จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์คณะ "สุวรรณภิงคารออนไลน์" ปีที่ 15 ฉบับที่ 5

Page 1

จดหมายขาวเพื่อการประชาสัมพันธ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลั ยนเรศวร »‚·Õè 15 ©ºÑº·Õè 5 à´×͹ÁԶعÒ¹ – ¡Ã¡®Ò¤Á 2563

“ มนุษยศาสตรกับงานวิจัย “

พัฒนาไทยสู�สากล


คณะกรรมการที่ปรึกษา คณบดี ค ณะมนุ ษ ยศาสตร รองคณบดี คณะมนุ ษ ยศาสตร ผู  ช ว ยคณบดี คณะกรรมการประจำคณะมนุษยศาสตร

บรรณาธิการ ผศ.ดร.ภาคภู ม ิ

สุขเจริญ

กองบรรณาธิการ ดร.สุ ว รรณี ดร.จุ ฑ ามาศ ดร.ศิ ริ น ุ ช ดร.สาทิ พ ย ดร.ณั ฐ พร อาจารย ธ นั ฏฐา อาจารย ว ราภรณ อาจารย ค ุ ณั ญ ญา อาจารย อ ุ บลวรรณ อาจารย ว รวิ ทย

ทองรอด บุญชู คูเจริญไพบูล ย เครือสูง เนิน ไขม ุก ข จันทรเต็ม ยูง หนู บัว พรหมมาตร โตอวยพร ทองเนื้อออน

ฝา ยศิลปกรรม นายณั ฐ วุ ฒ ิ

นลิน รัตนกุล

ฝา ยเลขานุการ นางสาวสุ ร ี ย  พ ร

ชุม แสง

ติ ด ต อสอบถามขอ มูลเพิ่ม เติม ไดที่ คณะมนุ ษ ยศาสตร มหาวิท ยาลัยนเรศวร 99 หมู  9 ต.ท า โพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 05-596-2035, 2055 0-5596-2000

บทบรรณาธิการ การเป ด โลกทั ศ น ก ารฝ ก สหกิ จ ศึ ก ษาของนิ ส ิ ต จากรั ้ ว มนุ ษ ยศาสตร เ สมื อ นเป น การเป ด บ า นให ส มาชิ ก ออกไปสู  ส ั ง คม โลกกวาง เตรียมความพรอมเบื้องตนจากการเปลี่ยนสภาวะจาก “ผูเรียน” ไปสู “คนทำงาน” ในสายงานตามแตที่ผูเรียนสนใจ เพื ่ อ แสดงศั ก ยภาพของตนเองออกมาในการฝ ก ปฏิ บ ั ต ิ ง าน อันเสมือนสังคมการทำงานจริง สุวรรณภิงคารฉบับนี้ จึงเปนฉบับที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ประสบการณฝกสหกิจศึกษา ของนิสิตในแตละสาขาวิชา อันนำ ความรู ประสบการณในรั้วมหาวิทยาลัยไปแสดงศักยภาพความเปน “มนุษยศาสตร” ในสังคมของการทำงาน หรือเรียกอีกนัยหนึ่งวา “เปนการเตรียมความพรอมหรือซอมจริง” กอนที่จะเขาสูสภาวะ การทำงานจริง ๆ สิ่งที่พึงสังเกตไดในประสบการณที่นิสิตนำมา ถายทอดในฉบับนี้ จะเห็นวา นิสิตคณะมนุษยศาสตรมีความพรอม และหลากหลายในตลาดงาน แมจะเปนเพียงแคการฝกปฏิบัติ สหกิจศึกษาซึ่งมีระยะเวลา 4 เดือน แตการฝกปฏิบัติในครั้งนี้ แสดงใหเห็นถึงขีดความสามารถ การยอมรับ และแหลงงาน ที่นิสิตสามารถปรับประยุกตใชความรูใหเทาทันกับภาวะการแขงขัน ในตลาดงานปจจุบัน ความหลากหลายขององคกร อาชีพและชิ้นงานอันเปน ผลงานเชิงประจักษนั้น มันคือความภาคภูมิใจของตั ว นิ สิ ต เอง สาขาวิ ช า คณะมนุ ษ ยสาสตร ตลอดจนสร า งชื ่ อ เสี ย งให ก ั บ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่มีนิสิตคุณภาพซึ่งไดรับการยอมรับจาก แหลงงานอยางกวางขวาง ป ด ท า ยด ว ยข า วประชาสั ม พั น ธ ใ นรั ้ ว ดอกแก ว ของเรา ในสภาวการณโควิด – 19 ที่ประชาคมโลกประสบปญหาอยู แมการ ระบาดของโรคระบาดที่สรางภาวะวิกฤตอยูในขณะนี้ แตโลกของการ ดำเนินชีวิตดวยการทำงาน ยอมตองกาวเดินตอไป ความอดทน มุ  ง มั ่ น และความสามารถยั ง รอคอยและท า ทายนิ ส ิ ต ผู  จ ะเข า สู  ตลาดงานตอไปเสมอ “ไมมีความสิ้นหวัง ทอแท ก็ยอมไมมีคำวา แพในโลกของงาน”

