มีนักดนตรีไทยเลือดใหมที่ยังขาดความรูความเขาในอัตลักษณแหงทำนอง ซออู ตลอดจนแนวคิดในการผูกสำนวนกลอนซออู ผูเขียนจึงรวบรวม สำนวนกลอนโบราณ และสำนวนกลอนสมัยนิยม เพื่อเปนแนวทางใน การฝกผูกสำนวนกลอนเบื้อตนเพื่อใหรูความหมายโดยแทที่มาจากทาง ฆองจนกระทั่งแปรเปลี่ยนเปนทำนองซออูที่ซับซอนยิ่งขึ้น ชวยเลากระบวนการเขียนหนังสือสักเลม เริ่มจากการวางแนวคิดวาในหนังสือเลมนี้เราจะนำเสนอเรื่อง อะไร โดยหนังสือเลมนี้ผูเขียนคอนขางมีความเปนอิสระทางความคิดและ การใชภาษาในการเขียนเปนอยางมาก การวางบทแตละบทตองสอดคลอง กันอยางตอเนื่อง เนื้อหาน้ำหนักของแตละบทก็ตองสมดุลกัน หลังจากนั้น ผูเขียนจึงนำกระบวนการวางแผนงานนี้เสนอเพื่อขอความเห็นตอ รศ.พิชิต ชัยเสรี, รศ.ดร.ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน และรศ.ธรณัส หินออน ซึ่งอาจารย ทั้ง 3 ทาน ก็ไดใหคำแนะนำเพิ่มเติมอยางนาสนใจ จากนั้นผูเขียนก็ลงมือ จัดพิมพดวยตนเองทั้งหมด แลวจึงสงโรงพิมพในลำดับตอไป วัตถุประสงคในการเผยแพรหนังสือเลมนี้ เพื่อเผยแพรองคความรูทางดนตรีไทย วาดวยเรื่องแนวคิดใน การผูกสำนวนกลอนซออูอยางเปนลำดับขั้นตอผูที่สนใจในซออู และ รวบรวมสำนวนกลอนซออูอยางโบราณ ตลอดจนสำนวนกลอนซออูสมัย นิยม นอกจากนี้ผลงานการเขียนครั้งนี้ ผูเขียนยังใชสงเพื่อขอกำหนด ตำแหนงทางวิชาการในโอกาสตอไป ฝากขอคิด/คำแนะนำ ในการเขียนหนังสือ สิ่งหนึ่งที่จะทำใหผูเดินผานชั้นหนังสือแลวหันมาหยิบหนังสือของ เราขึ้นมาดู คือ การออกแบบปกหนังสือที่สวยงามสะดุดตา สิ่งนี้ผูที่จะเขียน หนังสือตองทำการบานเปนอยางดี และหนังสือทำนองซออูนี้ ผูเขียนก็รับ การชวยเหลือในการออกแบบปกหนังสือ และรูปภาพที่สวยงาม จาก นายศ ศิศ ภาณุประภา (ศิษยรักของผูเขียน) และผูชวยศาสตราจารย นายแพทย ยุทธพงศ พุทธรักษา โดยสวนตัวแลวเห็นวาการเขียนหนังสือไมใชเรื่องยากอยางที่คิด เพียงแควาเราตองวางกรอบของเนื้อหาแตละบทใหชัดเจน เขียนใหตรง ประเด็นตามกรอบความคิดที่วางไว (อยาจับดำถลำแดง) และสิ่งที่ผูเขียน เห็นวาสำคัญไมแพกับสิ่งอื่นใด คือ ความแรงบันดาล ความตั้งใจที่จะเขียน หนังสือเลมหนึ่งที่คิดวาจะเปนประโยชนตอวงการวิชาการใหสำเร็จ ทาย นี้ผูเขียนเชื่อวาการเขียนหนังสือไมใชเรื่องยากจนเกินความสามารถของ ผูที่ตั้งใจจะสรางงานวิชาการ ขอใหฝากผลงานทั้งปจจุบันและผลงานที่กำลังจะเกิดขึ้น ผลงานปจจุบัน 1. หนังสือทำนองซออู 2. เอกสารประกอบการสอน วิชา 201341 ทักษะดนตรีไทย (เครื่องสาย) 5 3. บทความวิจัยแนวคิดการผูกสำนวนกลอนซออูเพลงฉิ่งมุลง ชั้นเดียว กรณีศึกษารองศาสตราจารยพิชิต ชัยเสรี ผลงานที่กำลังจะเกิด 1. วิจัยการปรับวงเครื่องสายไทย กรณีศึกษารองศาสตราจารย ดร. ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน 2. การสรางแบบฝกเพื่อพัฒนาทักษะการบรรเลงเดี่ยวซออู 3. หนังสือการบรรเลงซออสามสายตามแนวทางของอาจารยเจริญใจ สุนทรวาทิน สุวรรณภิงคาร 8
