ทดสอบ QRCODE เพื่อรับชม เนือ้ หาสาระจากเว็บไซต์
QRCODE
สื่อสร้างสรรค์ น�ำสังคม ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
20
เด็กพิเศษขาดสิทธิ เข้าถึงการศึกษา
ผ่ า คลอด-ไส้ ต่ิ งไม่ ไ ด้ ไทยมีรพช.
แพทยรพช. 1 คนรักษาผูปวย
พลัง สี ข าว
ทั่วประเทศ 798 แหง
8,467 คน
ร่วมสร้างเกราะ
ป้องกัน ภัยค้ามนุษย์
หมายเหตุ* สัดสวนแพทย ตอผูปวยตามมาตรฐาน คือ 1:1,500
สามารถให
ยาละลายลิ่มเลือด
14 19 2ปี
สุขุมพันธุ์ เลนปั่ น‘ไม่คืบ’
ภาษาอาเซี ยนไทย
ป่ วยหนัก
นั ก วิ ช าการชี้ เรี ยนตามกระแส มหาวิทยาลัยชั้ นน�ำไทยเพียง
2 แห่ ง สอนภาษาอาเซี ยน อย่างครอบคลุม นักวิชาการชี้ นักศึกษาไทยเรียนตามกระแส ไร้ความเข้าใจสังคมวัฒนธรรม เพื่อนบ้าน ด้านบัณฑิตอาเซี ยน สนใจและรับรูภ้ าษาไทยเพิ่มขึน้ แ ต่ ภ า ค ธุ ร กิ จ ยั ง ยื น ยั น ภาษาอั ง กฤษส� ำ คั ญ ที่ สุ ดใน การท�ำงาน
อ่านต่อหน้า 25
LOOKSILP FOR PRINT.indd 1
รพ.ชุ มชนพัฒนาไม่ถึงเกณฑ์
แพทยเฉพาะทาง สาขาที่ขาดแคลน + สูติกรรม + ศัลยกรรม + อายุรกรรม + กุมารเวช + ศัลยกรรมกระดูก
ขาด!
แพทย พยาบาล สหสาขาวิชาชีพ และครุภัณฑ
ดูแล รักษา ปองกัน
ฟนฟู
?
ไดรอยละ
57.6
และตั้งเปาเปนรอยละ 75 ภายในป 59
ผูปวย วิกฤติ และ โรคเฉพาะทาง
ยังตองสงตอไปรักษายังรพ.ขนาดใหญกวา
ขอมูลจากเอกสารนโยบายบริการสุขภาพ (Service Plan) และเอกสารขอมูลบุคลากร กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลชุมชนศักยภาพไม่ถึงฝั่ ง คนไข้รอคิวนานครึ่งวัน ผ่าไส้ต่งิ -ผ่าคลอดไม่ได้ต้องส่งต่อโรงพยาบาลศูนย์ ผู ้ป่วยแบกรับความเสี่ยงในการเคลื่อนย้าย สาธารณสุขรับ ขาดบุ คลากร-งบประมาณ แต่ยืนยันมุ่งพัฒนาระบบให้ เขตสุขภาพทั่วประเทศเข้มแข็ง หนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์รายงานว่า โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) ทัว่ ประเทศกว่า 798 แห่ง ใน 12 เขตบริการสุขภาพทีด่ แู ลสุขภาพประชาชนประมาณ 60 ล้ านคน มีแพทย์เพียง 7,086 คน คิดเป็ นสัดส่วนแพทย์ 1 คนต่อผู้ป่วย 8,467 คน ห่างเกณฑ์มาตรฐาน 5 เท่า หรือ 1 ต่อ 1,500 คน เป็ นเหตุให้ คนไข้ ต้ องรอคิวนาน บางรายอาการหนักเกินขีดความสามารถของ รพช.ต้ องส่งตัวไปรักษาต่อทีโ่ รงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาลประจ�ำประจังหวัด อ่านต่อหน้า 2
ไทยรณรงค์ลม้ เหลว! คนกรุงเฉียดล้าน ขยะถุงพลาสติกเพิม่ ต่อเนือ่ ง เสี่ ย ง ลิ ฟ ต์ ต ก ไทยลดใช้ ถุ ง พลาสติ กไม่ ถึ ง ฝั่ ง ข ย ะ พ ล า ส ติ ก เ พิ่ ม ต่ อ เ นื่ อ ง รอบ 5 ปี หลัง กรมควบคุมมลพิษ ชี้ แม้ ปี ล่ า สุ ด เหมื อ นลดเยอะแต่ ชี้ วั ดไม่ ไ ด้ พบอุ ตสาหกรรม พ ล า ส ติ กไ ท ย โ ตไ ม่ ห ยุ ด ส ว น ทางการรณรงค์ ผู ้ประกอบการนักวิชาการชี้ ไร้กม.บีบผู ้ประกอบ ก า ร ล ด ป ริ ม า ณ ผ ลิ ต แ ถ ม รั ฐ ไม่หนุนถุงไบโอ
คนกรุ งเฉียดล้านเสี่ยงภัยลิฟต์ตก รัฐตรวจ แบบขอไปที ปี หนึ่งได้แค่ 0.002% จากลิฟต์ นับ 5 หมื่นตัวในกทม. กรมโยธาโบ้ยเป็นหน้าที่ เอกชนเจ้าของตึก ผู ้เชี่ ยวชาญชี้ กม.ไม่ชัดเจน ขาดการบังคับใช้ท่ีจริงจังอาจต้องรอศพราย ต่อไป หน่วยงานที่เกี่ยวข้องถึงจะตื่นตัวใส่ใจ ปั ญหาเหล่านี้
อ่านต่อหน้า 27
อ่านต่อหน้า 26
25/1/2559 10:37:46
ข่าวเด่น
2 ต่อจากหน้า 1 : โรงพยาบาลชุมชน ด้ านรายงานแผนพัฒนาระบบบริ การ สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 ระบุ ปั ญหาระหว่างด�ำเนินนโยบายว่า โรงพยาบาล ชุม ชนยัง คงขาดแคลนทรั พ ยากรที่ ส� ำ คัญ ได้ แก่ บุคลากร เช่น แพทย์ผ้ เู ชีย่ วชาญ รวมถึง พยาบาล และเครื่ อ งมื อ แพทย์ ที่ จ� ำ เป็ น ในการให้ บริ การ ตลอดจนการพั ฒ นา โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ให้ เป็ นแม่ข่าย ของโรงพยาบาลชุ ม ชนขนาดรองลงมา ยังมีไม่ครบทุกเขตบริ การสุขภาพ ผู้สื่ อ ข่ า วสุ่ม ลงพื น้ ที่ ต รวจสอบ รพช. 3 แห่ง ในจังหวัดพิจิตร 2 แห่ง และจังหวัด เพชรบุรี 1 แห่ง พบว่า โรงพยาบาลดงเจริ ญ จังหวัดพิจิตร ขนาด 10 เตียง มีแพทย์ประจ�ำ 2 คน มี จ� ำ นวนประชากรในพื น้ ที่ ก ว่ า 20,000 คน แพทย์ ต้ อ งรั ก ษาผู้ป่ วยเฉลี่ ย 60 รายต่อวัน ขณะที่โรงพยาบาลวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร ขนาด 30 เตียง มีแพทย์ประจ�ำ 4 คนต่อประชากร 30,000 คน รักษาผู้ป่วย เฉลี่ย 180 รายต่อวัน ด้ านโรงพยาบาลชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ขนาด 60 เตี ยง มี แพทย์ 13 คนต่อประชากร 68,000 คน รักษาผู้ป่วย เฉลี่ย 623 รายต่อวัน ซึง่ รพช.ทัง้ 3 ขนาด หากมี ผ้ ู ป่ วยที่ ต้ องผ่ า ตั ด เล็ ก หรื อ กรณี ผ่าคลอด ยังต้ องส่งตัวไปยังโรงพยาบาลศูนย์ หรื อโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด
คนไข้โรคหัวใจรอพบหมอนาน3-4ชม.
นางสาวเที ย ม เสวกวิหารี อายุ 66 ปี ผู้ ป่ ว ย โ ร ค หั ว ใ จ ที่ เ ข้ า รั บ ก า ร รั ก ษ า ที่ โรงพยาบาลค่ายบางระจัน ขนาด 30 เตียง จังหวัดสิงห์บรุ ี เปิ ดเผยว่า การไปพบแพทย์ แต่ละครัง้ ใช้ เวลารออย่างน้ อย 3-4 ชัว่ โมง ไปรักษาแล้ ว 2 ครัง้ อาการยังไม่ดีขึ ้น จึงต้ อง ขอใบส่ง ตัว ไปโรงพยาบาลประจ� ำ จัง หวัด เพราะที่นี่ไม่มีแพทย์เฉพาะทาง พญ.จุ ฑ ามาส ราโช แพทย์ ทั่ ว ไป โรงพยาบาลดงเจริ ญ กล่ า วถึ ง ปั ญหา การขาดแคลนแพทย์ของ รพช.ว่า ขึ ้นอยูก่ บั ขนาดของโรงพยาบาล ศักยภาพ และเงินทุน ส�ำหรั บการเปิ ดรั บสมัครแพทย์ เฉพาะทาง หากเป็ นโรงพยาบาลชุมชนที่ มีขนาดใหญ่ หรื อมีจ�ำนวนเตียงมาก โอกาสที่จะมีแพทย์ เฉพาะทางก็จะมีมากตามไปด้ วย
รพ.ชะอ�ำจัดระบบหมุนเวียนหมอ
ด้าน นพ.ประกาศิต ชมชืน่ รองผู้อำ� นวยการ โรงพยาบาลชะอ�ำ กล่าวว่า โรงพยาบาลได้ จดั คลินกิ รักษาโรคเฉพาะทาง เช่น โรคหัวใจ และ โรคเบาหวาน ในขณะเดียวกันได้ จดั ตังระบบ ้ การหมุ น เวี ย นแพทย์ เ พื่ อ แบ่ ง เบาภาระ การท�ำงาน “ปั จจุบนั โรงพยาบาลมีแพทย์เฉพาะทาง จ�ำนวน 6 คน แพทย์อาวุโส 4 คน แพทย์ใช้ ทนุ อี ก 3 คน และแพทย์ ที่ ห มุ น เวี ย นใช้ ทุ น ระยะสัน้ 1 ปี โดยจะสลับหมุนเวียนกันอยูเ่ วร ตลอด 24 ชัว่ โมง” นพ.ประกาศิต กล่าว พญ.ผกามาศ เพชรพงศ์ ผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาลวชิรบารมี เปิ ดเผยว่า ได้ ท�ำตาม นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขที่ก�ำหนด ให้ รพช.เป็ นหน่วยพยาบาลขันต้ ้ น ในการดูแล รักษา ป้องกัน และฟื น้ ฟู โดยศักยภาพ รพช. ไม่สามารถรองรับผู้ป่วยวิกฤติสงู ได้ อยู่แล้ ว เพราะไม่มีแพทย์ เฉพาะทางส�ำหรั บ รพช. ขนาด 30 เตียง
ไม่มีศักยภาพ “ผ่าไส้ต่ิง-ผ่าคลอด”
ส�ำหรับการผ่าคลอด หรื อผ่าไส้ ตงิ่ ซึง่ เป็ น หนึ่ ง ในความพยายามของกระทรวง สาธารณสุข ผลัก ดัน ให้ รพช.ท� ำ ให้ ไ ด้ นัน้ LOOKSILP FOR PRINT.indd 2
พญ.ผกามาศ กล่าวยอมรับว่า ไม่สามารถ ท� ำ ได้ เนื่ อ งจากไม่ มี แ พทย์ เ ฉพาะทาง สุดท้ ายต้ องพึง่ พาระบบการดูแลส่งต่อ ขณะเดี ย วกั น ผญ.ผกามาศ ยอมรั บ ว่ า การเคลื่ อ นย้ ายผู้ ป่ วยก็ มี ค วามเสี่ ย ง จากการเกิ ด อุบัติ เ หตุร ะหว่า งทาง รวมทัง้ ความเสี่ยงที่เกิดจากภาวะอาการของคนไข้ เอง ดังนัน้ ด้ วยขีดความสามารถทีจ่ �ำกัด รพช. จึงท�ำได้ แค่การรักษาเบื ้องต้ น ก่อนส่งต่อไปยัง แพทย์เฉพาะทาง นพ.อั ค รพล คุ รุ ศ าสตรา นายแพทย์ ช�ำนาญการ กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า แพทย์ ทุ ก คนที่ จ บหลัก สูต รแพทยศาสตร์ สามารถท� ำ การผ่ า ตั ด ได้ แต่ ขึ น้ อยู่ กั บ ความพร้ อมของทีมผ่าตัดและอุปกรณ์ ด้วย แต่ในระดับ รพช. ความพร้ อมขึ ้นอยูก่ บั ขนาด ของโรงพยาบาล ประกอบกั บ ปั จจุ บั น มี การฟ้ องร้ องแพทย์ ม ากขึ น้ อี ก ทั ง้ ความ ต้ องการของผู้ป่วยที่จะรักษากับแพทย์เฉพาะ ทาง เนือ่ งจากไม่มนั่ ใจในระบบ ท�ำให้ แนวโน้ ม การผ่าคลอดและผ่าไส้ ตงิ่ ใน รพช.ยังคงมีน้อย หากเทียบกับขีดความสามารถของแพทย์ที่ สามารถท�ำได้
รองปลัดสธ.ยันมุ่งพัฒนา-เพิ่มงบฯ
นพ.อัค รพล ยัง กล่ า วด้ ว ยว่ า รั ฐ บาล มี โ ครงการผลิ ต แพทย์ เ พื่ อ ชนบท แต่ เ ป็ น โครงการที่ ต้ องใช้ เวลาและงบประมาณ จ� ำนวนมาก เพราะการผลิตแพทย์ หนึ่งคน ในระยะเวลา 6 ปี รัฐต้ องใช้ งบประมาณสูงถึง 1.8 ล้ า นบาท ซึ่ง เมื่ อแพทย์ จ บใหม่ส� ำ เร็ จ การศึกษา จะต้ องไปท�ำงานในชนบทให้ ครบ ตามเงื่อนไขสัญญา โดยได้ รับค่าตอบแทน เพิม่ ตามสมควรส�ำหรับการปฎิบตั งิ านในพื ้นที่ ห่างไกลด้ วย พญ.ประนอม ค�ำเที่ยง รองปลัดกระทรวง สาธารณสุข กล่าวยืนยันว่า กระทรวงก�ำลัง ปรั บปรุ งเรื่ องการยกระดับ รพช.ให้ รองรั บ การรั กษาได้ ดียิ่งขึน้ เพราะถื อว่า รพช.เป็ น หน่วยพยาบาลที่อยูใ่ กล้ ชิดกับชุมชน ด้ านการจูงใจให้ บุคลากรทางแพทย์ ไม่ ลาออกไปท� ำ งานในโรงพยาบาลเอกชน พญ.ประนอม เปิ ดเผยว่า ล่าสุดปรับโครงสร้ าง ข้ าราชการ สธ.ใหม่ เพื่อสร้ างขวัญและก�ำลัง ใจให้ แก่บคุ ลากร เช่น ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการ รพช. ขยับเป็ นข้ าราชการระดับ ซี 9 ส่วน งบประมาณที่หลายฝ่ ายระบุวา่ ไม่ได้ รับเพียง พอ กระทรวงฯ ได้ จดั สรรงบประมาณให้ รพช. เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
“เวชศาสตร์ ค รอบครั ว ” ่ อีกหนึงสาขาของแพทย์ ที่คนไทยไม่รู้จัก
“เวชศาสตร์ ครอบครั ว” หรื อ เวชปฏิ บัติ ทั่ว ไป คื อ สาขาการแพทย์ เฉพาะทางแขนงหนึ่ง ที่ ร วมความรู้ ทาง การแพทย์และสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ อง เพือ่ การดูแลสุขภาพของครอบครัว โดยจะ เข้ าถึงทังด้ ้ านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ สุขภาพสังคมแวดล้ อมของผู้ป่วย แพทย์ จะอยูใ่ กล้ ชิดและใช้ การรักษาแบบเข้ าถึง เพื่อป้องกันและฟื น้ ฟูสภาพของผู้ป่วย แพทย์ เวชศาสตร์ ครอบครั วจะ ท�ำหน้ าที่เป็ นผู้คดั กรองในระบบการดูแล สุข ภาพ แก้ ไ ขปั ญ หาพื น้ ฐาน ส่ง เสริ ม สุขภาพ และป้องกันโรค ตลอดจนคัดกรอง ผู้ป่วยที่ มีความจ� ำเป็ นต้ องส่งต่อไปพบ แพทย์เฉพาะทาง ในปั จจุบนั แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัว มี อ ยู่ ทั ง้ ในโรงพยาบาลชุ ม ชนและ โรงพยาบาลเอกชน
คอยคัดกรองไม่ให้ ผ้ ปู ่ วยไหลทะลักเข้ ามา สู่ รพ.ใหญ่ ไ ด้ ” นายแพทย์ อั ค รพล คุรุศาสตรา แพทย์ช�ำนาญการ กระทรวง สาธารณสุข กล่าว และไม่ใช่เพียงแค่ค่านิยมของผู้ป่วย เท่ า นั น้ แต่ ใ นหมู่ นั ก เรี ย นแพทย์ เ อง ก็ มี ทั ศ นคติ ล บต่ อ แพทย์ เ วชศาสตร์ ครอบครั วเช่ น เดี ย วกั น เนื่ อ งจาก ยั ง ไม่ เ ป็ นที่ ย อมรั บในไทยมากนั ก แพทย์ ส่ ว นใหญ่ จึ ง ไม่ นิ ย มมาเรี ย นต่ อ เฉพาะทางในด้ านเวชศาสตร์ ครอบครั ว ซึ่งในความเป็ นจริ งแล้ ว 70-80% ของ แพทย์ ส่ ว นใหญ่ ที่ ค วรจะเป็ นแพทย์ ครอบครั ว ที่ ส ามารถรั ก ษาโรคได้ นั น้ กลับกลายเป็ นแพทย์เฉพาะสาขาที่ไม่มี ความถนัดในการตรวจโรคทัว่ ไป
ความแตกต่างระหว่าง มี ข้ อมู ล ที่ น่ าสนใจชี ว้ ่ า ปกติ “เวชศาสตร์ครอบครัว” กับ ผู้ป่วยกว่ า 90% เป็ นโรคทั่วไปที่ไม่ “หมอครอบครัว” ?
จ�ำ เป็ นต้ อ งให้ แ พทย์ ผ้ ู เ ชี่ ย วชาญ แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัวคือ แพทย์ ดูแล เช่ น ในต่ างประเทศผู้ป่วยให้ แพทย์ ครอบครั ว (Family Doctor) ทัว่ ไปทีเ่ รียนต่อเฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ ครอบครัว แต่หมอครอบครัวตามประกาศ ดูแลก็สามารถรั กษาให้ หายได้ แต่ในประเทศไทยผู้ป่วยมักอยากจะ รักษากับแพทย์ผ้ เู ชี่ยวชาญมากกว่ารักษา กั บ แพทย์ ทั่ ว ไป ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ แ พทย์ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านันมั ้ กกระจุกอยูใ่ นเมือง หรื อตามโรงพยาบาลใหญ่ ๆ ดังนันผู ้ ้ ป่วย ก็ เ ลยไปใช้ บริ การตามโรงพยาบาล ดังกล่าวเยอะ ถ้ าหากประเทศไทยสามารถผลิตแพทย์ ครอบครัวให้ ไปอยูต่ ามโรงพยาบาลชุมชน ได้ เยอะขึ ้น เมือ่ มีผ้ ปู ่ วยมา ก็ให้ ไปหาแพทย์ ครอบครัวก่อน ถ้ าอาการป่ วยหนักขึ ้น จึง ค่อยส่งต่อมาทีโ่ รงพยาบาลใหญ่ ก็จะท�ำให้ โรงพยาบาลใหญ่รับภาระเบาลง “หากมีหมอเวชศาสตร์ ครอบครัว หรือ หมอครอบครั ว เยอะในส่ ว นของระบบ เมื่อไหร่ จะเปรี ยบเสมือนมีปราการที่จะ
ของกระทรวงสาธารณะสุข ไม่จ�ำเป็ นต้ อง จบแพทยศาสตร์ บัณ ฑิ ต ก็ ไ ด้ ขอเพี ย ง ปฏิบตั งิ านทางด้ านสาธารณสุขทีเ่ กีย่ วข้ อง กับงานด้ านครอบครั ว ก็ถือว่าเป็ นหมอ ครอบครั ว เช่น กัน เพราะในแง่ข องการ ปฏิบตั หิ น้ าทีน่ นั ้ หมอครอบครัวจะท�ำงาน ในด้ านการให้ ความรู้ ส่งเสริมสุขภาพ และ ป้องกันโรค ในขณะที่ส่วนของการรักษา เช่น ปวดหัว ตัวร้ อน เป็ นไข้ จะเป็ นหน้ าที่ ของแพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัวนัน่ เอง ณัชชา เชี่ ยวกล พาขวัญ ศักดิ์ขจรยศ ธิดารัตน์ แซ่ เล้า ภีมรพี ธุ รารัตน์ สกลสุภา กระดังงา
โอสถสภา พ.ศ. 2456
สุขศาลา
เปนทั้งสถานที่บําบัดโรค และสํานักงานของแพทยสาธารณสุข
“ ”
พ.ศ. 2475 เริ่มมีการแบงประเภท “สุขศาลาชั้นหนึ่ง“ มีแพทย “สุขศาลาชั้นสอง“ ไมมีแพทย
โรงพยาบาล พ.ศ. 2485
“สุขศาลาชั้นหนึ่ง“ พัฒนาเปนรพ.ขนาดใหญ “สุขศาลาชั้นสอง“ ปรับปรุงเปนสถานีอนามัย
แผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) พ.ศ. 2555 เขตบริการสุขภาพ 12 เขตทั่วประเทศ เนนการใหบริการครอบคลุม สงเสริม ปองกันรักษา และ ฟนฟู
25/1/2559 10:37:46
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
สกู๊ปพิเศษ
แพทย์กระจุ ก คนไข้กระจาย
หมอ ‘เผ่ น ’ รพ.ชุมชนย้ายซบเอกชนในเมือง
ขอมูลจาก : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข สถาบันวิจัยสาธารณสุข และโครงการผลิตแพทยเพิ่มเพื่อชาวชนบท
สมชาย (นามสมมติ) อายุ 30 ปี เป็ นแพทย์ ประจ�ำโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุ งเทพฯ ท�ำงานสัปดาห์ละ 5 วัน ตามเวลาราชการ และบางวันต้ องอยู่งานนอกเวลา รวมแล้ ว 24 ชม. ก�ำลังตัดสินใจจะลาออกจากราชการ ไปท� ำ งานในโรงพยาบาลเอกชน เมื่ อ จบ หลั ก สู ต รแพทย์ เ ฉพาะทาง เพราะได้ ค่าตอบแทนมากกว่าและภาระงานน้ อยกว่า โรงพยาบาลรัฐ ส่วน ณั ช ชา (นามสมมติ) อายุ 26 ปี แพทย์จบใหม่ ซึง่ ท�ำงานใช้ ทนุ ในโรงพยาบาล ชุม ชนแห่ง หนึ่ง ในจัง หวัด นครศรี ธ รรมราช ท�ำงานตัง้ แต่ 8.00-16.00 น. บางวันต้ อง เข้ าเวรหรื อประจ�ำห้ องฉุกเฉินต่อถึง 8.00 น. ของอีกวัน เท่ากับต้ องท�ำงานตลอด 24 ชม. เนื่ อ งจากมี แ พทย์ ป ระจ� ำ โรงพยาบาล เพียง 5 คน ขณะที่รับเงินเดือน 17,000 บาท (ไม่ ร วมค่ า เวร) ก� ำ ลั ง วางแผนเรี ย นต่ อ หลักสูตรแพทย์เฉพาะทาง เพื่อเพิ่มทางเลือก ในอาชีพ เพราะโรงพยาบาลเอกชนส่วนใหญ่ เปิ ดรับแพทย์เฉพาะทาง ร า ย ง า น ข้ อ มู ล ท รั พ ย า ก ร สุ ข ภ า พ กลุ่ ม ภารกิ จ ด้ านข้ อมู ล ข่ า วสารสุ ข ภาพ ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ในรอบ 5 ปี ที่ ผ่ า นมา แพทย์ ใ นโรงพยาบาลเอกชน เพิ่มขึ ้น 830 คน โดยล่าสุดเมื่อเดือนธันวาคม 2558 มีจ�ำนวนแพทย์ทงสิ ั ้ ้น 5,650 คน ขณะที่แพทย์ในโรงพยาบาลรัฐ มีจำ� นวน เกือบคงที่ประมาณ 20,000 คน แม้ ปี 2558 มีแพทย์ทงสิ ั ้ ้น 21,688 คน เพิม่ ขึ ้นจากปี กอ่ น 2,230 คน แต่ในปี 2556-2557 แพทย์ ใน โรงพยาบาลรัฐมีจ�ำนวนลดลง 2,641 คน ด้ า นส� ำ นัก ข่ า วเอชโฟกัส เว็ บ ไซต์ ข่ า ว สุขภาพภาคประชาสังคม เผยว่า โรงพยาบาล เอกชนมีอตั ราการเติบโตต่อเนือ่ ง ล่าสุดปี 2556 มีโรงพยาบาลเอกชน 353 แห่งทัว่ ประเทศ ในจาํ นวนนี ้มี 107 แห่งอยูใ่ นกรุงเทพฯ LOOKSILP FOR PRINT.indd 3
ปริญญา อัครานุรักษ์ กลุ อาจารย์ประจ�ำ ค ณ ะ แ พ ท ย์ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศรี นคริ นทรวิ โ รฒ กล่ า วถึ ง สถานการณ์ แพทย์สมองไหลว่า ส่วนใหญ่แพทย์โรงพยาบาล ชุมชนออกมาประจ�ำโรงพยาบาลเอกชนใน ตัวเมือง เพราะค่าตอบแทนไม่เพียงพอ และ ต้องท�ำงานมากกว่า 8 ชัว่ โมงต่อวัน ขณะทีแ่ พทย์ ประจ� ำในโรงพยาบาลเอกชนท� ำ งานเพี ยง 8 ชัว่ โมง และได้คา่ ตอบแทนดีในระดับหนึง่ “ปั จจุบนั ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนขยายตัว ท� ำ ให้ แพทย์ โ รงพยาบาลรั ฐ ไหลออกไป กระจุกตัวทีโ่ รงพยาบาลเอกชนในเมืองมากขึ ้น อาจแก้ ปัญหาด้ วยการเพิ่มค่าตอบแทนแก่ แพทย์ ใ นโรงพยาบาลรั ฐ ให้ เ หมาะสมกั บ ภาระงาน เช่น ให้ ได้ คา่ ตอบแทนแปรผันตาม จ�ำนวนคนไข้ ” นพ.ปริญญา กล่าว ส่ ว น ยุ ก ต์ ลี ล าวิ วั ฒ น์ อายุ 61 ปี แพทย์เฉพาะทางสาขาสูตนิ รี เวช โรงพยาบาล บ� ำ รุ ง ราษฎร์ กล่ า วว่ า ไม่ เ คยท� ำ งานใน โรงพยาบาลรัฐ เพราะมองว่าโรงพยาบาลรัฐ ใหญ่ ๆ เข้ ายาก และเปิ ดรั บแพทย์ จ�ำนวน ไม่ ม ากในแต่ ล ะปี ตนเป็ นแพทย์ ชั่ว คราว ในโรงพยาบาลเอกชน ท�ำงานสัปดาห์ละ 3 วัน รับคนไข้ 12 คนต่อวัน เงินเดือน 1 แสนบาท แพทย์โรงพยาบาลเอกชนได้ ทงเงิ ั ้ นเดือน และ เงิ นค่าแพทย์ หากท� ำงานจนถึงระดับหนึ่ง จะได้ เงินเดือนเพิ่มตามภาระงาน ต่างจาก โรงพยาบาลรัฐที่เป็ นเงินเดือนตายตัว และมี สวัสดิการที่ชดั เจน “ประชากร 64 ล้ านคน มีแพทย์ทวั่ ประเทศ 3 หมื่ น คน เท่ า กั บ แพทย์ ห นึ่ ง คนดู แ ล คนไข้ 2,000 คน แต่ความเป็ นจริ งคือ แพทย์ กระจุกตัวในเมือง แพทย์โรงพยาบาลชุมชน ขาดแคลนและท� ำงานหนัก สัดส่วนแพทย์ ต่อคนไข้ ในแต่ละพืน้ ที่แตกต่างกัน รั ฐต้ อง จูงใจให้ แพทย์อยูใ่ นระบบราชการ เช่น เพิม่ งบ มากขึ ้น เพื่อให้ แพทย์มีค่าตอบแทนเพิ่มขึ ้น” ยุกต์ กล่าว
ขณะที่ วิศษิ ฎ์ วามวาณิชย์ ผู้อำ� นวยการ โรงพยาบาลศิ ริ ร าช กล่ า วว่ า การเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาจท�ำให้ แพทย์ โรงพยาบาลรั ฐ ลาออกไปอยู่โ รงพยาบาล เอกชนมากขึ ้น แต่เมือ่ ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน หยุดขยายตัวก็จะหยุดปั ญหาแพทย์สมองไหล อย่างไรก็ดี ภาครัฐก็พยายามผลิตแพทย์เพิม่ โดยโรงพยาบาลศิ ริ ร าชผลิต แพทย์ ไ ด้ ปี ละ 320 คน น่าจะเพียงพอในช่วง 10 ปี ข้างหน้ า “ส่ ว นการเพิ่ ม ค่ า ตอบแทนคงท� ำ ยาก เพราะเป็ นเรื่ อ งงบประมาณแผ่ น ดิ น และ เก็ บ เพิ่ ม จากผู้รั บ บริ ก ารไม่ ไ ด้ อย่ า งไรก็ ดี เ ป็ น ข้ า ร า ช ก า ร แ ม้ ค่ า ต อ บ แ ท น น้ อ ย แต่มนั่ คงกว่า ส่วนเอกชนเข้ าง่ายก็ออกง่าย ค่าตอบแทนมากแต่ก็ไม่มนั่ คง” ผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาลศิริราช กล่าว ด้ าน รายิ น อโรร่ า รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหารโครงการร่วมผลิตแพทย์เพิม่ เพื่อชาวชนบท (สบพช.) กล่าวว่า แต่ละปี มี แพทย์ อ อกจากระบบประมาณ 600 คน บ่งชี ้ว่าการเติบโตของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน ยิ่งทําให้ การกระจายแพทย์ขาดความสมดุล ทัง้ ในเชิ ง ปริ ม าณและคุณ ภาพ มี ก ารดูด บุคลากรภาครัฐสูภ่ าคเอกชนและจากชนบท สู่เ มื อ ง ส่ ง ผลให้ ป ระชากรในชนบทได้ รั บ การดูแลไม่ทว่ั ถึงเท่าทีค่ วรเมือ่ เปรียบเทียบกับ ในกรุงเทพฯ สถานการณ์แพทย์สมองไหลไม่นา่ เป็ นห่วง แต่สดั ส่วนแพทย์ตอ่ ประชากรและสถานการณ์ แพทย์ กระจุกตัวนัน้ อยู่ในระดับที่ต้องแก้ ไข ซึ่ ง ทาง สบพช.มี น โยบายการแก้ ไขด้ วย โครงการ สบพช. และโครงการแพทย์ 1 อ�ำเภอ 1 ทุน โดยคัดเลือกนักศึกษาแบบพิเศษ รวมถึง การจัด การเรี ย นการสอนที่ ท� ำ ให้ แ พทย์ มี ความผูกพันกับชุมชน และในปั จจุบันทาง สบพช.ผลิ ต แพทย์ ถึ ง ปี ละ 1,000 คน จากแต่ ล ะปี จะมี ก ารรั บ นั ก ศึ ก ษาแพทย์ ทัว่ ประเทศ 3,000 คน
3 โครงการผลิตแพทย์
เพื่อ
‘ชาวชนบท’
21 ปี ทแี่ ล้ ว รัฐบาลนายชวน หลีกภัย พรรคประชาธิ ปั ตย์ จั ด ท� ำ โครงการ “ผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท” โดยเริ่ มรับ นักศึกษาตังแต่ ้ ปีการศึกษา 2538 เพื่อ แก้ ปัญหาขาดแคลนแพทย์ในชนบท ต่อมาปี 2540 กระทรวงสาธารณสุข ได้ จดั ตัง้ “ส�ำนักงานบริหารโครงการร่วม ผลิตแพทย์เพิม่ เพือ่ ชาวชนบท” (สบพช.) เพือ่ รับผิดชอบโครงการดังกล่าว รวมถึงมี โครงการ “แพทย์ 1 ทุน 1 อ�ำเภอ” ด้ วย โครงการแรก นักศึกษาเป็ นคูส่ ญ ั ญา ของกระทรวงสาธารณสุข เมื่ อ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาต้ องกลั บ ไปปฏิ บั ติ ง านที่ ภูมิล�ำเนาเดิม หรื อที่กระทรวงก� ำหนด เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี ส่วนโครงการ หลัง นัก ศึก ษาแพทย์ ต้ อ งใช้ ทุน 12 ปี หากไม่สามารถปฏิบตั ไิ ด้ จะต้ องชดใช้ เงิน ให้ แก่กระทรวงสาธารณสุขตามทีก่ ำ� หนด การสมัครเข้ าทัง้ 2 โครงการ กระทรวง สาธารณสุขก�ำหนดคุณสมบัติส�ำคัญคือ นักศึกษาต้ องมีหรือเคยมีภมู ลิ ำ� เนาอยูใ่ น จังหวัดเขตรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ตามโครงการ โดยสอบวัดความรู้พื ้นฐาน ทีจ่ ำ� เป็ นต่อการเข้าศึกษาวิชาแพทยศาสตร์ ร่ วมกับการสัมภาษณ์ และการสังเกต พฤติ ก รรม เช่ น คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะรับนักเรียน ชัน้ ม.6 จ�ำนวน 90 คน จาก 9 จังหวัด คือ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรปราการ อยุธ ยา นครปฐม นครนายก ลพบุ รี ส่วนโครงการ “แพทย์ 1 ทุน 1 อ�ำเภอ” รับนักเรียนชัน้ ม.6 จ�ำนวน 20 คน จาก 8 จังหวัด คือ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรปราการ อยุธยา นครปฐม นครนายก ทัง้ 2 โครงการเรี ยนปี 1-3 ที่คณะ แพทยศาสตร์ จุ ฬ าฯ ปี 4-6 ที่ ศู น ย์ แพทยศาสตร์ ศกึ ษาชันคลิ ้ นิกเหมือนกัน แต่เป็ นโรงพยาบาลศูนย์ ของกระทรวง สาธารณสุข ทังนี ้ ้เพือ่ เปิ ดโอกาสให้ นกั เรียนชนบท เข้ าศึ ก ษาวิ ช าแพทยศาสตร์ และ ได้ นำ� ความรู้กลับไปรับใช้ บ้านเกิด ข้ อมูลจาก: เว็บไซต์ CPIRD Home และ Docchula สโมสรนิสติ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ถ้ ามีการจัดตังหลั ้ กสูตรการเรี ยนรู้แพทย์ เพื่อชาวชนบทจริ ง ๆ จะสามารถแก้ ปัญหา การกระจายตัวของแพทย์ได้ ซึ่งในอเมริ กา แคนาดา และออสเตรเลียในบางรัฐ มีการ จัด ท� ำ และประสบความส� ำ เร็ จ อย่ า งมาก ด้ านองค์ การอนามัยโลกก็ เขี ยนแนะน�ำถึง วิธีการนี ้ไว้ อย่างชัดเจน” รายิน กล่าว ทั ง้ นี ย้ ั ง มี ร ายงานการประชุ ม หารื อ การผลิตแพทย์ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึก ษาธิ ก ารเมื่ อ ปลายเดื อ น ธันวาคม 2557 ด้ วยว่าตัวเลขสัดส่วนแพทย์ ต่อ ประชากรที่ ใ ช้ ร่ ว มกัน คื อ 1:1,500 คน แต่ ข ณะนี ม้ ี สั ด ส่ ว นแพทย์ ต่ อ ประชากร อยูท่ ี่ 1:2,400 คน จึงตังเป ้ ้ าผลิตแพทย์เพิม่ ขึ ้น 25,065 คน ในอีก 10 ปี ข้ างหน้ า หรื อเฉลี่ย ปี ละ 2,507 คน เพื่อทดแทนอัตราสูญเสีย แพทย์ที่ออกจากระบบถึงร้ อยละ 40 ต่อปี ชญานิศ จ�ำปี รตั น์
25/1/2559 10:37:47
4