http://www.human.nu.ac.th humanadmission@nu.ac.th Faculty of Humanities NU

ผูชวยศาตราจารย ดร.ภาคภูมิ สุขเจริญ บรรณาธิการ


มนุษยศาสตร์กับงานวิจัย พัฒนาไทยสู�สากล บทสัมภาษณรองศาสตราจารย ดร. สุภาพร คงศิริรัตน 1. งานวิจัยที่มีความสนใจ งานวิจัยที่มีความสนใจตั้งแตที่ไดเขามาในมหาวิทยาลัย นเรศวรนั้น เนนไปทางเนื้อหาของมนุษยศาสตร มีความเกี่ยวของกับ ภาษาและวัฒนธรรม ไดมีการลงพื้นที่เพื่อเก็บขอมูล ทำใหไดรับ ความรู ความเปนจริงจากชุมชน นำมาปรับใชในการทำงานวิจัย จากประสบการณทำงานดังกลาวนอกจากจะไดรับความรูแลว ยังได ฝ ก ฝนการทำงานร ว มกั บ ชุ ม ชนอี ก ด ว ยเพราะเกิ ด ความเข า ใจว า ไมควรนำความรูที่มีไปใสชุมชน แตควรเขาไปรับความรูที่แทจริงจาก ชุมชนแทน จะกอเกิดเปนงานวิจัยที่ไดรับขอมูลที่จริง เพราะมองเห็น ดวยความเขาใจ โดยยังคงความความเขมแข็งของชุมชน นอกจากนี ้ ไ ด ม ี ก ารขยายขอบเขตในการศึ ก ษาเพิ ่ ม เติ ม เนื่องจากมีกระแสอาเซียนไดเขามา จากงานสำรวจกลุมประชาคม ในอาเซียนไดมีความตระหนักถึงวัฒนธรรม โลกทัศนของอาเซียน เปนอยางมาก จึงเริ่มหาทีมสนับสนุน เพื่อสรางโครงการงานวิจัย เนื่องจากมีพื้นฐานจากการเรียนในดานจารึก จึงเลือกศึกษาขอมูล ของประเทศลาว เพราะมีรากภาษาที่คลายคลึงกัน แมวาจะมีศัพท เฉพาะที่มีความแตกตางกันอยูบาง ไดจัดทำทั้งงานวิจัยที่เปนเอกสาร และลงพื้นที่ มีการสอบถามขอมูลที่เปนจริงทั้งหมด การทำงานวิจัย ในครั้งนี้ไดขยายความรูในดานของโลกทัศนตัวเอง เชื่อมโยงภาษา ควบคูไปกับวัฒนธรรมดวย หลังจากนั้นในชวง covid-19 ระบาด อยากทราบถึง รากฐานของสาธารณสุข จึงไปศึกษาในงานของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดเห็นถึงโลกทัศนของพระองคเกี่ยวกับ

ดานสาธารณสุข ทำใหทราบวาทานเปนผูวางรากฐานที่แนนหนา ทำใหสาธารณสุขมีความมั่นคง จากการความสนใจในดานนี้จึงไดนำ ตัวบทเอกสารมาศึกษา สรุปไดวาความสนใจในงานวิจัยนั้นสามารถ เกิดเปนความสนุก และไดรับความรู 2. มองเห็นปญหาความสำคัญ นำงานวิจัย มาตอยอดในสังคม อยางไร จากการทำโครงการวิจัย ไดพานิสิตในหองรียน ลงพื้นที่จริง ในชุมชนเพื่อการศึกษา นำความสนใจจากความสามารถ ประกอบ กับความตองการที่จะอนุรักษณวัตถุโบราณที่มีของชุมชนมาประกอบ กัน ความรูที่นิสิตไดรับนั้น คือ สามารถแยกประเภทของวรรณกรรม อาทิ โหรศาสตร สมุนไพร ศาสนา หรือเรียนการจัดเก็บสมุดขอย จากชาวบาน และชาวบานเองก็ไดรับความรูดานขอมูลทางเอกสาร โบราณ กอเกิดเปน “พิพิธภัณฑวัดทาตะเคียน” ที่ชาวบานมีความ ตั้งใจเพื่อจะอนุรักษณไว แมวาจะไมไดชวยในการจัดระบบทั้งหมด เพราะไมไดเรียนทางดานพิพิธภันณโดยตรง แตก็สามารถทำใหชุมชน ไดนำสิ่งของโบราณที่พบเจอ มาเก็บรักษาอนุรักษไดอยางมีคุณคา การทำงานวิจัยในครั้งนี้ เปนงานที่เหนื่อย แตคุมคามาก เพราะไดรับ ประโยชนทั้งสองฝาย นิสิตไดรับความสุขและความรูจากชาวบาน และชาวบานก็ไดรับประโยชนจากการไดศึกษา นอกจากนี้การชวยกอตั้งพิพิธภัณฑแลว ยังถายทอดความรู สูชุมชนอีกดานหนึ่งดวย คือ การสอนวิธีการอานอักษรโบราณ ที่มีทั้ง ภาษาไทย และภาษาขอม ในวันเสารอาทิตย โดยมีการเรียนทั้งหมด 6 สัปดาห ตั้งแตเวลา 9 โมงเชา ถึงบาย 3 โดยมีทั้งเรา และมีผูมี