Hall of Fame วทัญู ฟกทอง แนะนำตัวเอง วทัญู ฟกทอง หรือชื่อเลนวา โนต และมีชื่อพมาวา Htay Win เปนศิษยเกาสาขาวิชาภาษาพมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร เขาศึกษาในหลักสูตรพมา ศึกษา เมื่อป 2545 ถือวาเปนบัณฑิตที่จบหลักสูตรพมาศึกษาของ คณะมนุษยศาสตร รุนที่ 2 และจบปริญญาโทดานประวัติศาสตรเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ในระหวางศึกษาที่คณะมนุษยศาสตร ชั้นปที่ 4 ไดมีโอกาสเขาฝกทักษะดานสื่อสารมวลชนเพื่อผลิตเนื้อหาเกี่ยวกับ ประเทศพมาในหลากหลายมิติไมวาจะเปนเหตุการณปจจุบัน ผูคน ภาษา วัฒนธรรม ฯลฯ ในกองบรรณาธิการนิตยสารสาละวินโพสต จังหวัด เชียงใหม ในระหวางป 2552-2558 ไดเขาเปนนักวิจัยประจำโครงการวิจัย ในความสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2 โครงการ คือ โครงการ 100 เอกสารสำคัญเกี่ยวกับประวัติศาสตรไทย และ โครงการปริทรรศนประวัติศาสตรและวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก เฉียงใต สุวรรณภิงคาร 9 คัมภีร์บนเนื้อแดง
สุวรรณภิงคาร 12 1. ฐานครูและบุคลากรทางการศึกษา วิทยากรโดย ศิลปนแหงชาติ ไดแก ศาสตราจารยเดชา วราชุน และศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.ปรีชา เถาทอง 2. ฐานเทคนิคจิตรกรรม วิทยากรโดยศิลปนแหงชาติ ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.ปรีชา เถาทอง และนายธงชัย รักปทุม 3. เทคนิคสรางสรรคสื่อผสม วิทยากรโดย นายศราวุธ ดวงจำปา ศิลปนแหงชาติ และนายชิโนรส รุงสกุล ผูทรงคุณวุฒิ 4. ฐานศิลปะเทคนิคภาพพิมพ วิทยากรโดย ศิลปนแหงชาติ ไดแก นายปญญา วิจินธนสาร และนายตันติกร โนนกอง ผูทรงคุณวุฒิ 5. เทคนิคประติมากรรม วิทยากรโดย ศาสตราจารยเกียรติคุณวิชัย สิทธิรัตน ศิลปนแหงชาติ และนางพรพิไล สิทธิรัตน ผูทรงคุณวุฒิ 6. เทคนิคศิลปะผานเลนส วิทยากรโดย นายวรนันทน ชัชวาลทิพากร ศิลปนแหงชาติ และนางวรรณี ชัชวาลทิพากร ผูทรงคุณวุฒิ 7. ฐานศิลปะการสรางงานวรรณศิลป วิทยากรโดย ศิลปนแหงชาติ ไดแก นางชมัยภร บางคมบาง , นายจำลอง ฝงชลจิตร, นายสถาพร ศรีสัจจัง,นายไพวรินทร ขาวงาม ,ศาสตราจารยธัญญา สังขพันธานนท และนายกิตติศักดิ์ มีสมสืบ 8. ฐานศิลปะศิลปะการแสดง วิทยากรโดย ศิลปนแหงชาติ ไดแก นาย ประยงค ชื่นเย็น นายธนิสร ศรีกลิ่นดี ,นายวิรัช อยูถาวร , นายวินัย พันธุรักษ, นางรัจนา พวงประยงค, นายชนประคัลภ จันทรเรือง, วาที่ รอยตรีภัทรกฤษณ พุมพิพัฒน (ผูทรงคุณวุฒิ) และนางสาวพบจันทร ลีลาศาสตรสุนทร (ผูทรงคุณวุฒิ) 9. ฐานศิลปะสถาปตยกรรมศิลป วิทยากรโดย ศิลปนแหงชาติ นางสาว วนิดา พึ่งสุนทร ซึ่งไดรับเกียรติจากนายศักดิ์ชัย คุณานุวัฒนชัยเดช รองผูวา ราชการจังหวัดพิษณุโลก เปนประธานพิธีเปด โดยมี นายชาย นครชัย อธิบดีกรมสงเสริมวัฒนธรรม ศาสตราจารยพิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร นางสาวอัจฉราพร พงษฉวี รองอธิบดี กรมสงเสริมวัฒนธรรม ศิลปนแหงชาติ ผูทรงคุณวุฒิ หัวหนาสวน ราชการ คณาจารย นิสิต นักศึกษาและนักเรียนจากโรงเรียนในเขตภาค เหนือกวา 700 คน เขารวมพิธีเปด ณ ศูนยแสดงนิทรรศการและการ ประชุมนานาชาติ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก นอกจากนั้น ยังมีกิจกรรมภายในงานอีกมามาย อาทิ การจัด มหกรรมการแสดงพื้นบานสัญจร กิจกรรมประกอบดวย การแสดงของ เครือขายสมาคมศิลปพื้นบาน 9 สมาคม (ลิเก ขับซอ กลองลานนา โนรา หนังตะลุง งิ้ว กันตรึม หมอลำ เพลงพื้นบานภาคกลาง) การแสดงพื้นบาน จากนิสิตคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร กิจกรรมเปดบาน แหลงเรียนรูศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทยสัญจร และการออกราน จำหนายสินคาของมหาวิทยาลัยนเรศวร นักศึกษา และชุมชนในพื้นที่ เปนตน