วิ ก ฤติ ข ยะถุ ง พลาสติ ก นั บ เป็ นปั ญหาที่ ทั่ ว โลกหั น มา ให้ ความส�ำคัญ เนื่องจากปริ มาณที่เพิ่มขึ ้นมหาศาล และใช้ เวลา ย่อยสลายยาวนานหลายชัว่ อายุคน ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ทัง้ ภาคพื น้ ดิ น และภาคพื น้ ทะเล ทัง้ กระบวนการผลิ ต และ ก� ำ จัด ยัง ก่ อ ให้ เ กิ ด ก๊ าซเรื อ นกระจกที่ เ ป็ นสาเหตุห นึ่ ง ของ ภาวะโลกร้ อน ปั ญหาใหญ่ ที่ ก� ำ ลั ง คุ ก คามโลกอยู่ ข ณะนี ้ ท�ำให้ หลายประเทศต้ องออกมาตรการทางนโยบายต่าง ๆ เพื่อ จัด การปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ น้ ซึ่ ง มี ทัง้ การบัง คับ ใช้ ทางกฎหมาย และมาตรการสมัครใจ ประเทศไทย เป็ นอีกประเทศหนึ่งที่มีการด�ำเนินมาตรการ ลดการใช้ ถุง พลาสติ ก มาตัง้ แต่ปี 2549 โดยใช้ ก ารรณรงค์ ให้ ความรู้ สร้ างความตระหนักแก่ผ้ ูบริ โภค และปรั บเปลี่ยน พฤติกรรมการใช้ ปั จจุบนั ได้ รับความร่วมมือจากภาคเอกชน ได้ แก่ ผู้ประกอบการห้ างสรรพสินค้ า ที่ออกแคมเปญรณรงค์ใช้ ถงุ ผ้ า แทนการรั บ ถุง พลาสติ ก ในเวลา 1 เดื อ นโครงการดัง กล่า ว สามารถลดจ� ำนวนการใช้ ถุงพลาสติกไปได้ กว่า 1.8 ล้ านใบ อย่างไรก็ตาม หลังจากสิน้ สุดช่วงเวลากิ จกรรม ประชาชนก็ หันกลับมาใช้ ถุงพลาสติกอีกครั ง้ ห้ างร้ านต่าง ๆ ต้ องหันมา จ่ายถุงส�ำหรับใส่ของเหมือนเดิม ข้ อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้ อม ระบุวา่ ในรอบ 5 ปี ที่ผา่ นมา ประเทศไทย มีสถิติ ปริ มาณขยะพลาสติกมากถึง 1,476,000 ตันต่อปี หรื อคิดเป็ น 4,000 ตันต่อวัน แม้ จะสามารถลดลงเหลือ 1.3 ล้ านตันได้ ในปี 2557 แต่ยงั ถือว่าเป็ นปริ มาณที่เพิ่มมากขึ ้นจากการรณรงค์ ในช่วงแรก มาตรการรณรงค์ ข อความสมัค รใจจากประชาชนถูก ใช้ ในบ้ านเรามาอย่างต่อเนื่อง จากงานวิจยั ที่ผ่านมาชี ้ให้ เห็นว่าผู้ บริ โ ภคของไทยมี แ นวโน้ มที่ จ ะต่ อ ต้ านมาตรการเก็ บ ภาษี การใช้ ถุงพลาสติก ดังนัน้ การด�ำเนินมาตรการทางกฎหมาย ดัง เช่ น ต่ า งประเทศ ส� ำ หรั บ ประเทศไทยอาจเป็ นหนทางที่
LOOKSILP FOR PRINT.indd 4
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
เป็ นไปได้ ยาก หากแต่การออกกฎหมายมาบังคับประชาชน ก็ไม่ใช่ทางออกเดียวส�ำหรับแก้ ปัญหาที่เกิดขึน้ การรณรงค์ เพียงอย่างเดียวก็เช่นกัน สาเหตุที่ทำ� ให้ ประเทศไทยยังไม่ประสบความส�ำเร็จในการ แก้ ปัญหาการใช้ ถงุ พลาสติก ส่วนหนึง่ มาจากการแก้ ปัญหาที่ ปลายเหตุของภาครัฐ ซึง่ ส่งเสริ มการรณรงค์ให้ ความรู้ข้อดีข้อ เสียของถุงพลาสติก เพราะคาดหวังว่าผู้คนจะรับรู้ และเปลีย่ น พฤติกรรมการใช้ เอง แต่กลับไม่เคยตระหนักถึงเงื่อนไขแรกเริ่ม เช่นความง่าย ใช้ สะดวก ราคาไม่สงู ซึ่งเป็ นสาเหตุที่ท�ำให้ ยังมีการใช้ ถงุ พลาสติกอย่างแพร่หลาย ปั จจุ บัน แม้ จะมี ถุ ง ไบโอพลาสติ ก ที่ ย่ อ ยสลายง่ า ย ในธรรมชาติเข้ ามาเป็ นตัวเลือกใหม่ของผู้บริโภค แต่ด้วยต้ นทุน วัตถุดิบที่สงู กว่าถุงพลาสติกทัว่ ไป ประกอบกับการสนับสนุน เงินกู้ดอกเบี ้ยต�่ำจากภาครัฐที่ไม่เพียงพอต่อการผลิต ส่งผล ให้ อุต สาหกรรมถุง ไบโอพลาสติ ก ไม่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ เท่า ที่ ค วร สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่า ภาครั ฐ ไม่ ไ ด้ เ อาจริ ง เอาจัง ใน การลดการใช้ ถงุ พลาสติก และสนับสนุนให้ มีการใช้ ถงุ ไบโอ พลาสติ ก อย่า งที่ ป่ าวประกาศ ทัง้ ยัง ส่ง เสริ ม อุต สาหกรรม พลาสติ ก ให้ เ ติ บ โตในอี ก ทางหนึ่ ง สัง เกตได้ จ ากจ� ำ นวน ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมพลาสติก ที่ขึ ้นทะเบียนกับสถาบัน พลาสติกไทยที่มีแนวโน้ มเติบโตขึ ้นอย่างต่อเนื่อง การด�ำเนินมาตรการลดการใช้ ถงุ พลาสติก ต้ องเริ่ มจาก การแก้ ไขปรั บเปลี่ยนสภาพแวดล้ อมในการใช้ เพิ่มเงื่อนไข ให้ การใช้ งานถุงพลาสติกกลายเป็ นเรื่องยุง่ ยาก ท�ำให้ ผ้ ซู ื ้อ และ ผู้ขายไม่อยากใช้ งาน แนวคิดการรณรงค์ที่ผา่ นมาจากภาครัฐ และเอกชน เป็ นสิ่งที่เป็ นประโยชน์อยู่แล้ ว สมควรให้ มีอย่าง ต่อเนื่อง รวมถึงให้ ความรู้ และส่งเสริ มอุตสาหกรรมถุงไบโอ พลาสติกที่มีคณ ุ สมบัติยอ่ ยสลายง่าย เพื่อใช้ เป็ นอีกทางเลือก หนึง่ ส�ำหรับประชาชน เพียงเท่านี ้ก็นา่ จะท�ำให้ หนทางการลดใช้ ถุงพลาสติกอย่างยัง่ ยืนในประเทศไทยเป็ นจริ งขึ ้นมาได้
ทีป่ รึกษา อาจารย์มานพ เอี่ยมสะอาด (คณบดี) อาจารย์อริ น เจียจันทร์ พงษ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์มทั นา เจริ ญวงศ์ อาจารย์อจั ฉรา อัชฌายกชาติ อาจารย์ทองนากศิริวิ เหล่าวงษ์ โคตร อาจารย์วยั วัฒน์ สายทุ้ม อาจารย์ณฐั สรวงพร ทองเนื ้อนวล คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการผู้พมิ พ์ ผ้ ูโฆษณา ณัชชา เชี่ยวกล บรรณาธิการบริหาร,บรรณาธิการข่ าว พาขวัญ ศักดิ์ขจรยศ ที่ปรึกษาบรรณาธิการ อินทร์ แก้ ว โอภานุเคราะห์กลุ สกู๊ปข่ าว/บทความ ชญานิศ จ�ำปี รัตน์ โชติกา กนิษฐนาคะ ณัชชา เชี่ยวกล กาญจนา ปลอดกรรม ธิดารัตน์ แซ่เล้ า ภีมรพี ธุรารัตน์ สารคดีเชิงข่ าว ภัทรานิษฐ์ จิตส�ำรวย จริ ญญา ศรี วฒ ั นวรัญญู สิทธิสตรี เกศราพร เจือจันทร์ ธิดารัตน์ แซ่เล้ า สิทธิเด็ก ภัทรานิษฐ์ จิตส�ำรวย ไอรยา โสกขุนทด สิทธิการศึกษา วราภัสร์ มาลาเพชร ภีมรพี ธุรารัตน์ ริ นพร ออกเวหา ชีวติ คนเมือง พาขวัญ ศักดิ์ขจรยศ ณัฐกานต์ เจริ ญขาว กุลนิษฐ์ แสงจันทร์ วิทยาศาสตร์ จริ ญญา ศรี วฒ ั นวรัญญู ข่ าวทั่วไป พสชนัน คนึงหมาย ชยาพร รัตนโชติ ฐิ ตพิ ร อินผวน ณัฐนันท์ แก้ วบุญถึง บัณฑิตา สุขสมัย ภาศิณี สุนทรวินิต ศรี สทิ ธิ์ วงศ์วรจรรย์ เขมพัฏฐ์ สร ธนปั ทมนันท์ จารุกิตติ์ ธีรตาพงศ์ ธนกร ตันติสง่าวงศ์ ศรัณยา ตังวรเชษฐ ้ ศุภนิดา อินยะบุตร กัลยากร ทองเต็ม ปุญญิศา ค�ำนนสิงห์ รติมา เงินกร อริ สรา นนศิริ วุฒิพงษ์ วงษ์ ชยั วัฒนกุล การ์ ตนู ริ นพร ออกเวหา บรรณาธิการภาพข่ าว พาขวัญ ศักดิ์ขจรยศ ฝ่ ายศิลปกรรม ณัชชา เชี่ยวกล โชติกา กนิษฐนาคะ ชญานิศ จ�ำปี รัตน์ ริ นพร ออกเวหา ไอรยา โสกขุนทด ฝ่ ายพิสูจน์ อักษร ธิดารัตน์ แซ่เล้ า รัตนสุดา ศุภรัตน์บรรพต ผู้ประสานงานลูกค้ า ธิดารัตน์ แซ่เล้ า เกศราพร เจือจันทร์ โรงพิมพ์ บริ ษัท ภัณธริ นทร์ จ�ำกัด คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร บางรั ก ชัน้ 8 อาคาร กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) ถนนเจริ ญกรุง แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กทม. 10500 โทรศัพท์ / โทรสาร : 0-2233-4995-7 เว็บไซต์ : www.ict.su.ac.th www.ictsilpakorn.com/ictmedia www.facebook.com/looksilp
25/1/2559 10:37:48
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
บทวิเคราะห์
5
สิทธิขนั ้ พื้นฐาน: เรื่องธรรมดาที่รัฐ (จงใจ) ละเลย ค� ำ ว่ า “สิ ท ธิ ” มั ก มี ค วามเข้ าใจใน ความเป็ นนามธรรม ยากแก่การสัมผัสจับต้ อง แต่ปัจจุบนั ความคิดเกี่ยวกับสิทธิ มนุษยชน เป็ นเรื่ อ งราวที่ อ ารยชนส่ว นใหญ่ ต ระหนัก และให้ ค วามส� ำ คัญ ยึด ถื อ เป็ นหลัก สากล ควบคู่ ไ ปกั บ ความคิ ด ด้ านการปกครอง แบบประชาธิปไตยในนานาประเทศ ภาพกลุ่มบุคคลหรื อองค์กรที่เคลื่อนไหว ทางสังคมเพื่อรณรงค์ เรี ยกร้ อง และแก้ ไข ปั ญหาด้ านสิทธิ ด้าน มักปรากฎให้ เห็นอยู่ เสมอตามสื่ อ ทุ ก แขนง ทั่ ว ทุ ก มุ ม โลก อาจกล่าวได้ ว่าเป็ นภาพที่ชินตาและเกิดขึ ้น เป็ นประจ�ำของปั จจุบนั สมัย สถานการณ์สทิ ธิมนุษยชนสากลมีอทิ ธิพล และส่ ง ผลต่ อ ประเทศไทยหลายประการ ทีส่ ำ� คัญ คือ การทีป่ ระเทศไทยได้ เข้ าเป็ นภาคี สนธิสญ ั ญาระหว่างประเทศด้ านสิทธิมนุษยชน ต่าง ๆ ของสหประชาชาติ ท�ำให้ รัฐบาลไทย มีพันธกรณี ที่จะต้ องส่งเสริ มและพัฒนาให้ มีหลักประกันว่า กฎหมายและแนวทางปฏิบตั ิ ภายในประเทศจะสอดคล้ องกับมาตรฐาน สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนระหว่ า งประเทศที่ ร ะบุ ใ น สนธิสญ ั ญาเหล่านัน้ รวมทังการจั ้ ดท�ำรายงาน การปฏิบตั ิตามพันธกรณีเสนอต่อสหประชาชาติตามระยะเวลาที่ก�ำหนด หากพิ จ ารณาด้ ว ยกรอบความคิ ด ตาม หลักการนี ้ ไม่วา่ จะ เธอ ฉัน สูง เตี ้ย ด�ำ ขาว รวย จน ย่อมไม่ต่างกัน และล้ วนยืนอยู่บน พื ้นฐานเดียวกัน แต่บอ่ ยครัง้ การละเมิดสิทธิไม่ได้ เกิดจาก ปั จเจกบุคคลด้ วยกันเอง แต่เกิดจากกลไก การควบคุ ม ของผู้ มี อ� ำ นาจแห่ ง รั ฐ เพื่ อ ความสงบเรี ยบร้ อยในชาติ หรื อแม้ แต่กดขี่ ปราบปรามผู้ ที่ ไ ม่ เ ห็ น ด้ วยกั บ นโยบาย ของรัฐบาล จากผู้ทปี่ ระกันสิทธิของพลเมืองกลับกลาย เป็ นผู้ละเมิดสิทธิอนั ชอบธรรมนันเสี ้ ยเอง! รั ฐ มั ก อ้ างในนามประโยชน์ ข องชาติ เป็ นส� ำ คัญ ชาติ ที่ ว่ า หน้ าตาเป็ นอย่ า งไร หมายรวมไปถึงคนที่อยู่ในชาติด้วยหรื อไม่ บางครัง้ ในปั จจุบนั เรามักจะได้ ยนิ การอ้ างถึง ความมัน่ คงของชาติ ซึง่ ก็ยงั เป็ นข้ อสงสัยว่า ตกลงแล้ วความมั่ น คงที่ ก ล่ า วอ้ างนั น้ เป็ นความมัน่ คงของชาติอย่างแท้ จริง หรือเป็ น ความมัน่ คงของใคร กลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ การถูกลิดรอนสิทธิ พืน้ ฐานโดยรั ฐย่อม เกิดขึ ้นได้ จากทังรั้ ฐบาลที่มาจากการเลือกตัง้ ตามกลไลพื ้นฐานของระบอบประชาธิปไตย และรัฐบาลรัฐประหารทีเ่ ข้ ามาบริหารประเทศ บนข้ ออ้ างคุณธรรมความดีงามนานาประการ
เกี่ยวกับ
ลูกศิลป์
LOOKSILP FOR PRINT.indd 5
ทังหมดทั ้ งมวลยั ้ งคงฟั งดูไปเรื่ องไกลตัว อยูเ่ ช่นเคย ดังนันลองมาพิ ้ จารณาเรื่ องต่าง ๆ ให้ ใกล้ เข้ ามาในบริ บทรอบตัว
ด้านคมนาคม และบริการสาธารณะ
เดี ย ว หลายครั ง้ มั ก จะได้ ยิ น ค� ำ กระทบ กระเที ย บเมื่ อ มี ก ารอ้ างสิ ท ธิ ใ นเรื่ องใด เรื่ องหนึง่ ว่า อ้ างแต่สทิ ธิแต่ไม่ร้ ูหน้ าที่ ในความเป็ นจริ ง หน้ าที่ที่ต้องท�ำให้ สิทธิ ต่าง ๆ เกิดขึ ้นได้ เป็ นรู ปธรรมนันเป็ ้ นหน้ าที่ ของรัฐมิใช่หรื อ การกระทบกระเทียบว่า อ้ างแต่สิทธิแต่ ไม่ ร้ ู หน้ า ที่ จึ ง เป็ นการค่ อ นแคะที่ จับ แพะ ชนแกะและน่าข�ำขันที่สดุ เพราะเราทุกคนคือฟั นเฟื องและลิ่วล้ อที่ จะขับ เคลื่ อ นประเทศให้ เ ดิ น หน้ า มี ค วาม ชอบธรรมและสมควรที่จะได้ รับสิง่ ต่าง ๆ ดัง ที่กล่าวมาข้ างต้ น สิทธิ ทัง้ หมดนีเ้ ป็ นความรั บผิดชอบของ ใครที่ต้องตอบสนองชีวิตขันพื ้ ้นฐานของเรา ทุกคน และสิทธิขนพื ั ้ ้นฐานดังกล่าวดีพอแล้ ว หรื อยัง ค�ำตอบทังหมดปรากฏอยู ้ ช่ ดั เจน ไม่ว่าจะเป็ นบริ บทใหญ่หรื อเล็ก มีความ ส�ำคัญประการแรกหรือส�ำคัญประการสุดท้ าย ทุกเรื่ องราว ทุกอย่าง ล้ วนเกี่ยวข้ องกันเป็ น โยงใยของความสัมพันธ์ในสังคม เราทุกคนเป็ นพลเมืองสามารถด�ำรงชีพ ได้ อย่ า งอิ ส รชน มิ ใ ช่ ท าสจากการกดขี่ ของรัฐด้ วยนโยบายต่าง ๆ อย่างแนบเนียน (แม้ บางครั ง้ จะไม่แนบเนี ยนก็ตาม) ดังนัน้ ความสามารถที่ จ ะใช้ ชี วิ ต อย่ า งผาสุ ก ตามอ� ำ นาจอัน ชอบธรรมย่ อ มเป็ นของเรา อย่างแท้ จริ ง แม้ ว่ า สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน สิ ท ธิ ขั น้ พื น้ ฐาน หรื อสิทธิอะไรก็ตามจะเป็ นภาพบริ บทที่กว้ าง ใหญ่มากเพียงใด แต่หลายครัง้ ที่ความกว้ าง ใหญ่ ข องค� ำ นี ก้ ลับ เล็ ก เกิ น กว่ า ที่ จ ะให้ เ รา เรียกร้ อง ยืน่ ข้ อเสนอ เพือ่ ความเป็ นอยูใ่ นชีวติ แต่ละวันของเราให้ มีมาตราฐานที่เหมาะสม ส�ำหรับการเป็ นพลเมืองของประเทศนี ้ได้ เพี ย งเพราะเราเป็ นเพี ย งจุ ด เล็ ก ๆ จุดหนึ่งในอีกหลายล้ านจุดในสังคมเท่านัน้ หรื อ เพราะความส� ำ คั ญ ระดั บ ปั จเจกนั น้ น้ อยกว่าประโยชน์สว่ นรวมอย่างค�ำว่าชาติ บางครัง้ “สิทธิ” อาจเป็ นภาพกว้ างที่แคบ เกินกว่าจะไหวติง
ลูก ศิ ล ป์ สามารถตี ค วามได้ ส องความ หมาย หนึง่ คือ ลูกศิลปากร สองคือ ลูกศิษย์ ของอาจารย์ศลิ ป์ พีระศรี ผู้กอ่ ตังมหาวิ ้ ทยาลัย ศิลปากร ทังยั ้ งเป็ นศิลปิ นผู้มมุ านะในการสัง่ สอนและสร้ างสรรค์ผลงานจนเป็ นที่ประจักษ์ แจ้ งแก่สายตาชาวไทย หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ เป็ นของคณะ เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดท�ำโดยนักศึกษาชัน้ ปี ที่ 3 เอกวารสารและสื่อสิ่งพิ มพ์ เพื่ อให้ นักศึกษาแต่ละรุ่ นมีประสบการณ์ตรงในการ
จัด ท� ำ หนัง สื อ พิ ม พ์ อ ย่ า งมื อ อาชี พ เตรี ย ม พร้ อมส�ำหรับการออกไปฝึ กงานภาคสนามทุก รู ปแบบ ไม่ว่าจะเป็ นการฝึ กงาน จุลนิพนธ์ หรื อ หลัง จบส� ำ เร็ จ การศึก ษา โดยขัน้ ตอน การด� ำ เนิ น การ นัก ศึก ษาจะเลื อ กหัว ข้ อ ที่ ตัว เองสนใจเพื่ อ ลงพื น้ ที่ โ ดยอาศัย ทัก ษะ ที่ ไ ด้ รั บ การฝึ กฝนมาใน 2 ปี แรก อาทิ การสั ม ภาษณ์ การถ่ า ยรู ป และมี ก าร แบ่ ง หน้ าที่ ต ามความถนั ด ของแต่ ล ะคน เพื่อจัดท�ำรู ปเล่มหนังสือพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็ น ฝ่ ายจัด หน้ า ฝ่ ายกราฟิ ก ฝ่ ายตรวจทาน
รวมถึงกองบรรณาธิ การ ด้ านงบประมาณ ทางคณะจะสนับ สนุ น งบประมาณ 50% ขณะที่ส่วนที่เหลือนักศึกษาจะเป็ นผู้จัดหา ด้ วยตนเอง ผลลัพ ธ์ ที่ ไ ด้ จากการท� ำ งานครั ง้ นี ค้ ื อ นักศึกษาสามารถผลิตหนังสือพิมพ์คณ ุ ภาพ และได้ ม าตรฐานเที ย บเท่ า หรื อ มากกว่า ที่ วางขายในท้ องตลาดรวมถึงนักศึกษาสามารถ น� ำ ประสบการณ์ ที่ ไ ด้ รั บ ไปประยุก ต์ ใ ช้ กับ การฝึ กงานและอาชีพการงานในอนาคต
ตลอดระยะเวลาที่ ผ่ า นมา ระบบการ ค ม น า ค ม ถู ก พั ฒ น า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ่ ่ ให้ มีประสิทธิ ภาพและศักยภาพสูง ที่ ท�ำให้ เริมต้นจากทีพักอาศัย ้ ได้ รับความสะดวกสบาย หากคุณอาศัยอยูใ่ นคอนโดหรื ออะพาร์ ต- เรา-ท่านทังหลาย และความพึ ง พอใจสู งสุด แต่ส�ำหรับผู้พิการ เมนต์ ที่ ต้ อ งใช้ ลิ ฟ ต์ เ ป็ นเครื่ อ งช่ ว ยทุ่น แรง ขึน้ ลงระหว่ า งชัน้ ถ้ า วัน หนึ่ ง เกิ ด อุบัติ เ หตุ หรือผู้ทมี่ คี วามต้ องการพิเศษต่างจากคนปกติ ขณะใช้ งาน แน่ น อนว่ า ผลที่ ต ามมาคื อ ความสะดวกสบาย ประสิ ท ธิ ภ าพและ การสูญเสียทรัพย์สินหรื อชีวิต และคุณอาจ ศั ก ยภาพในการรั บ บริ ก ารเหล่ า นี ไ้ ปถึ ง เป็ นผู้สญ ู เสียก็เป็ นได้ แล้ วใครจะรับผิดชอบ พวกเขาแล้ วหรื อยัง แต่ในระยะเวลา 1 ปี ที่ผ่านมา จากการ ความสูญเสียดังกล่าวให้ แก่คณ ุ รายงานข่ าวระบบขนส่งสาธารณะไม่เอื ้อต่อ แน่นอนว่าสถานทีพ่ กั อาศัยจ�ำนวนไม่น้อย ผู้ พิ ก ารของหนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ จาก อยู่ในความดูแลรับผิดชอบของเอกชน แต่ สิ่ ง ที่ ภ าครั ฐสามารถท� ำ ได้ คื อ ฉบั บ ที่ แ ล้ วจนมาถึ ง ฉบั บ นี ้ เราพบเห็ น การใช้ กฏหมายเป็ นเครื่ องมือคุ้มครองด้ าน รถประจ� ำ ทาง ที่ มี ช านต�่ ำ เพื่ อ อ� ำ นวย ความปลอดภัย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ของ ความสะดวกให้ แก่ ผ้ ู พิ ก ารแล้ วหรื อไม่ พลเมือง ด้ วยการตรวจสอบอาคาร สถานที่ การอ�ำนวยความสะดวกสบายอื่นในระบบ เมื่ อ ถึ ง ระยะเวลาตามที่ ก� ำ หนด แต่ ใ น คมนาคมขนส่ง บริ การสาธารณะเพียงพอ แล้ วหรื อยัง ทางปฏิบตั เิ ป็ นเช่นนันหรื ้ อไม่ บุ ค คลกลุ่ ม นี ล้ ้ วนมี สิ ท ธิ ที่ เ สมอภาค หรื อ ต้ องรอให้ เกิ ด เหตุ ร้ ายแรงขึ น้ มา ก่ อ นถึ ง จะมี ก ารตรวจสอบมาตราการ ไม่ต่า งจากคนปกติ แต่เ พราะเหตุใดรั ฐ จึง หรื อการด� ำ เนิ น การแก้ ไขในรู ป แบบใด เพิกเฉยต่อความล�ำบากของพวกเขา รู ป แบบหนึ่ ง ไม่ ต่ า งจากวั ว หายแล้ วจึ ง การเข้าถึงด้านการรักษาพยาบาล เมื่ อเจ็บไข้ ได้ ป่วย เราไม่ต้องการสิ่งใด ล้ อมคอก มากเกิ น ไปกว่ า แพทย์ ผ้ ู รั ก ษา หยู ก ยาที่ ถัดมาบนท้องถนน หลายครั ง้ ที่ เ รามัก จะเห็ น ข่า วอุบัติ เ หตุ บรรเทาอาการป่ วย ไม่ ว่ า ใกล้ หรื อไกล สถานพยาบาล ที่ เ กิ ด ขึ น้ จากการใช้ จัก รยานบนท้ อ งถนน ย่ อ มต้ องอยู่ใกล้ ชุมชน มีศกั ยภาพเพียงพอ แม้ ว่ า ภาครั ฐ เองจะมี โ ยบายสนั บ สนุ น การใช้ จักรยาน ด้ วยการสร้ างเลนจักรยาน ที่ จ ะสามารถให้ บริ การ และมี ขั น้ ตอน ในพื ้นที่ตา่ ง ๆ แต่ความปลอดภัยในการขับขี่ การเยียวยารักษาจากอาการเจ็บป่ วยระยะ จักรยานบนท้ องถนน รั ฐนัน้ ได้ สร้ างขึน้ มา แรกไปจนถึงภาวะสุดท้ ายของชีวิต รั ฐได้ ประกันระบบสุขภาพของพลเมือง เ พื่ อ ป ร ะ กั น ชี วิ ต ข อ ง นั ก ปั่ น จั ก ร ย า น ด้ วยนโยบายการบริ การสุขภาพต่าง ๆ อาทิ แล้ วหรื อยัง ค� ำ ถามส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ เรื่ อ งนี ค้ งมี อ ยู่ ระบบเขตสุขภาพ นโยบาย 30 บาทรั กษา ไม่ กี่ ค� ำ ถาม โดยเฉพาะประเด็ น เกี่ ย วกับ ทุกโรค หรือการจ่ายสมทบอืน่ ทีม่ าจากภาครัฐ การออกแบบถนนนันมี ้ เพื่อการใช้ ประโยชน์ ล้ วนแล้ วแต่ เ ป็ นความพยายามสร้ าง มาตรฐานการเข้ าถึงและสิทธิ ในการรั กษา จากพาหนะทุกชนิดหรื อไม่ แน่นอนว่าถนนหนทางส่วนใหญ่และเกือบ พยาบาลของพลเมื อ งมาโดยตลอด และ ทัง้ หมดในประเทศนี ้ ถูก ออกแบบมาเพื่ อ หวั ง เป็ นอย่ า งยิ่ ง ว่ า ความพยายามนี ้ ส� ำ หรั บ การใช้ รถยนต์ เ ป็ นหลั ก ต่ อ ให้ มี จะไม่ ห ายไปในเร็ ววั น อย่ า งที่ เ ป็ นข่ า ว เลนจักรยานอีกกี่ร้อยกี่พนั แห่ง สุดท้ ายส�ำนึก ครึกโครมในช่วงก่อนหน้ านี ้ จากตัว อย่ า งทัง้ หมดนี ้ ค� ำ ว่ า “สิ ท ธิ ” การใช้ สาธารณะประโยชน์ ร่ ว มกั น ย่ อ ม ไม่ มี ท างเกิ ด ขึ น้ ได้ จ ริ ง ในเมื่ อ รถยนต์ คื อ ยังเป็ นเรื่ องไกลตัวอีกหรื อไม่ เห็ น ได้ ชั ด ว่ า สิ ท ธิ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ องไกลตั ว เจ้ าของถนนเพียงผู้เดียว สุด ท้ า ยการขับ ขี่ จัก รยานบนท้ อ งถนน จากความเข้ าใจทีผ่ า่ นมาได้ หล่อหลอมให้ เกิด ย่อ มไม่ต่า งจากการเอาชี วิ ต ของตนเองไป ความคิดความตระหนักเช่นนัน้ สิทธิเสมือน เสี่ ย งกับ ความตาย แล้ ว มี ใ ครบ้ า งที่ อ ยาก ลมหายใจเข้ าออกให้ เรามีชีวิตอยูต่ อ่ ไป ทัง้ หมดนี ไ้ ม่ ไ ด้ โ จมตี ห รื อ ประเมิ น การ จะเอาชีวติ ตัวเองไปเสีย่ งตายเช่นนี ้และต่อให้ มี เ ลนส� ำ หรั บ จั ก รยานอี ก กี่ ร้ อยกี่ พั น แห่ ง ท�ำงานของรั ฐบาลว่าล้ มเหลวไม่เป็ นท่าแต่ อย่างใด และไม่ได้ ศกั ดิ์แต่อ้างถึงสิทธิแต่ฝ่าย ก็ไม่สามารถแก้ ไขปั ญหานี ้ได้ จริ ง
25/1/2559 10:37:48
สกู๊ปพิเศษ
6
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ยอมเป็ น ‘ผัก’ หรือรักษาศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์ สิทธิปฏิเสธการรักษา: กฎหมายไม่รองรับญาติตัดสินใจแทน ขัน้ ตอนการทําหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์รับบริการสาธารณสุข ให้หมอวินิจฉัย อาการของโรค
เขียนชื่ อ ที่อยู ่ เบอร์ติดต่อ เลขบัตรประชาชน และวันที่เขียน
ใส่ข้อมู ลของพยาน และคนใกล้ชิด พร้อมลงชื่ อรับรอง
ระบุ ส่งิ ที่ไม่ต้องการรับ
ทําสําเนาให้พยาน และคนใกล้ชิด
หมอทําตามหนังสือ และรักษาผู ้ป่วย ตามอาการ จนผู ้ป่วยเสียชี วิต
Y COP
สามารถ ป ฏิ เ ส ธ สิ่ ง นี้ ไ ด้
ฟื้ นคืนชี พเมื่อ หั วใจหยุ ด เต้ น
ความก้ าวหน้ าทางการแพทย์ปัจจุบนั ท�ำให้ สามารถยืดความตายของมนุษย์จากอุบตั เิ หตุ หรือโรคภัยได้ แต่มหี ลายกรณี ความก้ าวหน้ า ทางการแพทย์ไม่สามารถช่วยผู้ป่วยกลับมา ใช้ ชวี ติ ได้ อย่างปกติ ต้ องอยูใ่ นสภาพฟื น้ ไม่ได้ ตายไม่ลง สูญเสีย “ศักดิศ์ รีความเป็ นมนุษย์” ล่ า สุด มี ป ระเด็ น ที่ ถ กเถี ย งกั น ในสัง คมว่ า วาระสุดท้ ายของชีวติ ผู้ป่วยมีสทิ ธิ์ตดั สินใจที่ จะขอรั บ การรั ก ษาหรื อ ปฏิ เ สธการรั ก ษา ได้ หรื อไม่ กระทั่งมี กฎหมายให้ สิทธิ ผ้ ูป่วย เลื อ กทางเดิ น สุด ท้ า ยของเขาเกิ ด ขึ น้ เป็ น ครัง้ แรกในประเทศไทย ย้ อนไป 6 ปี กอ่ น วณาภรณ์ จิรพิสยั สุข ต้ อ ง ตั ด สิ น ใ จ ค รั ้ง ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ใ น ชี วิ ต ในการปล่ อ ยให้ แม่ บั ง เกิ ด เกล้ าจากไป อย่ า งสงบ ด้ วยความสงสารที่ แ ม่ ต้ อง ทุกข์ทรมานกับโรคร้ ายมานานกว่า 10 ปี และ ต้ องนอนพักรั กษาตัวอยู่ในห้ องฉุกเฉิ นของ โรงพยาบาลมากกว่าทีบ่ ้ าน “ปี 2552 หมอวินิจฉัยว่า โรคตับของแม่ ไม่สามารถรักษาได้ แล้ ว และยังมีภาวะไตวาย แทรกซ้ อน หมอท� ำได้ แค่รักษาตามอาการ เท่านัน้ จึงตัดสินใจว่าหากแม่หวั ใจหยุดเต้ น อี ก ครั ง้ ก็ ไ ม่จ� ำ เป็ นต้ อ งปั๊ ม หัว ใจขึน้ มาอี ก เห็นแม่ทรมานกับเครื่ องมือต่าง ๆ ที่แพทย์ พยุง ชี วิ ต ไว้ ก็ ร้ ู สึก สงสารและทรมานไปกับ คุณแม่ด้วย” วณากรณ์ กล่าว เช่ น เดี ย วกับ รั ศ มี หมั ด อะดั ม้ ต้ อ ง ตัด สิ น ใจร่ ว มกั บ ญาติ เพื่ อ ปล่ อ ยให้ ลุง ที่ บาดเจ็บสาหัสจากอุบตั เิ หตุรถชนจากไป เพราะ แพทย์วนิ จิ ฉัยว่า อวัยวะภายในของลุงฉีกขาด หลายส่วน กระดูกซี่โครงหัก สามารถมีชีวิต อยูไ่ ด้ ด้วยเครื่องช่วยหายใจ “ตอนแรกพวกเราตัดสินใจยื ้อชีวติ ของลุงไว้ แม้ จะรู้วา่ ลุงอยูไ่ ด้ ไม่นาน เพือ่ รอให้ ลกู ของลุง มาเยีย่ ม แต่หลังจากทีล่ กู ลุงมาเยีย่ ม ลุงมีอาการ ทรุดหนัก จึงตัดสินใจที่จะให้ ทา่ นไปเพราะไม่ อยากยื ้อไว้ ให้ ทรมานอีก” รัศมี กล่าว ทัง้ 2 กรณี เป็ นการตัดสินใจแทนญาติ ทีป่ ่ วยหนักขันวิ ้ กฤต หรือป่ วยด้ วยโรคทีไ่ ม่อาจ รั กษาให้ หายขาด ให้ เสียชี วิตไปอย่างสงบ ด้ วยเจตนาทีด่ ี คือไม่ต้องการให้ ผ้ ปู ่ วยทรมาน LOOKSILP FOR PRINT.indd 6
O2
ให้สารอาหารและ นํ้าทางสายยาง
ใช้เครื่องช่ วยหายใจ
รักษาโรคแทรก ซ้ อ นด้ ว ยยา
เรียกว่า การการุณยฆาต (Mercy Killing หรือ การไปยื อ้ ชี วิ ต คนที่ ม าถึ ง วาระสุด ท้ ายไว้ Euthanasia) ตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ก็ไม่ควรท�ำ” นายบุญชุม กล่าว สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 12 ให้ สทิ ธิ ด้ าน ภานุวฒ ั น์ ชุตวิ งศ์ อาจารย์ประจ�ำ ผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาได้ ภาควิชานิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ขณะที่บางคนเลือกที่จะยื ้อชีวิตผู้ป่วยไว้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า กรณีคนไข้ โดยคิดว่าการรักษาผู้ป่วยอย่างเต็มทีค่ อื สิง่ ทีด่ ี ไม่ร้ ู สึก ตัว แล้ ว ญาติ บ อกให้ ห ยุด การรั ก ษา ทีส่ ดุ เช่น นฤมล สินธุวสิ ทุ ธ์ ทีย่ งั ยื ้อชีวติ ของ โดยหลักแพทย์ ไม่สามารถท� ำตามค�ำขอได้ แม่ ที่ ป่ วยเป็ นมะเร็ ง เพราะผิดกฎหมาย แต่ที่ ไขกระดูก แม้ วา่ แพทย์จะ ยั ง ท� ำ ให้ อยู่ อ าจเป็ น แพทย์ ไ ม่ ส ามารถท� ำ วินิจฉัยแล้ วว่า ยากที่จะ เจตนาที่ ดี ข องแพทย์ ที่ รักษาให้ หาย เพราะเกิน ตามค�ำขอได้เพราะ ไม่ ต้ องการให้ ผู้ ป่ วย ระยะ ทีส่ ามารถปลูกถ่าย ทรมาน และญาติผ้ ปู ่ วย ผิดกฎหมาย ไขกระดูกได้ ท�ำได้ เพียง ไม่ ต้ องแบกรั บ ภาระ ่ แต่ ท ี ท ำ � เพราะมี เ จตนาดี รักษาตามอาการ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย เ พิ่ ม ขึ ้ น “ครอบครัวเราอยาก ไม่อยากให้ผู้ป่วยทรมาน แ ม้ ว่ า ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ให้ คุณ แม่ อ ยู่ กั บ เราให้ ดังกล่าวต้องมีการวินจิ ฉัย และลดภาระค่าใช้จ่าย แล้วว่า เป็ นวาระสุดท้ าย นานที่สุดเท่าที่จะอยู่ได้ จึ ง คิ ด ว่ า ต้ อ งดู แ ลและ แก่ญาติ...การยื้อผู ้ป่วย ของชีวติ ผู้ป่วยจริง ๆ เช่น รั ก ษ า แ ม่ ใ ห้ ดี ที่ สุ ด ” อวัยวะภายในเสียหาย เอาไว้ ท ำ � ให้ ม อง นฤมล กล่าว รุ น แรง เกิ ด การติ ด เชื อ้ ส่วนข้ อถกเถียงในเชิง ไตวาย สมองได้ รั บ ผู ้ป่วยไม่ใช่ คน ศาสนาว่า การุ ณยฆาต ความเสี ย หายรุ น แรง ถื อ ว่ า เป็ นการท� ำ บาป อาการเข้ าสูร่ ะยะสุดท้ าย เพราะไปตัดชีวิตของผู้อื่น บุญชุม บัวหล้ า ของโรคและต้ องคุยกับญาติผ้ ูป่วยให้ เข้ าใจ อดีตอาจารย์สอนวิชาพระพุทธศาสนา โรงเรียน ตรงกันทังสองฝ่ ้ าย วัดราชโอรส กล่าวว่า ศาสนาพุทธให้ ดทู เี่ จตนา ภานุวฒ ั น์ กล่าวต่อว่า เดิมแพทย์จะยึดว่า เป็ นหลัก หากแพทย์ยอมให้ ผ้ ปู ่ วยทีท่ รมานจาก ต้ องรักษาผู้ป่วยให้ ดที สี่ ดุ ใช้ ทกุ เครื่องมือเต็มที่ โรคทีร่ กั ษาไม่หายจากไปอย่างสบาย ไม่ถอื ว่า มีสายระโยงระยางเต็มไปหมด มีชวี ติ อยูเ่ พราะ เป็ นการตัดชีวติ เครื่องช่วย แต่ตอนนี ้แพทย์ยคุ ใหม่มแี นวคิดที่ “บุ ญ คื อ การกระท� ำ ที่ ไ ม่ ท� ำ ให้ เกิ ด ต่ า งออกไป โดยมองว่ า เมื่ อ ช่ ว ยจนสุ ด ความเดือดร้ อนทังต่ ้ อตนเองและผู้อื่น ดังนัน้ ความสามารถ และเป็ นวาระสุดท้ ายของผู้ป่วย
“
”
?