3

สุวรรณภิงคาร


ความรูเปนผูชวยสอน เริ่มตนตั้งแตการอาน เขียน จนสามารถอานได จริง ในชวงสมัยที่มีการสอน มีนักวิชาการสาธารณสุขที่มีความสนใจ ในตำรายาไดเขามาเรียนดวย เพราะอยากใชความรูใหเปนประโยชน ในการศึกษาแพทยแผนไทย นับไดวาการสอนในครั้งนี้เปนการสราง ประโยชนเปนอยางยิ่ง แตเปนที่เสียดายที่ไมไดทำตอใหสำเร็จในชวง ที่ 3 ที่เปนการปฏิวัติทั้งหมด เพราะไดถูกตัดงบประมาณไป ทำใหงาน ตองลดลงตามลำดับขั้น แตการไดทำงานดังกลาวนั้นก็ถือวาไดสราง ประโยชนอยางมาก นิสิตไดนำความรูสูหองเรียน และไดรับความรู กลับมาเชนกัน ชุมชนเองก็ไดความรูเพิ่มขึ้น ทุกคนตางไดรับความสุข 3 . ฝากแนวคิดถึงนักวิจัยรุนใหม ตอไปในอนาคตขางหนาจะมีงานวิจัยที่มีขอบเขตกวางขึ้น มีการขามศาสตร และลงชุมชน ทำใหหูกวางตากวาง ควรเขาชุมชน เพื่อสรางเครือขาย อยาไดคิดวารูไปหมด อยาไดคิดวาเราเกง ยกตัวอยางเชน เทคโนโลยี นิสิต และเด็กในสมัยนี้เกงกวา เราเอง ยังตองเรียนรูพรอมนิสิต ชาวบานก็เชนกัน มีความเกงกวาเราที่มี ความเชี่ยวชาญ ตองรูจักเคารพ และใหเกียรติ เราตองเปดโลก เปดตัวเอง อยาคิดวาเราสามารถทำอะไรคนเดียว หรือสองคนได เราตองรวมมือกันเพื่อความอยูรอดในงานวิจัย ยิ่งทางสายมนุษย และสังคม นั้นเปนเรื่องของจิตใจและนามธรรม ดังนั้นยิ่งอยูในยุค เศรษฐกิจ มักจะคิดถึงมูลคามากกวาคุณคา เราจึงตองทำใหมูลคา เปนเรื่องที่สำคัญ ใหรวมมือกับชุมชน เฝาสังเกตสถาณการณในชุมชน สรางเครือขายแลวเราจะทำใหมีพื้นที่เล็ก ๆ ในการทำงาน และแมวา จะเปนพื้นที่เล็ก ๆ แตจะสามารถเปนจิ๊กซอว ที่กอเกิดเปนรูปรางที่ สวยงามได

สุวรรณภิงคาร

4


างสรรค์นวัตกรรมเครื่องดนตรี “ การสร้ และพัฒนารูปแบบกิจกรรมดนตรีให้กับ

กลุ่มผู้สูงอายุ

(ทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยนเรศวร)

บทสัมภาษณ ดร.วิชญ บุญรอด รายละเอียดงานเปนอยางไร จากประสบการณการทำวิจัยกับผูสูงอายุของผมไดพบวา การที่ผูสูงอายุเขามามีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชนและสังคม ถือเปนการเปดโอกาสใหผูสูงอายุไดมีการติดตอสื่อสารและพบปะ กับบุคคลอื่นในสังคม นอกจากเปนการสงเสริมใหผูสูงอายุไดใช เวลาวางใหเกิดประโยชนแลว ยังเปนการสงเสริมใหผูสูงอายุไดมี โอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูทางสังคม ดวยการรวมทำกิจกรรมกับบุคล อื่น ๆ รวมถึงยังชวยสงเสริมใหผูสูงอายุไดมีโอกาสถายทอดศักยภาพ

ที่มีอยูของตนเอง รวมทั้งการไดแลกเปลี่ยนประสบการณ ความรู ภูมิปญญา และทักษะรวมกับบุคคลอื่นดวย (วิชญ บุญรอด, 2017) แนวคิดในการสรางสรรคนวัตกรรมเครื่องดนตรี ผมได คำนึงถึงความเหมาะสมและตอบสนองตอกลุมผูสูงอายุเปนสำคัญ รวมถึ ง การได น ำผลการศึ ก ษาจากการงานวิ จ ั ย เดิ ม ในสมั ย เรี ย น ของผมมาตอยอด ที่พบวาการสรางสรรคนวัตกรรมเครื่องดนตรี สำหรับกลุมผูสูงอายุ ควรคำนึงถึงความเหมาะสมตอรางกายของ ผูสูงอายุ น้ำหนักที่เหมาะสมของเครื่องดนตรี มีวิธีการใชงานที่ไมยาก 5