สุวรรณภิงคาร 13 วันที่ 29 ตุลาคม 2563 รองศาสตราจารย ดร.ธัญญา สังขพัน ธานนท คณบดีคณะมนุษยศาสตร คณะผูบริหารและคณาจารย สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก พรอมดวย ดร.กวิชช ธรรมิสร ผูทรงคุณวุฒิพิเศษประจำคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย นเรศวร รวมใหการตอนรับ Assistant Professor Shen Yi ผูอำนวยการฝายจีน พรอมผูชวยผูอำนวยการและอาจารยสถาบัน ขงจื้อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ณ หองประชุม HU 2302 คณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อรวมประชุมหารือความ รวมมือในการจัดตั้งศูนยการเรียนรูภาษาและวัฒนธรรมจีน ณ คณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมีพันธกิจครอบคลุมดานการ เรียนรูภาษาและวัฒนธรรมจีน ทุนการศึกษานิสิตแลกเปลี่ยน และสื่อ การเรียนการสอนภาษาจีน เปนตน ในการนี้ ขอขอบพระคุณ ผูชวย ศาสตราจารยศุภกิจ ยิ้มสรวล คณะสถาปตยกรรมศาสตร ที่ไดกรุณา ประสานงานดานการสรางความรวมมือในครั้งนี้ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 รองศาสตราจารย ดร.ธัญญา สังขพัน ธานนท คณบดีคณะมนุษยศาสตร ใหเกียรติกลาวเปดโครงการอบรม เชิงปฏิบัติการ “การจัดทำผลการเรียนรูระดับหลักสูตร” จัดโดยทีม แผนงานและบริการการศึกษา เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยว กับการจัดทำผลการเรียนรูในระดับหลักสูตร เพื่อใหเปนไปตาม OBE (Outcome-based Education) และการเชื่อมโยงกับการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ตามแนวทาง ASEAN UNIVERSITY NETWORK QUALITY ASSURANCE, AUN-QA ซึ่ง สอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยไดรับเกียรติจาก รองศาสตราจารย ดร.อนามัย นาอุดม และ รองศาสตราจารย ดร.วัฒนา พัดเกตุ เปนวิทยากรใหความรู แกคณจารยคณะ มนุษยศาสตรที่เขารวมรับฟงกวา 80 ทาน ณ หองประชุม HU 1103 คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2563 ผูชวยศาสตราจารย ดร. ฐิติรัตน สุวรรณสม รองคณบดี ฝายบริหาร เปนผูแทนคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร รับมอบเงินสนับสนุน เพื่อการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต จากรองศาสตราจารย ดร.วรากรณ สามโกเศศ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 35,000 บาท เพื่อนำไปสนับสนุนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิตที่ เกี่ยวกับการเรียนรูประสบการณขามวัฒนธรรม หรือพหุวัฒนธรรมของกลุมประเทศ เอเชียตะวันออกเฉียงใต ของคณะมนุษยศาสตรตอไป ณ หองประชุมสุพรรณกัลยา 3 อาคารสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฐิติรัตน สุวรรณสม รองคณบดี ฝายบริหาร เปนผูแทนคณะมนุษยศาสตร รวมใหการตอนรับ H.E. Mr. Tshe wang Chophel Dorji, Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary of the
of the
of Bhutan พรอมกับคณะผูบริหาร มหาวิทยาลัยนเรศวร ในโอกาสไดอัญเชิญของขวัญพระราชทานวันคลายวันเกิด จาก สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร นัมเกล วังชุก พระมหากษัตริยแหงราช อาณาจักรภูฏาน รัชกาลที่ 5 แหงราชวงศวังชุก พระราชทานใหแก ศาสตราจารย พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร ใน ณ หองประชุม นเรศวร 1 อาคารสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร
Embassy
Kingdom

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.