การุณยฆาต
คืออะไร
ICU รักษาในห้อง ICU
แพทย์กม็ หี น้ าทีช่ ว่ ยให้ ผ้ ปู ่ วยจากไปอย่างสงบ ให้ สมศักดิศ์ รีความเป็ นมนุษย์ “ผมไม่ เ ห็ น ด้ ว ยในการแก้ ไขกฎหมาย รับรองให้ ญาติผ้ ปู ่ วยแสดงเจตนาแทนได้ เพราะ อาจเกิดปัญหาเกีย่ วกับมรดก เช่น ลูกคนโตดูแล พ่อทีป่ ่ วยมานาน ตัดสินใจให้ พอ่ ไปอย่างสงบ แต่ ลู ก คนเล็ ก อยู่ ต่ า งประเทศรู้ ข่ า วพ่ อ ก็ ไม่อยากให้ ทำ� เพราะไม่รู้วา่ พีห่ วังมรดกหรือว่า มีเจตนาทีด่ กี บั พ่อ ในกรณีดงั กล่าวแพทย์กจ็ ะ ไม่กล้ าท�ำให้ จึงเสนอให้ คนใช้ สทิ ธิตาม พ.ร.บ. ล่วงหน้ า เพื่อป้องกันปั ญหาที่อาจเกิ ดขึน้ ” ภานุวฒ ั น์ กล่าว อติรุ จ ตั น บุ ญ เจริ ญ ผู้พิพากษาศาล จั ง ห วั ด เ พ ช ร บุ รี ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ว่ า เรื่ องการุ ณ ยฆาตมี ก ารถกเถี ย งกั น เป็ น เวลานาน จนเกิด พ.ร.บ.ดังกล่าว เหตุผลหนึง่ ก็ เพือ่ ป้องกันการฟ้องร้ องแพทย์ทที่ ำ� การรักษา “แต่สภาพทีเ่ กิดขึ ้นจริง มีหลายกรณีผ้ ปู ่ วย ไม่ ไ ด้ ใ ช้ สิ ท ธิ ต าม พ.ร.บ.ดัง กล่ า วเพราะ ไม่ ร้ ู สึก ตัว แล้ ว ท� ำ ให้ ญ าติ เ ป็ นผู้ตัด สิ น ใจ กลายเป็ นการการุ ณยฆาตแบบไม่สมัครใจ ทางอ้ อม หรื อท�ำให้ ผ้ ปู ่ วยเสียชีวิตอย่างสงบ โดยไม่ ส มั ค รใจซึ่ ง กฎหมายไม่ ร องรั บ ” ผู้พพิ ากษาศาลจังหวัดเพชรบุรี กล่าว และว่า หากอนาคตจะปรั บปรุ งกฎหมายให้ ส อ ด ค ล้ อ ง ต้ อ ง ดู ว่ า ก ร ะ แ ส สั ง ค ม เห็นอย่ างไร ทัง้ นี ้ ที่ผ่านมาไม่ เคยเกิด การฟ้ องร้ องการการุ ณยฆาตแบบ ไม่ สมัครใจทางอ้ อม โชติกา กนิษฐนาคะ
Webster Dictionary แปลค�ำว่า Euthanasia ว่า “การตายอย่างสบาย หรือการท�ำให้ คนที่ ป่ วยด้ วยโรคที่ทกุ ข์ทรมาน และรักษาไม่หายเสียชีวิตด้ วยวิธีการที่ไม่สร้ างความเจ็บปวด” ส่วน Dorland’s Medical Dictionary ระบุว่า Euthanasia คือ Mercy Killing แปลว่า “การุณยฆาต” ในภาษาไทย ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 12 บัญญัตใิ ห้ สิทธิแก่บคุ คลแสดงเจตนาไม่ประสงค์ขอรับบริการสาธารณสุข เพือ่ ยืดการตายในวาระสุดท้ าย ของชีวติ ตน ซึง่ เป็ น การุณยฆาตทางอ้ อม (Passive Euthanasia) แต่ยงั ไม่มบี ทบัญญัตใิ ห้ สทิ ธิ บุคคลขอให้ แพทย์ทำ� ให้ ตนตายเร็วขึ ้น หรือเรียกว่า การุณยฆาตทางตรง (Active Euthanasia)
25/1/2559 10:37:48
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
สิทธิสตรี
7
สลด!สตรีพกิ ารถูกกระท�ำทารุณทางเพศเพิ่ม ซ�้ ำเด็กพิการยังถูกละเมิดทางเพศต่อเนื่องทุกปี องค์กรสตรีชี้ผูเ้ สียหายถูกละเมิดซ�้ ำโดยกระบวนการยุ ตธิ รรม รัฐรับขาดพนง.สอบสวนหญิง-ล่ามภาษามือ สัง่ ปรับทัศนคติจนท.ให้เข้าใจศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เช้ ามื ดเดือนกุมภาพันธ์ เมื่ อ 6 ปี ที่ แล้ ว ทีจ่ งั หวัดสระบุรี สาวน้ อยพิการซ� ้ำซ้ อนหูหนวก ตาบอด วัยเพียง 18 ปี ก�ำลังนอนหลับอยูบ่ ้ าน เธอถูกเพื่อนของพี่ชายกระท�ำช�ำเราทางเพศ โดยที่ ไม่สามารถร้ องขอความช่วยเหลือได้ จนตัง้ ครรภ์ ต่อมาบุตรที่คลอดถูกส่งไปยัง สถานสงเคราะห์ เพราะเธอเข้ ารับการเยียวยา ทางกายและใจ ท�ำให้ ต้องพลัดพรากจากลูก พ.ต.หญิง อุบลพรรณ ธีระศิลป์ อาจารย์ ประจ�ำภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาล จิ ต เวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย กรุ งเทพธนบุ รี กล่ า วว่ า สตรี พิ ก ารมี ค วามเสี่ ย งต่ อ การถู ก กระท� ำ ความรุ นแรงมากกว่าสตรี ที่ไม่มีความพิการ และยั ง ขาดสิ ท ธิ ก ารเข้ าถึ ง กระบวนการ ยุตธิ รรมและสิทธิการรักษาพยาบาล “มีรายหนึ่งอายุ 15 ปี พิการทางสมอง ถูกน้ าชายข่มขืนจนตังท้ ้ อง แต่ตำ� รวจท�ำเพียง แค่ บัน ทึ ก ประจ� ำ วัน เมื่ อ เข้ า รั บ การรั ก ษา เจ้ าหน้ าทีก่ ลับมองว่า พิการแล้ วยังท้ อง ท�ำให้ กระทบกระเทือนจิตใจผู้ถูกกระท�ำซ�ำ้ สอง” พ.ต.หญิง อุบลพรรณ กล่าว พ.ต.หญิ ง อุ บ ลพรรณ กล่ า วต่ อ ว่ า สตรี พิการยังถูกลดทอนศักดิ์ศรี มีรายหนึ่ง อายุ 28 ปี ประสบอุบตั เิ หตุจนพิการส่วนล่าง ท� ำ ให้ เ จ็ บ ปวดเวลามี เ พศสัม พัน ธ์ กับ สามี แต่ต้องยอมเพือ่ ประคองชีวติ คู่ สุดท้ ายสามีไป มีเพศสัมพันธ์กบั เพือ่ นของเธอ แต่เธอต้ องท�ำใจ ยอมรับ เพราะไม่สามารถให้ สงิ่ นันกั ้ บสามีได้
รายงาน
พิเศษ
“กระบวนการยุ ติ ธ รรมยั ง แยกส่ ว น กันท�ำงาน ระหว่างกระทรวง ต�ำรวจ ศาล ท�ำให้ ปัญหาของสตรี พิการไม่ได้ รับการแก้ ไข และบ�ำบัดฟื น้ ฟูจากการถูกกระท�ำ อีกทังตั ้ ว ผู้ ถู ก ก ร ะ ท� ำ แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว ไ ม่ รู้ สิ ท ธิ และขันตอนด� ้ ำเนินคดี” นางเสาวลักษณ์ กล่าว ด้ าน ร.ต.ท.หญิง เยาวลักษณ์ พะณะงาม พนั ก งานสอบสวน สภ.เมื อ งนครปฐม กล่าวว่า พนักงานสอบสวนที่เป็ นผู้ชายมัก ไม่เข้ าใจความรู้ สกึ ของผู้หญิง แม้ ส�ำนักงาน ต� ำ รวจแห่ ง ชาติ (สตช.) จัด ให้ มี พ นัก งาน สอบสวนหญิงรุ่ นแรกปี 2556 เพื่อสอบสวน ท�ำคดีเกี่ ยวกับผู้หญิ ง ปั จจุบันผลิตออกมา แล้ ว 3 รุ่ น รวม 210 คน แต่ ยัง ขาดอี ก จ�ำนวนมาก โดยเฉพาะภาคอีสานและภาคใต้ ซึง่ สตช.จะผลิตเพิม่ ทุกปี และพยายามกระจาย ให้ เข้ าถึงในทุกพื ้นที่ “ ส่ ว น ค ว า ม รุ น แ ร ง กั บ ส ต รี พิ ก า ร ที่เกิดในครอบครัว ยอมรับว่า การประสาน ง า น กั บ แ พ ท ย์ นั ก สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ จิ ต แพทย์ ต้ อ งใช้ เ วลา ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถ สอบสวนได้ ทั น ที ส่ ว นผู้ เสี ย หายก็ ยั ง ไม่ทราบว่ามี พ.ร.บ.คุ้มครอง ผู้ถกู กระท�ำด้ วย ความรุ นแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 และ ขัน้ ตอนมีความยุ่งยาก จึงไม่มาแจ้ งความ” ร.ต.ท.หญิง เยาวลักษณ์ กล่าว นางถิ ร วดี พุ่ม นิ ค ม ผู้อ� ำ นวยการกอง ยุทธศาสตร์และแผนงาน ส�ำนักงานกิจการสตรี และสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคม
รวมพลังบริจาคเส้นผมท�ำวิก คืนก�ำลังใจให้ผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ปั จ จุบัน ประเทศไทยมี ผ้ ูป่วยโรคมะเร็ ง รายใหม่ประมาณ 100,000 คนต่อปี ปี ลา่ สุด มีผ้ เู สียชีวติ จากโรคนี ้สูงถึง 70,000 คน การรักษาวิธีหนึง่ คือ เคมีบำ� บัดหรือ “คีโม” ในปี 2556 มีผ้ ปู ่ วยทีเ่ ข้ ารับการรักษาด้ วยเคมี บ� ำ บัด ที่ โ รงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์ ประมาณ 3,200 คน แต่ ก ารท� ำ คี โ มก็ ส่ ง ผล ข้ างเคี ย งท� ำ ให้ ผู้ เข้ ารั บ การรั ก ษาผมร่ วง ท� ำ ให้ สู ญ เ สี ย ค ว า ม มั่ น ใ จ ใ น การใช้ ชีวิต แม้ วกิ ผมแท้ จะเป็ นทางออก ส�ำหรับผู้ป่วย แต่มรี าคาขันต� ้ ำ่ กว่า 2,000 บาท เป็ นทรงซอยสันเท่ ้ านัน้ หาก ต้ องการทรงผมยาว ราคาก็สูงตามไปด้ วย ตังแต่ ้ 4,000 บาทไปจนถึง 15,000 บาท 10 ปี ที่ผ่านมา โรงพยาบาลหลายแห่ง ในกรุ ง เทพฯ เช่ น สถาบัน มะเร็ ง แห่ ง ชาติ โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลิม พระเกี ย รติ รับบริ จาคเส้ นผมเพื่อท�ำวิกผมมอบให้ ผ้ ปู ่ วย โดยไม่เสียค่าใช้ จา่ ย ภัทรานิ ษฐ์ เมธีพิสิษฐ์ หัวหน้ าหน่วย พยาบาลคลินิกการแพทย์ผสมผสานผู้ป่วย
LOOKSILP FOR PRINT.indd 7
“ยังมีเด็กพิการตาบอดเคยให้ สมั ภาษณ์ ว่า สัง คมสอนให้ ต้ อ งยอมตัง้ แต่เ ล็ก จนโต ท� ำ ตัว ให้ น่ า สงสารจะได้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ แต่ ดิ ฉั น คิ ด ว่ า สัง คมต้ อ งยอมรั บ ในตัว เขา แ ล ะ ต้ อ ง เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ เ ข า ไ ด้ แ ส ด ง ศั ก ยภาพ แต่ สั ง คมไทยยั ง ขาดจุ ด นี ”้ พ.ต.หญิง อุบลพรรณ กล่าว รายงานสถานการณ์ เ ด็ ก และสตรี ที่ ถู ก กระท� ำ ความรุ น แรงจากศู น ย์ พึ่ ง ได้ ซึ่ ง มี ป ระจ� ำ ในโรงพยาบาลสั ง กั ด กระทรวง สาธารณสุขล่าสุดปี 2557 ระบุว่า มีสตรี ที่ ถูกกระท�ำความรุนแรงและมารับบริการทีศ่ นู ย์ ในรอบ 5 ปี ทผี่ า่ นมา 54,800 คน ในจ�ำนวนนี ้เป็ นสตรี พิการร้ อยละ 10 ซึง่ มีแนวโน้ มเพิ่มมากขึน้ ทุกปี และมีแนวโน้ ม ถูกกระท�ำรุนแรงมากกว่าผู้หญิงทัว่ ไป 1.5 -10 เท่า โดยเฉพาะเด็กหญิ งที่พิการมีแนวโน้ ม ถูก กระท� ำ ความรุ น แรงทางเพศมากเป็ น กรณีพิเศษ นางสาวเสาวลัก ษณ์ ทองก๊ ว ย นายก สมาคมส่ ง เสริ ม ศัก ยภาพสตรี พิ ก าร และ หัวหน้ าส�ำนักงานองค์การพิการสากลประจ�ำ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก กล่าวว่า สตรี พิการ ส่ ว นใหญ่ ถู ก กระท� ำ จากคนในครอบครั ว และคนภายนอกที่ใกล้ ชิด แต่เมื่อเกิ ดเรื่ อง ผู้เสียหายไม่กล้ าแจ้ งความ หรื อแม้ ดำ� เนินคดี ตามกฎหมาย แต่ผ้ เู สียหายถูกละเมิดซ� ้ำจาก ขันตอนการพิ ้ สจู น์ เช่น ใช้ ค�ำถามว่าประกอบ กิจท่าไหน มีความรู้สกึ อย่างไร เป็ นต้ น
มะเร็ ง และญาติ โรงพยาบาลจุ ฬ าภรณ์ บอกว่า โครงการ “ส่งต่อรอยยิ ้มเพื่อผู้ป่วย” ของที่นี่ท�ำมาแล้ ว 6 ปี รับบริจาคเส้ นผมช่วง ตุลาคม-ธันวาคมของทุกปี และรั บบริ จาค วิกผมตลอดทังปี ้ แต่ ล ะเดื อ นมี ผ้ ู ป่ วยมาขอรั บ วิกผมประมาณ 10 คน ซึง่ จัดให้ พอกับความต้ องการ มีทงแบบ ั้ ผมสัน้ ผมยาว สามารถลอง และเลือกได้ “การสูญเสียความมัน่ ใจ กระทบความรู้ สึ ก ในขั น้ ลึ ก การรักษาจึงไม่ใช่แค่ทางกายแต่ เป็ นทางใจด้ วย โครงการนี ้มีขึ ้นเพือ่ ช่วยให้ พวกเขากลับมามีความมัน่ ใจอีก ครัง้ ” ภัทรานิษฐ์ กล่าว โรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ จัง หวัด สงขลา เป็ นอี ก แห่ ง ที่ รั บ บริ จาควิ ก ผม วิลาวัณย์ ฟิ ชัยรั ตน์ หัวหน้ าศูนย์ให้ ยาเคมี บ� ำ บัด ที่ รั บ ผิ ด ชอบการบริ จ าควิ ก ผมของ โรงพยาบาล กล่าวว่า ทุกครัง้ ที่โรงพยาบาล เชิญชวน ก็มีประชาชนจ�ำนวนมากช่วยกัน บริ จ าค แต่ ล ะปี มี ผ้ ู ป่ วยมาขอรั บ วิ ก ผม ประมาณ 100 คน ซึง่ โรงพยาบาลแจกจ่ายได้ พอกับความต้ องการ
ขณะที่ พรทิ พ ย์ สู ง ดี เจ้ าของร้ าน “กระต่ายวิกผม” ย่านพรานนก กรุ งเทพฯ ซึ่ง รั บ ท� ำ วิ ก ผมให้ กับ โรงพยาบาล บอกว่า ร้ านไม่คิดเงินวิกผมที่ท�ำให้ กับโรงพยาบาล เพราะมี ผ้ ูบ ริ จ าคเงิ น มาให้ ถ้ า เป็ นมูล นิ ธิ มาจ้ างท�ำเพือ่ น�ำไปบริจาคหรือผู้ป่วยมาจ้ างท�ำ ร้ านก็คิดราคาต้ นทุนประมาณ 1,200 บาท และท�ำให้ ทกุ ทรง “ร้ านรั บ ท� ำ 10 วิ ก แถม 1 วิ ก ให้ กั บ โรงพยาบาลหรือมูลนิธิตา่ ง ๆ ทีจ่ ะน�ำไปให้ กบั ผู้ป่วย ถื อเป็ นการบริ จาคของทางร้ านเพื่อ ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ทงด้ ั ้ านก�ำลังใจ และ ค่าใช้ จา่ ยด้ วย” กรทอง กรมสุ ริ ย ศั ก ดิ์ วั ย 28 ปี ครู โรงเรี ยนรัฐบาลแห่งหนึ่งในปทุมธานี ซึ่ง เคยบริจาคเส้ นผม กล่าวว่า ตนบริจาค มาแล้ ว 2 ครั ง้ และตัง้ ใจไว้ ผม ต่อไปเรื่ อย ๆ เพือ่ น�ำไปบริจาค อย่างสม�่ำเสมอ ถื อเป็ นการ ให้ ก� ำ ลั ง ใจและยั ง ช่ ว ยลด ค่าใช้ จา่ ยของผู้ป่วยได้ “หากเส้ นผมของดิฉนั ช่วย ให้ เขามัน่ ใจ สามารถออกมาใช้ ชีวิตกับคนอื่นได้ ก็เป็ นเรื่ องที่น่า ยินดี” กรทอง กล่าว
และความมั่น คงของมนุษ ย์ กล่า วว่า เมื่ อ ส ต รี พิ ก า ร ถู ก ก ร ะ ท� ำ ค ว า ม รุ น แ ร ง จ ะ ได้ รั บ การรั ก ษาพยาบาล แล้ วให้ ไปอยู่ สถานสงเคราะห์ ใ นสั ง กั ด ของกระทรวง 1 เดือน โดยมีนกั จิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ ช่วยเหลือทางร่ างกายและจิ ตใจ และยังมี สถาบันฝึ กอาชี พหลายแห่งเพื่อสอนทักษะ อาชีพให้ “ส่วนการด�ำเนินการตาม พ.ร.บ.คุ้มครอง ผู้ถูก กระท� ำ ด้ ว ยความรุ น แรงในครอบครั ว พ.ศ. 2550 คดีหลุดบ่อย เพราะขาดแคลนล่าม ภาษามือ ล่ามผู้ชายไม่เข้ าใจความเป็ นผู้หญิง ท� ำ ให้ มี ปั ญหาในการสื่ อ สาร นอกจากนี ้ ระยะเวลาในการเดินทางมาแจ้ งความก็สง่ ผล ต่อการพิสจู น์หลักฐาน” นางถิรวดี กล่าว ขณะที่ นางจั น ทร์ ชม จิ น ตยานนท์ รองอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ กระทรวง ยุตธิ รรม กล่าวยอมรับว่า ฝ่ ายรัฐยังมีปัญหา ในการปฏิ บั ติ โดยเฉพาะการละเมิ ด ซ� ำ้ โดย เจ้ าหน้ าทีร่ ัฐในทุกกระบวนการ กระทรวง จึ ง มี น โยบายฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่ รั ฐ ให้ ปรับเปลี่ยนทัศนคติให้ เข้ าใจคนพิการ เพราะ ต้ องได้ รับการปกป้องศักดิศ์ รีความเป็ นมนุษย์ เท่ากับคนอื่น เกศราพร เจือจันทร์
ด้ าน ส�ำเภา สิงโตทอง วัย 55 ปี อาชีพ ค้ าขายทัว่ ไป บอกว่า เข้ ารับการรักษามะเร็ ง เต้ า นมด้ ว ยการท� ำ คี โ มบ� ำ บัด ท� ำ ให้ ผ มร่ ว ง จึงเครียดมาก “ดิฉันมีรายได้ ต่อเดือนประมาณ 5,000 บาทเท่านัน้ จะหาวิกมาใส่เองราคาขันต� ้ ำ่ ราว 2,000 บาท ก็ไม่มเี งินพอ และยังได้ แค่ทรงสัน้ แต่ โ รงพยาบาลราชวิ ถี ก็ ช่ ว ยเหลื อ ทั น ที ทังวิ ้ กผม เต้ านมเทียม โดยไม่เสียค่าใช้ จ่าย และได้ ทรงในแบบทีต่ ้ องการ” ส�ำเภา กล่าว ขณะที่ มณฑิรา บุญน�ำ วัย 44 ปี กรรมการ และเลขานุ ก ารสโมสรตะกร้ อการท่ า เรื อ แห่งประเทศไทย ผู้ขอรับบริจาควิกผม บอกว่า หลัง จากเข้ ารั บ การรั ก ษาโรคมะเร็ ง ด้ วย เคมีบ�ำบัดผมก็ร่วง แม้ โกนผมแต่ผมที่ขึ ้นมา ไม่ถงึ 1 เซนติเมตรก็ยงั ร่วงอยู่ เธอบอกว่า ตอนนันเสี ้ ยความมัน่ ใจมาก เพราะรูปลักษณ์เป็ นเรื่องส�ำคัญส�ำหรับผู้หญิง แต่ โ รงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์ ที่ เ ธอเข้ ารั บ การรั กษา แจ้ งว่ามี โครงการมอบวิกผมให้ ผู้ป่วย เธอจึงไปขอรับมา ซึง่ ได้ รับทันทีโดยไม่ เสียค่าใช้ จ่าย สามารถลองและ เลือกทรงผมได้ แ ล ะ ยั ง ท� ำ ใ ห้ เ ธ อ มั่นใจที่จะใช้ ชีวติ พบปะ ผู้คนอีกครัง้ ธิดารัตน์ แซ่ เล้า
25/1/2559 10:37:50
สิทธิเด็ก
8
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
เด็ก 4 พันรายถูกท�ำร้ายจากคนใกล้ชิด ต� ำ รวจแค่ ไ กล่ เ กลี่ ย -ยอมความ80%! กระทรวงพัฒนาสังคมฯ เผยปี 57 มีเด็กถูกกระท�ำความรุ นแรงโดยคนใกล้ชิดกว่า 4,500 ราย ผอ.ศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กเชื่ อมีมากกว่านี้ แต่ไม่ขอรัฐช่ วย นักวิจยั ระบุ เหตุจากวัฒนธรรมเชิ งอ�ำนาจที่ให้ชายเป็นใหญ่ในครอบครัว ส�ำนักกิจการสตรีฯ เผยเหตุรุนแรงในครอบครัว ไม่เข้าสู่กระบวนการตามกฎหมายเกือบร้อยละ 80-เตรียมเสนอกฎหมายใหม่ นักกฎหมายชี้ ต�ำรวจแค่ไกล่เกลี่ยหน้างาน
ข้อแตกต่างที่สำคัญ ในพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วย ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 กับ ร่างพ.ร.บคุ้มครอง สวัสดิภาพบุคคล ในครอบครัว ด.ญ.บี (นามสมมุต)ิ วัย 13 ปี มีพฤติกรรม ล่อ แหลมทางเพศ ก้ า วร้ าว และป่ วยด้ า น สติปัญญา ท�ำร้ ายยายและน้ องชาย หลังจาก เมื่อ 2 ปี ที่แล้ วเคยถูกลุงแท้ ๆ ล่วงละเมิด ทางเพศ 2 ครัง้ ภายในบ้ าน โดยคนในบ้ าน ต่างก็รับรู้ ส่วนด.ช.เอ (นามสมมุติ) วัย 8 ปี กลาย เป็ นโรคสมาธิ สัน้ ดือ้ ต่อต้ านอย่างรุ นแรง เคยท� ำ ร้ ายร่ า งกายยายทวดจนเลื อ ดออก หลัง เคยถูก ยายทวดล่า มโซ่ ตี และด่า ทอ อย่างรุนแรงเป็ นประจ�ำสมัยยังเป็ นเด็กเล็ก ขณะที่ นางสมศรี (นามสมมุติ) แม่บ้าน วัย 40 ปี ถูกสามีท�ำร้ ายหลังเข้ าไปห้ ามไม่ให้ ท�ำร้ ายลูก แต่เธอไม่กล้ าแจ้ งต�ำรวจ เพราะ เกรงว่า สามี จ ะถูก จับ และขาดรายได้ เ ลี ย้ ง ครอบครัว รายงานข้ อ มูล ด้ า นสถานการณ์ ค วาม รุ น แรงต่ อ เด็ ก สตรี และความรุ น แรงใน ครอบครัว ส�ำนักงานกิจการสตรี และสถาบัน ครอบครั ว กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมัน่ คงของมนุษย์ (พม.) ล่าสุดปี 2557 ระบุวา่ การให้ ความช่วยเหลือเด็กที่มาขอรับ บริ ก ารที่ ศูน ย์ พึ่ง ได้ โรงพยาบาลในสัง กัด กระทรวงสาธารณสุข 426 แห่ง ปี ที่ผ่านมา มี เ ด็ ก ถูก กระท� ำ ความรุ น แรง 6,333 ราย ในจ� ำ นวนนี ถ้ ู ก กระท� ำ โดยคนใกล้ ชิ ด ถึ ง 4,528 ราย และถูก กระท� ำ โดยคนไม่ ร้ ู จัก 1,805 ราย ส่วนลักษณะการกระท�ำ เป็ น ความรุนแรงทางเพศมากที่สดุ ถึง 4,434 ราย คิดเป็ นร้ อยละ 70 รองลงมาคือความรุนแรง ทางกาย 1,486 ราย คิดเป็ นร้ อยละ 23.46 ส่วนสาเหตุความรุนแรงต่อเด็กเกิดจากสภาพ แวดล้ อ ม ร้ อยละ 54.26 รองลงมาคื อ ใช้ สารกระตุ้น ร้ อยละ 16.80 ทังนี ้ ในรอบ ้ 5 ปี ทผี่ า่ นมา ภาพรวมจ�ำนวน เด็กถูกกระท�ำความรุ นแรงยังคงที่เฉลี่ยปี ละ 10,000 ราย แม้ ปีล่าสุดจะมีจ�ำนวนต�่ำกว่า LOOKSILP FOR PRINT.indd 8
B BAHT
เบิกค่าใช้จ่ายคำตอบแทน ให้แก่เจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติหน้าที่ พัฒนาและคุ้มครองสวัสดิภาพ บุคคลในครอบครัว
นำเหยื่อผู้ถูกกระทำเข้าสู่ กระบวนการฟื้นฟูอย่างจริงจัง ทั้งในกรณีติดสุรา ยาเสพติดหรือมีอาการทางจิต
ค่าเฉลี่ย แต่เป็ นเพราะการจัดเก็บข้ อมูลขอ เข้ ารับบริ การมีจ�ำนวนน้ อยกว่าปี อื่น ๆ ที่เก็บ ข้ อ มูล จากโรงพยาบาลในสัง กัด กระทรวง สาธารณสุขมากกว่า 500 แห่งทัว่ ประเทศ นางสาววาสนา เก้ านพรัตน์ ผู้อ�ำนวยการ มู ล นิ ธิ ศู น ย์ พิ ทั ก ษ์ สิ ท ธิ เ ด็ ก เปิ ดเผยว่ า ได้ รั บ แจ้ ง เรื่ อ งเด็ ก ถูก กระท� ำ รุ น แรงทุก วัน ข้ อมูลจากศูนย์พึ่งได้ ล่าสุดปี 2556 พบเด็ก ถูกกระท�ำรุนแรงเข้ าสูก่ ารรักษาในระบบกว่า 19,000 คน ซึ่ ง ร้ อยละ 60 ถู ก กระท� ำ โดยคนใกล้ ชิด อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กจ�ำนวน อี ก ไม่ น้ อยที่ ถู ก ท� ำ ร้ าย และไม่ ไ ด้ เข้ ารั บ การรักษาในระบบจึงไม่มีสถิตขิ องเด็กเหล่านี ้ ด้ าน นางปนัดดา ช�ำนาญสุข อาจารย์ ประจ�ำภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า เด็กมัก ถูกกระท�ำจากคนใกล้ ชดิ เพราะไว้ ใจคนทีด่ แู ล และสั ง คมไม่ ไ ด้ สอนให้ เด็ ก ระมั ด ระวั ง สถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการตกเป็ นเหยื่อ เช่น เด็กผู้หญิงอยู่ในห้ อง หรื อบ้ านคนเดียวควร ล็อ คประตู และส่ว นมากคนยัง ยึด ติ ด กับ ค� ำ ว่ า ครอบครั ว เป็ นพื น้ ที่ ส่ ว นบุ ค คล จึ ง ไม่อยากเข้ าไปยุง่ เฝ้าดู หรื อตรวจสอบ นางปนัดดา กล่าวอีกว่า อีกสาเหตุของ ความรุ น แรงในครอบครั ว คื อ พ่ อ แม่ มี ลูก โดยไม่พ ร้ อม จึง เกิ ด ความเครี ย ด น� ำ ไปสู่ การใช้ อารมณ์และความรุนแรง นางอมรา สุนทรธาดา นักวิจยั สถาบันวิจยั ประชากรและสัง คม มหาวิ ท ยาลัย มหิ ด ล กล่าวว่า สังคมไทยสร้ างมายาภาพให้ ผ้ ชู าย เป็ นผู้สืบสกุล หาเลี ้ยงครอบครัว ท�ำให้ ผ้ ชู าย เกิ ด ความรู้ สึ ก เหนื อ กว่ า เพศตรงข้ าม ในขณะที่ ผ้ ู หญิ ง ถู ก สอนให้ มี ค วามอาย จึงไม่กล้ าพูดหรื อปกป้องตัวเองจากสภาวะ ถู ก คุ ก คาม เมื่ อ ต้ องเผชิ ญ ปั ญหาก็ เ กิ ด ความกลัวเกรง จึงเป็ นปั จจัยที่ท�ำให้ ยงั เกิด ความรุนแรงอยู่
ผู้กระทำความรุนแรงต้องถูก แยกจากครอบครัว รวมถึงต้องส่งมอบอาวุธ และใบอนุญาตทันที
ขณะเดียวกัน แม้ ประเทศไทยลงนามใน อนุสญ ั ญาว่าด้ วยสิทธิเด็ก เป็ นสัญญาด้ าน สิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ เมื่อปี 2535 ก� ำหนดให้ สมาชิกต้ องปกป้องคุ้มครองเด็ก ในประเทศของตนให้ รอดพ้ นจากการถูกท�ำร้ าย ล่วงละเมิด ทอดทิ ้ง และแสวงประโยชน์ในทุก รู ปแบบ แต่รายงานผลการด�ำเนินงานตาม อนุสญ ั ญาว่าด้ วยสิทธิเด็กฉบับที่ 3-4 ของคณะ อนุกรรมการเรื่ องสิทธิ เด็ก คณะกรรมการ ส่ ง เสริ ม และการพัฒ นาเด็ ก และเยาวชน แห่งชาติ ซึง่ จัดเก็บข้ อมูลทุก 5 ปี เพื่อส่งให้ คณะกรรมการสิทธิเด็ก ณ กรุ งเจนีวา ฉบับ ล่าสุดปี 2555 ระบุข้อกังวลเกี่ยวกับวิธีการ ลงโทษเด็กเพือ่ ให้ เกิดวินยั จึงเสนอให้ ไทยออก กฎหมายห้ ามลงโทษเด็ ก ในบ้ านรวมถึ ง สถานเลี ย้ งดูรู ป แบบอื่ น เปลี่ ย นมาใช้ วิ ธี การสร้ างและส่งเสริมวินยั เชิงบวกแทน ด้ านเว็บไซต์ www.violence.in.th ของ ส�ำนักงานกิจการสตรี และสถาบันครอบครัว พม. ระบุวา่ หลังจากทีม่ กี ารใช้ พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คุ้มครองผู้ถกู กระท�ำความรุนแรงใน ครอบครัว พ.ศ. 2550 มีจำ� นวนเหตุการณ์ความ รุนแรงในครอบครัวในช่วง 4 ปี ระหว่างปี 25532557 ทังสิ ้ ้น 4,422 เหตุการณ์ ไม่เข้ าสูก่ ระบวน ตาม พ.ร.บ. 3,423 เหตุการณ์ หรือสูงถึงร้ อยละ 77.40 เข้ าสูก่ ระบวนการตาม พ.ร.บ.ดังกล่าว เพียง 999 เหตุการณ์ในจ�ำนวนนี ้ยอมความ 140 เหตุการณ์ นายเลิ ศ ปั ญ ญา บู ร ณบัณ ฑิ ต อธิ บ ดี กรมกิ จ การสตรี และสถาบั น ครอบครั ว พม. ชี แ้ จงว่า กรมกิ จการสตรี และสถาบัน ครอบครั วเสนอคณะรั ฐมนตรี พิจารณาร่ าง พ.ร.บ.คุ้มครองสวัสดิภาพบุคคลในครอบครัว แล้ ว มุ่ง บัง คับ ใช้ ก ฎหมายอาญาเป็ นหลัก ศาลสั่ ง ควบคุ ม ตั ว ผู้ กระท� ำ ผิ ด เพื่ อ รั บ การบ�ำบัดฟื น้ ฟูในสถานทีท่ ี่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้ านจนครบตามระยะเวลาและขันตอน ้
ผู้กระทำความรุนแรง ห้ามเข้าใกล้หรือข่มขู่ คุกคามผู้ถูกกระทำ
ซึ่งกฎหมายปั จจุบนั ไม่มีในส่วนนี ้ น่าจะแก้ ปั ญหาผู้กระท� ำผิดกลับมากระท� ำผิดซ�ำ้ ได้ นอกจากนี ไ้ ด้ เสนอกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พิจารณาเพิ่มหลักสูตรการเรี ยนในเรื่ องสิทธิ และความเท่าเทียมทางเพศแล้ ว นายวัชรินทร์ ปัจเจกวิญญูสกุล นักกฏหมาย ด้ านสิทธิเด็ก กล่าวว่า พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 และ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถกู กระทํา ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ดีอยูแ่ ล้ ว เพราะมองการแก้ ปั ญ หาความรุ น แรงใน ครอบครัวว่ามีความละเอียดอ่อนแตกต่างจาก การท�ำร้ ายร่างกายระหว่างบุคคลทัว่ ไป ไม่ควร ใช้ มาตรการทางอาญามาบังคับใช้ แต่ที่ มี ปั ญหาคื อ การบั ง คั บ ใช้ กฎหมายของ เจ้ าหน้ าทีร่ ัฐ เนือ่ งจากกฎหมายซับซ้ อน หลาย ขันตอนและต้ ้ องประสานหลายหน่วยงาน “ในความเป็ นจริ งเมื่อเกิดเหตุการณ์ ขึน้ หากคู่กรณีประสงค์ให้ เป็ นคดีความ ต�ำรวจ จะจั บ กุ ม ผู้ กระท� ำ ไปด� ำ เนิ น คดี แ ต่ ห าก ไม่ประสงค์ให้ เป็ นคดีความ ต�ำรวจจะไกล่เกลีย่ โดยไม่เข้ าสูก่ ระบวนการตามกฎหมาย นีจ่ งึ เป็ น จุดทีเ่ ป็ นปั ญหา” นายวัชรินทร์ กล่าว นายวัชริ นทร์ กล่าวอีกว่า ในต่างประเทศ เมื่อเกิ ดคดีความจะควบคุมตัวผู้กระท�ำผิด มาสอบสวน ท�ำบันทึกข้ อตกลงและเข้ ารั บ การบ� ำ บั ด ฟื ้ น ฟู พ ฤติ ก รรมให้ หายจาก ความรุนแรง ส่วนผู้ถกู กระท�ำที่เป็ นเด็กจะถูก ส่งตัวไปยังครอบครั วที่สามารถดูแลเด็กได้ ต่างประเทศท� ำได้ แล้ ว เพราะมี หน่วยงาน ภาคเอกชนทีม่ คี วามเข้ มแข็งและการปฏิบตั ทิ ี่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แตกต่ า งจากไทยที่ ยั ง ไม่ เ ข้ มแข็ ง ปั ญหาเรื่ องความรุ นแรง ในครอบครั วเป็ นปรากฏการณ์ ในสังคมที่มี ทุ ก สั ง คม ไม่ ส ามารถแก้ ไขได้ แต่ ท� ำ ให้ ลดลงได้ ไอรยา โสกขุนทด 25/1/2559 10:37:51
สิทธิเด็ก
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
9
วิ ก ฤต!เด็ ก คดี ย าเสพติ ด พุ ่ ง ปี ล่าสุดกว่า1.6หมื่นราย-ท�ำผิดซ�้ ำมากอันดับ1 เด็กและเยาวชนกับคดียาเสพติด ในรอบ 10 นับจากปี 2547 เด็กและเยาวชนถูกดำเนินคดียาเสพติดมากที่ สุด
เด็กและเยาวชนถูกดำเนินคดียาเสพติดมาก อันดับหนึ่งนาน 6 ปี
คดียาเสพติด 129,844 คดี
39.50%
42.24%
45.18%
33.35%
คดีทรัพย์ 111,126 คดี
26.64%
้ คดียาเสพติดมีการทำผิดซ้ำมากกว่ าคดีอ่นนาน ื ่ 4 ปี
คดีชีวิตและร่างกาย 62,971 คดี
คดีอ่ืนๆ
43.10%
คดีอาวุธและวัตถุระเบิด 31,473 คดี
29.26%
35.62%
1,864 คดี
1,968 คดี
35.40%
1,725 คดี
42.26%
43.20%
3,165 คดี
2,958 คดี
47.77%
3,058 คดี
คดีอ่ นื ๆ 109,491 คดี ข้อมูลจาก สถิติรายงานคดีประจำปี กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม
ปี 2552
12,352 คดี
ปี 2553
14,695 คดี
ปี 2554
13,845 คดี
ปี 2555
14,733 คดี
ปี 2556
15,530 คดี
ปี 2557
16,508 คดี
เด็กและเยาวชนถูกด�ำเนินคดียาเสพติดมากเป็นอันดับหนึ่งนานเกินครึ่งทศวรรษ ตะลึง! ท�ำผิดซ�้ ำเกือบครึ่งของผู ้ท�ำผิดทัง้ หมด พบคุณภาพศูนย์ ฝึ กและอบรมฯต�่ำ อดีตรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนฯ-นักวิชาการชี้ ไม่มีพื้นที่ ภาครัฐรับไม่มีระบบติดตาม-ดูแลหลังปล่อยตัว หลังถูกด�ำเนินคดีและคุมประพฤติ “จอม” ไม่ ยุ่ ง เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด กระทั่ง ตัด สิ น ใจ เสพยาบ้ าอีกครัง้ กับเพื่อนกลุ่มเดิมเมื่อขึน้ มัธ ยมปลายด้ ว ยความเครี ย ดที่ เ ห็ น พ่อ แม่ ทะเลาะกันจนหย่าร้ าง และเขาต้ องอยูก่ บั พ่อ ซึง่ มีภรรยาใหม่ รวมถึงเป็ นผู้ขายเพื่อให้ มีเงิน มาซื ้อยาจนถูกจับด�ำเนินคดีและคุมประพฤติ เมื่ อ ออกมาไม่ ถึ ง ปี เขาผั น ตั ว เป็ นผู้ ขาย และเสพบ้ า งเป็ นครั ง้ คราวด้ ว ยความรู้ สึก น้ อยใจคนรอบข้ างที่ไม่ไว้ ใจตนอย่างเช่นเคย ส่วน “ใจ” เริ่ มเสพยาบ้ าตอนมัธยมต้ น จากการเลียนแบบแฟนและกลุม่ เพื่อนที่เที่ยว เตร่ด้วยกันจนติด เธอเคยเชือ่ ว่าการเสพยาบ้ า ท� ำ ให้ ผอมลง หลั ง ถู ก ด� ำ เนิ น คดี แ ละ คุมประพฤติ เธอออกจากบ้ านมาใช้ ชีวิตกับ แฟนคนใหม่โดยไม่ร้ ูมาก่อนว่าแฟนเสพยาบ้ า ในที่สดุ เธอกลับมาเสพอีกครัง้ และวางแผน กั บ แฟนลัก ทรั พ ย์ เ พื่ อ น� ำ เงิ น มาซื อ้ ยาบ้ า จนถู ก ด� ำ เนิ น คดี และต้ องมาใช้ ชี วิ ต ใน ศูนย์ ฝึ กและอบรมฯ ไม่ ต่ า งกั บ “โจ๊ ก” ซึ่ ง เคยใช้ ชี วิ ต อยู่ ในศู น ย์ ฝึ กและอบรมฯ เมื่ อ 2 ปี ก่ อ น ตอนนีอ้ ายุย่างเข้ า 20 ปี แต่ไม่ได้ เรี ยนต่อ มัธ ยมปลายหรื อ ท� ำ งาน เพราะคิ ด ว่า ไม่มี ความรู้ตดิ ตัว เขาบอกว่า ตลอดเวลาที่อยูใ่ น ศูนย์ ฝึ กและอบรมฯ เขาปลูกผัก สานเสื่อ ถักแห ท�ำทุกอย่างที่เจ้ าหน้ าที่บงั คับ แต่ไม่มี สิง่ ใดสามารถน�ำมาใช้ ในชีวติ ประจ�ำวันได้ เลย รายงานสถิ ติ ค ดี ป ระจ� ำ ปี 2557 ของ กรมพิ นิ จ และคุ้ มครองเด็ ก และเยาวชน LOOKSILP FOR PRINT.indd 9
กระทรวงยุ ติ ธ รรม ระบุ ว่ า ในรอบ 6 ปี ที่ผ่านมานับจากปี 2552 เด็กและเยาวชน ถูกด�ำเนินคดียาเสพติดมากที่สดุ โดยปี 2557 มี 16,508 คดี จากทัง้ หมด 36,537 คดี เพิ่มขึ ้นจากปี 2556 จ�ำนวน 978 คดี รายงานยั ง ระบุ ว่ า ในคดี ทั ง้ หมด มีการกระท�ำผิดซ� ้ำ 6,401 คดี เป็ นคดียาเสพติด 3,058 คดี หรือคิดเป็ นร้ อยละ 47.77 เพิม่ ขึ ้น จากปี 2556 ที่คิดเป็ นร้ อยละ 42.26 ทังนี ้ ้ตังแต่ ้ ปี 2554 ถึง 2557 คดียาเสพติด เป็ นคดีที่มีการกระท�ำความผิดซ�ำ้ มากเป็ น อั น ดั บ 1 ขณะที่ ป ระเทศไทยลงนามใน อนุ สั ญ ญาว่ า ด้ วยสิ ท ธิ เ ด็ ก ขององค์ ก ร สหประชาชาติ ตัง้ แต่ปี 2535 โดยรั ฐ ภาคี จ ะ ต้ อ ง ด� ำ เ นิ น ม า ต ร ก า ร ที่ เ ห ม า ะ ส ม ทั ง้ ปวงเพื่ อ คุ้ มครองเด็ ก จากยาเสพติ ด เพื่อป้องกันการใช้ เด็กผลิตและค้ าสารนัน้ นางสาวศยามล เจริ ญ รั ต น์ นั ก วิ จั ย สถาบันวิจยั สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า เดิมเด็กและเยาวชนใช้ ชีวิตช่วงต้ น กับครอบครัว แต่ปัจจุบนั ถูกผลักเข้ าสูร่ ะบบ การศึกษาในขณะที่ยงั ไม่ได้ รับการดูแลทัว่ ถึง “โครงสร้ างเศรษฐกิ จ ไม่ ท� ำ ให้ พ วกเขา มีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดี สังคมยังสร้ างความคิดให้ เด็กมองว่าเงิ นส�ำคัญที่ สุด บางรายเข้ าไป ท� ำ งานในธุ ร กิ จ บัน เทิ ง กลางคื น ซึ่ง เข้ า ถึ ง ยาเสพติดได้ งา่ ย หรื อจ�ำเป็ นต้ องใช้ มนั เพือ่ ให้ กล้ า แสดงออกยามท� ำ งาน บางรายต้ อ ง ขายยาเสพติ ด เพื่ อ หาเงิ น เลี ย้ งครอบครั ว โดยไม่ได้ มองว่าเป็ นเรื่ องผิด เพราะช่องทาง
ในการหาเงิ น ของเขามี ไ ม่ ม ากนั ก และ ค่าตอบแทนค่อนข้ างต�ำ่ ” นางสาวศยามล กล่าว นายยอดชาย วี ระวงศ์ อดีตรองอธิ บดี ผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง กล่าวว่า เด็กและเยาวชนมักถูกใช้ ให้ ท�ำผิด เกี่ ย วกับ ยาเสพติ ด เพราะค่า จ้ า งถูก และ พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ยาเสพติด แม้ กำ� หนด โทษเดียวกันกับผู้ใหญ่ แต่เด็กจะได้ รับโทษใน อัตราที่น้อยกว่ามาก มากสุดเพียงถูกส่งตัว เข้ าศูนย์ ฝึ กและอบรมฯ “เด็กเร่ร่อนที่ไม่ได้ อยูก่ บั พ่อแม่และอยูใ่ น กลุ่ ม เพื่ อ นที่ มี ย าเสพติ ด มั ก ถู ก ชั ก จู ง ให้ เข้ าขบวนการนี ้ เมือ่ เข้ าไปอยูใ่ นศูนย์ ฝึ กและ อบรมฯ ก็อยูก่ นั แออัด บุคลากรและงบประมาณ ทีด่ แู ลก็ไม่เพียงพอ เหมือนเอาพวกเขามารวม กันในเวลาสัน้ ๆ อยูไ่ ปวัน ๆ เป็ นไปไม่ได้ เลย ที่ จ ะให้ ฝึ กอาชี พ เป็ นเรื่ อ งเป็ นราวได้ พอ พ้ นโทษก็ออกมาเจอสภาพแวดล้ อมเดิม ไม่มี สถานศึกษา หรื อสถานประกอบการรองรับ” นายยอดชาย กล่าว นางสาวเสาวธาร โพธิ์กลัด อาจารย์ประจ�ำ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า เมื่อพ้ นโทษเด็กและ เยาวชนคดี ย าเสพติ ด มัก กลับ บ้ า น เพราะ เชื่ อ ว่ า บ้ านปลอดภั ย ที่ สุ ด แต่ ถ้ าชุ ม ชน ไม่เปิ ดรับ ไม่มีโอกาสกลับเข้ าสูเ่ ส้ นทางปกติ ก็เสี่ยงท�ำผิดซ� ้ำอีก ส่วนการบ�ำบัด การศึกษา การฝึ กอาชีพที่ได้ รับจากศูนย์ฝึกและอบรมฯ เป็ นเพียงทักษะพื ้นฐาน จะใช้ จริ งได้ แค่ไหน ขึ น้ อยู่ กั บ การฝึ กฝนต่ อ และมี เ พี ย งบาง
ศูน ย์ ฝึ กและอบรมฯ ที่ ป ระสานกั บ สถาน ประกอบการให้ รับเด็กกลุม่ นี ้เข้ าท�ำงานต่อ “ภาครัฐไม่มีพื ้นที่รองรับเด็กกลุม่ นี ้ ท�ำให้ การช่วยเหลือเด็กกลุ่มนีห้ ายไป กรมพินิจฯ ควรประสานกระทรวงพั ฒ นาสัง คมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จัดหาสถานศึกษา ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร อ ง รั บ พ ว ก เ ข า ” นางสาวเสาวธาร กล่าว นางรัชดาวรรณ ศิริไพบูลย์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักพัฒนาระบบงานยุตธิ รรม กรมพินจิ และ คุ้มครองเด็กและเยาวชน ชี ้แจงว่า รัฐดูแลเด็ก และเยาวชนคดียาเสพติดได้ เพียงระยะสัน้ จึงไม่สามารถบ�ำบัดได้ ครบตามระยะเวลา ที่ ก� ำ หนด และไม่ ส ามารถส่ ง ไปบ� ำ บัด ต่ อ ที่โรงพยาบาล เพราะเป็ นความสมัครใจของ เด็กเหล่านี ้ จึงเสี่ยงที่จะท�ำผิดซ� ้ำ ยอมรับว่า รั ฐ ไม่ มี ร ะบบติ ด ตามเด็ ก กลุ่ม นี ห้ ลัง ได้ รั บ การปล่อยตัว นางภาวินี สุมลตรี เจ้ าหน้ าที่กรมกิจการ เด็กและเยาวชน กระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ ชีแ้ จงว่า กระทรวง ไม่ ไ ด้ ท� ำ งานเกี่ ย วกั บ เด็ ก และเยาวชน ทีถ่ กู ด�ำเนินคดียาเสพติด แต่ทำ� งานเชิงป้องกัน ไม่ให้ เด็กและเยาวชนท�ำผิดเกีย่ วกับยาเสพติด โดยให้ ง บประมาณสนับสนุน สภาเด็กและ เยาวชนท�ำกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ แต่ก็เป็ น เด็กกลุม่ ทีไ่ ม่มปี ั ญหาเรื่องยาเสพติด ซึง่ ยอมรับ ว่าเข้ าไม่ถงึ เด็กกลุม่ เสีย่ ง ภัทรานิษฐ์ จิตส�ำรวย
25/1/2559 10:37:51
อินโฟกราฟิ ก
10
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ค่าตัวสุนัข
อยากเลีย้ งสุนัขสักตัว มีค่าใช้ จ่ายอะไรบ้าง?