สุวรรณภิงคาร


สามารถใชเวลาในการเรียนรู ทำความเขาใจ และสามารถปฏิบัติ ไดในระยะเวลาอันสั้น สิ่งสำคัญไปกวานั้น ผมไดเนนใหผูสูงอายุ เสริมสรางปฏิสัมพันธกับผูคนรอบขาง โดยทำการออกแบบกิจกรรม และบทเพลง ใหผูสูงอายุสามารถรวมบรรเลงดนตรีกันเปนกลุม โดยมีงานวิจัยสนับสนุนของ Grocke, Bloch และ Castle (2009, หนา 92) ที่ไดทำการศึกษารูปแบบของการใชกิจกรรมดนตรีบำบัด โดยการใหผูสูงอายุเขารวมกิจกรรมดนตรีกลุมและปฏิบัติรวมกัน ผลจากการศึกษาพบวา การที่ผูสูงอายุไดเขารวมกิจกรรมดนตรีบำบัด โดยใหปฏิบัติเครื่องดนตรีเองโดยตรง จะไดประสิทธิภาพที่ดีในเชิง บวกมากกว า การที ่ ใ ห ผ ู  เข า ร ว มนั ่ ง ฟ ง เพลงเพี ย งอย า งเดี ย ว ซึ ่ ง นอกจากนั ้ น ดนตรี จ ะช ว ยให ผ ู  ส ู ง อายุ ม ี ป ฏิ ส ั ม พั น ธ ก ั น ในกลุ  ม มากขึ้น ชวยเพิ่มคุณคาในตนเอง และยังใหผูสูงอายุมีความสามารถ ในการเลนดนตรี รูสึกภูมิใจในตนเอง และสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี ในคุณลักษณะของนวัตกรรมเครื่องดนตรีที่ผมไดทำการ พัฒนาขึ้น มีจุดเดนในเรื่องของน้ำหนักที่เบา สะดวกในการพกพา ใชงานงาย และวัสดุที่ใชในการประกอบสวนใหญจะเปนวัสดุจาก ธรรมชาติ การจัดวางของตำแหนงตัวโนตที่ไมมีความซับซอน และใช เสียงที่เปนมาตรฐานสากลซึ่งสามารถนำไปใชบรรเลงรวมกับเครื่อง ดนตรีประเภทอื่นๆ ไดหลากหลายชนิด ไมวาจะเปนเครื่องดนตรี ตะวันตกหรือเครื่องดนตรีไทย รวมถึงสีสันของเครื่องดนตรีที่ดูเปน ธรรมชาติ นาจับตอง สะอาดตา ซึ่งการสรางเครื่องดนตรีตองคำนึงถึง ความนาสนใจ เขาถึงงาย และสามารถนำไปใชงานไดจริง สามารถใช เพื่อเสริมสรางสมาธิ ความทรงจำ รวมถึงยังสงเสริมในดานการ ทำงานเปนกลุม และเสริมสรางปฏิสัมพันธระหวางกันและกันในกลุม ผูเลนได สวนในการพัฒนากิจกรรมผมไดแนวคิดจากการลงพื้นที่เพื่อ ศึกษาบริบท วิถีชีวิต และความตองการทางดานดนตรีของกลุม ผูสูงอายุในพื้นที่ตางๆ และพบวาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของผูสูงอายุ ในสังคมแตละทองถิ่นนั้นมีความแตกตางกันออกไป ซึ่งในการเลือก

สุวรรณภิงคาร

6

ใชกิจกรรมการละเลนหรือบทเพลง ควรคำนึงถึงบริบท ความคุนเคย และประสบการณของผูคนในพื้นที่นั้นๆ ดังนั้น ผมจึงไดเลือกใช กิจกรรมที่เหมาะสมกับกลุมผูสูงอายุ ดวยการละเลนไทย และ บทเพลงพื้นบาน ไดมีความสัมพันธในดานอารมณ ความรูสึก และอยู คูกับกลุมผูสูงอายุมายาวนาน จึงมีความเหมาะสมในการนำมาจัด เปนกิจกรรมสันทนาการแกวัยสูงอายุเพื่อสรางความดึงดูด และความ นาสนใจใหกับกลุมผูสูงอายุได ซึ่งนอกจากการไดรับประโยชนในดาน จิตใจและอารมณแลว การละเลนและบทเพลงพื้นบานยังมี คุณประโยชนในการเสริมสรางการบริหารกลามเนื้อจากการเคลื่อน ไหวประกอบจังหวะเพลง หรือกิจกรรมเพลงฉอยที่สามารถสงเสริม ทักษะในดานความจำ ความคิดสรางสรรคในการแตงคำรอง ไดอีกดวย อาจารยมองเห็นปญหา ความสำคัญอยางไร ถึงนำมา ทำเปนโครงการวิจัยเชิงบริการวิชาการ และสามารถใหบริการ สังคมไดอยางไรบาง ผูสูงอายุ ถือวาเปนประชากรในกลุมเปราะบาง ซึ่งเปนกลุม ที ่ ม ี ข  อ จำกั ด ของความสามารถในการกำหนดชี ว ิ ต ของตนเอง ทั้งในสภาพของรางกาย อวัยวะที่เสื่อมถอยลงตามกาลเวลาอยาง หลีกเลี่ยงไมได เชน ความวองไวในการเคลื่อนยาย และการโตตอบ กับสิ่งเราที่ทำไดชาลง หรือกระดูกที่มีความเปราะบางตามสภาพวัย รวมถึงภาวะเสี่ยงในการเจ็บปวยจากโรคแทรกซอนหรือโรคเรื้อรัง ตางๆ ไดงายขึ้น สงผลตอความยากลำบากในการดำรงชีวิตของ ผูสูงอายุ นอกจากนี้ยังมีปญหาอื่นๆ ที่มีผลกระทบตอจิตใจของ ผูสูงอายุ เชน ปญหาของสภาพครอบครัวที่ไดเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะสังคมเมืองที่ไดมีการเปลี่ยนแปลงจากครอบครัวขยาย ไปเปนครอบครัวเดี่ยว โดยในครอบครัวจะมีเพียง พอ แม และลูก ซึ่งบางครอบครัวไดปลอยทิ้งผูส ูงอายุไวเพียงลำพั ง ในภู ม ิ ลำเนา


บานเกิด โดยที่ตัวผูสูงอายุเองจะมีความรูสึกเกรงอกเกรงใจครอบครัว ของบุตรหลาน และมักจะบอกวาตนเองสามารถอยูไดโดยลำพัง สงผลใหผูสูงอายุสวนใหญตองอยูเพียงลำพัง บางกรณีจะอยูกัน สองคนตายาย หรืออาจจะมีภาระเพิ่มในการเลี้ยงดูบุตรหลาน ขาดคนดูแล เกิดความโดดเดี่ยว ภาวะซึมเศรา และมีความรูสึกวา ตนเองไรคุณคา ซึ่งจากปญหาดังกลาว ควรจะมีแนวทาง รูปแบบ หรือกิจกรรมที่ชวยสงเสริมและสนับสนุนใหกลุมของผูสูงอายุไดมี โอกาสออกมาพบปะ แลกเปลี่ยนประสบการณชีวิต องคความรู ภูมิปญญา หรือไดทำการแสดงศักยภาพของตนเอง เพื่อเปนการ เสริมสรางความปฏิสัมพันธรวมกับผูอื่น และสรางสุขภาวะที่ดีใหกับ กลุมผูสูงอายุ ดนตรี มีศักยภาพตอการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ และอารมณของมนุษยได (Dritsakis et al., 2017, p.279) สามารถทำใหมนุษยเขาใจรูปแบบในการดำเนินชีวิต และการพัฒนา บุคลิกภาพที่โดดเดนของตัวเอง และคงไวซึ่งสุขภาพทางอารมณที่ดี ดนตรีสงผลทางบวกในดานการเพิ่มคุณคาในตนเอง มีความสามารถ มีความมั่นใจ และหลุดพนจากความรูสึกวาเหวได ดนตรียังชวยให เรียนรูถึงการฝกความอดทน รูจักควบคุมอารมณที่เหมาะสม และ รูจักการปลดปลอยและระบายอารมณ เพื่อชวยลดพฤติกรรมที่ไมพึง ประสงคได (Kaufmann, Montross-Thomas and Griser, 2018, p.274) และยังมีงานวิจัยของ Seo, Lisa และ Tiffany (2016, หนา 362) ไดพบวา นอกจากดนตรีจะถูกนำมาใชในการรักษาแลว ดนตรี ยังสามารถชวยผอนคลาย ลดภาวะวิตกกังวล ลดความเครียดตอ มนุษยไดเปนอยางดี และดนตรีเปนคลื่นเสียงอยางหนึ่งที่มีอิทธิพล ตอรางกายและจิตใจของมนุษย ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของ ตัวบุคคลไดมากขึ้น โดยดนตรีจะเปลี่ยนอารมณและความรูสึกนึกคิด ที่สมองสวนคอรติคัล (Cortical) ที่มีผลเชิงบวกตอบุคคล ในดาน ความคิด แรงจูงใจ ของมนุษย (Wall and Duffy, 2010, p.110) และยังชวยในเรื่องการฟนฟูความทรงจำในผูสูงอายุที่มีภาวะสมอง