ซื้ อจากตลาด จตุจักร ธนบุ รี (สนามหลวง 2)
"พฤติิกรรมการเลีย้ งสัตว์ของกลุ่มผู ้เลีย้ งมีการเปลี่ยนแปลงไป ส่วนใหญ่มองว่าสัตว์เลีย้ งเหมือนคนในครอบครัว ทําให้ธุรกิจที่เกี่ยวกับสัตว์เลีย้ งมีการขยายตัวมากขึน้ " ศิรพรรณ สุคนธสิงห์ อาจารย์ประจําคณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้กล่าวไว้ ซึ่งค่าใช้ จ่ายในการเลีย้ งดูสุนัข 1 ตัว แบ่งรายละเอียดได้ดังนี้
2,000 บาทขึ้นไป ซื้ อจากฟาร์ม พันธุ ์แท้ พันธุ ์ประกวด
7,000 - 50,000 บาทขึ้นไป
การขยายตัวของ ธุ รกิจสัตว์เลีย้ ง อุ ปกรณ์ / ผลิตภัณฑ์ของสัตว์เลีย้ ง 5,000 ล้านบาท รักษาพยาบาล 7,000 ล้านบาท อาหารสัตว์ 10,000 ล้านบาท
2,000 ล้านบาท
22,000 ล้านบาท 12,000 ล้านบาท
7,000 ล้านบาท
10,000
5,000
5,000 2538
เติบโตขึน้ ทุกปี ไม่ตาํ่ กว่า 10-15%
2553
2555
2557
*ข้อมู ลจากสมาคมอุ ตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สัตว์เลีย้ งไทย และศูนย์วิจัยกสิกร
ซื้ อจากต่างประเทศ พันธุ ์แท้ พันธุ ์หายาก พันธุ ์ผสมยาก วัคซีนครบ
ค่าอาหาร
80,000-ล้านบาทขึ้นไป
อาหารเม็ด 1 กก.
อาหารเปี ยก เกรดมาตรฐาน 70-120 บาท กระป๋ องละ 40-70 บาท
เกรดพรีเมี่ยม 200 บาทขึน้ ไป เกรดโฮลิสติก 350 บาทขึน้ ไป เกรดเกรนฟรี 800 บาทขึน้ ไป
Supe Premiur m
ค่าขนมขบเคี้ยว 50-400 บาท
ค่าอาหารเฉลี่ยต่อเดือน
ค่าทําวัคซีน
พันธุ ์เล็ก
500-2,000 บาท
ช่ วงแรกเกิดถึง 1 ปี
1,000-1,500 บาท
พันธุ ์ใหญ่
2,000-4,000 บาท
หลังจาก 1 ปี ทําวัคซีนประจําปี
300-400 บาท ป้ องกันพยาธิหนอนหัวใจ
ทําสปา ออนเซน นวดแผนไทย นวดอโรม่า
ค่าอาบนํา้ ตัดขน อาบนํา้ ตัดขน ตัดเล็บ
500-1,500 บาท/ชั่ วโมง 300-1,000 บาทขึ้นไป (ราคาตามนํา้ หนักตัวสุนัข)
100-400 บาท/เดือน
ค่าทําหมัน พันธุ เ์ ล็ก 500-800 บาท
้ บในสุนัขร้อยละ 96 โรคนีพ จํานวนสุนัขในไทย มี 8.5 ล้านตัว แต่ละปี มีคนถูกสุนัขกัด ไม่ตาํ่ กว่า 1 ล้านคน ในจํานวนนัน้ มีสุนัขที่ได้รับ วัคซีนร้อยละ 50 เท่านัน้
เริม่ ทําตัง้ แต่อายุ 3 เดือน และต้องทําต่อเนือ่ งทุกปี
2,500-4,000 บาท/ตัว
ค่าของใช้
ของใช้เวลาออกนอกบ้าน
ทําความสะอาดฟั น
นํา้ นมันกระเป๋ บํารุาใส่ งขนสุนัข สายจู ง รถเข็
(ยาสีฟัน แปรงสีฟัน เจลสลายหินปู น)
วัคซี นพิษสุนัขบ้า
กําจัดเห็บหมัด
100-400 บาท/ครัง�
พันธุ ใ์ หญ่เพศผู ้
2,000-3,500 บาท/ตัว
ถ่ายพยาธิทกุ 3-6 เดือน
40-300 บาท/ครัง�
พันธุ เ์ พศเมีย
ค่าว่ายนํา้ สระนํา้ ระบบนํา้ เกลือ
300-850 บาทขึน� ไป/ครัง� ตามนํา้ หนักตัวสุนัข
ค่าเสือ้ ผ้า เริม่ ต้นตัง้ แต่ราคาถูก จนถึงแบรนด์เนม
39 บาทขึ้นไป
ที่ใส่อาหาร 90-1,400 บาท ที่นอน 80-1,700 บาท แผ่นรองฉี่ 300-2,000 บาท
เสือ้ ผ้า กระเป๋ า รองเท้า หมวก เครื่องประดับ
ค่าฌาปนกิจ
สรุปค่าใช�จ่าย การเลีย้ งสุนัข 1 ตัว เป็นเวลา 10 ปี โดยประมาณ
850,000 บาท*
*ยังไม่รวมค่ารักษาโรคกรณีต่างๆ
R.I.P.
ค่าโลงศพ 1,000-4,000 บาท ค่าเผา 250 บาท โถใส่กระดูก 500 บาทขึน้ ไป ค่าทําพิธีเริม่ ที่ 1,500 บาท
ค่าวิตามินเสริม นํา้ มันบํารุ งขน 200-2,500 บาท วิตามินบํารุงกระดูก 250-700 บาท ยาหยดผิวหนัง 250-1,200 บาท
200-2,500บาท บาท 150-14,000
วิตามินบํารุงกระดูก 250-700 บาท ยาหยดผิวหนัง 250-1,200 บาท
ค่าประกันชีวิต ทําได้ทุกสายพันธุ ์ อายุ 3 เดือนถึง 7 ปี จ่ายเบีย้ ประกันปี ละ
1,000-7,300 บาทขึน� ไป
120-700 บาท
ค่าฝากเลีย้ ง
ทําความสะอาดร่างกาย
50-2,500 บาท
คิดถึงจังเลย
(แชมพู ครีมนวด นํา้ ยาเชดหู ็ คราบนํา้ ตา)
วันละ 250-900 บาทขึ�นไป/ตัว
ค่ารักษาโรค ผ่าตัดกระดูก 2,000-หมืน่ บาทขึน้ ไป ผ่าตัดตา 30,000 บาทขึน้ ไป ลําไส้อกั เสบ 400-5,000 บาทขึน้ ไป โรคไต 800-3,000 บาทขึน้ ไป/ครัง้
ยิง่ มีบริการเสริมมาก ราคาจะยิง่ สูง เช่ น กรูมมิง่ ว่ายนํา้ สนามหญ้า face time กับเจ้าของได้
*ค่ารักษาแต่ละที่ต่างกัน
จากการสํารวจข้อมู ลจํานวนสุนัขในประเทศไทยปี 2557 ของสํานักงานปศุสัตว์พบว่า มีจํานวนสุนัขทัง้ หมด 8.5 ล้านตัว เป็นสุนัขจรจัดประมาณ 700,000 ตัว ซึ่งมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ หลายล้านตัวต่อปี สาเหตุหลักมาจากการทอดทิง้ สุนขั จากผู เ้ ลีย้ งทีด่ แู ลไม่ไหว เพราะการจะเลีย้ งสุนขั 1 ตัวนัน้ มีคา่ ใช้จา่ ยไม่ตา่ งจากการมีลกู 1 คนเลยทีเดียว ขอบคุณภาพประกอบบางส่วนจาก Freepik.com
LOOKSILP FOR PRINT.indd 10
25/1/2559 10:37:52
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ข่าวทัว่ ไป
11
คนไร้ บ้ า นเข้ าไม่ ถึ ง สิ ท ธิ รั ก ษาพยาบาล ข า ด บั ต ร ป ร ะ ช า ช น - ห า ญ า ติ รั บ ร อ ง ย า ก
กรุงเทพฯ เมืองใหญ่ตัวเลขคนไร้บ้านพุ ่ง! เข้าไม่ถึงสิทธิรักษาพยาบาล ล�ำบากไม่มีบัตรประชาชน-หาญาติรับรองยาก นักสิทธิมนุษยชน แนะออกกฎหมายเฉพาะช่ วยเข้าถึงสิทธิ พัฒนาสังคมฯ รับช่ วยยากหากไม่มีช่ื อในทะเบียนราษฎร เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผา่ นมา นางสาวนุช ดับโศก วัย 34 ปี ผู้ใช้ ชวี ติ ในพื ้นทีส่ าธารณะ ย่านคลองหลอด เขตพระนคร กทม. ไม่มอี าชีพ ท�ำบัตรประชาชนหาย และขาดบุคคลมายืนยัน ตั ว ตน เมื่ อ ต้ องการเข้ ารั บ การรั ก ษาที่ โรงพยาบาลรัฐแห่งหนึง่ จึงถูกปฏิเสธ เนือ่ งจาก ไม่ มี บัต รประชาชนและเคยใช้ สิ ท ธิ ฉุก เฉิ น ไปแล้ วตอนคลอดบุตร ส่วนนายปราโมทย์ ทองเหนือ วัย 38 ปี อาศัยในศูนย์คนไร้ บ้านบางกอกน้ อย มูลนิธิ พั ฒ นาที่ อ ยู่ อ าศั ย มี อ าชี พ รั บ จ้ าง ไม่ มี บัตรประชาชนเนื่องจากมารดาไม่ได้ แจ้ งเกิด ปั จจุ บั น แม้ จะถื อ บั ต รเลขศู น ย์ คื อ บั ต ร ผู้ไร้ สถานะทางทะเบียน แต่ไม่สามารถใช้ สทิ ธิ รั ก ษาพยาบาลได้ เนื่ อ งจากไม่ มี ชื่ อ ใน ระบบทะเบียน “เจ้ าหน้ าที่ ร าชการบางคนยั ง ไม่ ร้ ู จั ก บัตรเลขศูนย์ด้วยซ� ้ำ คิดว่าเป็ นบัตรปลอมก็ม”ี นายปราโมทย์ กล่าว ด้ านมูลนิธิอิสรชน เปิ ดเผยว่า การเก็บ ข้ อมูลล่าสุดเมื่อปี 2557 พบผู้ใช้ ชีวติ ในพื ้นที่ สาธารณะ 3,249 คน เพิม่ ขึ ้นจากปี กอ่ น โดย ปี 2556 มีจำ� นวน 3,140 คน ส่วนปี 2555 มี จ�ำนวน 2,856 คน นางสาวสุนยี ์ กรุมรัมย์ เจ้ าหน้ าทีโ่ ครงการ มูล นิ ธิ ก ระจกเงา กล่ า วว่ า ผู้อ าศัย อยู่ใ น พื ้นที่สาธารณะไม่มีบตั รประชาชนและไม่ได้ ด� ำเนิ น การใด ๆ กับ หน่ว ยงานรั ฐ ชื่ อ ของ พวกเขาจะถูกน�ำเข้ าระบบทะเบียนบ้ านกลาง
รายงาน
พิเศษ
นางสาวสมศิริ บุญศิริ นักสังคมสงเคราะห์ ช�ำนาญการพิเศษประจ�ำโรงพยาบาลกลาง ชี ้แจงว่า คนไร้ บ้านที่ไม่เคยท�ำบัตรประจ�ำตัว ประชาชน จ�ำเลขประจ�ำตัวประชาชนไม่ได้ จะได้ รบั สิทธิการรักษาเช่นเดียวกับผู้ป่วยทัว่ ไป ซึง่ แบ่งเป็ นผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก “หากเป็ นผู้ป่วยใน โรงพยาบาลจะสอบถาม ชื่อ-นามสกุลของคนไข้ และสืบค้ นจากระบบ ทะเบียนราษฎร หากไม่พบข้ อมูลหลักฐาน นักสังคมสงเคราะห์ จะลงพื น้ ที่ สืบหาญาติ หรื อ พยานบุ ค คลอ้ า งอิ ง ส่ ว นผู้ ป่ วยนอก โรงพยาบาลท�ำได้ เพียงให้ คำ� ปรึกษาว่า เขามี ปั ญ หาอะไรและแนะน� ำ ให้ เ ขาด� ำ เนิ น การ ด้ วยตัวเอง” นางสาวสมศิริ กล่าว นายวุฒชิ ยั ไฉนวงษ์ เจ้ าหน้ าทีศ่ นู ย์ปฏิบตั ิ การป้ องกั น และแก้ ไขปั ญหาการขอทาน และคนไร้ ทพี่ งึ่ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง
คนไหนน� ำ เงิ น ไปซื อ้ ปุ๋ยตามวัต ถุป ระสงค์ ของรัฐ เพราะขณะนีท้ ุกคนแทบจะไม่มีเงิน ส� ำ หรั บ ใช้ จ่ า ยในครั ว เรื อ นกั น แล้ ว และ เห็นว่าสิ่งที่รัฐบาลควรท�ำมากที่สดุ คือ ท�ำให้ ราคายางสูงขึน้ หรื อส่งเสริ มการใช้ ยางใน ประเทศจะเป็ นการช่วยเหลือชาวสวนยาง ที่ยงั่ ยืนกว่า เสาวลักษณ์ ด้ วงสีพฒ ั น์ เจ้ าหน้ าที่ฝ่าย การเงิ น บริ ษั ท ถาวรรวมทุน ธุร กิ จ จัง หวัด นครศรี ธ รรมราช เปิ ดเผยว่ า ปี ที่ ผ่ า นมา ชาวสวนยางได้ น� ำ ที่ ดิ น มาจ� ำ น� ำ เพิ่ ม ขึ น้ โดยเฉพาะช่วงเปิ ดภาคเรี ยนที่ 2 เพื่อจ่าย ค่าเทอมให้ บุตรหลาน เพราะไม่มีรายได้ อื่น มาเสริ มนอกจากท�ำสวนยาง ขณะที่ บ รรยากาศการค้ า ขายในพื น้ ที่ ได้ รับผลกระทบเช่นกัน กระทัง่ ร้ านสุวรรณี ซึง่ ขายส่ง เสื อ้ ผ้ า ในอ� ำ เภอหาดใหญ่ จัง หวัด สงขลา มี ยอดสั่งสินค้ าลดลงมากกว่าครึ่ ง ตังแต่ ้ ปีที่แล้ ว ท�ำให้ ต้องลดการสต็อกสินค้ า จาก 500 โหล เหลือเพียง 200 โหลต่อแบบ โดย สุมณฑา จันทดี พนักงานร้ านสุวรรณี ระบุว่า บางวันแทบไม่มีการสัง่ สินค้ าเข้ ามา เลย ราคายางท� ำ ให้ เศรษฐกิ จ ในภาคใต้ เงียบเหงาลงมาก เพราะคนไม่มีก�ำลังซื ้อ
เช่ น เดี ย วกั บ ธุ ร กิ จ รถยนต์ มื อ สองก็ มี สภาพไม่ตา่ งกัน โชคดี ผลใหม่ เจ้ าของร้ าน ขายรถมื อ สอง “เชนรถบ้ า น” ในจั ง หวัด นครศรี ธรรมราช เปิ ดเผยว่า ยอดขายลดลง เกือบครึ่ง จากปี ก่อน ๆ เดิมขายได้ 10-20 คัน ต่อเดือน แต่ตอนนี ้ ขายได้ 6-10 คันต่อเดือน ก็เก่งแล้ ว ด้ านการยางแห่งประเทศไทยรายงานภาวะ เศรษฐกิ จ ภาคใต้ เ ดื อ นตุล าคม 2558 ว่ า ภาพรวมขยายตัวเล็กน้ อย ราคาสินค้ าเกษตร ยัง คงปรั บ ลดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจาก ความต้ องการของตลาดยางโลกลดลง รวมทัง้ การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนซึง่ เป็ นตลาดหลัก สุธี อินทรสกุล ผู้อำ� นวยการศูนย์วเิ คราะห์ เศรษฐกิ จ ยางพาราส� ำ นัก งานตลาดกลาง ยางพารานครศรีธรรมราช กล่าวว่า เศรษฐกิจ ภาคใต้ ร้อยละ 80 ผูกติดกับยางพารา เมือ่ ราคา ยางตกต�่ำจึงกระทบระบบเศรษฐกิจในพื ้นที่ ทัง้ หมด ประกอบกับแรงงานไม่รับกรี ดยาง เพราะได้ เงินไม่ค้ มุ ก�ำลังซื ้อลดลง “จี น ผู้น� ำ เข้ า ยางพารามากที่ สุด ในโลก ก�ำลังประสบปั ญหาเศรษฐกิจตกต�ำ่ มีการเพิม่ ภาษี น�ำเข้ ายางพารา ผู้ประกอบการจึงลด การน� ำ เข้ า ส่ ง ผลกระทบต่ อ ไทยโดยตรง
พสชนัน คนึงหมาย
่ เสี ย งร� ำไห้ ป ลายมี ด กรี ด ยาง ราคายางท�ำพิษ ชาวใต้ขาดรายได้ แห่พ่ึงโรงรับจ�ำน�ำ
อนุ ชิต เอียดมาก วัย 35 ปี เจ้ าของ สวนยางในจัง หวัด สงขลา ต้ อ งน� ำเงิ นเก็ บ หลัก แสนมาใช้ จ่า ยในครอบครั ว หลังจาก ราคายางพาราตกต�่ ำ ตัง้ แต่ป ลายปี 2557 จนถึงปั จจุบนั จากราคา 70 บาท เหลืออยูท่ ี่ ประมาณ 37 บาท ต่อกิโลกรัม เขาบอกว่า นอกจากราคาจะตกต�่ำแล้ ว น� ำ้ ยางที่กรี ดได้ ยังน้ อยลงด้ วย โดยเฉพาะ เมื่ อ เข้ า หน้ ามรสุม ไม่ ส ามารถกรี ด ได้ เ ลย ชาวสวนยางหลายครอบครั ว ไม่ มี เ งิ น ไป ผ่ อ นรถ กระทั่ ง ถู ก ยึ ด รถยนต์ ห ลายราย บางครอบครัวต้ องน�ำของมีค่าไปจ�ำน�ำ แม้ รัฐบาลออกนโยบายช่วยเหลือชาวสวนยาง และคนกรี ดยางโดยการให้ เงิ น ชดเชย 1,500 บาทต่อไร่ ไม่เกิน 15 ไร่ตอ่ ครอบครัว เริ่ มจ่ายในวันที่ 28 ธันวาคม ที่ผ่านมา แต่ เงิ น ชดเชยดัง กล่า วก็ ไม่ไ ด้ ก่ อ ประโยชน์ แก่ ชาวสวนมากนัก โดยเฉพาะคนงานกรี ดยาง ที่ได้ รับผลกระทบอย่างหนักแต่ได้ เงินชดเชย เพียง 600 บาทต่อไร่ เช่นเดียวกับ ภาวนา ทองพูลเอียด อายุ 36 ปี ชาวสวนยางในจังหวัดพัทลุง กล่าวว่า การให้ เงิ น ชดเชยเป็ นการแก้ ปั ญหาที่ ปลายเหตุ เพราะเงินที่ได้ มาคงไม่มีชาวสวน LOOKSILP FOR PRINT.indd 11
ท� ำ ให้ ไ ม่ ป รากฎในระบบของโรงพยาบาล จึงไม่ได้ รับสิทธิการรักษา “บั ต รประชาชนเป็ นหลั ก ฐานส� ำ คั ญ ทีใ่ ช้ แสดงตัวตนเพือ่ เข้ าถึงสิทธิขนพื ั ้ ้นฐาน แต่ ยังไม่ครอบคลุมถึงคนกลุ่มนี ้ รัฐต้ องประกัน ให้ เขาเข้ าถึงสิทธิขนพื ั ้ ้นฐานได้ เช่น การลง ทะเบียนคนไร้ บ้าน” นางสาวสุนยี ์ กล่าว ด้ านนายอุ ด มศั ก ดิ์ สิ น ธิ พ งศ์ รอง ศาสตราจารย์ ป ระจ� ำคณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลัย กรุ ง เทพ กล่ า วว่ า รั ฐ ควรมี กฎหมายหรื อกระบวนการจัดการด้ านสิทธิ การรักษาโดยเฉพาะ เพราะปั จจุบนั พ.ร.บ. คุ้มครองคนไร้ ทพี่ งึ่ พ.ศ. 2557 ไม่ครอบคลุม ถึงสิทธิเข้ าถึงการรักษาพยาบาลของคนกลุม่ นี ้ “ควรมี ห น่ ว ยงานส� ำ รวจ จดทะเบี ย น ออกบัตร และอ� ำนวยความสะดวกเพื่ อให้ พวกเขาสามารถเข้ าถึงสิทธิ ขัน้ พืน้ ฐานได้ ” นายอุดมศักดิ์ กล่าว
ของมนุษย์ (พม.) ชี ้แจงว่า ผู้ใช้ ชีวิตในพื ้นที่ สาธารณะที่ ไ ม่ มี บัต รประชาชนมี จ� ำ นวน เพิ่ ม มากขึ น้ การช่ ว ยเหลื อ เบื อ้ งต้ นจะมี เจ้ าหน้ าที่ของกรมฯ พาไปท�ำบัตรประชาชน เพื่อให้ เข้ าถึงสิทธิ ขัน้ พืน้ ฐานได้ จากนัน้ จะ พาไปพบแพทย์ แ ละติ ด ต่ อ ญาติ ม ารั บ ตัว ถ้ าตามหาญาติไม่พบ หน่วยงานจะส่งเขาไป ทีส่ ถานสงเคราะห์ทมี่ แี พทย์ประจ�ำอยู่ “อย่างไรก็ดี ยอมรับว่า กระทรวงฯ ยังไม่มี กระบวนการแก้ ไขทีช่ ดั เจนกรณีทเี่ ขาไม่มขี ้ อมูล ปรากฎในระบบทะเบียนราษฎร หน่วยงานจึง ไม่สามารถช่วยเขาได้ ” นายวุฒิชัย กล่าว และว่า รัฐควรตังกองทุ ้ นส�ำหรับผู้ใช้ ชีวิตใน พื ้นทีส่ าธารณะ เพราะบางครังสั ้ งคมสงเคราะห์ ของโรงพยาบาลเบิกงบรักษาผู้ใช้ ชีวติ ในพื ้นที่ สาธารณะไม่ได้ ขณะที่นายวีนสั สีสขุ ผู้อ�ำนวยการส่วน การทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง กระทรวง มหาดไทย กล่าวว่า ผู้ใช้ ชวี ติ ในพื ้นทีส่ าธารณะ เข้ าไม่ถึงสิทธิรักษาพยาบาลเพราะไม่มีบตั ร ประชาชน ไม่มีที่อยู่รับรองและไม่สามารถ พิ สู จ น์ ไ ด้ ว่ า เป็ นคนไทย เจ้ าตั ว ต้ องหา หลัก ฐานที่ มี น� ำ้ หนัก มากพอมายื น ยัน กั บ นายทะเบียน จึงจะมีข้อมูลปรากฎอยูใ่ นระบบ ทะเบียนราษฎร
นอกจากนี ้ ประเทศเพื่ อ นบ้ านของไทย สามารถกรี ด ยางได้ แ ล้ ว และมี ต้ น ทุน ต�่ ำ เพียง 40 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ไทยอยู่ที่ 62 บาทต่อกิโลกรัม ดังนัน้ รัฐบาลควรโค่นยาง กว่า 2 ล้ านไร่ ที่ให้ ผลผลิตไม่ค้ มุ ทุน รวมถึง สวนยางอีกกว่า 4 ล้ านไร่ ในพื ้นที่ป่าสงวน” ผู้ อ� ำ นวยการศู น ย์ วิ เ คราะห์ เ ศรษฐกิ จ ยางพารากล่าว และคาดว่าราคายางจะตกต�ำ่ ไปอีก 2 ปี กระทัง่ ปี 2561 จึงจะขยับสูงขึ ้น ชนะชั ย เปล่ ง ศิ ริ วั ธ น์ ผู้อ� ำ นวยการ การยางแห่งประเทศไทยเปิ ดเผยว่า รัฐบาล มีโครงการกว่า 16 โครงการเพือ่ แก้ ปัญหาราคา ยางตกต�่ำ และช่วยเหลือพี่น้องชาวสวนยาง ทังการขยายวงเงิ ้ นเพื่อให้ เกษตรกรกู้ยืมไปใช้ ในการประกอบอาชีพ โครงการสนับสนุนให้ มี การใช้ ยางพาราภายในประเทศมากยิ่งขึน้ ขณะเดียวกัน รัฐบาลก�ำลังเร่ งระบายสต็อก ยางพาราในประเทศ เพื่อหวังช่วยพยุงราคา ในประเทศให้ สงู ขึ ้น ล่าสุดได้ ทำ� สัญญาซื ้อขาย กับจีนไปหลายแสนตัน ส่วนมาตรการลดพื ้นที่ การปลูกยาง ตังเป ้ ้ าว่าภายในปี 2564 จะ สามารถลดได้ 7 แสนไร่ กาญจนา ปลอดกรรม 25/1/2559 10:37:53
สิ่งแวดล้อม
12
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
กลิ่นขยะหาดเพชรบุ รคี ลุง้ ท�ำนักท่องเที่ยวเผ่น หาดเจ้าสำราญ ต.หาดเจ้าสำราญ อ.เมือง
3 ตัน มีปริมาณขยะ
ต่อวัน
ต่อวัน
ไม่มี
ปริมาณขยะ
4
&
การบริหารจัดการ
หาดเด่นเพชรบุรี
บุคลากร งบประมาณ บริการจัดเก็บขยะ
ปัญหาของท้องที่ ต.ปึกเตียน อ.ท่ายาง
หาดปึกเตียน
10 ตัน มีปริมาณขยะ
300,000/ปี
200,000/ปี
มีปริมาณขยะ
1.2 ตัน
บุคลากร 8
บุคลากร 4
มีปัญหา การจัดการ
ต.บางเก่า อ.ชะอำ
- ชาวบ้านไม่ให้ความร่วมมือ - ขาดแผนการรับมือระยะยาว
- ขาดแคลนบุคลากร - ขาดแคลนอุปกรณ์
มีปัญหา การจัดการ
หาดบางเกตุ
ปัญหาของท้องที่
ปัญหาของท้องที่
- ไม่มีทีท่ ิ้งขยะส่วนกลาง - ไม่มีบริการจัดเก็บขยะ
ไม่
ต่อวัน
มีปัญหา การจัดการ
มีปัญหา การจัดการ
บุคลากร 2
100,000/ปี
ปัญหาของท้องที่
- ใต้ท่ดี ินบ่อขยะมีตาน้ำ - ขาดบุคลากร
มีปริมาณขยะ
1.5 ตัน
ต่อวัน
ต.แหลมผักเบี้ย อ.บ้านแหลม
หาดแหลมผักเบี้ย
ขยะเกลื่ อ น 4 หาดดั ง เพชรบุ รี กลิ่ น คลุ้ ง -ฝู งแมลงวั น ท� ำ นั ก ท่ อ งเที่ ย วเผ่ น ส� ำ นั ก ส่ ง เสริ ม ท้ อ งถิ่ น ฯ ชี้ ขยะเมื อ งเพชรฯ เพิ่มน่าตกใจ ล่าสุด 1.3 แสนตันต่อปี เกินคาดเกือบ 3 หมื่นตัน จังหวัดห่วงแหล่งเพาะเชื้ อโรค เร่งจับมือเอกชนแก้ขยะล้นเมือง หนังสือพิมพ์ ลูกศิลป์ ศูนย์ ข่าวเพชรบุรี ลงพืน้ ที่ตรวจสอบสถานการณ์ ขยะมูลฝอย บริเวณชายหาด 4 แห่ง ในจังหวัดเพชรบุรี ได้ แก่ หาดปึ กเตียน หาดเจ้ าส�ำราญ หาดบางเกตุ และหาดแหลมผักเบีย้ ช่วงเดือนกันยายน ที่ผา่ นมา พบขยะถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ถ้ วยโฟม ผั ก ตบชวากระจั ด กระจาย ตามชายหาด ส่งกลิ่นเหม็นและมีแมลงวัน เป็ นจ�ำนวนมาก นางดารณี โสตโสน ชาวบ้านต�ำบลปึ กเตียน อ� ำ เภอท่ า ยาง จัง หวัด เพชรบุ รี กล่ า วว่ า ขยะส่ ว นใหญ่ พัด จากทะเลขึ น้ มาเกยตื น้ กองสุมบริเวณชายฝั่งท�ำให้ นกั ท่องเทีย่ วไม่กล้า ลงเล่นน� ้ำ ชาวบ้ านต้ องจัดการเก็บขยะกันเอง ส่วน นางอัจฉรี เสริ มทรัพย์ ผู้ใหญ่บ้าน ต�ำบลแหลมผักเบี ้ย อ�ำเภอบ้ านแหลม จังหวัด เพชรบุ รี กล่ า วว่ า ขยะชายฝั่ งมาจาก เรื อ ประมงและเรื อ ท่ อ งเที่ ย ว พัด มาสุม ที่ ปากคลองแหลมผักเบีย้ ชาวบ้ านร้ องเรี ยน ไปยัง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล (อบต.) แหลมผักเบี ้ย แต่ยงั ไม่ได้ รับการแก้ ไข ด้ านรายงานส�ำรวจปริ มาณขยะมูลฝอย ฉบับล่าสุดปี 2556 โดยส�ำนักงานส่งเสริ ม การปกครองท้ องถิ่นจังหวัดเพชรบุรี ระบุว่า องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น (อปท.) 84 แห่ง ต้ องจั ด การขยะปริ ม าณ 363 ตัน ต่ อ วั น หรือ 132,495 ตันต่อปี สูงกว่าประมาณการณ์ เกือบ 30,000 ตัน เฉพาะในเขตเทศบาลเมือง
LOOKSILP FOR PRINT.indd 12
ตัง้ แต่ปี 2540 ถึงปี 2558 ขยะมี แนวโน้ ม เพิ่มขึ ้นทุกปี เฉลี่ย 1,825 ตันต่อปี คาดว่า ปี 2557 จะมีปริมาณขยะราว 32,554 ตันต่อปี ส่วนปี 2558 จะมีปริมาณ 33,682 ตันต่อปี รายงานยังระบุวา่ อปท. 39 แห่ง ประสบ ปั ญหาการจั ด การสถานที่ ส� ำ หรั บ ก� ำ จั ด ขยะมูลฝอย มีเพียง 10 แห่ง ทีม่ พี ื ้นทีก่ ำ� จัดขยะ ของตนเอง เช่น เทศบาลเมืองชะอ�ำ เทศบาล ต� ำ บลบ้ า นแหลม เทศบาลต� ำ บลท่ า ยาง เทศบาลเมืองเพชรบุรี นายณั ฐ พงศ์ หอมจั น ทร์ เจ้ าหน้ าที่ ส�ำนักงานสิง่ แวดล้ อมภาคที่ 8 จังหวัดเพชรบุรี กล่าวว่า ขยะที่เพิ่มขึ ้นก่อปั ญหากลิ่นเหม็น และน� ำ้ เสี ย เป็ นแหล่ ง เพาะเชื อ้ โรคจาก แมลงวัน หากสารเคมีในขยะสะสมในชันดิ ้ น และชันของน� ้ ้ำบาดาลจะเป็ นอันตราย เพราะ ท�ำให้ น� ้ำปนเปื อ้ น นายทรงเกียรติ เชาวน์โอภาส หัวหน้ ากลุม่ งานส่งเสริ มการปกครองส่วนท้ องถิ่นจังหวัด เพชรบุรี ชี ้แจงว่า ชายหาด 4 แห่ง มีปัญหาขยะ เนือ่ งจากท้ องถิน่ ขาดแคลนบุคลากร ไม่มพี ื ้นที่ ก�ำจัดขยะที่ถกู สุขลักษณะ ขาดความร่วมมือ คัดแยกขยะ และขาดแผนรับมือกับปริ มาณ ขยะทีเ่ พิม่ ด้ าน นางอุไร รักษาชล นักพัฒนาชุมชน อบต.ปึ กเตียน อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ชี ้แจงว่า หาดปึ กเตียนไม่มีบอ่ ขยะส่วนกลาง และรถเก็บขยะ เนื่ องจากอยู่ในความดูแล
ของเอกชนจึ ง ต้ องบริ ห ารจั ด การกั น เอง ส่ ว นชาวบ้ านก� ำ จั ด ขยะด้ วยวิ ธี ฝั งกลบ และเผา ทางต�ำบลซื ้อที่ดินเอาไว้ ให้ ทิ ้งขยะ โดยเฉพาะ ส่วน นางอุไร นิลงาม เจ้ าหน้ าที่ปฏิบตั ิ งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้ อม เทศบาล หาดเจ้ าส�ำราญ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ชี แ้ จงว่า เทศบาลมี เจ้ าหน้ าที่ และอุปกรณ์ ก�ำจัดขยะไม่เพียงพอ มีรถเก็บขยะเพียง 2 คัน วิง่ ไป-กลับได้ วนั ละรอบจากต�ำบลเจ้ าส�ำราญ ถึงโรงก�ำจัดชะอ�ำ เป็ นระยะทาง 46 กิโลเมตร รถเก็บขยะยังเข้ าไม่ถงึ 3 พื ้นที่ จาก 7 พื ้นที่ ชาวบ้ านจึ ง ต้ องฝั งกลบ หรื อ เผากั น เอง นอกจากนี พ้ ยายามรณรงค์ ใ ห้ ชาวบ้ าน แยกขยะ เพื่อให้ งา่ ยต่อการก�ำจัดและแปรรูป แต่ก็ได้ ผลเพียงแค่ชว่ งแรกเท่านัน้ ด้ าน นายปริ ญญา ราชศิริ ผู้อ�ำนวยการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้ อม เทศบาล ต�ำบลบางเก่า อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี กล่ า วยอมรั บ ว่ า มี ปั ญ หาขยะพัด เข้ า มา จากทะเล จากนักท่องเที่ยวและจากชาวบ้ าน กรมส่งเสริ มคุณภาพสิ่งแวดล้ อมพยายาม เข้ ามาแก้ ปั ญหาแต่ ไ ม่ ส� ำ เร็ จ เพราะมี ค่าใช้ จ่ายสูง ทัง้ ค่าพนักงาน ค่าซ่อมบ�ำรุ ง ค่าน� ้ำมัน รวมกว่า 3 แสนบาท ส่วนกิจกรรม เก็บขยะชายหาดของกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดก็ไม่ได้ รับการสนับสนุนจากประชาชน เท่าที่ควร