เสื่อมอีกดวย (Baird and Thompson, 2018, p.831) อยากใหอาจารยฝากขอคิดในการสรางสรรคงานวิจัยเชิง บริการวิชาการที่ตอบโจทยความตองการของสังคมและชุมชน เพื่อเปนแนวทางในการสรางสรรคผลงานตอไป การจะทำการศึ ก ษาหรื อ วิ จ ั ย ของผมในแต ล ะชิ ้ น นั ้ น ผมตองถามตัวเองกอนวา กลุมเปาหมายที่เราจะนำงานของเราไปให พวกเขาไดใชคือใคร กลุมไหน ที่ไหน และจะมีวิธีการใชอยางไร ใหเกิดประโยชนตอกลุมเปาหมายเหลานั้นมากที่สุด เราไมไดมองวา ตองเปนกลุมใหญหรือเล็ก เพราะมองวาเราพัฒนาหรือสรางสรรค ผลิตผลเพื่อใหคนเพียง 1 คน สามารถใชงานแลวเกิดประโยชน ในเชิงบวกและสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของเขาได ก็ถือไดวาเรา ประสบผลสำเร็จแลว ในความเห็นสวนตัวของผม คิดวาอันที่จริงแลว “ดนตรี กับการบริการวิชาการ” เปนของคูกัน เราสรางสรรคผลงานดนตรี โดยการใชการผสมผสานขององคประกอบดนตรีและทฤษฎีดนตรี อันลุมลึก จนกลั่นออกมาเปน บทเพลงสมัยนิยม บทเพลงสรางสรรค ไมวาจะเปนบทเพลงบรรเลง หรือบทเพลงรอง รวมถึงการสรางสรรค นวัตกรรมตางๆ รูปแบบการเรียนการสอนทางดานดนตรี หรือสื่อ การเรียนการสอนทางดานดนตรี สิ่งเหลานี้เราตางตั้งใจทำการศึกษา วิจัย และสรางสรรคขึ้นมามีวัตถุประสงคเพื่อตองการเผยแพรผลงาน ของเราใหเปนที่ประจักษสูสังคมและชุมชนอยูแลว ดังนั้นผมจึง มองวาดนตรีมันเปนศาสตรที่บริการสังคมและชุมชนอยูในตัวเรา ไมไดสรางผลงานเพลงเพื่อมาฟงลิ้มรสคนเดียว และไมไดสรางสรรค สื่อหรือนวัตกรรมตางๆ เพื่อเอาไวบูชาบนหิ้งตลอดไป หมายเหตุ : เนื้อหาในบางสวน กำลังอยูในกระบวนการเผยแพรผลงานวิจัยใน วารสารวิชาการ

7

สุวรรณภิงคาร


บทบาทของรัฐและนโยบายความมั่นคง ในการพัฒนาพื้นที่และส่งเสริมการค้า ข้ามพรมแดนไทย – เมียนมา : กรณีศึกษา จุดผ�อนปรนการค�า บ�านแม�สามแลบ และบ�านเสาหิน

จังหวัดแม�ฮ�องสอน บทสัมภาษณ อ.กฤษณะ โชติสุทธิ์

รายละเอียดของวิจัย ชื่อโครงการ บทบาทของรัฐและนโยบายความมั่นคงในการ พัฒนาพื้นที่และสงเสริมการคาขามพรมแดนไทย – เมียนมา : กรณี ศึกษาจุดผอนปรนการคาบานแมสามแลบและบานเสาหิน จังหวัด แมฮองสอน งานวิจัยภายใตการสนับสนุนทุนวิจัยโดยสำนักงาน คณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และ สำนักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ทำไมถึงเลือกทำวิจัยชิ้นนี้ ผูวิจัยมีความสนใจประเด็นการวิจัยที่เกี่ยวของกับชายแดน ประวัติศาสตร เศรษฐกิจ การเมืองพมาเปนทุนเดิม ปจจุบัน สถานการณการเมืองในพมามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาจนสงผล ตอประเทศไทยโดยตรง และงานศึกษาชายแดนที่มองจากการ เปลี่ยนแปลงภายในพมายังมีอยูไมมากนัก ประกอบกับผูวิจัยไดสอน ในหลักสูตรพมาศึกษา ผูวิจัยจึงเลือกทำวิจัยในประเด็นดังกลาว เพื่องานชิ้นนี้จะไดสนทนากับงานวิจัยที่ผานมา เปนประโยชนในเชิง นโยบาย และพัฒนาองคความรูเพื่อสงมอบใหนิสิตตอยอดตอไป