“ตอนนีใ้ ช้ การกองพืน้ และฝั งกลบ และ มีโครงการแยกขยะ ส่วนบ่อขยะยังมีเพียงพอ กั บ ปริ ม าณขยะ แต่ อี ก 10 ปี ข้ างหน้ า น่าเป็ นห่วง” นายปริ ญญา กล่าว ส่วน นางสาวสุนนั ทา กลิน่ มาลัย เจ้ าหน้ าที่ ส�ำนักงานปลัดอบต.แหลมผักเบี ย้ อ�ำเภอ บ้ านแหลม จังหวัดเพชรบุรี กล่าวยอมรับว่า จ�ำเป็ นต้ องทิ ้งขยะในบ่อขยะของต�ำบล แม้ จะ มีน� ้ำขังและผิดสุขลักษณะ เพราะเพชรบุรี เป็ น ที่ ร าบลุ่ ม ไม่ ว่ า จะขุ ด ตรงไหนก็ จ ะมี แ ต่ น� ้ำผุดขึ ้นมา ผู้สอื่ ข่าวรายงานว่า ในการประชุมหัวหน้ า ส่วนราชการนายอ�ำเภอ ล่าสุดเดือนสิงหาคม องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเพชรบุรี แจ้ งว่า ก� ำลังจัดท�ำโครงการคัดแยกขยะ โครงการ ฝึ กอบรมการแปรรู ปขยะ เพื่อแก้ ไขปั ญหา ขยะล้ นเมือง และก�ำลังจัดท�ำความร่ วมมือ ระหว่ า งภาครั ฐ และเอกชนในการจัด การ ส�ำรวจ ออกแบบการก�ำจัดขยะมูลฝอย และ บันทึกความเข้ าใจ (เอ็มโอยู) เพื่อการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ตามหลัก สุขาภิบาลต่อไป เกศราพร เจือจันทร์ ฐิตพ ิ ร อินผวน ณัฐนันท์ แก้วบุ ญถึง บัณฑิตา สุขสมัย ภาศิณี สุนทรวินติ ศรีสทิ ธิ์ วงศ์วรจรรย์
25/1/2559 10:37:54
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วิทยาศาสตร์
13
หญิงไทยแห่ผ่าคลอดถือฤกษ์ ส ะดวก ่ ่ วงการสู ติ ฯไม่ ฟั นธง เสี ย งภู มิ คุ้ ม กั น ต� ำ ผลวิจยั พบอัตราคลอดธรรมชาติหญิงไทยลด ว่าที่คณ ุ แม่แห่ผา่ คลอดก�ำหนดฤกษ์ลกู บาง รพ.ถึง 5 รายต่อวัน รพ.ยิม้ ลดหนีเ้ สีย-แพทย์ได้เงินเพิ่ม นักเศรษฐศาสตร์ ชี้ แพ็คเกจผ่าคลอดเป็นสินค้าสุขภาพ ด้านวงการสูตฯิ ยังไร้ขอ้ ยุ ตผ ิ า่ คลอดเสี่ยงภูมคิ มุ้ กันต�่ำ ราชวิทยาลัยแพทย์ชี้ผา่ คลอดโดยไม่มเี หตุอนั ควรผิดหลักปฏิบตั ิ นางสาวยุวัลดา ช่วยบ�ำรุ ง อายุ 26 ปี ข้ าราชการประจ�ำศาลากลางจังหวัดกระบี่ ซึง่ ตังครรภ์ ้ 14 สัปดาห์ ตังใจจะผ่ ้ าคลอด เพราะ กลัวว่าหากคลอดธรรมชาติแล้ วคลอดไม่ได้ ต้ องเจ็บตัวสองต่อ ทังมารดา ้ สามีและญาติ ๆ จึ ง แนะน� ำ ให้ ผ่ า คลอดเพื่ อ คลายกั ง วล เรื่องการเจ็บท้ องคลอด ส่วน นางหนูการ กุลแก้ ว อายุ 49 ปี เจ้ าของ ร้ านท�ำผมในจังหวัดสมุทรปราการ ได้ วางแผน ผ่าคลอดตัง้ แต่แรก โดยเลือกแพ็คเกจของ โรงพยาบาลเมืองสมุทรปากน� ้ำ ราคาประมาณ 30,000 บาท เพื่อให้ คลอดบุตรในวันอาทิตย์ ของเดือนมีนาคม หลังจากไปขอฤกษ์ กบั พระ วัด แถวบ้ า น ปั จ จุบัน บุต รสาวอายุ 19 ปี สุขภาพแข็งแรง นายธี ระ สินเดชารั กษ์ รองคณบดีฝ่าย วางแผนและประกันคุณภาพการศึกษา คณะ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ผู้ เสนอบทความวิ ช าการ “การผ่ า คลอด: การคลอดที่ เ ราควรเลื อ ก จริงหรือ” ในงานประชุมวิชาการระดับชาติและ นานาชาติ เรื่ อ งการพัฒ นาชนบทที่ ยั่ง ยื น เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2556 จัดโดยสถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น กล่าวว่า อัตราการคลอดปกติในประเทศไทยมีแนวโน้ ม
รายงาน
พิเศษ
นพ.ยศ ตี ร ะวัฒ นานนท์ ผู้ ก่ อ ตัง้ และ หัว หน้ าโครงการประเมิ น เทคโนโลยี แ ละ นโยบายด้ านสุขภาพ กล่าวว่า สูตนิ รี แพทย์ได้ ค่าตอบแทนประมาณ 40,000 บาทต่อราย แต่ละรายใช้ เวลาผ่าคลอดไม่เกิน 2 ชัว่ โมง ซึง่ อาจผ่าคลอดได้ 3-5 รายต่อวัน ขณะที่ นพ.วิ น เตชะเคหะกิ จ แพทย์ ประจ�ำกลุม่ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาล สุราษฎร์ ธานี นักเศรษฐศาสตร์ สาธารณสุข กล่ า วว่ า แพ็ ค เกจการผ่ า คลอดถื อ เป็ น สิ น ค้ าสุ ข ภาพชนิ ด หนึ่ ง เมื่ อ ผู้ บริ โ ภคมี ความต้ องการ มีกำ� ลังจ่าย โรงพยาบาลเอกชน จึ ง อ อ ก แ พ็ ค เ ก จ ม า ต อ บ ส น อ ง ลู ก ค้ า เพื่อท�ำก�ำไร ด้ า นองค์ ก ารอนามัย โลก เคยก� ำ หนด เกณฑ์ อั ต ราการผ่ า คลอดที่ เ หมาะสมใน แต่ละประเทศ เมื่อปี 2528 ว่า ไม่ควรเกิน ร้ อยละ 15 เพราะไม่มีความจ�ำเป็ น ท�ำให้ ทารกมีโอกาสเป็ นโรคแทรกซ้ อนหลังคลอด สู ง กว่ า การคลอดปกติ ถึ ง 3 เท่ า เช่ น โรคระบบทางเดิ น หายใจ และมี โ อกาส เป็ นโรคสมาธิ สัน้ ร้ อยละ 11.6 เนื่ อ งจาก ประสาทที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยตรงด้ า นอารมณ์ ความรู้ สึ ก พั ฒ นาไม่ เ ต็ ม ที่ เพราะไม่ ไ ด้ ผ่านการบีบกระตุ้นจากช่องคลอด
นพ.บุญชัย เอื ้อไพโรจน์กจิ อาจารย์ประจ�ำ ภาควิ ช าสู ติ ศ าสตร์ -นรี เ วชวิ ท ยา คณะ แพทยศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย กล่าวว่า งานศึกษาทางระบาดวิทยาบางชิ ้น พบความสัมพัน ธ์ ระหว่า งการผ่า คลอดกับ ความเสีย่ งทีเ่ พิม่ ขึ ้นของโรคภูมแิ พ้ แต่ยงั ไม่มี ข้ อสรุปแน่ชดั “การผ่ า คลอดจะท� ำ ได้ ต้ องมี ข้ อบ่ ง ชี ้ ทางการแพทย์ คนไข้ ไม่มีสิทธิ ที่จะเลือกผ่า แต่ปัจจุบนั เริ่ มมีกระแสที่พดู ถึงการเลือกผ่า คลอดโดยคนไข้ โดยแพทย์ต้องชี ้แจงให้ คนไข้ เข้ าใจข้ อดี ข้ อเสี ย ของการคลอดเองกั บ การผ่าคลอด” นพ.บุญชัย กล่าว ขณะที่ พญ.อุ่น ใจ กออนัน ตกุล คณะ อนุกรรมการอนามัยแม่และเด็ก ราชวิทยาลัย สูตนิ รีแพทย์แห่งประเทศไทย เปิ ดเผยว่า สถิติ การเบิกจ่ายค่าผ่าคลอดของข้ าราชการไทยใน โรงพยาบาลเอกชนเพิ่ ม สูง ขึน้ มาก เพราะ โรงพยาบาลรัฐจะไม่ผา่ ให้ หากไม่พบข้ อบ่งชี ้ “ในระดับสากลการผ่าคลอดต้ องอยู่ใน ดุ ล พิ นิ จ ของแพทย์ ไม่ ใ ช่ ค นไข้ เลื อ กเอง การเลือกคลอดบุตรโดยวิธีผ่าตัดจึงเป็ นแนว ปฏิบตั ิบนฐานความเข้ าใจผิด” อนุกรรมการ อนามัยแม่และเด็ก กล่าว จริญญา ศรีวัฒนวรัญญู
วิจัยพืชผลตอบโจทย์ใคร? เกษตรกรไทยหรือนายทุน
งบวิจยั ด้ านการเกษตรของประเทศไทย ตามนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจยั ของชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2555-2559) ก�ำหนดว่า รัฐต้ อง สนับสนุนงบประมาณการวิจยั เพื่อเพิ่มมูลค่า สินค้ าเกษตรปี ละ 6,900 ล้ านบาทต่อปี ปี ที่ผ่านมาส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) อนุมตั งิ บประมาณวิจยั เพือ่ เพิม่ มูลค่าสินค้ าเกษตร 865 โครงการ จ�ำนวน 1,129 ล้ านบาท อย่างไรก็ดี มีค�ำถามว่า บรรดางานวิจยั เหล่านันไปอยู ้ ท่ ไี่ หน? เชียง ไทยดี เกษตรกรเครื อข่ายจังหวัด สุรินทร์ บอกว่า ภาครัฐไม่เคยถ่ายทอดความรู้ ในการพัฒนาพันธุ์พืชและเพิ่มผลิตทางการ เกษตรทีย่ งั่ ยืน “เกษตรกรต้ องเร่ งเพิ่มผลผลิตทุกวิถีทาง เพื่อให้ มีเงินมากพอช�ำระหนี ้ แต่นนั่ หมายถึง ต้ น ทุน เช่ น เมล็ ด พัน ธุ์ ปุ๋ยเคมี แรงงาน ย่อมเพิ่มขึ ้นด้ วย ดินที่เคยดีก็เสียหาย” โชคชัย แซ่ เติ๋น เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพด ใน จ.น่าน กล่าวว่า เจ้ าหน้ าที่เกษตรอ�ำเภอ ลงพื ้นทีป่ ี ละแค่ 1-2 ครัง้ เพือ่ รับลงทะเบียนพืช โดยไม่ได้ ให้ ความรู้หรือแนะน�ำเพิม่ เติม สุทธินนั ท์ ปรัชญพฤทธิ์ นักวิจยั ชาวบ้ าน ด้ านการเกษตร กล่าวว่า งานวิจยั เกษตรของ ไทยส่วนใหญ่เป็ นงานวิจยั บน “หอคอยงาช้ าง”
LOOKSILP FOR PRINT.indd 13
ลดลงอย่างชัดเจน จากปี 2552 ร้ อยละ 71.31 เหลือเพียงร้ อยละ 64.85 ในปี 2556 ขณะที่ อัตราการผ่าคลอดอยูท่ ปี่ ระมาณร้ อยละ 34 “อนาคตการผ่าคลอดจะเพิม่ สูงขึ ้นเรื่อย ๆ เพราะสะดวกทังแม่ ้ และหมอคือ ตัวแม่สามารถ เลือกวันที่แน่นอนได้ ส่วนโรงพยาบาลจะมี รายได้ จ ากผ่ า คลอดสูง กว่ า คลอดปกติ ถึ ง ร้ อยละ 25-40” นายธีระ กล่าว นายธีระ กล่าวด้ วยว่า ผลกระทบจากการ ผ่า คลอดยัง เป็ นที่ ถ กเถี ย งในวงการแพทย์ เพราะเพิ่งเกิด 20-40 ปี ที่ผา่ นมา เด็กที่เกิด โดยวิธีผ่าปั จจุบันยังอยู่ในวัยที่ ไม่สามารถ ป ร ะ เ มิ น ไ ด้ แ น่ ชั ด ว่ า มี ผ ล ต่ อ สุ ข ภ า พ หรื อ ไม่ อาจต้ อ งพิ จ ารณาถึง อายุขัย เฉลี่ ย การต้ านทานความเจ็บป่ วยเมื่ออายุมากขึ ้น โรคประจ�ำตัว ฯลฯ จึงจะเห็นแนวโน้ มของ ผลจากการผ่าคลอดทีม่ ตี อ่ สุขภาพ นพ.นิวตั ิ อินทรวิเชียร ผู้ชว่ ยผู้อำ� นวยการ โรงพยาบาลกรุ ง เทพ กล่ า วว่ า แพ็ ค เกจ การผ่าคลอดแบบเหมาจ่ายช่วยให้ การบริหาร การเงินของโรงพยาบาลเป็ นระบบมากขึน้ ลดหนี เ้ สี ย ของโรงพยาบาล เพราะคนไข้ จะทราบค่าใช้ จา่ ยล่วงหน้ าและสามารถเตรียม เงินได้ พอดี ซึง่ ร้ อยละ 90 ของคนไข้ ที่นี่เลือก ผ่าคลอด เฉลีย่ ประมาณ 60 รายต่อเดือน
เอามาใช้ จริงไม่ได้ เพราะสภาพพื ้นที่ ลักษณะ การเพาะปลูก และปั ญหาที่เกิดขึ ้นในท้ องถิ่น ปรั บ ใช้ กั บ งานวิ จัย ไม่ ไ ด้ ผ ล และแม้ จ ะมี งานวิ จั ย ที่ เ ป็ นประโยชน์ แต่ ปั ญหาอยู่ ที่ การเข้ าไม่ถงึ ข้ อมูลของเกษตรกร “ผมท�ำวิจยั ร่วมกับสถาบันต่าง ๆ พบว่า นักวิจยั ไม่มีเวลาคลุกคลีในพื ้นที่ ไม่เหมือน นัก วิ จัย ต่า งประเทศที่ ทุ่ม เทจริ ง จัง เพราะ ท� ำ เป็ นอาชี พ แต่ นัก วิ จัย ของไทยจะเน้ น เชิงวิชาการมากกว่า” นอกจากงานวิจยั ที่มกั ขึ ้นไปอยู่บน “หิ ้ง” ภาพรวมนักวิจยั สาขาการเกษตรและชีววิทยา ไทยปี 2557 ตัวเลขลดเหลือเพียง 26 คน ในขณะทีป่ ี 2556 มีจำ� นวนกว่า 273 คน ขณะเดี ย วกั น แม้ ภาครั ฐ มั ก ประกาศ การสนับ สนุน เกษตรอิ น ทรี ย์ อย่ า งล่ า สุด ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ แถลงนโยบายเกษตร ปี 2559 ณ โรงแรมรามาการ์ เด้ น เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ที่ผ่านมา ให้ เกษตรอินทรี ย์เป็ น 1 ใน 5 เรื่ อ งที่ ต้ อ งเร่ ง ด� ำ เนิ น การ เพื่ อ ให้ ผลผลิตไม่มสี งิ่ เจือปน ได้ ราคาดี และคุณภาพ ตรงกับ ความต้ องการตลาด แต่รั ฐกลับให้ งบสนับ สนุนเกษตรอิ นทรี ย์ ปี 2559 เพี ยง 600 ล้ า นบาท คิ ด เป็ นร้ อยละ 0.7 จาก งบรายจ่ายกระทรวงฯ กว่า 86,000 ล้ านบาท
ด้ าน นิ พ นธ์ พั ว พงศกร นักวิชาการ เกียรติคณ ุ ทีดีอาร์ ไอ เสนอว่า รัฐต้ องเพิ่มงบ ด้ านวิจยั เป็ นร้ อยละ 1 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศภาคการเกษตร (จีดีพี) ใน 3 ปี ร้ อยละ 1.5 ภายใน 6 ปี และร้ อยละ 2 ภายใน 10 ปี และต้ องมีคา่ ธรรมเนียมวิจยั และ กองทุน เก็บค่าส่งออกสินค้ าเกษตรต่าง ๆ ที่ ส� ำ คัญ พบว่ า เม็ ด เงิ น น� ำ เข้ า ปุ๋ยเคมี เข้ ามาเป็ นเงินสมทบ จากต่ า งประเทศในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมาสูง “ปั จจุบนั รัฐน�ำเงินวิจยั ไปใช้ ในงานส่งเสริม 66,799 ล้ านบาท หรือมากกว่า 11 เท่า มากกว่าการพัฒนา ท�ำให้ ธุรกิจเอกชนและ สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย รายใหญ่ ไ ด้ ป ระโยชน์ ม ากว่ า วิ จัย ที่ ท� ำ ให้ (ทีดอี าร์ ไอ) เสนอผลงานวิจยั เรื่องภาวะหนี ้สิน เกษตรกรได้ ประโยชน์” นักวิชาการเกียรติคณ ุ เกษตรกร ล่าสุดปี 2557 ระบุว่าเกษตรกรมี ทีดอี าร์ ไอ ระบุ หนี ส้ ูง กว่ า 1.322 ล้ า นล้ า นบาท และใน ส่วน พรรณีย์ วิชชานู ผู้อำ� นวยการกลุม่ ระยะเวลา 20 ปี ที่ ผ่า นมากว่า ร้ อยละ 66 ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ กรมวิชาการเกษตร ยังคงกู้ยืมเงินมาท�ำเกษตรเชิงเดี่ยว โดยมี ยอมรั บว่า งบวิจัยของกรมวิชาการเกษตร แหล่งทุนอันดับหนึง่ คือ ธนาคารเพือ่ การเกษตร บางครัง้ ไม่เพียงพอ แต่พยายามบริหารให้ เกิด และสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) จ�ำนวน 826,001 ประโยชน์เท่าทีม่ ี และยอมรับว่าขาดแคลนนัก ล้ า นบาท คิ ด เป็ นร้ อยละ 62.45 ขณะที่ วิจยั การเกษตรบางสาขา ส่วนการเผยแพร่ สถิ ติ ค รั ว เรื อ นยากจนมี ห นี ต้ ่ อ รายได้ ท ะลุ งานวิ จั ย ไปยั ง เกษตรกรเป็ นหน้ าที่ ข อง ร้ อยละ 142 กรมส่งเสริมการเกษตร วิ ฑู ร ย์ เลี่ ยนจ� ำ รู ญ ผู้ อ� ำ นวยการ ขณะที่ สนิ ท ปั ญญาวงศ์ หั ว หน้ า มูลนิธิชวี วิถี ชี ้ว่า งานวิจยั ด้ านการเกษตรไทย กลุ่มยุทธศาสตร์ และสารสนเทศส�ำนักงาน ไม่ ต อบโจทย์ เ กิ ด จากข้ อ จ� ำ กั ด ของระบบ เกษตรจังหวัดน่าน ชีแ้ จงว่าปกติเจ้ าหน้ าที่ ราชการ และทิ ศ ทางงานวิ จัย ที่ ต อบสนอง เผยแพร่ความรู้สเู่ กษตรกรผ่านการอบรมหรื อ ต่ออุตสาหกรรมเกษตร น�ำไปสูผ่ ลประโยชน์ ประชุมในระดับท้ องถิ่น ดังนันหากเกษตรกร ้ ของกลุม่ ทุนมากกว่าเกษตรรายย่อย ไม่ได้ เข้ าร่วมก็จะเสียโอกาสไป แต่ยอมรับว่า เขาย� ้ำว่า “50 ปี ทผ่ี า่ นมากระทรวงเกษตรฯ ลงพื ้นทีน่ ้ อยลง เพราะขาดเจ้ าหน้ าที่ เป็ นผู้วจิ ยั และพัฒนาสายพันธุ์พชื ดึงศักยภาพ “เราเข้ าไม่ถงึ เพราะบางพื ้นที่อยูห่ า่ งไกล ก า ร คั ด เ ลื อ ก แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง พั น ธุ์ ข อ ง เข้ าไปล�ำบาก แต่อย่างไรก็ตาม หากมีปัญหา เกษตรกรมาอยู่ ใ นมื อ รั ฐ โดยเฉพาะช่ ว ง หรื อต้ องการค�ำปรึ กษา สามารถเข้ าพบได้ 20 ปี หลัง ยังเอื ้อให้ การปรับปรุงพันธุ์พชื อยูใ่ น ตลอดเวลา” มือผู้ประกอบการ” ณัชชา เชี่ ยวกล
25/1/2559 10:37:54
14
สารคดีเชิ งข่าว
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
“พลังสีขาว ร่วมสร้างเกราะป้องกัน ภัยค้ามนุษย์” “ประเทศไทยเป็ นประเทศต้นทาง ปลายทาง และทางผ่าน ส�ำหรับการค้ าผู้ชาย ผู้หญิง และ เด็ ก เพื่ อ บัง คับ ใช้ แ รงงานและการบัง คับ ค้ าประเวณี ในประเทศไทยมีแรงงานอพยพ ประมาณสามถึ ง สี่ ล้ า นคน โดยส่ ว นใหญ่ มาจากประเทศเพือ่ นบ้ าน ได้ แก่ เมียนมาร์ ลาว และเขมร นอกจากเหยื่อการค้ ามนุษย์ชาวไทยแล้ ว เชื่ อ ว่ า แรงงานต่ า งชาติ บ างส่ว นถูก บัง คับ ขู่เข็ญหรื อล่อลวงมาเพื่อการแสวงประโยชน์ บังคับใช้ แรงงานหรื อในธุรกิจทางเพศ เหยื่ อ การค้ ามนุ ษ ย์ เ พื่ อ การบั ง คั บ ใช้ แรงงานในไทยจ�ำนวนหนึง่ ถูกแสวงประโยชน์ ในอุตสาหกรรมประมง อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วกับ การประมง โรงงานต่า ง ๆ และงานรั บ ใช้ ตามบ้ าน เหยื่อบางคนถูกบังคับให้ ขอทาน ตามถนน การค้ ามนุษย์เพือ่ บังคับค้ าประเวณียงั คง เป็ นปั ญหาส�ำคัญในธุรกิจทางเพศทีก่ ว้ างขวาง มากของประเทศไทย...” ข้ อความบางส่วนจากรายงานถานการณ์ การค้ ามนุษย์ประจ�ำปี 2558 (Trafficking in Persons Report 2015 หรื อ TIP Report 2015) โดยส�ำนักงานเพื่อการตรวจสอบและ ต่ อ สู้กั บ การค้ า มนุ ษ ย์ ปรากฏอยู่ ใ นหน้ า เว็ บ ไซต์ ส ถานทู ต สหรั ฐ อเมริ กาประจ� ำ ประเทศไทย ขณะที่รายนามประเทศไทยยัง คงถูกจัดไว้ ในบัญชีกลุม่ ที่ 3 (Tier 3) ซึง่ เป็ น กลุม่ ประเทศที่มีสถานการณ์ค้ามนุษย์ระดับ เลวร้ ายที่สดุ ติดต่อกันเป็ นปี ที่สอง
หลังฉากสังขละบุ รี เมืองแห่งขุนเขาและสายหมอก แม้ จะสัง่ สมชื่อเสียงจากการเป็ นจุดหมาย ปลายทางของนักท่องเที่ ยวสุดฮิป หากอีก มุมหนึง่ คนท�ำงานปราบปรามการค้ ามนุษย์ ต่างรู้ดีวา่ อ�ำเภอสุดพรมแดนไทย-เมียนมาร์ ใน จ.กาญจนบุ รี แ ห่ ง นี เ้ ป็ นหนึ่ ง ในพื น้ ที่ เฝ้าระวังอย่างใกล้ ชดิ เนือ่ งจากมีชยั ภูมติ ดิ กับ
LOOKSILP FOR PRINT.indd 14
ด่านเจดีย์สามองค์ และเขตพญาตองซูของ เมียนมาร์ ประกอบกับภูมิประเทศลักษณะ เทือกเขาสูงสลับซับซ้ อน เอื ้อต่อการลักลอบ เคลื่ อ นย้ ายแรงงานต่ า งด้ าวสู่ ตั ว เมื อ ง กาญจนบุรี ก่อนจะกระจายสูจ่ งั หวัดอื่น ๆ ลึ ก ลงไปภายใต้ ขุ น เขาและธรรมชาติ อันสงบงดงาม สังขละบุรี คือ เมืองหน้ าด่าน ของขบวนการค้ ามนุษย์ดี ๆ นี่เอง พ.ต.ท.ฐิตยิ ุทธ บรรจงธุรการ สารวัตร ป้ องกั น และปราบปราบการค้ ามนุ ษ ย์ สังขละบุรี เปิ ดเผยว่า ส่วนใหญ่การปราบปราม การค้ ามนุษย์ในสังขละบุรีจะเป็ นการสืบหา ขบวนการขนแรงงานต่างด้ าว โดยมาตรการ ทีท่ ำ� เป็ นประจ�ำคือ การตังด่ ้ านจับตามจุดตรวจ ต่าง ๆ ในพื ้นที่เสี่ยง ซึ่งสถิติเดือนกันยายน ทีผ่ า่ นมา สามารถจับกุมได้ 17-18 ราย “เราจะตามรถแล้ วจับคนขน บางทีก็ขน ต่างด้ าวเข้ ามา 5-7 คน มักเป็ นแรงงานเถื่อน หรื อพวกหลบหนีเข้ าเมือง มีทงชายหญิ ั้ ง และ เด็กวัย 15-16 ปี พวกนี ้จะไม่มีบตั รอะไรเลย อีกกลุม่ ที่ตงด่ ั ้ านแล้ วเจอคือ แรงงานต่างด้ าว ทีม่ บี ตั รสีชมพู พวกนี ้จะมีความผิด เพราะย้ าย ที่ ท� ำ งานโดยไม่ ข ออนุญ าตออกนอกพื น้ ที่ แต่พวกหลังนี ้ส่วนใหญ่จะตักเตือน ส่วนพวก ค้ ามนุษย์โสเภณีที่นี่ไม่มี” พ.ต.ท.ฐิตยิ ทุ ธ กล่าวต่อว่า หากเปรียบเทียบ สถิ ติจับกุมกับช่วงก่อนหน้ านี ถ้ ื อว่าน้ อยลง เนื่ อ งจากรั ฐ บาลมี ค� ำ สั่ง ให้ ต รวจตามแนว ชายแดนอย่างเข้ มงวดมากขึ ้น “คสช.มี น โยบายให้ ต รวจเข้ ม ตามแนว ชายแดน แต่เ ดิ ม พวกนี จ้ ะแอบเข้ า มาทาง รถยนต์ ตามเส้ นทางภูเขา เช่น จากสังขละฯ ไปเจดีย์สามองค์ จะมี 4 ด่าน เวลาจะถึงด่าน เขาจะอ้ อมไปทางภูเขาข้ างหลัง แล้ วมี คน มารับเป็ นช่วง ๆ ไม่กใ็ ช้ มอเตอร์ไซต์ขไี่ ปทีละคน สองคน มีบางรายขึ ้นรถกระบะที่ตอ่ ทึบ ๆ ไว้ ใส่คนข้ างหลัง เคยจับได้ หลายครัง้ ” นายต�ำรวจผู้นี ้ยังอธิบายถึงเส้ นทางของ ขบวนการค้ ามนุษย์ ในพืน้ ที่ว่า เริ่ มต้ นจาก สังขละบุรีไปทางตัวเมืองกาญจนบุรี จากนัน้ ส่วนใหญ่จะมุง่ เข้ า จ.สมุทรสาคร กทม. มีบ้าง
ทีล่ งใต้ ไปนครปฐมบ้าง ตอนนี ้ถือว่าสถานการณ์ การค้ า มนุ ษ ย์ บ ริ เ วณจัง หวัด ชายแดนที่ มี ปั ญหามากทีส่ ดุ จะอยูท่ ี่ อ.แม่สอด จ.ตาก กับ จ.ระนอง ที่ อ.สังขละบุรีถอื ว่าพบบ้ างประปราย “ที่น่ีมีประชากรเป็ นคนต่างด้ าวมากกว่า คนไทย ปั ญหาการค้ ามนุษย์ การลักลอบเข้ า เมืองอย่างผิดกฎหมาย การขอใบอนุญาต ท�ำงานจึงสะสมมานาน บางครัง้ เกิดจากช่อง โหว่ของกฎหมาย หรื อผู้มีอทิ ธิพลในพื ้นที่เอง ล่าสุดเมื่อเดือนก่อนเพิ่งจับกุมไป อ้ างว่าเป็ น มูล นิ ธิ ดูแ ลเด็ ก ด้ อ ยโอกาส แต่ จ ากสภาพ ความเป็ นอยู่ของเด็กเหมือนเล้ าไก่ ถือเป็ น การค้ า มนุ ษ ย์ เอาคนมาบัง หน้ าแล้ ว เอา ผลประโยชน์ สังขละบุรีเป็ นเมืองชายแดน ที่มีมลู นิธิต่าง ๆ เยอะมาก มีเกือบสี่สิบแห่ง ส่วนใหญ่ขอทุนด�ำเนินงานจากต่างประเทศ แต่ทจี่ ดทะเบียนและได้รบั ใบอนุญาตให้จดั ตังได้ ้ จริง ๆ มีแค่ 3 แห่ง ทีเ่ หลือเป็ นมูลนิธเิ ถือ่ นหมด” จริพา บางสวย นักพัฒนาสังคมช�ำนาญ การ ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษ ย์ จัง หวัด กาญจนบุรี เปิ ดเผยถึ ง สถานการณ์การค้ ามนุษย์วา่ ปั จจุบนั ก�ำลังอยู่ ในช่วงเฝ้าระวังพื ้นที่ตามแนวตะเข็บชายแดน “สั ง ขละบุ รี มี ช่ อ งทางการเดิ น เท้ าที่ แรงงานเมียนมาร์ สามารถเข้ ามาท�ำงานใน ประเทศไทยได้ แบบไปเช้ าเย็นกลับ ประมาณ วันละ 5,000-8,000 คน ซึ่งในส่วนนี ้เรายัง ไม่ได้ เข้ าไปดูเรื่องแรงงานผิดกฎหมาย ส่วนใน เรื่ องแรงงานที่เข้ าข่ายค้ ามนุษย์นนั ้ ยังไม่มี ข้ อมูลที่ชดั เจน แต่คาดว่าน่าจะมีบ้าง เพราะ เจ้ าหน้ าที่ยงั ไม่ได้ เข้ าไปส�ำรวจเชิงลึก โดยเรา จะมีศนู ย์ปฏิบตั ิการป้องกันและปราบปราม การค้ ามนุ ษ ย์ ป ระจ� ำ จั ง หวั ด ที่ ท� ำ หน้ าที่ เฝ้ าระวั ง โดยเฉพาะเด็ ก ตามรอยตะเข็ บ ชายแดนหรื อเด็กต่างด้ าว ซึ่งมักจะมาจาก ครอบครัวที่ขาดโอกาส จึงเป็ นกลุม่ เสีย่ งเบอร์ หนึง่ ของการค้ ามนุษย์” นอกจากนี ้ นักพัฒนาสังคมช�ำนาญการ ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของ มนุษย์จงั หวัดกาญจนบุรียงั เปิ ดเผยต่อไปว่า พื ้นที่บ้านพุน� ้ำร้ อน ต.บ้ านเก่า อ.เมือง ถือเป็ น
ช่องทางใหม่ที่คนเมียนมาร์ เข้ ามาเยอะที่สดุ เพราะก�ำลังเข้ าสูเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน กาญจนบุรี นอกจากสังขละบุรีแล้ ว พื ้นที่นี ้ก็ น่าจับตามองเช่นกัน
พลังสีขาว ต้านค้ามนุษย์ นอกจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ในพื น้ ที่ ที่ มี การประชุ ม และสนธิ ก� ำ ลั ง ป้ องกั น และ ปราบปรามการค้ ามนุษย์อยูเ่ นือง ๆ แล้ ว ในพื ้นทีห่ า่ งไกลจากตัวเมือง 215 กิโลเมตร อย่าง ต.หนองลู อ.สังขละบุรี ยังมีกลุม่ เยาวชน ที่ อุทิ ศ ตนเพื่ อ มิ ใ ห้ ค นในพื น้ ที่ เ สี่ ย งต่อ การ ตกเป็ นเหยื่อขบวนการค้ ามนุษย์ ด้ วยการท�ำ กิ จ กรรมรณรงค์ เ รื่ อ งสิ ท ธิ เ ด็ ก ในนามของ ชมรม “เด็กดีคลับ” “เราเป็ นแค่เด็ก เราปกป้องเค้ าไม่ได้ หรอก แต่เราเชื่อว่าถ้ าเด็กคนอื่น ๆ และผู้ปกครอง ของพวกเขาเข้ าใจเรื่ องสิทธิ เขาจะสามารถ ปกป้องตัวเองได้ อย่างน้ อยก็จะไม่พาตัวเอง ไปตกอยูใ่ นสถานการณ์เสี่ยง” เก้ า หรือ นางสาวเสาร์ วติ รี ปุณณะการี เด็กสาววัย 18 นักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนอุดมสิทธิศึกษา อธิบายถึงสิ่งที่เธอ และเพื่อน ๆ ท�ำด้ วยน� ้ำเสียงเชื่อมัน่ เก้ า เล่าว่าปั จจุบนั แกนน�ำหลักมี 27 คน ส่วนสมาชิกอืน่ ๆ เป็ นเด็ก ๆ เกือบทังอ.สั ้ งขละบุรี โดยแกนน�ำจะมีหน้ าที่จดั ค่ายสันทนาการให้ ความรู้กบั เด็กนักเรียนแต่ละโรงเรียน ก่อนท�ำค่าย เก้ าและเพือ่ นในทีมจะรวมตัว กันวางแผนคิดกิจกรรมทีจ่ ะให้น้องท�ำก่อนเสมอ จากนันจึ ้ งแบ่งหน้ าที่รับผิดชอบในส่วนที่ถนัด ซึง่ มีทงฝ่ ั ้ ายสันทนาการ ให้ ความรู้ อาหารและ เครื่ องดื่ ม ช่ ว งเวลาสามวั น สองคื น ของ การจัดค่าย เป้าหมายหลักของเด็กดีคลับคือ พูดเรื่องสิทธิเด็กทัง้ 4 ข้ อ ได้ แก่ สิทธิทจี่ ะมีชวี ติ รอดสิทธิที่จะได้ รับการพัฒนาสิทธิที่จะได้ รับ การปกป้องคุ้มครอง และสิทธิในการมีสว่ นร่วม ให้ น้องได้ เข้ าใจ รวมถึงให้ ความรู้กบั พวกเขาใน เรื่องทักษะการใช้ ชวี ติ เช่น การเอาตัวรอดจาก ภัยเสีย่ งต่าง ๆ เพือ่ ป้องกันการถูกล่อลวง
25/1/2559 10:37:55
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
“จะบอกว่าน้ องเข้ าใจร้ อยเปอร์เซ็นต์กไ็ ม่ได้ ตีวา่ ประมาณแปดสิบแล้ วกัน เราวัดจากการที่ น้ อง ๆ เขาไปพูดต่อ ไปคุยกับพ่อแม่ แล้ วเราอยู่ ในพื ้นที่ สมมุตมิ ีพวกหนูคนหนึง่ อยูใ่ นซองกา เลีย แล้ วมีน้องทีเ่ คยเข้ าค่ายอยูท่ นี่ นั่ เขาก็จะ ไปเล่า เราอยูใ่ นนันเราก็ ้ ร้ ูวา่ ผู้ปกครองเขารับรู้” ไม่งา่ ยนักที่จะท�ำให้ เด็ก ๆ เข้ าใจว่าท�ำไม พวกเขาถึงต้ องตระหนักในสิทธิ ของตนเอง การจั ด ค่ า ยของกลุ่ ม เด็ ก ดี ค ลั บ จึ ง ไม่ ใ ช่ แค่บอกแล้ วให้ น้องจ�ำ แต่เป็ นการท�ำกิจกรรม ทีเ่ ด็กทุกคนจะได้ มสี ว่ นร่วมในการป้องกันเฝ้า ระวัง ปั ญ หาในชุม ชน ด้ ว ยการให้ พ วกเขา ระดมความคิดเขียนโครงการเล็ก ๆ ที่สนใจ อยากจะร่ ว มแก้ ปั ญ หาแล้ ว สัง เกตว่ า เด็ ก แต่ ล ะคนมี ค วามคิ ด หรื อ การวางแผนเป็ น อย่างไร หลังจากนันจึ ้ งจะมีการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันในวันสุดท้ ายของการปิ ดค่าย ไม่เพียงแต่สาระความรู้ที่จะต้ องถ่ายทอด สู่น้อง ขึ ้นชื่อว่าค่ายนัน้ ยังจ�ำเป็ นต้ องมีช่วง เวลาสันทนาการ โดยแกนน�ำจะให้ น้องท�ำ กิ จ กรรมสลั บ กั บ การเล่ น เกมเสริ ม สร้ าง ความมัน่ ใจและกล้ าแสดงออก หล่อหลอม ภาวะความเป็ นผู้น�ำในตัวเด็กให้ กล้ าที่จะคิด และท�ำในสิ่งที่สร้ างสรรค์ ซึง่ จากการพูดคุย กับประธานชมรมและแกนน�ำคนอื่น ๆ ท�ำให้ รู้ ว่า ค่า ยได้ บ รรลุวัต ถุป ระสงค์ ใ นการสร้ าง ผู้น�ำเยาวชน นอกจากจัด ค่ า ยกลุ่ม เด็ ก ดี ค ลับ ยัง เดิ น รณรงค์ แ จกแผ่ น พั บ ความรู้ ในช่ ว งงาน เทศกาลต่าง ๆ ของอ�ำเภอ บางครัง้ ก็ลงพื ้นที่ ไปพู ด คุย กั บ ชาวบ้ า นด้ ว ยตัว เองและเอา สติ ก เกอร์ เ บอร์ โ ทรแจ้ ง เบาะแสค้ า มนุษ ย์ ไปแปะตามแต่ละบ้ าน สิ่งเหล่านี ้คือสิ่งที่เก้ า และเพื่อนร่ วมชมรมร่ วมกันท�ำติดต่อกันมา เป็ นเวลาหลายปี “อยากเปลีย่ นทัศนคติของผู้ปกครองว่าถึงเรา เป็ นแค่กลุ่มเด็กแต่เรายังต่อสู้เพื่อเรื่ องนีน้ ะ อยากให้ เขาให้ ความส�ำคัญกับเรา เด็กอย่างเรา ยังท�ำ แล้วท�ำไมเขาถึงไม่มองให้ มนั กว้ างกว่านี ้” จากประสบการณ์ ก ารท� ำ กิ จ กรรมเพื่ อ ชุมชนท�ำให้ พวกเขารับรู้ และเข้ าใจปั ญหาที่ เกิดขึ ้นในพื ้นที่บ้านเกิดว่า การค้ ามนุษย์ไม่ได้ เกิดเพราะมีแค่คนค้ า ลูกค้ า หรื อนายหน้ า แต่เกิดเพราะผู้ปกครองของเด็กส่วนใหญ่ที่ เป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์หรื อคนที่มีบตั รศูนย์ (ไม่มี สถานะทางทะเบียน) มักจะให้ ลกู ลาออกจาก โรงเรี ยนเพื่อออกไปหางานท�ำ เพราะเชื่อว่า ไม่สามารถเรี ยนต่อได้ หากไม่มีบตั รไทย ทังที ้ ่ เด็กทุกคนมีสทิ ธิที่จะได้ รับการศึกษา แต่กลับ มีอกี หลายครอบครัวทีไ่ ม่ร้ ูถงึ สิทธิทตี่ นเองควร จะได้ รับ
สารคดีเชิ งข่าว ความเข้ าใจที่ถกู ต้ องของผู้ปกครองจึงเป็ น ปราการที่ ห นาแน่ น ที่ สุ ด ในการปกปั กษ์ คุ้มครองเด็ก ๆ จากภัยค้ ามนุษย์ เด็กหญิงวัยสิบแปดพูดถึงความส�ำเร็ จใน การด�ำเนินกิจกรรมที่ผา่ นมาให้ ฟังว่า แกนน�ำ ในชมรมมีหลากหลายเชื ้อชาติทงเมี ั ้ ยนมาร์ ลาว มอญ กะเหรี่ ยง จึงง่ายต่อการสื่อสารให้ คนในแต่ละหมู่บ้านเข้ าใจในภาษาของพวก เขาเอง ซึง่ ทางกลุม่ เด็กดีคลับได้ มกี ารติดตาม ผลการเปลีย่ นแปลง โดยสังเกตการณ์ในพื ้นที่ ของตนเอง จนทราบว่ามีแรงงานเยาวชนที่ เข้ าไปท�ำงานในเมืองน้ อยลง โดยเฉพาะฝั่ ง มอญ เพราะพวกเขากลัวว่าตัวเองจะตกเป็ น เหยื่อ ท�ำให้ ทกุ คนต่างก็ระวังตัวมากขึ ้น อีกไม่กี่เดือนต่อจากนี ้ เก้ าและเพื่อน ๆ ใน ชมรมส่วนหนึ่งจะเปลี่ยนสถานะตัวเองจาก นักเรี ยนไปเป็ นนักศึกษา เมื่อถามถึงความฝั น เก้ าบอกเราอย่างมัน่ ใจว่าเธออยากเป็ นครู “มีหลายคนสงสัยว่าเราท�ำกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการต่อต้ านขบวนการค้ ามนุษย์ ท�ำไม ถึงไม่เรี ยนกฎหมายล่ะ แต่หนูมองว่า ถ้ ามีครู ในชุมชนที่เป็ นคนในพื ้นที่จริ ง ๆ เขาจะเข้ าใจ ว่าเด็กแต่ละคนล้ วนมีปัญหา เขาจะรู้วา่ ต้ อง ท�ำอย่างไรไม่ให้ ปัญหาเหล่านันท� ้ ำให้ เด็ก ๆ ต้ องตกเป็ นเหยื่อการค้ ามนุษย์”
เด็กดีคลับกิจกรรมดีๆ
ที่ผู้ใหญ่หนุน
แม้ วา่ ชมรมเด็กดีคลับจะขับเคลือ่ นด้ วยพลัง บริ สทุ ธิ์ของเด็ก ๆ ในพื ้นที่ หากแรกเริ่ มนัน้ โครงการนี เ้ กิ ด ขึน้ ภายใต้ โ ครงการต่อ ต้ า น การค้ ามนุ ษ ย์ ข องมู ล นิ ธิ ศุ ภ นิ มิ ต รแห่ ง ประเทศไทย ซึง่ จัดขึ ้นเพื่อให้ แกนน�ำเยาวชน สามารถเข้ าถึงกลุม่ เป้าหมายบางกลุม่ ที่เป็ น กลุม่ เสีย่ งได้ อย่างใกล้ ชดิ อาดูร จิตตะวัฒนา หรื อ ทีเ่ ด็ก ๆ ในชมรม เด็ ก ดี ค ลับ เรี ย กกั น ติ ด ปากว่ า “พี่ อ าร์ ม ” เจ้ าหน้ าทีม่ ลู นิธิศภุ นิมติ สังขละบุรี ผู้คอยดูแล และเป็ นที่ปรึกษาให้ กบั เด็ก ๆ ตังแต่ ้ รุ่ นหนึ่ง จนถึงปั จจุบนั คือรุ่ นที่ห้าเล่าว่า นอกจากตัว กิจกรรมจะสร้ างแรงกระเพื่อมแก่คนในพื ้นที่ และตัว ปั ญ หาการค้ า มนุษ ย์ แ ล้ ว ยัง สร้ าง ความเปลีย่ นแปลงแก่ตวั เด็ก ๆ ผู้เป็ นเรี่ ยวแรง ส�ำคัญด้ วย “เด็กที่เข้ ามาท�ำกิจกรรมตรงนี ้ เราเห็นว่า เขามีวธิ ีคดิ ทีเ่ ปลีย่ นไป เช่น จากทีส่ ว่ นใหญ่ไม่ คิดเรี ยนต่อเมื่อจบจากสังขละฯ เพราะไม่มี สัญชาติเค้ าเลยไม่หวัง มีความคิดแบบเรี ยน ไปก็เท่านัน้ แต่เมือ่ ได้ ลงพื ้นทีท่ ำ� กิจกรรมต่างๆ
15
“ เด็กที่เข้ามาท�ำกิจกรรมส่วนใหญ่ไม่คิดเรียนต่อ เพราะไม่มีสัญชาติ เขาเลยไม่หวัง แต่เมื่อพวกเขาได้ลงพื้นที่ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ถ่ายทอดสิ่งที่เขารู ้ให้กับคนในชุมชน ท�ำให้เขามองเห็นศักยภาพของตัวเอง ท�ำให้้เขามีความหวัง กลายเป็นว่าไม่มีใครไม่อยากเรียนต่อ ”
ได้ ถ่ายทอดสิง่ ที่ร้ ูให้ กบั คนในชุมชน เขาก็เริ่ ม มองเห็นศักยภาพของตัวเอง ซึง่ เป็ นจุดเริ่มต้ น ที่ดใี นการเฝ้าระวังปั ญหา กลายเป็ นว่าตอนนี ้ ไม่มใี ครทีไ่ ม่อยากเรียนต่อเด็กชมรมหลายคน ยอมหลบหนีเข้ าเมืองเพือ่ ทีจ่ ะไปสมัครเรียนที่ ต่างจังหวัด เพราะทางอ�ำเภอไม่อนุญาตให้ สมัครไง มันค่อนข้ างยาก ขันตอนเยอะ” ้ พลังเยาวชนทีเ่ ข้ มแข็งขึ ้นในพื ้นทีส่ งั ขละบุรี จึงเป็ นผลผลิตที่นา่ ภาคภูมิใจของโครงการ
การค้ามนุษย์ ปั ญหาที่ต้องร่วมใจกัน ส ถ า น ก า ร ณ์ ปั ญ ห า ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ ในอ.สังขละบุรีมีแนวโน้ มที่ดีขึ ้น ทว่าส�ำหรับ คนในพื น้ ที่ แ ล้ ว รู้ ดี ว่ า จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการ ถูก หลอกลวงเข้ า สู่ก ระบวนการค้ า มนุษ ย์ มักเกิดจากการย้ ายถิ่นฐานหรื อการเดินทาง อย่างไม่ถูกกฎหมายของกลุ่มคนไร้ สญ ั ชาติ หรื อ คนต่ า งด้ าวที่ ตั ง้ ใจลั ก ลอบเข้ าไทย เนื่องจากต้ องการยกระดับคุณภาพชีวิตของ ตนและครอบครั ว ให้ พ้ น จากความยากจน โดยมีคา่ แรงในไทยเป็ นจุดดึงดูดให้ มาท�ำงาน ทั ง้ นี ้ แหล่ ง ข่ า วในพื น้ ที่ ร ะบุ ว่ า ค่ า แรง ขั น้ ต�่ ำ 300 บาทต่ อ วั น สามารถน� ำ ไป แลกเปลี่ยนได้ 10,858 จ๊ าด ของเมียนมาร์ โดยประมาณ การให้ ค วามรู้ และอธิ บ ายความส� ำ คัญ ของการใช้ เอกสารสิทธิตา่ ง ๆ จึงเป็ นอีกหนึง่ ภารกิจของผู้เกี่ยวข้ องในการป้องกันและช่วย มิ ใ ห้ เ พื่ อ นมนุษ ย์ ด้ ว ยกัน ต้ อ งตกเป็ นเหยื่ อ ของขบวนการค้ ามนุษย์ นอกเหนือจากการ ใช้ ก�ำลังต�ำรวจเข้ าปราบปรามจับกุม
“พลังเยาวชนที่เข้มแข็งขึน้ ในพืน้ ที่สงั ขละบุ รี จึงเป็ นผลผลิตที่นา่ ภาคภูมใิ จของโครงการ”
สมพงค์ สระแก้ ว ผู้อ�ำนวยการมูลนิธิ เครื อข่ า ยส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต แรงงาน ซึง่ เคยลงพื ้นที่ส�ำรวจสภาวการณ์ของเด็ก ๆ ในอ�ำเภอสังขละบุรี เสนอความคิดเห็นในการ แก้ ไขปั ญ หาค้ า มนุ ษ ย์ ว่ า ภาครั ฐ จะต้ อ ง ก�ำหนดนโยบายที่เน้ นบทบาทของชุมชนท้ อง ถิ่นให้ มากขึ ้น “รัฐควรท�ำระบบ Child protection หรื อ การคุ้มครองเด็กชายแดน โดยมีการวิเคราะห์ กลุ่ ม เสี่ ย งว่ า มี กลุ่ ม ไหนบ้ างด้ วยการ สร้ างเครื อข่ายเฝ้าระวังปั ญหา โดยใช้ ระบบ จิตอาสาจากชาวบ้ านในพื ้นที่ เพราะส่วนใหญ่ เขาจะมองปั ญหานี ้แบบตัวใครตัวมัน แต่เด็ก ถูกละเมิดถูกกระท�ำมันจะมองแบบนี ไ้ ม่ได้ ล�ำพังหน่วยงานรั ฐเองอยู่ไกลก็อาจจะต้ อง สร้ างกลไกทีเ่ กีย่ วข้ องกับหลาย ๆ หน่วยงานใน ท้ องถิน่ เพือ่ ให้ การแก้ ไขเป็ นไปอย่างมีระบบ” การจะแก้ ไขปั ญหาการค้ ามนุษย์ให้ ได้ ผล ตามทัศนะของสมพงค์ จึงต้ องอาศัยพลังของ ชุมชนเข้ าหนุนเสริม เป็ นการเพิม่ พลังให้ ชมุ ชน ลุกขึ ้นมาแก้ ไขและป้องกันปั ญหาด้ วยตัวของ พวกเขาเอง
บทส่งท้าย แสงสุดท้ ายของวันฉาบไล้ สะพานมอญ และแม่ น� ำ้ ซองกาเรี ย จนเป็ นประกายทอง ระยิบระยับ เด็กชายเชื ้อสายมอญจ�ำนวนไม่ น้ อยก�ำลังสนุกสนานกับการกระโดดน� ้ำแลก เงินจากนักท่องเที่ยว เสียงหัวเราะดังสลับกับ เสียงน�ำ้ แตกกระจายถัดไปไม่ไกล ชายชาว ประมงกับเรื อล�ำน้ อยก�ำลังเดินทางกลับบ้ าน ผ่านสายธารที่เปรี ยบเสมือนเส้ นเลือดใหญ่ หล่อเลี ้ยงทุกชีวิตที่นี่ สังขละบุรียงั คงบริ สทุ ธิ์งดงามจนยากที่จะ เชื่ อ ว่ า ภายใต้ ค วามงดงามและเงี ย บสงบ ต้ นทางการค้ ามนุษย์เกิดขึ ้น ณ ที่แห่งนี ้ แม้ เจ้ าหน้ าที่ ที่ เ กี่ ยวข้ องจะด� ำ เนิ น มาตรการปราบปราม และแม้ กิจกรรมของ เด็ ก ๆ ร่ ว มกั บ ชุ ม ชนจะป้ องกั น และยุ ติ การค้ ามนุษย์ ไม่ได้ ทงั ้ หมด ทว่าเหล่าเด็กดี คลับยืนยันว่าจะประสานก�ำลังกันให้ ถึงที่สดุ เพื่ อ ป้ องกัน มิ ใ ห้ ผ องเพื่ อ นหรื อ ญาติ พี่ น้ อ ง อันเป็ นที่รักของพวกเขาต้ องตกเป็ นเหยื่อของ มนุษย์ที่ค้าชีวิตมนุษย์ด้วยกันเอง ช่วยได้ 1 คนก็ยงั ดีกว่าไม่ได้ทำ� อะไรเลย... จริญญา ศรีวัฒนวรัญญู เกศราพร เจือจันทร์ โชติกา กนิษฐนาคะ
LOOKSILP FOR PRINT.indd 15
25/1/2559 10:37:55
16
สิ่งแวดล้อม
โวยนากุ้งเพชรฯ
ทิง้ น�้ำเสียลงคลอง เลี่ยงตรวจคุณภาพ
นากุ้ ง เพชรบุ รี ห ลายเจ้ า ปล่ อ ยน�้ ำ เสี ย ลงคลองสาธารณะท� ำ นาข้ า วตาย ชาวบ้านใช้น้�ำไม่ได้ ประมงเพชรฯ อ้างน�้ำจากฟาร์มปิ ดไม่ท�ำลายธรรมชาติ นักสิ่งแวดล้อมชี้ นากุ้งทุกประเภทท�ำน�้ำ-ดินเค็ม แฉเร่งปล่อยน�้ำทิ้งเลี่ยง ตรวจสอบ กรมประมงขู่ยกเลิกใบรับรองหากพบฟาร์มต�่ำมาตรฐาน เมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมา หนังสือพิมพ์ ลูกศิลป์ ศูนย์ขา่ วเพชรบุรี ลงพื ้นทีส่ งั เกตการณ์ นากุ้งใน 5 ต�ำบล ได้ แก่ ต�ำบลบางจาน ต�ำบล หนองขนาน ต�ำบลหาดเจ้ าส�ำราญ ต�ำบล นาพันสาม อ�ำเภอเมือง และต�ำบลท่าแร้ ง อ�ำเภอบ้ านแหลม จังหวัดเพชรบุรี หลังได้ รับ เบาะแสว่า มีการปล่อยน� ำ้ เสียลงแหล่งน� ำ้ สาธารณะ ส่งผลให้ นาข้ าวที่ใช้ น� ้ำจากคลอง ธรรมชาติ บ ริ เ วณโดยรอบตาย ชาวบ้ าน ไม่สามารถใช้ อปุ โภคบริ โภคได้ พบร่ องรอย นากุ้ง 5 แห่ง ในบริ เวณดังกล่าว อาจปล่อย น� ้ำเสียลงแหล่งน� ้ำสาธารณะ นายแก้ ว เอี่ ย มสะอาด ก� ำ นั น ต� ำ บล นาพัน สาม อ� ำ เภอเมื อ ง จัง หวัด เพชรบุ รี กล่า วว่ า นากุ้ง สูบ น� ำ้ จากคลองไปใช้ พอ เก็ บผลผลิ ต แล้ วก็ ทิ ง้ น� ำ้ เสี ย ลงคลอง ชาวบ้ า นที่ ไ ด้ รั บ ความเดื อ ดร้ อนร้ องเรี ย น ศูนย์ดำ� รงธรรมแต่ไม่สามารถจับตัวผู้กระท�ำผิด ได้ โดยภาครัฐระบุวา่ ไม่มหี ลักฐานชี ้ชัด นายเสริ ม ทองขาว อายุ 73 ปี ชาวบ้ าน ชุมชนบ้ านดอนแตง หมู่ 9 ต�ำบลนาพันสาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี กล่าวว่า นากุ้ง ปล่ อ ยน� ำ้ เสี ย ลงคลองธรรมชาติ ท� ำ ให้ นาข้ าวตาย “ยิ่งตอนนีน้ � ้ำแล้ งมาก ท�ำนาข้ าวได้ ครัง้ เดียวในฤดูฝนซึง่ ไม่เหมาะกับการท�ำนา ราคา ผลผลิตลดลงจากหลักหมืน่ ต่อ 1 ตัน เหลือราว 4,000 บาท เมื่อเจอน� ้ำคลองเค็มแบบพวกเรา ยิ่งแย่” ชาวนาในต�ำบลนาพันสาม กล่าว ขณะทีช่ าวบ้ านรายหนึง่ ในต�ำบลบางจาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี กล่าวว่า ผู้ท�ำ นากุ้งส่วนใหญ่ ในพืน้ ที่เป็ นผู้มีอิทธิ พล แม้ ชาวบ้ า นได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อนแต่ก็ ไ ม่ก ล้ า ร้ องเรี ยน ผู้สื่ อ ข่ า วรายงานว่ า ก่ อ นหน้ า นี ม้ ี ช าว นาในต�ำบลหนองโสน อ�ำเภอเมือง จังหวัด เพชรบุรี ส่งหนังสือร้ องทุกข์ไปยังส�ำนักงาน จัง หวัด เพชรบุรี ว่ า เจ้ า ของนากุ้ง รายหนึ่ ง ปล่อยน� ้ำเสียลงคลองส่งน� ้ำสาธารณะ ท�ำให้ นาข้ าวที่ สู บ น� ำ้ มาใช้ เสี ย หาย แต่ เ มื่ อ ส�ำนักงานประมงจังหวัดตรวจสอบ ภายหลัง ออกมาปฏิเสธว่า ค่าความเค็มในน�ำ้ ไม่เกิน มาตรฐาน ด้ าน นายปรี ชา อินทร์ ปรุ ง นักวิชาการ สิง่ แวดล้ อมช�ำนาญการ กรมมลพิษ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม กล่าวว่า น� ำ้ จากนากุ้ งทัง้ ประเภทได้ รั บ การรั บ รอง มาตรฐานการปฏิบตั ิทางการเกษตรที่ดี หรื อ จีเอพี (GAP: Good Aquaculture Practice) LOOKSILP FOR PRINT.indd 16
คื อ ฟาร์ ม ปิ ดมี ร ะบบน� ำ้ หมุน เวี ย นภายใน ฟาร์ ม และแบบไม่ได้ มาตรฐาน หรือฟาร์ มเปิ ด เมื่ อ ปล่ อ ยน� ำ้ ลงคลองสาธารณะจะยัง คง ค่าความเค็มอยู่ ท�ำให้ แหล่งน� ้ำและดินเสื่อม คุณภาพ ส่วน นางสาวสุมล สุตะวิริยะวัฒน์ ประธาน ชมรมอนุ รั ก ษ์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิง่ แวดล้ อมจังหวัดเพชรบุรี อดีต ส.ว.เพชรบุรี กล่ า วว่ า ผู้ ประกอบการนากุ้ งมั ก เลี่ ย ง การบ� ำ บั ด น� ำ้ ก่ อ นปล่ อ ยน� ำ้ ลงแหล่ ง น� ำ้ สาธารณะเพราะมีต้นทุนสูง โดยสูบน� ำ้ ที่มี ค่าความเค็มเจื อจางน้ อยขึน้ มาใช้ เลีย้ งกุ้ง วนเวียนเช่นนีไ้ ปเรื่ อย ๆ เพื่อให้ ก้ ุงโตพอที่ พ่อค้ าคนกลางจะรับซื ้อ และยังเป็ นการเลีย่ ง การตรวจสอบสารเคมีในน� ้ำทีผ่ สมเป็ นอาหาร กุ้ง โดยกรมประมง ซึ่ง สารเคมี เ หล่า นี เ้ ป็ น อันตรายต่อผู้บริโภค ด้ าน นางลัดดาวรรณ สุขเจริ ญ หัวหน้ า กลุ่ม ส่ง เสริ ม และพัฒ นาอาชี พ การประมง ส�ำนักงานประมงจังหวัดเพชรบุรี ชี แ้ จงว่า ในเพชรบุรีมีทงฟาร์ ั ้ มปิ ดและฟาร์ มเปิ ด แต่ปี ที่ ผ่ า นมายั ง ไม่ มี ฟ าร์ มปิ ดใดถู ก ยกเลิ ก มาตรฐาน แม้ มบี างรายแอบปล่อยน� ้ำลงคลอง แต่คา่ ความเป็ นกรดหรื อเบส (พีเอช) ยังอยูใ่ น ระดับ 3-5 ซึง่ ไม่สง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อม “แต่ ย อมรั บ ว่ า การเข้ าไปตรวจสอบ ใช้ เวลามาก ไม่สามารถตรวจครบทุกแห่ง เพราะมีนากุ้งเยอะ อีกทังก่ ้ อนเข้ าตรวจจะแจ้ ง ผู้ประกอบการทราบล่วงหน้ า จึงอาจท�ำให้ รีบ ก ล บ เ ก ลื่ อ น ก า ร ป ล่ อ ย น� ้ำ ล ง ค ล อ ง ” นางลัดดาวรรณ กล่าว ขณะที่ นายวรพงศ์ เฉลิมกุล นักวิชาการ สถาบันวิจยั และพัฒนาการเพาะเลี ้ยงกุ้งทะเล กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า กรมประมงส่วนกลางลงพื ้นที่ตรวจ นากุ้งที่ได้ มาตรฐานจีเอพีในจังหวัดเพชรบุรี 2 ครั ง้ ต่อ ปี ช่ ว งเดื อ นเมษายน โดยตรวจ สุขอนามัยของฟาร์ มและการบ�ำบัดน� ำ้ เสีย หากพบนากุ้งที่ไม่ได้ บำ� บัดน� ้ำเสียก่อนปล่อย น� ้ำลงคลองก็จะถูกยกเลิกมาตรฐานจีเอพี อนึง่ ข้ อมูลผู้ประกอบการด้ านการประมง ใ น พื น้ ที่ จั ง ห วั ด เ พ ช ร บุ รี ล่ า สุ ด วั น ที่ 13 พฤษภาคม 2557 ระบุวา่ มีผ้ ปู ระกอบการ ฟาร์ มกุ้งขาวที่ได้ รับจีเอพีทงหมด ั้ 587 แห่ง แบ่งเป็ นอ�ำเภอเมืองเพชรบุรี 228 แห่ง อ�ำเภอ บ้ านแหลม 160 แห่ง อ�ำเภอเขาย้ อย 93 แห่ง อ�ำเภอชะอ�ำ 9 แห่ง และอ�ำเภอท่ายาง 6 แห่ง
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
เผยปมนากุ้ง
มาตรฐาน
มีจริงหรือ? ยาปฏิชีวนะ ปริมาณ เกินขนาด
นากุ้ง
มาตรฐาน
587
ฟาร์ม ในจังหวัดเพชรบุรี อ้างอิง : ข้อมูลผู้ประกอบการด้าน การประมงในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2557
ปล่อยน้ำทิ้ง
น้ำมีความเค็ม
กรมประมงใหญ่ ยาปฏิชีวนะไนโตรฟูแรนส์ ปริมาณที่เกินขนาด
เสี่ยงก่อมะเร็ง
ตรวจคุณภาพปีละ 2 หน
- ปัจจัยการผลิต - สุขอนามัย - ยาปฏิชีวนะ
ผู้บริโภค
ชาวบ้านไม่สามารถ นำน้ำไปใช้ทำการเกษตรได้
อุ ตสาหกรรมนากุ้ง
จากน�้ำทิ้งสู่มะเร็ง กุ้ งขาวแวนนาไม หรื อ กุ้ งที่ น� ำ มา ผัด ผัก กิ น ทั่ว ไป ปั จ จุบัน มี 22 จัง หวัด รวมไม่ต�่ำกว่า 23,000 ฟาร์ ม เพาะเลี ้ยง เป็ นอุตสาหกรรมเพื่อขายภายในประเทศ และส่งออกไปยังต่างประเทศ ฟาร์ ม กุ้ งเหล่ า นี ม้ ี 2 ประเภทคื อ ฟาร์ มแบบเปิ ดที่ไม่มีระบบบ�ำบัดน� ้ำเสีย สามารถน� ำ ผลผลิ ต ขายได้ ต ามตลาด ชุมชนทัว่ ไป กับประเภทฟาร์ มปิ ด ทีใ่ ช้ น� ้ำ หมุ น เวี ย นภายในฟาร์ ม โดยต้ องมี บ่อพักน� ้ำ 50% ของพื ้นที่ทงหมด ั้ ซึง่ จะ ได้ รั บ การตรวจรั บ รองมาตรฐานการ ปฏิบตั ิทางการเกษตรที่ดี (GAP : Good Agricultural Practice) จากกรมประมง จึงจะสามารถขายยังตลาดกลางมหาชัย จังหวัดสมุทรสาครได้ แม้ ฟ าร์ ม แบบปิ ดจะมี ร ะบบบ� ำ บัด น� ำ้ เสี ย แต่ ห ลายแห่ ง ยัง มี ก ารลัก ลอบ ปล่ อ ยน� ำ้ เสี ย ลงแหล่ ง น� ำ้ สาธารณะ โดยไม่ ผ่ า นการบ� ำ บัด ท� ำ ให้ ช าวบ้ า น ไม่ ส ามารถใช้ น� ำ้ ในแหล่ ง น� ำ้ ชุม ชนได้ เพราะน� ้ำเค็ม ปรเมศร์ อรุ ณ นัก วิ ช าการประมง ส�ำนักงานประมงจังหวัดเพชรบุรี ให้ ข้อมูล ว่ า การลงทุ น ท� ำ ระบบของฟาร์ ม ปิ ด มีต้นทุนสูง ใช้ เงินประมาณ 30,000 บาท ต่อบ่อบ�ำบัด 1 บ่อ ยิ่งเลี ้ยงกุ้งหลายบ่อ ยิ่งต้ องลงทุนสร้ างบ่อบ�ำบัดเพิ่ม นอกจากนี ้ ในการเลีย้ งกุ้งให้ โตทัน ขายในตลาด ใช้ เวลาราว 2-5 เดือน และ ต้ องมีน� ้ำสะอาดส�ำหรับบ่ออนุบาลลูกกุ้ง อยูเ่ สมอ น�ำ้ ที่ปนเปื ้อนสารเคมีซึ่งเป็ นอาหาร ลูกกุ้งหรื อรักษาโรคลูกกุ้ง จะต้ องไปพัก บ�ำบัดไว้ เป็ นเวลา 15 วัน หรื อหนึง่ เดือน เป็ นอย่ า งต�่ ำ ถึ ง จะน� ำ กลับ มาใช้ ใ หม่ หรื อปล่อยลงสูค่ ลองธรรมชาติได้ ในขันตอนนี ้ ้เองที่มีการลักลอบปล่อย น� ำ้ เสี ย โดยยั ง ไม่ ผ่ า นการบ� ำ บั ด ครบ ก� ำหนดเวลา เพราะการลงทุนสร้ างบ่อ บ�ำบัดน� ้ำเสียง 1 บ่อ มีต้นทุนสูง การปล่อย
?
น� ้ำเสียลงแหล่งน� ้ำสาธารณะเพื่อเจือจาง ความเค็มจึงรวดเร็ว และลดการเสียโอกาส ในการใช้ บอ่ น� ้ำอนุบาลลูกกุ้งชุดต่อไป การลัก ลอบปล่ อ ยน� ำ้ เสี ย นี ย้ ัง เป็ น การหลบเลี่ ย งการตรวจสอบสารเคมี ในน�ำ้ ที่เลี ้ยงกุ้งก่อนที่กรมประมงจะเข้ า ตรวจสอบเพื่อรับรองมาตรฐาน สารเคมี ที่ ว่ า นี ้ คื อ ยากลุ่ม ไนโตรฟูแรนส์ เป็ นหนึ่งในเภสัชเคมีภณ ั ฑ์ต้อง ห้ ามทีไ่ ม่อนุญาตให้ ใช้ ในการเพาะเลี ้ยงกุ้ง เป็ นสารก่ อ มะเร็ ง ทั ง้ ในคนและสั ต ว์ เมื่ อ สะสมในร่ า งกายจ� ำนวนมาก อาจ ท�ำให้ ระบบประสาทส่วนปลายของปอด ถูกท�ำลาย และส่งผลกระทบท�ำให้ เกิ ด อาการแพ้ ที่บริ เวณผิวหนังของคนอีกด้ วย แม้ กรมประมงจะเข้ มงวดเรื่ องนี ้ตังแต่ ้ ปี 2544 เพราะต่างประเทศจะไม่รับซื ้อกุ้ง ที่มีสารตกค้ าง หรื อส�ำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยา กระทรวงสาธารณสุข เองก็ออก ประกาศตังแต่ ้ ปี 2555 ว่า พบการใช้ ยา ปฏิชีวนะของเกษตรกรบางราย จึงต้ อง เฝ้ าระวัง และตรวจสอบยาปฏิ ชี ว นะ ในผลิตภัณฑ์ก้ งุ แต่ส�ำนักงานประมงจังหวัดเพชรบุรี ให้ ข้ อมู ล ว่ า ฟาร์ ม เปิ ดบางแห่ ง แอบ ฝากขายกุ้งกับนากุ้งรายใหญ่ที่เป็ นญาติ กันที่มีใบรับรองจีเอพี ขณะที่ ฟ าร์ มปิ ดเอง หลบเลี่ ย ง การตรวจสารเคมี ใ นน� ำ้ ด้ ว ยการปล่อ ย น� ำ้ เสี ย ลงคลอง เพราะรู้ ตั ว ก่ อ นที่ กรมประมงจะเข้ าตรวจ ทังหมดเป็ ้ นภัยเงียบต่อผู้บริ โภคที่สมุ่ เสี่ยงจะได้ รับสารเคมีเกินขนาดในตัวกุ้ง เขมพัฏฐ์สร ธนปั ทมนันท์ จารุ กิตติ์ ธีรตาพงศ์ ธนกร ตันติสง่าวงศ์ ศรัณยา ตัง้ วรเชษฐ ศุภนิดา อินยะบุ ตร
25/1/2559 10:37:56
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
สิ่งแวดล้อม
17
ทะเลเมื อ งเพชรฯโคม่ า !