สุวรรณภิงคาร

8


ขอคนพบของงานวิจัยชิ้นนี้ - จากการศึกษา พื้นที่ที่ศึกษามีลักษณะอยางไร จากการศึกษาพบวา จุดผอนปรนเพื่อการคาบานเสาหิน ตั้งอยูตรงขามพื้นที่รัฐกะยา ซึ่งถูกควบคุมโดยกองกำลังดาวแดง (Karenni National People's Liberation Front) ตอมากองกำลัง บางสวนไดเขามาทำหนาที่ในกองกำลังพิทักษชายแดน (BGF) ใหแก กองทัพเมียนมา ดานจุดผอนปรนเพื่อการคาบานแมสามแลบ ตั้งอยู ตรงขามพื้นที่ของกลุมกะเหรี่ยงกองพลนอยที่ 5 (KNLA - 5) ทำให พื้นที่ดังกลาวรัฐบาลไมสามารถเขามาจัดการได ปจจุบันจุดผอนปรน เพื่อการคาทั้งสองแหงมีศักยภาพทางการคาชายแดนในฐานะของ การคาชายแดนกึ่งทางการ เนื่องจากพื้นที่ของกลุมกองกำลังติดอาวุธ ไดทำหนาที่ในการเปลี่ยนสถานะสินคาตองหามในการนำเขาและ สงออกตามมาตรการกระทรวงเศรษฐกิจและการคาของประเทศ เมียนมาใหกลายเปนสินคาที่มีความสามารถในการเคลื่อนยายไปยัง จุดกระจายสินคาในจุดอื่นๆ ภายในประเทศเมียนมา โดยไมเปน สินคาตองหามของมาตรการการคาของไทยจนปริมาณและมูลคา ของกิจกรรมการคาชายแดนไดสรางแรงดึงดูดใหผูประกอบการ ผูคน และชุมชนไดเขามามีสวนรวมกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวของกับ การคาขามแดน - ปจจุบันสภาพการคาชายแดนในจุดดังกลาวเปนอยางไรบาง มีการ เปลี่ยนแปลงอยางไร การเปลี่ยนแปลงในปจจุบันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทาง การเมืองภายในเมียนมาหลังจากพรรค NLD เขามาเปนแกนนำ ของรัฐบาล การพัฒนาโครงสรางขั้นพื้นฐานที่สงเสริมการคา ทั้งเรื่อง ของการพัฒนาถนนหนทาง การผอนปรนมาตรการนำเขาและ สงออกสินคา การตั้งศุลกากรในพื้นที่เมืองแมแจะ ทำใหสินคา ต อ งห า มในอดี ต ถู ก ปลดล อ คจนไม ม ี ค วามจำเป น ในการใช พ ื ้ น ที ่ กลุมกองกำลังในการเคลื่อนยายสินคา นอกจากนี้การแพรระบาด ของไวรัสโควิด 19 ยังทำใหจุดผอนปรนทุกจุดถูกปดตัวลงจนผูคน ผูประกอบการ และชุมชนที่เขามาอยูในกิจกรรมทางดานเศรษฐกิจ การคาชายแดนไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดของโรคดังกลาว

- ในอนาคตทิศทางการคาชายแดนขึ้นอยูกับปจจัยอะไร ทิศทางที่สำคัญของการดำรงอยูของจุดผอนปรนการคา ทั้งสองจุดยังคงผูกติดกับการเมืองพมาอยางแยกไมออก ดังนั้นการ เลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นในปนี้ กระบวนการเจรจาสันติภาพของเมียนมา ทิศทางการดำเนินนโยบายในการสงเสริมการคาชายแดนของรัฐบาล พมา การพัฒนาความมั่งคงของกองทัพพมา และศักยภาพของกอง กำลังติดอาวุธ จะเปนตัวแปรที่สำคัญตอการดำรงอยูของจุดผอนปรน เพื่อการคาทั้งสองแหงโดยตรง และยังสงผลใหผูคน ผูประกอบการ และชุมชนฝงประเทศไทยที่เขามาอยูในกิจกรรม ทางดานเศรษฐกิจ การคาชายแดนอาจไดรับผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงทาง การเมืองภายในพมา การนำผลวิจัยไปใชประโยชน วิจัยชิ้นนี้มีผูมีสวนไดสวนเสียจากวิจัยที่สำคัญ 2 หนวยงาน ไดแก สภาความมั่นคงแหงชาติ และจังหวัดแมฮองสอน ที่สามารถ นำวิ จ ั ย ไปใช ใ นการปรั บ เปลี ่ ย นนโยบายพั ฒ นาจุ ด ผ อ นปรนเพื ่ อ ส ง เสริ ม การค า และพั ฒ นาความมั ่ น คงบนพื ้ น ที ่ ช ายแดนอย า ง สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงดุลอำนาจภายในประเทศเมียนมา และสอดรับกับความตองการของผูประกอบการ ผูคน และชุมชน ที่สัมพันธกับจุดผอนปรน รวมถึงสามารถนำผลวิจัยไปประยุกตใช กับการพัฒนาจุดผอนปรนเพื่อการคาในชายแดนจุดอื่นๆ อยากใหอาจารยฝากขอคิดในการสรางสรรคงานวิจัยที่ตอบโจทย ความตองการของสังคมและชุมชน เพื่อเปนแนวทางในการ สรางสรรคผลงานตอไป ในโลกยุคปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางดานตางๆ ที่รวดเร็ว เปนอยางมาก สงผลใหสงั คมและชุมชนตองมีการปรับเปลีย่ นใหเทาทัน กับการเปลี่ยนแปลงของโลกดังนั้นงานวิจัยจึงเปนสวนหนึ่งในการ สรางคำอธิบายในการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และสามารถสรางองค ความรูใหภาคสวนตางๆ สามารถหยิบใชประโยชนจากงานวิจัยได อยางทันทวงที และผูวิจัยสามารถนำผลการวิจัยมาประยุกตใชกับ การเรี ย นการสอนอย า งสอดคล อ งกั บ การเปลี ่ ย นแปลงที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ไดอีกดวย