บริเวณประตูระบายน� ้ำมีกลิน่ เหม็น มีขยะอยู่ เป็ นระยะ นางสงวน พวงสร้ อยสน อายุ 73 ปี ชาวบ้ าน ในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี กล่าวว่า เวลามีฝนตกหนักเทศบาลจะระบาย น� ้ำผ่านสถานีสบู น� ้ำเสียลงแม่น� ้ำเพชรบุรีทนั ที ท�ำให้ น� ้ำในแม่น� ้ำมีกลิน่ เหม็น ทังที ้ ป่ กติน� ้ำจาก น�้ำทะเลเมืองเพชรบุ รคี ณ ุ ภาพรัง้ ท้ายกลุม่ 6 จังหวัดอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก เหตุปล่อยน�้ำเสียโดยไม่บำ� บัด ประมง สถานีสบู น� ้ำเสียต้ องส่งไปบ่อพักน� ้ำเสียเพือ่ รอ ชายฝั่ งครวญทะเลเปลี่ยนสีทุกเดือนท�ำฟาร์มหอยเสียหายนับล้านบาท นักอนุรักษ์ชี้สะท้อนแม่น้�ำเพชรฯ บ�ำบัดก่อน ด้ าน นายนเรศ แสงอรุณ เจ้ าหน้ าที่ฝ่าย เน่าหนัก จังหวัดเร่งคุมคุณภาพน�้ำก่อนปล่อยลงทะเล ส่งเสริมเผยแพร่โครงการศึกษาวิจยั และพัฒนา สิ่ ง แวดล้ อ มแหลมผัก เบี ย้ อัน เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ เปิ ดเผยว่า น� ้ำเสียจากเทศบาล เมื อ งเพชรบุ รี ส่ ง มาบ� ำ บัด ที่ แ หลมผัก เบี ย้ ชายฝั่ งเพชรบุ รี 4,000-6,000 ลูก บาศก์ เ มตรต่ อ วัน ทัง้ ที่ โครงการรองรั บได้ 10,000 ลูกบาศก์ เมตร ชายฝั่ งประจวบคีรีขันธ์ ต่อวัน จึงประสานกับเทศบาลอื่น ๆ ให้ ส่ง น� ้ำเสียมาบ�ำบัดทีน่ ดี่ ้ วย ชายฝั่ งชุ มพรและนครศรีธรรมราช ด้ าน นางดวงตา สุวรรณวัฒน์ ผู้อำ� นวยการ ส�ำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้ อม เทศบาล เมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ชี ้แจงว่า น� ้ำที่ นํ้าเสียจากบ้าน นํ้าเสียได้บําบัดก่อน ระบายลงแม่น� ้ำคือ น� ้ำฝน ส่วนน� ้ำเสียในเขต ลงท่อสาธารณะ ปล่อยลงทะเล เทศบาลจะส่งไปบ�ำบัดทีโ่ ครงการแหลมผักเบี ้ย ก่อน อย่างไรก็ดี ยอมรับว่า แม่น� ้ำเพชรบุรีใน นํ้าเสียจาก 100 เขตเทศบาลเมืองเพชรบุรีบางช่วงมีคณ ุ ภาพต�ำ่ ้ นําเสียจากบ่อพักส่งมา ท่อส่งมา เข้ า อํ า เภอเมื อ ง โครงการแหลมผักเบี้ย เกิดจากการปล่อยน� ้ำเสียของบ้ านเรือนริมน� ้ำ บ่อพัก สะพานเทศบาล “มาตรการบ�ำบัดน� ้ำเสียของเทศบาลคือ ใช้ 50 อ.บ้านแหลม อี เ อ็ ม บอล ล่ อ งเรื อ เก็ บ ขยะทุก วัน พุธ จัด ปากแม่น้าํ เจ้ าหน้ าที่ประเมินสุขลักษณะของผู้พกั อาศัย 69 63 64 65 ริมแม่น� ้ำ และเร่งรณรงค์ให้ คนเห็นความส�ำคัญ 0 ของแม่น� ้ำ ส่วนการบังคับใช้ กฎหมายยอมรับ ว่าเป็ นเรื่ องยาก เพราะไม่สามารถระบุตัว ก ร ม ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ ก ร ะ ท ร ว ง นายนิ พ นธ์ พงษ์ พ านิ ช เจ้ า ของฟาร์ ม นายอาคเนย์ กายสอน นั ก อนุ รั ก ษ์ ผู้กระท�ำผิดได้ ” นางดวงตา กล่าว ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม เปิ ดเผย เลี ้ยงหอย ในอ่าวบางตะบูน อ�ำเภอบ้ านแหลม สิง่ แวดล้ อม ชมรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ผู้สอื่ ข่าวรายงานว่า เมือ่ วันที่ 17 กันยายน รายงานสถานการณ์ ม ลพิ ษ ประเทศไทย จัง หวัด เพชรบุรี เปิ ดเผยว่า ปี 2558 เกิ ด และสิ่ ง แวดล้ อ มจัง หวัด เพชรบุรี กล่า วว่ า ที่ ผ่ า นมา นายณั ฐ วุ ฒิ เพ็ ช รพรหมศร รอบ 6 เดือนแรกของปี 2558 ระบุวา่ น� ้ำทะเล ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ น� ำ้ ท ะ เ ล เ ป ลี่ ย น สี ถี่ ถึ ง สารซักล้ าง สิง่ ปฏิกลู ทีค่ นทิ ้งลงแม่น� ้ำเป็ นธาตุ ปลัดจังหวัดเพชรบุรี เป็ นประธานการประชุม ชายฝั่ ง จัง หวัด เพชรบุ รี มี คุณ ภาพต�่ ำ ที่ สุด เดือนละครั ง้ ครั ง้ ละ 2-3 วัน ในช่วงน�ำ้ ลง อาหารของแพลงก์ตอน ท�ำให้ แพลงก์ตอนเพิม่ ผลกระทบจากการปล่อยน� ำ้ เสียผ่านประตู เมื่ อ เที ย บกับ จัง หวัด อื่ น ๆ ในเขตอ่าวไทย จากที่ ป กติ เ กิ ด เฉพาะช่ ว งเดื อ นตุ ล าคม ปริ มาณอย่างรวดเร็ วจนเกิ ดปรากฏการณ์ ระบายน� ำ้ ลงล� ำ คลอง และแม่ น� ำ้ เพชรบุรี ฝั่ งตะวันตก 6 จังหวัด โดยมีดชั นีคณ ุ ภาพน� ้ำ แถมเดือนกันยายนทีผ่ า่ นมา น� ้ำมีสแี ดงคล้ าย น� ้ำทะเลเปลีย่ นสี ร่วมกับประมงจังหวัด และหน่วยงานราชการ ทะเลอยูใ่ นระดับพอใช้ หรือ 59.7 ชาแก่ตา่ งจากปกติทเี่ ป็ นสีเขียว คาดว่าเกิดจาก “น� ้ำทะเลชายฝั่ งเปลีย่ นสีเกิดถีข่ ึ ้น สะท้ อน ที่เกี่ยวข้ อง ได้ ท�ำบันทึกข้ อตกลงการบริ หาร ขณะที่จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ วัดค่าได้ การปล่อยน� ้ำเสียลงสูท่ ะเล ว่า คุณภาพน�ำ้ ในแม่น�ำ้ เพชรบุรีแย่ลงมาก จัดการน� ้ำร่วมกันระหว่างจังหวัดเพชรบุรี ราชบุรี 66.9 จังหวัดชุมพรวัดค่าได้ 75.9 จังหวัด “ที่ กรมประมงออกมาบอกว่า น� ำ้ ทะเล จึงควรเร่ งรักษาคุณภาพน�ำ้ ในแม่น� ้ำให้ ดีขึ ้น และสมุทรสงคราม ในการควบคุมคุณภาพก่อน นครศรี ธ รรมราช วัด ค่ า ได้ 75.9 จัง หวัด เปลีย่ นสีเพียงปี ละครัง้ ไม่จริ งแน่นอน ฟาร์ ม โดยเร็ว” นายอาคเนย์ กล่าว ปล่อยน� ้ำผ่านประตูระบายน� ้ำ และก�ำหนดแผน สุราษฎร์ ธานี วัดค่าได้ 76 และจังหวัดสงขลา สัตว์ทะเลย่านนี ้เสียหายหลายรอบ ผลผลิต ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์ ศูนย์ข่าว จัดการคุณภาพสิง่ แวดล้ อมปี 2559 โดยศึกษา วัดค่าได้ 78.7 ซึง่ ทังหมดอยู ้ ่ในเกณฑ์พอใช้ ฟาร์ มผมเสียหายครัง้ ละ 20-30 เปอร์ เซ็นต์ เพชรบุรี ลงพืน้ ที่สงั เกตการณ์ สภาพแม่น�ำ้ ความเป็ นไปได้ ในการก่อสร้ างขุดบ่อบ�ำบัดน� ้ำ (ช่วง 50-80 คะแนน) สาเหตุหลักเกิดจาก ล่าสุดเพิ่งปล่อยเชื ้อพันธุ์หอยไป 1 สัปดาห์ เพชรบุรี ช่วงเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี ถึง เสีย แนวทางปรับปรุงคุณภาพแม่น� ้ำ จัดท�ำแผน การระบายน� ำ้ เสี ย บางส่ ว นลงสู่ท ะเลโดย เสียหายไปแล้ วครึ่งหนึง่ มูลค่า 1.5 ล้ านบาท” อ�ำเภอบ้ านแหลม เมือ่ เดือนกันยายน-ตุลาคม แม่บทการบ� ำ บัด น� ำ้ เสียของจังหวัด เพื่อลด ไม่ผา่ นการบ�ำบัด นายนิพนธ์ กล่าว พบน�ำ้ ในแม่น�ำ้ เป็ นสีเขียวอ่อน บางช่วงขุ่น ผลกระทบต่อประมงชายฝั่ งให้ เหลือน้ อยทีส่ ดุ
เปลี่ยนสีถ่ี-ประมงเสียหายนับล้าน
น�้ำทะเลเปลี่ยนสี-ฝี มือธรรมชาติและมนุษย์
การเกิ ดปรากฏการณ์ น�ำ้ ทะเลเปลี่ยนสี (Red Tide) สามารถเกิดขึน้ ได้ ทุกประเทศ ทุกทวีป การทีท่ กุ พื ้นทีเ่ กิดบ่อยขึ ้นเช่นนี สะท้ ้ อน ให้ เห็นถึงการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดจากมนุษย์ ประเทศไทยมีรายงานจากกรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ ง ว่าพบปรากฏการณ์ นี ้ ครั ง้ แรกเมื่ อ ปี 2495 แต่ มี ผ้ ู สนใจเรื่ อ งนี ้ น้ อยมาก จนกระทั่ง ปี 2526 มี ร ายงาน ความเป็ นพิ ษ เนื่ อ งจากแพลงก์ ต อนพื ช ที่ เป็ นสาเหตุของปรากฏการณ์นี ้ ท�ำให้ มผี ้ สู นใจ ท�ำการศึกษามากขึ ้น จากรายงานปรากฏการณ์นี ้ในประเทศไทย ใน ปี 2500-2550 ได้ ระบุชนิดของแพลงก์ตอน พืชที่เป็ นสาเหตุของปรากฏการณ์ พบว่ามี ปรากฏการณ์นี ้เกิดขึ ้น 90 ครัง้ พบในบริเวณ ชายฝั่งของอ่าวไทยโดยเฉพาะบริเวณปากแม่น� ้ำ โดยเกิ ด ปรากฏการณ์ นี บ้ ่อ ยที่ สุด ที่ จัง หวัด LOOKSILP FOR PRINT.indd 17
ชลบุรี รวม 9 ครั ง้ ในรอบ 44 ปี ที่ผ่านมา รองลงมาคื อ จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร และ สมุทรปราการ เพราะว่าบริ เวณนี ้มีน� ้ำทิ ้งจาก ครัวเรื อน การเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และ ธุรกิจท่องเทีย่ วจ�ำนวนมาก จึงท�ำให้ สารอาหาร ในน� ้ำมีความอุดมสมบูรณ์ แ พ ล ง ก์ ต อ น พิ ษ ยั ง เ ค ย เ ป็ น ภั ย ต่ อ ประเทศไทย โดยมี ร ายงานการเสี ย ชี วิ ต เนื่ อ งจากการได้ รั บ พิ ษ อัม พาตในปี 2526 ที่ ป ากแม่ น� ำ้ ปราณ เขตอ� ำ เภอปราณบุ รี จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ มีผ้ ูเสียชีวิต 1 ราย และมีอาการป่ วยเนื่องจากได้ รับพิษ 63 ราย เหตุเพราะกินหอยแมลงภูใ่ นบริเวณนันเข้ ้ าไป ในกรณี ข องต่ า งประเทศก็ พ บว่ า ใน ปี 2557 ที่บริ เวณอ่าวแม็กซิโก ทางตะวันตก เฉี ยงเหนื อ ของรั ฐฟลอริ ดา ส่ ง ผลให้ สัต ว์ น� ำ้ ตายกว่า 700 ตัว สาเหตุเ กิ ด จาก
อุณหภูมขิ องน� ้ำทะเลสูงขึ ้น ท�ำให้ แพลงก์ตอน และสาหร่ ายเซลล์ เ ดี ย วที่ มี ชื่ อ เรี ยกว่ า คาเรเนี ย เบรวิ ส (Karenia brevis) ซึ่ง มี สารพิษ เบรวีท็อกซิน (Brevetoxin) ที่ท�ำให้ น� ้ำทะเลเปลี่ยนเป็ นสีแดง ส่งผลกระทบต่อสัตว์น� ้ำโดยตรง คือ ท�ำให้ สัตว์น� ้ำเป็ นอัมพาต หากมนุษย์กินหอย หรื อ สัตว์น�ำ้ ที่มีสารพิษนีส้ ะสมอยู่อาจก่อให้ เกิด โรคมะเร็ ง ได้ เพราะสารพิ ษ นี ส้ ามารถ ท�ำปฏิกริ ิยากับเนื ้อเยือ่ ปอด และยังอาจท�ำให้ เกิดการกลายพันธุ์ในยีนทีย่ บั ยังการเกิ ้ ดมะเร็ง โดยธรรมชาติ นอกจากนี ้ยังส่งผลกระทบต่อ ผู้ทสี่ ดู หายใจเอาสารพิษนี ้เข้ าปอด โดยเฉพาะ ผู้ที่เป็ นโรคหอบหืดและผู้ที่มีปัญหาโรคระบบ ทางเดินหายใจ อี กกรณี ที่มีสาเหตุจากฝี มื อมนุษย์ ก็คือ รัฐนิวอิงแลนด์ (New England) บริเวณแถบ
ชายฝั่ งตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา เคยเกิดน� ้ำทะเลเปลี่ยนสีครัง้ ใหญ่ในปี 2515 และ 2548 จนมีประกาศห้ ามกินหอยทะเล ท�ำให้ เกิดปั ญหาเศรษฐกิจการท่องเทีย่ ว และ ร้ านค้ าขายอาหารทะเลซบเซา โดยมีสาเหตุ จากฝนที่ตกหนัก ท�ำให้ น�ำ้ จากบนบก และ น� ้ำเสียจากครัวเรือนไหลลงทะเลเยอะเกินไป จะเห็ น ได้ ว่ า ทัง้ ในประเทศไทยและใน ต่า งประเทศต้ อ งเผชิ ญ กับ ปั ญ หาน� ำ้ ทะเล เปลี่ยนสี ที่ไม่ใช่แค่ปรากฏการณ์ ธรรมชาติ แต่เป็ นผลจากการกระท�ำของมนุษย์ กัลยากร ทองเต็ม ปุ ญญิศา ค�ำนนสิงห์ รติมา เงินกร อริสรา นนศิริ วุ ฒพ ิ งษ์ วงษ์ชัยวัฒนกุล 25/1/2559 10:37:56
18
ชี วิตคนเมือง
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
แกะรอย1ปี ขนส่ ง ไทย ไร้ความคืบหน้าสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเอือ้ ต่อผู พ ้ กิ าร
รถเมล์ชานต�่ำมีเท่าเดิมแค่ 4 คัน จาก 3.5 พันคัน ส่วนรถไฟ-แท็กซี่ ไม่ซื้อเพิ่ม ด้านลิฟท์บที เี อสยังอืดหลังศาลปกครอง สูงสุดสัง่ สร้างเพิ่มทุกสถานีใน 1 ปี ผู พ ้ กิ ารย�้ำยังเข้าถึงระบบขนส่งล�ำบาก จีร้ ฐั จริงจังแก้ปัญหา หลังจากหนังสือพิมพ์ ลูกศิลป์เสนอข่าว สิง่ อ�ำนวยความสะดวกในระบบขนส่งผู้พกิ าร ในประเทศไทยไปเมื่อต้ นปี 2558 ซึ่งพบว่า ประเทศไทยมีรถประจ�ำทางส�ำหรั บผู้พิการ เพี ย ง 4 คั น จากรถประจ� ำ ทางสั ง กั ด องค์ ก ารขนส่ ง มวลชนกรุ ง เทพ (ขสมก.) ทังหมด ้ 3,509 คัน คิดเป็ นร้ อยละ 0.11 ส่วน รถไฟมีต้ โู ดยสารเพื่อผู้พกิ าร 10 ตู้ ให้ บริการ 2 เส้ นทาง จากจ�ำนวนตู้รถไฟปกติทงหมด ั้ 1,260 ตู้ ให้ บริ การ 5 เส้ นทางทั่วประเทศ คิดเป็ นร้ อยละ 0.79 มีแท็กซี่ส�ำหรับผู้พิการ ภายใต้ การดูแลของกรุงเทพมหานคร 30 คัน จากจ� ำนวนแท็กซี่บนท้ องถนนที่มีมากกว่า 100,000 คัน คิดเป็ นร้ อยละ 0.02 และต้ อง โทรศัพท์เรียกล่วงหน้ า ไม่มใี ห้ บริการทัว่ ไปตาม ท้ องถนน และรถไฟฟ้าบีทีเอสมีลิฟต์ไม่ครบ ทุกสถานี ผู้สื่อข่าวตรวจสอบการสร้ างสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกในระบบขนส่งผู้พกิ ารเพิม่ เติมใน รอบปี ที่ผา่ นมา พบว่า รถประจ�ำทางส�ำหรับ ผู้พิการยังมีเท่าเดิมคือ 4 คัน ส่วนตู้โดยสาร รถไฟ และแท็กซี่ส�ำหรับผู้พิการยังมีจ�ำนวน เท่าเดิม
นางสาวรัชนี ลออทรัพยาภัทร ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริ การและจัดซื ้อ ขสมก. ชี ้แจงว่า ขสมก.ด�ำเนินการจัดซื ้อรถเมล์ชานต�ำ่ เพิม่ จ�ำนวน 489 คัน เมือ่ เดือนมีนาคม 2558 แต่สดุ ท้ ายยกเลิกเพือ่ ปรับแก้ เงือ่ นไขการเสนอ ราคาให้ เป็ นธรรมต่อทุกฝ่ าย คาดว่าต้ นเดือน มีนาคม จะประกาศจัดซื ้อจัดจ้ างได้ นายทนงศักดิ์ พงษ์ประเสริฐ หัวหน้ าหน่วย ธุรกิจการเดินรถ รักษาการแทนผู้อ�ำนวยการ ฝ่ ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ชี แ้ จงว่า ตู้โดยสารที่ มีอยู่เพี ยงพอ ส�ำหรับผู้พกิ าร แต่รฟท.ได้ ขยายเส้ นทางการให้ บริการครอบคลุม 5 เส้ นทางทัว่ ประเทศ นายภาณุวฒ ั น์ เหนียมเฉลย เจ้ าหน้ าที่ ผู้ดแู ลโครงการรถแท็กซีส่ ำ� หรับผู้พกิ าร บริษทั กรุงเทพธนาคม จ�ำกัด ชี ้แจงว่า ยังไม่ได้ เพิม่ จ�ำนวนแท็กซีส่ ำ� หรับผู้พกิ าร แต่ให้ บริการแท็กซี่ ส�ำหรับผู้พิการฟรี ตงแต่ ั ้ ปลายปี 2557 ถึงต้ น เดือนกุมภาพันธ์นี หลั ้ งจากนันจะคิ ้ ดค่าบริการ แค่ครึ่งหนึง่ และกรุงเทพฯ จ่ายอีกครึ่งหนึง่ “ล่าสุดก�ำลังเจรจาเอกชนร่ วมให้ บริ การ แท็กซี่ส�ำหรับผู้พิการ คาดว่าปลายปี 2559 จะให้ บริการได้ เพิม่ ” นายภานุวฒ ั น์ กล่าว
ค น ก รุ ง โ อ ด ! ส้ ว มสาธารณะห่ ว ย
ชี วอนามัยบริการพืน้ ฐานตกต�่ำ ผู ส้ ญ ั จรเมืองหลวงหาห้องน�้ำสะอาดยาก กรมอนามัยเผยพบเชื้ ออุ จจาระร่วงเพียบ กทม.รับส้วมสาธารณะผ่าน เกณฑ์ความสะอาดไม่ถงึ ครึ่ง ยันตรวจสอบสม�่ำเสมอ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ส� ำ รวจห้ องน� ำ้ สาธารณะ 3 แห่ง ได้ แก่ สวนจตุจกั ร สวนลุมพินี และสวนเบญจกิ ติ จากห้ อ งน� ำ้ สาธารณะ กว่า 4,000 แห่ง ทัว่ กรุงเทพฯ พบว่า มีคราบ สกปรกบริ เวณผนัง เพดาน โถปั สสาวะ ไม่มี สบูล่ ้ างมือ ถังขยะไม่มีฝาปิ ด พื ้นเแฉะ มีเศษ กระดาษช� ำ ระ ขวดน� ำ้ และส่ง กลิ่ น เหม็ น ซึ่ ง ไม่ เ ป็ นไปตามเกณฑ์ ม าตรฐานส้ วม สาธารณะระดับประเทศ (เอชเอเอส) นางสาวจิ ร าพร บิ ล รั ม ย์ อายุ 21 ปี นักศึกษาสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กล่าวว่า ใช้ ห้องน� ้ำ สาธารณะบ่ อ ยบริ เ วณสวนจตุ จั ก รและ อนุสาวรี ย์ชัยสมรภูมิ พบห้ องน� ำ้ ไม่สะอาด มีกลิน่ เหม็น อุปกรณ์ในห้ องน� ้ำช�ำรุด นางน�ำ้ ค้ าง บริ สุทธิ์ อายุ 42 ปี แม่ค้า แผงลอย กล่าวว่า ห้ องน� ้ำสาธารณะสกปรก จนตนยอมอั น้ ปั สสาวะเพื่ อ ไปใช้ บริ ก าร ห้ องน� ้ำในห้ างสรรพสินค้ าแทน นายกิตจภพ เกตมังกร อายุ 65 ปี อดีต พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้ใช้ ห้องน� ้ำ สาธารณะ กล่าวว่า รัฐควรปรับปรุ งห้ องน� ้ำ LOOKSILP FOR PRINT.indd 18
สาธารณะให้ ดีขึน้ ก� ำหนดมาตรการรั กษา ความสะอาด และติดตามผลอย่างจริ งจัง นางอารี บุญศรี อายุ 40 ปี พนักงานดูแล ความสะอาดห้ องน� ำ้ สวนจตุจักร กล่าวว่า ห้ องน� ้ำที่นี่โดนร้ องเรี ยนบ่อย จึงจัดคนนัง่ เฝ้า ตัง้ แต่ 05.00-20.00 น. จ� ำ นวน 2 คน ท�ำความสะอาดทุกชั่วโมง ทัง้ ถูพืน้ ล้ างโถ ฉีดน� ้ำยาดับกลิน่ ตรวจสอบอุปกรณ์ในห้ องน� ้ำ และมีเจ้ าหน้ าที่ของส�ำนักงานสาธารณสุข คอยตรวจทุ ก ชั่ ว โมง ส่ ว นส� ำ นั ก งานเขต ไม่เคยมาตรวจสอบ “นัง่ เฝ้าวันละ 15 ชัว่ โมง ท�ำความสะอาด ทุกชัว่ โมง ได้ 150 บาทต่อวัน แต่คนใช้ เยอะ โดยเฉพาะเสาร์ - อาทิ ต ย์ เกิ น 1,000 คน จึงดูแลยาก ส้ วมแบบราดน� ้ำท�ำให้ พื ้นเปี ยก พอคนย�่ ำ เข้ าออกก็ เ ป็ นรอย จะท� ำ ให้ สะอาดเหมื อ นในห้ างย่ อ มเป็ นไปไม่ ไ ด้ ” นางอารี กล่าว นางสาวปิ ยรัตน์ มาตรทะเล นักวิชาการ สุขาภิบาลปฏิบตั ิการ ส�ำนักงานเขตจตุจกั ร ชี ้แจงว่า เขตตรวจด้ วยสายตาปี ละครัง้ แต่ไม่มี การตรวจเชื ้อเพราะขาดอุปกรณ์พิเศษ
นายศุภชัย คุณสิงห์ นายช่างโยธาปฏิบตั ิ งาน เจ้ าหน้ าทีก่ องการขนส่ง ส�ำนักการจราจร และขนส่ง (สจส.) กรุงเทพมหานคร ชี ้แจงว่า หลั ง ศาลปกครองสู ง สุ ด มี ค� ำ สั่ ง เมื่ อ วั น ที่ 21 มกราคม 2558 ให้ กทม.สร้ างลิฟต์สำ� หรับ ผู้พิการในสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสทุกสถานีให้ แล้ วเสร็จภายใน 1 ปี ล่าสุดบีทเี อสมี 34 สถานี ติดตังลิ ้ ฟต์มาตังแต่ ้ เดิม 13 สถานี ขณะนี ้ก�ำลัง สร้ างลิฟต์เพิม่ 21 สถานี แบ่งเป็ นก�ำลังก่อสร้ าง 15 สถานี ส่วนอีก 6 สถานียงั ไม่เริ่มสร้ าง “ทีล่ า่ ช้ าเพราะชาวบ้ านร้ องเรียนว่า ตัวลิฟต์ บดบังทัศนียภาพและสายไฟใต้ พื ้นดินกีดขวาง อย่างไรก็ดี ก�ำลังเร่ งติดตังให้ ้ เสร็ จทันปลาย เดือนมกราคมนี ้” นายศุภชัย กล่าว นายกิตติพงษ์ หาดทวายกาญน์ กรรมการ บริ ห ารสมาคมคนพิ ก ารแห่ ง ประเทศไทย กล่าวว่า สิง่ อ�ำนวยความสะดวกในระบบขนส่ง ผู้พกิ ารทุกระบบก็ยงั ไม่ดพี อ การเข้ าถึง และจุด เชือ่ มต่อระบบยังเป็ นอุปสรรค “อย่างการให้ บริ การแท็กซี่ส�ำหรับผู้พิการ ฟรี เราขอแค่ มี จ� ำ นวนรถและสิ่ ง อ� ำ นวย ความสะดวกเพี ยงพอ จะต้ องจ่ายเท่าไหร่ เราก็ยอม” นายกิตติพงษ์ กล่าว
นางสาวสัจมาน ตรันเจริ ญ นักวิชาการ สาธารณสุ ข ช� ำ นาญการ ส� ำ นั ก อนามั ย สิง่ แวดล้ อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ชี แ้ จงว่า กระทรวงฯ ตรวจอยู่แล้ ว เพราะ เป็ นเจ้ า ของโครงการ พบเชื อ้ อุจ จาระร่ ว ง มากเป็ นอัน ดับ หนึ่ง ผู้ใ ช้ จึง ควรล้ า งมื อ ให้ สะอาดหลังใช้ ส่วนคนท�ำความสะอาดเสี่ยง ติดเชื ้อโรคเช่นกัน เพราะอากาศไม่ถ่ายเท พญ.เฉลิมศรี ธนันตเศรษฐ สูตินรี แพทย์ โรงพยาบาลพระราม 9 กล่า วว่า ห้ อ งน� ำ้ สาธารณะเป็ นแหล่งสะสมเชื ้อไวรัส เช่น ไวรัส เอชวีพี (หูดหงอนไก่) กามโรค อุจจาระร่ วง ซึ่ ง ติ ด จากการสัม ผั ส แล้ วน� ำ เข้ าร่ า งกาย โดยเฉพาะสตรี มีโอกาสติดเชื ้อมากกว่าผู้ชาย ร้ อยละ 80 จึ ง ควรล้ า งมื อ ให้ ส ะอาดหลัง เข้ าห้ องน� ้ำ ด้ าน นายขจิต ชัชวานิชย์ รองผู้อำ� นวยการ ส�ำนักอนามัย กรุ งเทพมหานคร กล่าวว่า ปี 2558 มีห้องน�ำ้ สาธารณะร้ อยละ 46 หรื อ 1,227 แห่ง จาก 2,761 แห่ง ทีก่ รุงเทพมหานคร เข้ าไปตรวจสอบผ่ า นมาตรฐานส้ วม สาธารณะตามแผนแม่ บ ทพั ฒ นาส้ วม สาธารณะไทย ระยะที่ 3 (พ.ศ.2556-2559) “เราตรวจเป็ นประจ�ำ มีกฎหมายก�ำกับ มีเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้ อมและสุขาภิบาล 50 เขต ดูแลและมอบป้ายรับรองส้ วมสะอาด ได้ ม าตรฐาน จัด ประกวดส้ ว มสะอาดใน กรุ งเทพฯ แต่ยงั พบส้ วมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ เพราะเจ้ าของสถานที่ละเลย ไม่บ�ำรุ งรักษา และผู้ ใช้ มี พ ฤติ ก รรมการใช้ ไม่ ถู ก ต้ อง” นายขจิต กล่าว กุลนิษฐ์ แสงจันทร์
นายมานิตย์ อินทรพิมพ์ ภาคีเครื อข่าย ขนส่งมวลชนทุกคนต้ องขึ ้นได้ ตัวแทนผู้พกิ าร ซึง่ เคยร่วมฟ้องศาลปกครอง กล่าวว่า รัฐต้ อง จริงใจในการแก้ ปัญหา อยากให้ การชนะฟ้อง ครั ง้ ที่ ผ่ า นมาท� ำ ให้ รั ฐ ค� ำ นึง ถึ ง ผู้พิ ก ารเมื่ อ จัดสร้ างโครงการอืน่ ในอนาคต นายวรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ อาจารย์ ประจ�ำภาควิชาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา คณะ เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กล่าว ว่า การสร้ างสิง่ อ�ำนวยความสะดวกในระบบ ขนส่งผู้พกิ าร 1 ปี ทผี่ า่ นมาทีไ่ ม่คบื หน้ า สะท้ อน ว่า หน่วยงานรัฐบางหน่วยยังมองว่าผู้พิการ มีจ�ำนวนน้ อย ไม่ค้ มุ ค่าการลงทุน ต่างจาก ประเทศที่พฒ ั นาแล้ วที่จดั สร้ างเพื่อตอบสิทธิ ของผู้คนทุกกลุม่ นางสาวเพ็ญศรี เหลืองอร่าม นักวิเคราะห์ นโยบายและแผนช�ำนาญการ กองพัฒนา ระบบการขนส่งและจราจร ส�ำนักนโยบายและ การขนส่งและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม ชี แ้ จงว่ า ทุ ก หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ องไม่ ไ ด้ นิง่ นอนใจ ล่าสุด สนข.จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริ การในภาคขนส่งส�ำหรับ คนพิการ และผู้สงู อายุเสร็จแล้ ว “สนข.เตรี ย มผลัก ดัน แผนยุท ธศาสตร์ น� ำร่ องโดยการประเมิ นราคาจัดซื อ้ จัดจ้ าง ระบบขนส่งที่อ�ำนวยความสะดวกต่อผู้พิการ ซึ่ ง รวมไปถึ ง จุ ด เชื่ อ มต่ อ การขนส่ ง ทุ ก จุ ด ขณะนีร้ อคณะรัฐมนตรี อนุมตั ิเพื่อแจกแผน ดัง กล่ า วให้ ทุก หน่ ว ยงานเริ่ ม ด� ำ เนิ น การ” นางสาวเพ็ญศรี กล่าว ณัฐกานต์ เจริญขาว
มาตรฐาน
‘ ส้ ว ม ’
สาธารณะ
มาตรฐานส้ วมสาธารณะระดับประเทศ (Healthy-Accessibility-Safety หรือ HAS) มีข้อก�ำหนด 3 ด้ าน คือ 1.สะอาด (Healthy) ได้ แก่ ห้ องส้ วม สะอาด น� ำ้ สะอาด กระดาษช� ำ ระ เพียงพอ สายฉี ดน� ำ้ สะอาด อ่างล้ างมือ สะอาด มี ส บู่ ล้ างมื อ ถั ง ขยะสะอาด มี ฝ า ปิ ด ก า ร ร ะ บ า ย อ า ก า ศ ดี ไ ม่ มี กลิ่ น เหม็ น ท่ อ ระบายสิ่ ง ปฏิ กู ล ไม่ รั่ ว มีการท�ำความสะอาดประจ�ำ 2.เพี ย งพอ (Accessibility) ได้ แ ก่ มีส้วมนัง่ ราบส�ำหรับผู้พิการผู้สงู วัย และ หญิงตังครรภ์ ้ อย่างน้ อยหนึง่ ที่ พร้ อมใช้ งาน ตลอดเวลาที่เปิ ดให้ บริ การ 3.ปลอดภัย (Safety) ได้ แก่ ไม่อยูใ่ นที่ เปลีย่ ว/ลับตา แยกชาย-หญิงชัดเจน ประตู และที่ลอ็ กสภาพดี พื ้นห้ องส้ วมแห้ ง/ไม่ลนื่ แสงสว่างเพียงพอ ปี 2558 ส�ำนักอนามัยจัดมอบรางวัล สุดยอดส้ วมแห่งปี ของกรุ งเทพฯ 14 แห่ง ได้ แก่ ส�ำนักงานเขตคลองเตย ส�ำนักงานเขต บางบอน ส� ำ นั ก งานเขตวั ง ทองหลาง หัวล�ำโพง โรงเรียนสามแยกคลองหลอแหล วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน ซาฟารี เวิลด์ สวนธนบุรี ร มย์ รพ.กรุ ง เทพไชน่ า ทาวน์ หจก.อุดมพรออยล์ ปั๊ มบางจากนิมิตใหม่ สยามเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลแอมบาสซี่ และ ภัตตาคารเล่งหงษ์
25/1/2559 10:37:57
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ชี วิตคนเมือง
19
กรุงเทพฯเมืองจักรยานไม่ถงึ ฝั่ งฝั น
ภาพเลนจักรยานบริเวณหน้าพระบรมมหาราชวังหนึ่งใน 31 เส้นทางจักรยานของกรุ งเทพมหานครฯ
2 ปี ‘สุขุมพันธุ’์ เลนปั่ นไม่คบื แค่ขุดของเก่ามาซ่ อมแซม นักวิชาการชี้ ลม้ เหลวเพราะไม่ได้ศกึ ษาพืน้ ที่ แต่แรกเริ่ม กทม.แจงผู ว้ า่ ฯ เบรกงบ ผู ใ้ ช้รถร้องทางแคบท�ำรถติด ก า ร ส ร้ า ง ท า ง จั ก ร ย า น ใ น ก ท ม . เพิม่ 30 เส้ นทาง เป็ นหนึง่ ในนโยบายหาเสียง ของม.ร.ว.สุขุมพัน ธุ์ บริ พัต ร ผู้ว่าราชการ กรุ งเทพมหานคร (ผู้ว่าฯกทม.) คนปั จจุบนั จากพรรคประชาธิ ปั ต ย์ ในการลงสมัค ร รับเลือกตังสมั ้ ยที่ 2 เดือนมีนาคม 2556 หลั ง เข้ ารั บ ต� ำ แหน่ ง คณะท� ำ งาน “เรารั กกรุ งเทพ เรารั กจั ก รยาน” ที่ ม.ร.ว.สุ ขุ ม พั น ธุ์ ตั ง้ ขึ น้ มี ม ติ ว่ า ให้ น� ำ ทางจัก รยานที่ มี อ ยู่เ ดิ ม 31 เส้ น ทาง รวม 220.84 กิ โ ลเมตร ซึ่ ง เริ่ ม จั ด ท� ำ ครั ง้ แรก สมัย นายพิ จิ ต ต รั ต ตกุล เป็ นผู้ว่า ฯ กทม. เมือ่ ปี 2542 มาปรับปรุงก่อน หนังสือพิมพ์ลูกศิลป์ตรวจสอบรายงาน แสดงเส้ นทางจักรยาน จัดท�ำโดยส�ำนักจราจร และขนส่ง (สจส.) กทม. ล่าสุดเดือนตุลาคม ที่ผา่ นมา พบว่า ตลอด 2 ปี ที่ผา่ นมา กทม. ปรั บปรุ งแล้ วเสร็ จเพี ยง 6 เส้ นทาง รวม 38.38 กิ โลเมตร และไม่ได้ สร้ างทาง จักรยานเพิม่ แต่อย่างใด ขณะเดี ย วกั น รายงานสถิ ติ อุ บัติ เ หตุ ประจ�ำปี 2557 ของกองบังคับการต�ำรวจจราจร ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ระบุวา่ มีผ้ ปู ระสบอุบตั ิเหตุจากการใช้ จกั รยาน 152 รายต่อปี หรือเฉลีย่ เดือนละ 12 ราย นายวรวรรษ ทองดีวรกุล อายุ 22 ปี นิสติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ใช้ จกั รยานมากว่า 4 ปี กล่าวว่า ถนนใหญ่หลายเส้ นทางไม่ได้ มีเลนจักรยานรองรั บและยังช�ำรุ ด จะซ่อม ต่อ เมื่ อ ทรุ ด โทรมเต็ ม ที่ รถยนต์ ที่ วิ่ ง ขนาบ ยัง ใช้ ค วามเร็ ว สูง และชอบแซงซ้ า ย ท� ำ ให้ ต้ องระวังเป็ นพิเศษ บางครัง้ จึงเลี่ยงไปใช้ ถนนลัด แม้ จะแคบแต่ปลอดภัยกว่า “ต่อให้ มเี ลนจักรยาน แต่ยงั แก้ วฒ ั นธรรม การขั บ รถเร็ วไม่ ไ ด้ ก็ ยั ง เป็ นอั น ตราย อันดับ 1 อยูด่ ”ี นายวรวรรษ กล่าว
LOOKSILP FOR PRINT.indd 19
ส่วนนายชัชวาล สุวรรณสวัสดิ์ อายุ 24 ปี อาชีพสถาปนิก กล่าวว่า เลนจักรยานส่วนใหญ่ ทีพ่ บคุณภาพต�ำ่ ผิวขรุขระ และยังมีทอ่ ระบาย กีดขวาง ผู้ใช้ ต้องออกมาปั่ นนอกเลน “โครงข่ายทางจักรยานมีเพียงสัน้ ๆ ไม่เกิด ประโยชน์ ต่อให้ ปั่นขึ ้นบนฟุตบาทก็เจอทางตัน ถ้ าท� ำ แล้ วคุ ณ ภาพแย่ ก็ ไ ม่ ค วรต้ องท� ำ ” นายชัชวาล กล่าว ด้ านผู้ดแู ลเพจ “ก็ถนนกรุ งเทพมันเพลีย อย่างนี ้จะให้ ขจี่ กั รยานกันยังไง” (ขอสงวนนาม) ซึ่ ง มี ผ้ ู ถู ก ใจกว่ า หมื่ น คน กล่ า วว่ า ถนน ใน กทม.ที่ มี ท างจั ก รยานยั ง อั น ตราย เพราะมีรถยนต์มาก เช่น ถนนราชด�ำริระหว่าง โรงพยาบาลต� ำ รวจและโรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ แม้ จะมี การตี แบ่งเส้ นทางให้ แต่มรี ถจักรยานยนต์เข้ ามาใช้ ด้วย ท�ำให้ นกั ปั่ น ส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ก ล้ า ใช้ เพราะรู้ สึก เสี่ ย งตาย ไม่ตา่ งจากสมัยก่อนทีต่ ้ องระวังกันเอง นายฐาปนา บุณ ยประวิ ต ร อุป นายก สมาคมการผัง เมื อ งไทย กล่า วว่า การท� ำ ทางจัก รยานต้ อ งดูว่ า พื น้ ที่ นัน้ มี ผ้ ูใ ช้ ง าน หรื อไม่ ปั ญหาคือ กทม.ไม่เคยส�ำรวจสภาพ ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง ข อ ง ผู้ ใ ช้ ท า ง จั ก ร ย า น อยู่ดี ๆ ตีเส้ นขึ ้นมา หรื อเอาหลักไปกันเป็ ้ น ทางจั ก รยาน ไม่ ไ ด้ ท� ำ ให้ ผู้ ใช้ ปลอดภั ย หากรถทิ่ วิ่ ง ขนาบอยู่ ร อบนอกยั ง วิ่ ง ด้ วย ความเร็ วสูง “อย่างถนนพระอาทิตย์มีรถเข็น ร้ านค้ า มีชาวต่างชาติเดินเทีย่ วเป็ นหลัก จึงควรขยาย ทางเท้ า ให้ ก ว้ า งขึ น้ เพื่ อ ให้ ทุก คนรวมถึ ง จักรยานใช้ ร่วมกัน แต่นี่ จู่ ๆ มาตีเส้ นบนถนน บอกว่า ตรงนี ้ปั่ นได้ อย่างเดียว คนที่เคยใช้ พื น้ ถนนอยู่ ก็ ร้ องเรี ยน เพราะไม่ ไ ด้ รั บ ความเป็ นธรรม เมืองจักรยานเป็ นแนวคิดที่ดี แต่ ถ้ าท� ำ ไม่ ถู ก วิ ธี สิ่ ง ดี ก็ ก ลายเป็ นร้ าย” อุปนายกสมาคมการผังเมืองไทย กล่าว
นายธีรวัจน์ หงษ์แสนยาธรรม หัวหน้ ากลุม่ งานวางแผนและออกแบบ ส�ำนักงานวิศวกรรม จราจร สจส. ชี ้แจงว่า ทางจักรยานทีด่ ำ� เนินการ เสร็จแล้ ว ใช้ งบประมาณ 24 ล้ านบาท ในการ ซ่ อ ม พื น้ ผิ ว แ ล ะ ติ ด ตั ง้ อุ ป ก ร ณ์ เ พื่ อ ความปลอดภัย เช่น รอบเกาะรัตนโกสินทร์ บางส่วน และบางขุนเทียนชายทะเล “ทีป่ รับปรุงได้ แค่นี ้ เพราะผู้ใช้ รถร้ องเรียน ว่าทางจักรยานท�ำให้ ถนนแคบลง รถติดมาก ขึ ้น ผู้วา่ ฯกทม.จึงยังไม่อนุมตั งิ บประมาณมา ปรับปรุงตามแผนทีว่ างไว้ ” นายธีรวัจน์ กล่าว นายธี รวัจน์ กล่าวด้ วยว่า ทางจักรยาน ใน กทม.ไม่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ เพราะ จักรยานยนต์ รถสามล้ อ และรถเข็นขายของ รุ ก เข้ ามาใช้ เส้ นทาง ท� ำ ให้ คนไม่ อ ยาก ใช้ จักรยาน ส่วนอุบัติเหตุอาจเกิ ดจากผู้ใช้ จั ก รยานปั่ นด้ วยความเร็ ว สู ง หรื อ ไม่ ไ ด้ ปั่ นชิดซ้ าย ดังนันผู ้ ้ ใช้ ควรท�ำตามกฎจราจร และรัฐอาจต้ องจ�ำกัดอายุผ้ ใู ช้ จกั รยานบนถนน ใหญ่ รวมถึงให้ มีใบอนุญาตขับขี่ ที่ต้องผ่าน การทดสอบทักษะและความรู้เรื่องกฎจราจร ขณะที่ นายอมร กิจเชวงกุล รองผู้วา่ ฯ กทม. กล่าวยอมรับว่า การจัดท�ำเส้ นทางจักรยาน ของกทม.ยังไม่ประสบความส�ำเร็ จ เพราะ อยูใ่ นช่วงเริ่มต้ นให้ ประชาชนได้ เรียนรู้เกีย่ วกับ การใช้ จกั รยานเท่านัน้ กทม.ก� ำลังปรับปรุ ง เส้ นทางไปเรื่ อย ๆ เพื่อให้ จักรยานเป็ นอีก ทางเลือกทีใ่ ช้ ลดปั ญหาการจราจร “เมืองใหญ่ทวั่ โลกวางเป้าลดผู้ใช้ รถยนต์ ให้ เหลือร้ อยละ 30 ปั จจุบนั กทม.มีผ้ ใู ช้ รถยนต์ ร้ อยละ 70 เราจึงวางเป้าลดจ�ำนวนรถยนต์ตาม ทีเ่ มืองใหญ่ทว่ั โลกท�ำ” รองผู้วา่ ฯ กทม. กล่าว พาขวัญ ศักดิ์ขจรยศ
‘ปั นปั่ น’
ลัมเหลว?