9

สุวรรณภิงคาร


A Comparative Analysis of Colour Idiomsin Vietnamese, Thai and Indonesian Languages การเปรียบเทียบสำนวน “สี”ในภาษาเวียดนาม ไทยและอินโดนีเซีย บทสัมภาษณ อ.ธนัฏฐา จันทรเต็ม เหตุผลในการเลือกทำงานวิจัยชิ้นนี้ เหตุผลที่เลือกทำวิจัยเกี่ยวกับสำนวน เนื่องจากสำนวน เปนเครื่องมือภาษาที่บงบอกถึงบางวัฒนธรรมและนำมาใชในการ สื่อสารทั้งในชีวิตประจำวันและในภาษาเขียน ความรูสึกนึกคิดแตละ สำนวนเกิดจากสิ่งที่มีอยูแลวในสิ่งที่ผูคนมองเห็นอยูทุกวันและนำ มาแต ง ขึ ้ น ตามความคิ ด และแสดงออกมาให ม ี ค วามหมายเฉพาะ เจาะจงและแตละภาษามีเอกลักษณเฉพาะของตนทำใหอาจจะเกิด ปญหาการสื่อสารกันระหวางภาษา เชน สำนวน “ตาเขียว” ในภาษา ไทย หมายถึงอาการโกรธจัด และเมื่อเทียบกับภาษาอินโดนีเซีย หมายถึง คนที่เห็นแกเงิน และในภาษาเวียดนามมีสองความหมาย เนื่องจากเวียดนามใชไมแยกคำของสีเขียว สีน้ำเงิน และสีฟา ตาเขียว หมายถึง ตาสวยและตาฟา หมายถึงชาวตะวันตก และเนื่องจาก ประเทศเราตองทำการติดตอสื่อสารกันในหลายดาน กอนหนานี้ ไดเคยทำวิจัยเกี่ยวกับสำนวนที่มีคำวา “ฝน” ที่เปรียบเทียบระหวาง ภาษาอินโดนีเซียและภาษาเวียดนาม และวิจัยเรื่องสำนวนที่มีคำศัพท เกี่ยวกับรางกายระหวางภาษาไทยและภาษาอินโดนีเซีย จากงาน วิ จ ั ย ที ่ ผ  า นมาทำให เ ห็ น ความแตกต า งในการใช ส ำนวนในหลาย รูปแบบ ดังนั้นการศึกษาสำนวนและภาษาเปนการศึกษาเครื่องมือ อันจะสงเสริมการติดตอสื่อสารใหเขาใจตรงกันในประเทศเพื่อนบาน ของเรา

สุวรรณภิงคาร

10

อยากใหอาจารยฝากขอคิดในการสรางสรรคงานวิจัยที่ตอบโจทย ความตองการของสังคมและชุมชน เนื่องจากงานวิจัยชิ้นนี้มีลักษณะคือเนนขอมูลเกี่ยวกับ การใชภาษา ในสถานการณปจจุบันอัตราของประเทศเพื่อนบาน เรามาเรี ย นภาษาไทยกั น มี จ ำนวนมากกว า ที ่ เราไปเรี ย นรู  ภ าษา ประเทศเพื่อนบาน และเขาเขาใจและรูขอมูลเราเยอะมาก ยิ่งนับวัน โลกออนไลนยิ่งเขามามีบทบาทแทบทุกสวนในชีวิตประจำวันทำให การเรียนรูเรื่องราวและภาษาไมใชเรื่องยากอีกตอไป การเขาใจ วัฒนธรรมจะทำใหเกิดผลิตภัณฑใหมๆ ทั้งสินคารูปธรรมและ นามธรรม ที่จะสามารถสงออกไปประเทศเพื่อนบานไดในจำนวน มหาศาล หากเราไมสนใจเรียนรูภาษาและขอมูลของเพื่อนบานเราไว ในอนาคตจะมีตางชาติเขาใจภาษาไทยมากขึ้น ในขณะที่เราแทบจะ ไมรูอะไรเขาเลย ณ ถึงจุดนั้นเราจะถึงจุดเสียเปรียบ และยาก ที่จะไลตามทัน ดังนั้นงานวิจัยสงเสริมการเรียนรูภาษาที่สามในแถบ อาเซียนบานเราจึงยังคงสำคัญเพื่อสงเสริมศักยภาพในการทำงาน ในอนาคต แหลงขอมูลการตีพิมพบทความวิจัย 1. https://publications.inschool.id/index.php/all/article/view/287 2. http://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/view/Vol-13-No-4-2020-38-46/1793 3. http://huso.psru.ac.th/2017/AksaraPibul/download/Aksara%20Pibul%20Journal1.pdf


Hall of Fame

11

สุวรรณภิงคาร


สุวรรณภิงคาร

12


13

สุวรรณภิงคาร



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.