โ ค ร ง ก า ร จั ก ร ย า น ส า ธ า ร ณ ะ กรุงเทพมหานคร หรือ จักรยานสาธารณะ ปั นปั่ น เป็ นโครงการให้ บริ การเช่ า รถจักรยานแก่ชาวกรุ งเทพฯ ด้ วยระบบ อัตโนมัติ ใช้ งบสร้ างสถานีละ 2 ล้ านบาท ผู้ สนใจใช้ บริการจ�ำเป็ นต้ องสมัครสมาชิกเพือ่ รับบัตรสมาร์ ตการ์ ดแบบเติมเงิน ส�ำหรับ สแกนรหัสเพื่อปลดล็อคล้ อจักรยานออก จากแท่น โดยสามารถเช่าจากสถานีหนึ่ง และจอดในอีกสถานีหนึง่ ได้ โดยไม่จ�ำเป็ น ต้ องน�ำมาคืนทีเ่ ดิม เนือ่ งจากปั ญหาการจราจร เป็ นปั ญหา ใหญ่ ที่ บั่ น ทอนสุ ข ภาวะของคนกทม. ทังในด้ ้ านมลภาวะ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อระบบ ทางเดิ น หายใจ ปั ญ หาการเสี ย โอกาส ทางเศรษฐกิ จจากการจราติดขัด จนถึง ปั ญหาสุขภาพจิต และปั ญหาคุณภาพชีวติ อืน่ ๆ จากสิง่ แวดล้ อมทางการจราจร เป็ นเหตุใ ห้ กทม.ได้ ริ เ ริ่ ม โครงการ ดังกล่าวภายใต้ แนวคิดส่งเสริมให้ ประชาชน ในพื ้นที่ กทม.ได้ ใช้ รถจักรยานซึง่ เป็ นมิตร ต่อสิ่งแวดล้ อม เพื่อลดปั ญหาการจราจร ติดขัด ควบคูไ่ ปกับการพัฒนาระบบสัญจร ทางเลือกที่ช่วยเชื่อมต่อการเดินทางด้ วย ระบบขนส่ ง สาธารณะรู ป แบบต่ า ง ๆ อย่างรถไฟฟ้าบีทเี อส และรถไฟฟ้ามหานคร ทังยั ้ งช่วยลดปริมาณรถยนต์ได้ อกี ทางหนึง่ ปั จจุบนั โครงการจักรยานสาธารณะ ปั นปั่ นมีจ�ำนวนสมาชิกรวม 8,563 ราย ขอบเขตให้ บริ ก ารทั ง้ หมด 50 สถานี มีจกั รยานให้ บริการทังหมด ้ 330 คัน ทังนี ้ ้ แม้ จะมีเป้าหมายการใช้ งานถึง 10,000 ครัง้ ต่อวัน แต่จากสถิติการใช้ บริ การประจ�ำ เดือนมิถนุ ายน 2558 มีผ้ ใู ช้ บริ การเฉลี่ย เพียง 354 ครัง้ ต่อวัน เนือ่ งจากความกังวล ของผู้ใช้ ต่อความปลอดภัยบนท้ องถนน
25/1/2559 10:37:59
สิทธิการศึกษา
20
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
่ อึหลุดึ้ งการศึ! เกด็ษาภาคบั กไงทคับยกลายเป็ 9 หนแรงงานไร้ มื น คฝีมืนอ วิ ก ฤตนั ก เรี ย นไทยพ้ น สภาพก่ อ นจบการศึ ก ษาภาคบั ง คั บ 9 หมื่ น คนหรื อ ร้ อ ยละ 10 ต่ อ รุ่ น กลายเป็ น แรงงานไร้ ฝี มื อ รายงานสภาการศึกษาฯชี้ ไทยลงทุนผู ้เรียนสูง แต่ผลผลิตต�่ำกว่าประเทศอื่นในอาเซี ยน ค่าเสียโอกาสสูง 3 แสนล้านบาทต่อปี เด็กมองไม่เห็นอนาคต-ใช้ทำ� งานไม่ได้
คะแนนทุนมนุษย์ของประเทศไทย
THAILAND SITUATION
กลุ่มอายุ < 15 ปี การเข้าเรียนประถม การเข้าเรียนมัธยม ความด้อยโอกาส กลุ่มอายุ 15 - 24 ปี คุณภาพการศึกษา การศึกษาสูงสุด (ประถม) การศึกษาสูงสุด (มัธยม) การว่างงาน
การศึกษาไทย อยู่ลำดับไหนในอาเซียน?
1
การเข้าถึงการศึกษาไทยเป็นอันดับ 1 ในอาเซียน แต่กลับมีผลทางการศึกษาอยู่ในระดับกลาง และมีปัญหาขาด แรงงานมีทักษะ
นางภมรศรี แดงชัย นักวิชาการส�ำนักงาน ส่ง เสริ ม สัง คมแห่ง การเรี ย นรู้ และคุณ ภาพ เยาวชน (สสค.) เปิ ดเผยสถานการณ์ การศึกษาของเด็กไทยว่า การวิเคราะห์สถิติ ปี ลา่ สุดพบว่า เด็กทีเ่ กิดในปี เดียวกันประมาณ 900,000 คน ร้ อยละ 60 หรื อ 540,000 คน ไม่จบชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 6 หรือประกาศนียบัตร วิ ช าชี พ (ปวช.) และเข้ า สู่ต ลาดแรงงาน ในขณะทีอ่ ายุตำ�่ กว่า 18 ปี “ทีส่ ำ� คัญ มีเด็กทีห่ ลุดออกจากการศึกษา ภาคบังคับ หรือไม่จบมัธยมศึกษาปี ที่ 3 จ�ำนวน 90,000 คน ต่อรุ่น คิดเป็ นร้ อยละ 10 กลายเป็ น แรงงานไร้ ฝีมอื ท�ำให้ ทนุ มนุษย์ของประเทศไทย มีคุณภาพต�่ำในตลาดแรงงานเมื่อเทียบกับ ประเทศในอาเซียน” นางภมรศรี กล่าว ด้ านรายงานสภาวการณ์ การศึกษาไทย ในเวทีโลก ปี 2557 ของส�ำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิ การ และ รายงานสมรรถนะการศึ ก ษาไทยบนเวที อาเซียนและเวทีโลก: มองจากตัวชีว้ ดั จาก กลุ่ ม สถิ ติ แ ละเทคโนโลยี ส ารสนเทศทาง การศึ ก ษา ส� ำ นั ก วิ จั ย และการพั ฒ นา ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ระบุไปใน ทางเดี ย วกัน ว่า ไทยลงทุน ด้ า นการศึก ษา ของทุ ก ระดั บ ชั น้ คิ ด เป็ นร้ อยละ 29.5 ของงบประมาณรายจ่ายของประเทศ ซึง่ สูง ที่สดุ ในกลุม่ ประเทศอาเซียน หากเทียบกับ ผลผลิ ต มวลรวมภายในประเทศ (จี ดี พี ) คิดเป็ นร้ อยละ 5.8 สูงกว่ามาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ และกัมพูชา อย่างไรก็ดี รายงานทัง้ 2 ฉบับ ระบุว่า เด็กไทยระหว่างปี 2548 - 2555 แม้ จะอยู่ ในระบบการศึกษาเพิ่มขึน้ จาก 5.9 ปี เป็ น 7.3 ปี แต่ยงั ต�ำ่ กว่าสิงคโปร์ (10.1 ปี ) มาเลเซีย (9.5 ปี ) และฟิ ลปิ ปิ นส์ (8.9 ปี ) ขณะทีจ่ ำ� นวน ปี การศึกษาภาคบังคับของไทยนานถึง 9 ปี สูง กว่ า สิ ง คโปร์ ฟิ ลิ ป ปิ นส์ และมาเลเซี ย ทีก่ ำ� หนดไว้ 6 ปี ขณะเดี ย วกั น รายงานการวิ เ คราะห์ ของนายนิ โคลัส เบอร์ เนตต์ อดีตผู้บริ หาร ระดั บ สู ง ของยู เ นสโกและธนาคารโลก LOOKSILP FOR PRINT.indd 20
2
*หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บ อ่านค่าดังนี้ (ลำดับในอาเซียน 9 ประเทศ ยกเว้นบรูไนดารุสซาลามไม่อยู่ในการประเมิน)
ข้อมูลจาก รายงานผลการจัดลำดับดัชนีการพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital Index) ปี 2558 โดยเวทีเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum)
ต่างชาติจำเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มสำหรับแรงงานมีทักษะ ขณะที่ประเทศเพื่อนบ้านไม่จำเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายด้านนี้ อีกทั้งมีฐานการผลิตต้นทุนต่ำกว่าไทย
นักเศรษฐศาสตร์ ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านการศึกษา เมื่อปี 2557 ชีว้ ่า เด็กหลุดออกนอกระบบ การศึกษามีผลต่อจี ดีพีไทยสูงถึงร้ อยละ 3 คิดเป็ นเงินกว่า 3 แสนล้ านบาทต่อปี ท�ำให้ ประเทศต้ องสู ญ เสี ย โอกาสสร้ างรายได้ ปี ละกว่า 50 ล้ านบาท นายศตวรรษ (ขอสงวนนามสกุล) อายุ 20 ปี พนักงานรับจ้ างในโรงงานแห่งหนึง่ กล่าวว่า ตนลาออกจากโรงเรี ยนก่อนจบม.3 เนื่องจาก ครอบครัวไม่มเี งินพอ แม้ รัฐบาลจะมีนโยบาย เรี ยนฟรี แต่จริ ง ๆ ยังมีภาระค่าใช้ จ่ายอื่น ตามมาด้ วย “ความรู้ ในโรงเรี ยนไม่สามารถน� ำไปใช้ ประกอบอาชีพได้ จึงตัดสินใจออกมาหางานท�ำ ช่วยเหลือครอบครัว” นายศตวรรษ กล่าว นางสาวกิ ต ติ รั ต น์ อสิ พ งษ์ เจ้ า หน้ า ที่ โครงการเด็กก่อสร้ าง มูลนิธิสร้ างสรรค์เด็ก กล่าวว่า ครอบครัวทีท่ �ำอาชีพแรงงานก่อสร้ าง บางครอบครัวให้ บตุ รหลานออกจากโรงเรี ยน ตัง้ แต่ ชัน้ มัธ ยมต้ น เพราะไม่ มี เ งิ น ส่ ง เสี ย เด็กบางคนต้ องย้ ายโรงเรียนตามสถานทีท่ พี่ อ่ แม่ไปท� ำงานบ่อยจนเรี ยนตามเพื่อนไม่ทัน มู ล นิ ธิ พยายามหาโรงเรี ยนประจ� ำ ให้ แต่ครอบครัวจ�ำนวนไม่น้อยก็ปฏิเสธ เพราะ ต้ องการให้ เด็ ก ออกมาหางานท� ำ และ เด็กก็ยินยอม “เด็ ก คิ ด ว่ า เรี ย นจบแล้ ว ก็ ต้ อ งท� ำ งาน เหมือนพ่อแม่อยูด่ ี เนื่องจากระบบการศึกษา ภาคบังคับเน้ นด้ านวิชาการมากกว่าสายอาชีพ น�ำความรู้มาประกอบอาชีพไม่ได้ จริง เป็ นวงจร ของเด็กก่อสร้ างไม่ร้ ูจบ” นางกิตติรัตน์ กล่าว นายไกรยส ภั ท ราวาท นั ก วิ ช าการ ผู้ เชี่ ย วชาญนโยบายด้ านเศรษฐศาสตร์ การศึกษา สสค. กล่าวว่า ประเทศไทยลงทุน เพื่ อ การศึ ก ษาเป็ นอั น ดั บ 2 ของโลก มี งบประมาณการศึกษาในปี 2559 สูงถึง 521,233 บาท แต่ในจ�ำนวนนี ้เป็ นงบลงทุน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนโดยตรงที่โรงเรี ยน เพียงร้ อยละ 8.86 หรื อราว 46,000 ล้ านบาท แบ่งเป็ นเป็ นค่าหนังสือ อุปกรณ์ การศึกษา เครื่ องแบบนั ก เรี ยน อี ก ร้ อยละ 3.92
68.78 (4) 95.79 (6) 79.47 (1) 91.71 (3) 72.70 (5) 40.83 (6) 99.83 (4) 75.66 (5) 91.61 (3)
WHAT IS ทุนมนุษย์?
ทุนมนุษย์ เป็นการจัดอันดับดัชนีการพัฒนามนุษย (Human Capital Index) เป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนความสำคัญของการลงทุนและการพัฒนา ด้านทรัพยากรมนุษย์ตลอดช่วงชีวิตประเมินจากการเรียนรู้และการจ้างงาน
หรื อราว 1,800 ล้ านบาท ค่ากิจกรรมพัฒนา ผู้เรี ยน เช่น เข้ าค่ายลูกเสือ ร้ อยละ 2.01 หรื อราว 900 ล้ านบาท “แต่อกี กว่าร้ อยละ 90 หรือกว่า 420,000 ล้ านบาท เป็ นรายจ่ายประจ�ำ เช่น เงินเดือนครู ค่าจ้ างผู้บริหาร ค่าสาธารณูปโภค ฯลฯ สะท้ อน ว่า งบประมาณส่วนมากไปไม่ถงึ กลุม่ เป้าหมาย ที่ แท้ จริ ง นโยบายพื น้ ฐานแห่งรั ฐที่ บอกว่า เรี ยนฟรี 12 ปี ความจริ งไม่ได้ ฟรี ทัง้ หมด” นายไกรยส กล่าว นายไกรยส กล่ า วอี ก ว่ า หลั ก สู ต ร ในโรงเรี ยนออกแบบเพื่อให้ เด็กเข้ าสูก่ ารเรี ยน ระบบมหาวิทยาลัย เมื่อเด็กเห็นว่าอนาคต ของตนไม่ ใ ช่ เ ส้ น ทางนัน้ จึ ง เลื อ กออกจาก ระบบการศึ ก ษา เพราะมี ค่ า เสี ย โอกาส ในการหารายได้ ในขณะนั น้ รั ฐต้ อง ป รั บ ห ลั ก สู ต ร ต อ บ ส น อ ง เ ส้ น ท า ง สายอาชีพด้ วย ส่ว นเบี ย้ อุด หนุน ปั จ จัย พื น้ ฐานส� ำ หรั บ เด็กยากจนจ� ำ นวน 2,500 ล้ า นบาท เป็ น เพียงร้ อยละ 0.5 ของงบประมาณทัง้ หมด แ ล ะ ยั ง ถั ว เ ฉ ลี่ ย ต า ม โ ร ง เ รี ย น ทั ้ง ที่ บางโรงเรี ยนมี เด็กยากจนจ� ำนวนมากก็ ได้ ไม่ เ พี ย งพอ รั ฐ จึ ง ควรมี ฐ านข้ อมู ล เพื่ อ สนับสนุนเงินให้ ตรงตามกลุม่ เป้าหมาย และ ยัง ใช้ ติ ด ตามเด็ ก กลุ่ม เสี่ ย งหลุด ออกนอก ระบบการศึกษาก่อนจบม.3 ได้ ด้วย รวมถึง มี ก ระบวนการฝึ กอาชี พ รองรั บ เด็ ก กลุ่ ม ที่ จ ะออกจากระบบการศึ ก ษาแน่ น อน เพื่อไม่ให้ เป็ นแรงงานไร้ ฝีมือ นายนิพนธ์ พัวพงศกร นักวิชาการด้ าน เศรษฐศาสตร์ ทรัพยาการมนุษย์ สถาบันวิจยั เพื่ อ การพัฒ นาประเทศไทย (ที ดี อ าร์ ไ อ) กล่าวว่า แม้ รัฐจะปรับนโยบายด้ านการศึกษา เช่น ลดจ�ำนวนชั่วโมงเรี ยนให้ น้อยลง เพิ่ม กิจกรรมนอกห้ องเรี ยนมากขึ ้น แต่ก็ไม่ได้ เพิ่ม คุณภาพให้ การศึกษา การศึกษาภาคบังคับ เป็ นการให้ ความรู้พื ้นฐานที่จะน�ำไปศึกษาต่อ ในสายวิ ช าการและสายอาชี พ จึ ง ควรท� ำ ควบคู่กนั ไป มากกว่าการลดชัว่ โมงเรี ยนให้ น้ อยลง
นายนิ พ นธ์ กล่ า วอี ก ว่ า ไทยน� ำ ผล การสอนและผลการศึกษามาประเมินเพียงแค่ ร้ อยละ 10 ที่เหลือน�ำส่วนที่ไม่เกี่ยวกับผู้เรี ยน มาประเมิ น เช่ น การท� ำ คู่ มื อ การสอน ซึ่ง กระทรวงศึกษาธิ การไม่เ คยปรั บวิธี การ ประเมิน นอกจากนี ้ ครูจ�ำนวนมากถูกยืมตัว ไปบริ หารสถานศึกษา โรงเรี ยนต้ องใช้ ครู ท่ีมี อยู่มาสวมแทนซึง่ ไม่ตรงกับความเชี่ยวชาญ นอกจากนี ้ ในต่างจังหวัด พ่อแม่ต้องท�ำงาน ต่ า งถิ่ น ผู้ สูง อายุ ที่ เ หลื อ อยู่ ใ นครอบครั ว มีศกั ยภาพสนับสนุนการศึกษาให้ แก่เด็กไม่ดี เท่าที่ควร นายนิพนธ์ กล่าวด้ วยว่า ปั จจุบนั แรงงาน ไร้ ฝี มื อ ในอาเซี ย นเคลื่ อ นย้ า ยระหว่ า งกัน อยูแ่ ล้ ว ผลคือ ค่าแรงของแรงงานในประเทศ จะต�่ำลง เนื่องจากมีแรงงานจากต่างประเทศ ที่คา่ แรงถูกกว่าเป็ นตัวเลือกในการจ้ างงาน “รั ฐ ควรจั ด การศึ ก ษานอกระบบให้ แรงงานไร้ ฝีมือที่ไม่จบม.3 เพื่อส่งเสริ มเป็ น แรงงานมีทกั ษะ โดยอาศัยความร่วมมือจาก ตัว แรงงาน นายจ้ า ง สถานประกอบการ” นายนิพนธ์ กล่าว นายการุ ณ สกุล ประดิ ษ ฐ์ เลขาธิ ก าร ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน (สพฐ.) ชีแ้ จงว่า สพฐ.ได้ ท�ำหนังสือบันทึก ข้ อตกลงความร่วมมือ (เอ็มโอยู) กับส�ำนักงาน ส่ ง เสริ มการนอกระบบและการศึ ก ษา ตามอัธยาศัย (กศน.) เพือ่ แก้ ปัญหาเด็กทีอ่ อก จากระบบการศึกษาให้ กลับเข้ ามาศึกษาซึ่ง มุง่ เน้ นส�ำหรับน�ำไปประกอบอาชีพ โดย สพฐ. จะส่งรายชื่อนักเรี ยนที่ออกจากโรงเรี ยนให้ กศน.ติดตามเด็กกลุ่มดังกล่าว อย่างไรก็ดี ขึ ้นกับความสมัครใจของผู้เรี ยนด้ วย ขณะทีน่ ายสุรพงษ์ จ�ำจด เลขาธิการกศน. กล่าวว่า จะจัดกลุม่ เด็กทีห่ ลุดจากการศึกษาใน ร ะ บ บ อ า ยุ ไ ล่ เ ลี่ ย กั น ใ ห้ เ รี ย น ด้ ว ย กั น เปิ ดสอนเป็ นวิชาชีพทังหลั ้ กสูตรระยะสันและ ้ หลักสูตรระยะยาว หากผู้เรียนจะกลับมาเรียน สายสามัญ กศน.จะเทียบโอนหน่วยกิตให้ คาด ว่าจะเริ่มโครงการเร็วทีส่ ดุ ในเดือนมกราคมนี ้ ภีมรพี ธุ รารัตน์
25/1/2559 10:37:59
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
สิทธิการศึกษา
21
เด็ ก พิ เ ศษขาดสิ ท ธิ เ ข้ า ถึ ง การศึ ก ษา
รัฐเมินผลิตครู -ไม่สร้างโรงเรียนเฉพาะเพิ่ม
ภาพครู จากศูนย์พัฒนาการเรียนรู ้พิเศษประภาคารปั ญญา ก�ำลังช่ วยเหลือป้อนอาหารกลางวันแก่เด็กพิเศษที่อยู ่ในความดูแล
รัฐเมินสิทธิการศึกษาเด็กพิเศษ แค่ 5 หมื่นจาก 2 แสนคนได้เข้าโรงเรียน ทั่วประเทศมีโรงเรียนเฉพาะแค่ 46 แห่ง นักวิชาการเผยวิกฤต ขาดครู สอนเด็กพิเศษ 1 คน ต้องดูเด็ก 8 คน เกินมาตรฐาน 2 เท่า ชี้ นักศึกษาไม่เลือกเรียนเพราะกลัวงานกดดันสูง สพฐ.แจงขาดแค่ ครูเฉพาะทาง เตรียมโยกนักจิตวิทยา-กายภาพบ�ำบัดเป็นครู เด็กพิเศษ เมือ่ 3 ปี ทแี่ ล้ ว นายสุชาติ โอวาทวรรณสกุล นายกสมาคมเพื่ อ คนพิ ก ารทางสติปั ญญา แห่งประเทศไทย ตระเวนหาทีเ่ รียนชันม.1 ้ ใน กทม.ให้ กบั ด.ช.รินชาติ โอวาทวรรณสกุล บุตร ชายวัย 13 ปี ทม่ี ภี าวะดาวน์ซนิ โดรม มากกว่า 20 โรงเรี ยน แต่ไม่มีโรงเรี ยนใดรับเข้ าศึกษา แม้ แต่โรงเรี ยนที่มีเด็กพิเศษเรี ยนอยูแ่ ล้ ว โดย ระบุวา่ ไม่มีครู ด้านการศึกษาพิเศษเพียงพอ สถานที่ ไ ม่อ� ำ นวย และผู้ป กครองของเด็ก คนอืน่ ๆ ต่อต้ าน ยกเว้ นโรงเรียนบางชัน (ปลื ้มวิทยานุสรณ์) สังกัดกรุงเทพมหานคร ย่านมีนบุรี ทีม่ ชี นเรี ั ้ ยน ส�ำหรับเด็กพิเศษถึงป.6 ผู้อำ� นวยการจึงขอให้ ผู้ปกครองรวมเด็กพิเศษให้ ถงึ 15 คน เพือ่ ขอ ครูพเิ ศษจากกระทรวงศึกษาธิการ และเปิ ดชัน้ ม.1 ให้ อย่างไรก็ดี กิจกรรมภายในโรงเรียน เช่น งานวันพ่อ วันแม่ ผู้ปกครองต้ องไปขอโรงเรียน ให้ บตุ รของพวกเขาได้ มสี ว่ นร่วม ส่วนผู้ปกครองของเด็กพิเศษอีกรายหนึ่ง ระบุวา่ บุตรสาวเรียนอนุบาลและประถมศึกษา ในชั น้ เรี ยนส� ำ หรั บ เด็ ก พิ เ ศษ เมื่ อ ขึ น้ ชันมั ้ ธยมย้ ายไปโรงเรียนแห่งหนึง่ ทีร่ ะบุวา่ มีชนั ้ เรี ยนส�ำหรับเด็กพิเศษ แต่เมื่อเข้ าไปติดต่อ โรงเรียนกลับบอกว่า เป็ นการฝากเลี ้ยงเท่านัน้ คือ แยกเด็กพิเศษให้ ไปอยูใ่ นห้ องพักครู ไม่มี การเรียนการสอน เพราะไม่มบี คุ ลากรรองรับ หนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์ตรวจสอบฐานข้ อมูล ทะเบียนกลางคนพิการ ส�ำนักส่งเสริ มและ พัฒ นาคุณ ภาพชี วิ ต คนพิ ก ารแห่ง ชาติ ซึ่ง จัดเก็บทุก 3 ปี ข้ อมูลล่าสุดปี 2554 พบว่า ประเทศไทยมีเด็กพิเศษประมาณ 195,567 คน แต่มเี พียง 53,337 คน หรือร้ อยละ 27.27 ทีไ่ ด้ รับการศึกษาในโรงเรี ยน ทังนี ้ ้ มีศนู ย์พฒ ั นา การเรี ยนรู้ ส�ำหรับเด็กพิเศษทุกจังหวัด แต่มี โรงเรี ย นเฉพาะความต้ อ งการพิ เ ศษเพี ย ง 46 แห่งทัว่ ประเทศ LOOKSILP FOR PRINT.indd 21
นางสาวสุธากร วสุโภคิน อาจารย์ประจ�ำ สาขาศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ อดี ตครู การศึกษาพิ เ ศษใน โรงเรี ยนเรี ยนมัธยมแห่งหนึ่ง กล่าวว่า ครู การศึ ก ษาพิ เ ศษต้ องออกแบบการสอน เด็ ก พิ เ ศษเฉพาะบุ ค คล ความยากคื อ ผู้ปกครองไม่ได้ ท�ำตามค�ำแนะน�ำของครู เช่น ไม่ปล่อยให้ เด็กได้ ลองช่วยเหลือตัวเอง ส่วนครู สอนเด็กทัว่ ไปในโรงเรียนยังขาดความเข้ าใจว่า ควรปฏิ บัติ ต่ อ เด็ ก พิ เ ศษอย่ า งไร ผู้บ ริ ห าร โรงเรี ยนใช้ งบประมาณจั ด ซื อ้ อุ ป กรณ์ การศึกษาส�ำหรั บเด็กพิเศษไม่ถูกจุดเพราะ ไม่เคยถามครูการศึกษาพิเศษ ท�ำให้ การสอน เ ด็ ก พิ เ ศ ษ ที่ ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ จากหลายฝ่ ายไม่สมั ฤทธิ์ผลเท่าทีค่ วร “ค่าตอบแทนไม่นา่ จะเป็ นปั ญหา เพราะครู การศึกษาพิเศษจะได้ เงินเพิม่ 2,000 ต่อเดือน แต่ที่เป็ นปั ญหาคือ สถาบันผลิตครูสว่ นใหญ่ ไม่เปิ ดให้ ครูไปฝึ กสอนเด็กจริ ง ๆ เมื่อครูจบ ออกไปจึงไม่มปี ระสบการณ์ บางคนเจอเด็กที่ มีระดับภาวะที่รุนแรง ครูก็อาจจะกลัวเด็กไป เลย” นางสาวสุธากร กล่าว นางสาวสุธากร กล่าวอีกว่า หลักสูตรการ ผลิตครูการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยควรเปิ ด ทุ ก ภาควิ ช าไปเลย เช่ น พละศึ ก ษาเพื่ อ การศึกษาพิเศษ ครูจะได้ มีทกั ษะเพื่อพัฒนา ศัก ยภาพของเด็ ก ตรงจุ ด เพราะปั จ จุ บัน ครู ก ารศึ ก ษาพิ เ ศษต้ องสอนเป็ นทุ ก วิ ช า ซึง่ มากเกินความสามารถของครู นางพิศมัย สุขเกิด รองผู้อ�ำนวยการศูนย์ พัฒนาการเรี ยนรู้ พิเศษประภาคารปั ญญา มูลนิธิชว่ ยคนปั ญญาอ่อนแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชิ นูป ถัม ภ์ และอาจารย์ พิ เ ศษ สถาบัน แห่ ง ชาติ เ พื่ อ การพั ฒ นาเด็ ก และ ครอบครั ว มหาวิทยาลัยมหิดล เปิ ดเผยว่า ประเทศไทยขาดครู การศึกษาพิเศษจ�ำนวน
มากเข้ าขั น้ วิ ก ฤต ปั จจุ บั น อั ต ราส่ ว นครู การศึกษาพิเศษต่อเด็กพิเศษเป็ น 1 ต่อ 8 แต่สัดส่วนที่ถือว่าพอดีคือ ครู 1 คน ดูแล เด็กพิเศษ 4 คน “นักศึกษาบางคนที่เข้ ามาเรี ยนการศึกษา พิ เ ศษไม่ ท ราบว่ า ต้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ อะไร แต่เรี ยนเพราะสอบติด ความยากง่ายของ หลั ก สู ต รครู ก ารศึ ก ษาพิ เ ศษไม่ ต่ า งจาก การเรี ย นครู ป กติ แต่ ต้ องมี ค วามเมตตา จิตวิทยา และกระบวนการจัดการการเรี ยนรู้ ยากกว่ า คื อ ต้ อ งจัด ท� ำ เนื อ้ หาที่ เ ด็ ก รั บ ได้ มี เ ทคนิ ค การสอนให้ เด็ ก อยากเรี ย น ให้ ความส� ำ คั ญ กั บ ผู้ เรี ย นมากกว่ า ตั ว วิ ช า” นางพิศมัย กล่าว นายบั ญ ชา ชลาภิ ร มย์ คณบดี ค ณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า คณะฯ ไม่ ไ ด้ เ ปิ ดวิ ช าเอกการศึก ษาพิ เ ศษ เป็ นเอกหลัก แต่เปิ ดเป็ นเอกคู่ คือเรียนควบคู่ กับ วิ ช าเอกหลัก เช่ น เอกภาษาไทยคู่กับ การศึกษาพิเศษ โดยนิสิตจะสอบเลือกเอก ตอนปี 1 อย่างไรก็ดี ทุกเอกต้ องได้ เรี ยนวิชา พื ้นฐานเกีย่ วกับเด็กพิเศษ 1 วิชา นางสาวบุญจิรา พึง่ มี นิสติ คณะครุศาสตร์ เอกสั ง คมศึ ก ษาคู่ กั บ การศึ ก ษาพิ เ ศษ จุฬาลงกรณ์ มหาลัยวิทยาลัย ปี 3 กล่าวว่า ปี 1-2 จะเรียนเกี่ยวกับพื ้นฐานของเด็กพิเศษ แต่ ล ะประเภทว่ า มี ข้ อ จ� ำ กัด ในการเรี ย นรู้ อะไรบ้ าง เพือ่ ใช้ ในการเรียนออกแบบการสอน ตอนปี 3 และ 4 หลักการคือ ให้ เด็กพิเศษ ช่วยเหลือตัวเองได้ ในชีวติ ประจ�ำวันก่อน ส่วน ด้ านวิชาการจะเป็ นอันดับรอง “นิสติ ที่เรี ยนเอกการศึกษาพิเศษแต่ละรุ่น มีไม่ถงึ 10 คน ต่างจากเอกอืน่ ทีม่ ถี งึ 40 คน บางส่ ว นที่ ไ ม่ เ ลื อ กเรี ย นเพราะกั ง วลว่ า จะไม่สามารถรับมือกับเด็กได้ เนือ่ งจากต้ องใช้ ความอดทนในการดูแลเด็กมากกว่าปกติ และ
กลัว ว่ า จะส่ง ผลถึ ง การท� ำ งานในอนาคต” นางสาวบุญจิรา กล่าว นางสาวบุญจิรา กล่าวด้ วยว่า ปั จจุบนั ระบบการเลื อ กเอกยั ง ซับ ซ้ อน หากต้ อง การเลือกเอกการศึกษาพิเศษต้ องสอบเลือก เอกจิ ตวิทยาก่อน ขณะที่ เดิมสอบเลือกได้ โดยตรง ท�ำให้ บางคนตัดสินใจไม่เลือก เพราะ ต้ องสอบหลายรอบ นายอ�ำนาจ วิชยานุวตั ิ ผู้อำ� นวยการส�ำนัก บริ หารงานการศึกษาพิเศษ ส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึ ก ษาขั น้ พื น้ ฐาน (สพฐ.) ชี ้แจงว่า โรงเรี ยนเฉพาะความต้ องการพิเศษ ที่ มี ไ ม่ค รบทุก จัง หวัด เพราะบางจัง หวัด มี เด็กทีม่ คี วามต้ องการพิเศษประมาณ 100 คน ไม่ จ� ำ เป็ นต้ องสร้ างโรงเรี ย นเพื่ อ รองรั บ ส่ว นภาพรวมครู ก ารศึก ษาพิ เ ศษมี จ�ำ นวน เพียงพอ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์ และ พละศึ ก ษา แต่ ข าดครู ก ารศึ ก ษาพิ เ ศษ เฉพาะทาง เช่น ครูสอนการพัฒนาด้ านร่างกาย และจิ ต วิ ท ยาเด็ ก สพฐ.ก� ำ ลัง ดึง บุค ลากร ภาครั ฐ ที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว เช่ น นั ก จิ ต วิ ท ยา นัก กายภาพบ� ำ บัด เข้ า มารั บ ต� ำ แหน่ ง ครู การศึกษาพิเศษเพือ่ ดูแลเด็กพิเศษในโรงเรียน “ยอมรั บ ว่ า มี บ างโรงเรี ย นไม่ รั บ ครู การศึกษาพิเศษ แต่รบั ครูทวั่ ไปแล้ วส่งไปอบรม สาขาการศึกษาพิเศษเฉพาะทาง เช่น จิตวิทยา เด็ก กายภาพบ�ำบัด ซึง่ เมือ่ มาดูแลเด็กพิเศษก็ ไม่มีความช�ำนาญเพียงพอ แต่สพฐ.ท�ำอะไร ไม่ ไ ด้ เ พราะเป็ นเรื่ อ งการบริ ห ารบุค ลากร ของโรงเรียน” นายอ�ำนาจ กล่าว วราภัสร์ มาลาเพชร
25/1/2559 10:38:01
สารคดีเชิ งข่าว
22
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
โรงเรี ย นของ
“คนพิเศษ” “เด็กพิเศษ” ช่วงหลังเราได้ ยนิ ค�ำนี ้บ่อยขึ ้น แต่ไม่วา่ จะ คุ้นเคยกับค�ำดังกล่าวมากเพียงใด ความรู้ ความเข้ าใจของคนทัว่ ไปใน สังคมไทยทีม่ ตี อ่ เด็กพิเศษก็ยงั คงจ�ำกัดอยูม่ าก และเป็ นปั ญหา หนึง่ ทีส่ ง่ ผลต่อคุณภาพชีวติ ของเด็กเหล่านี ้ “เด็กพิเศษ” มาจากค�ำเต็มว่า “เด็กที่มี ความต้ องการพิเศษ” หมายถึง เด็กกลุ่มที่ จ�ำเป็ นต้ องได้ รับการดูแล ช่วยเหลือเป็ นพิเศษ ทัง้ ในด้ านการใช้ ชีวิตประจ� ำวัน การเรี ยนรู้ และการเข้ าสังคม เพือ่ ให้ ได้ รับการพัฒนาเต็ม ที่ตามศักยภาพของเขาเอง โดยทัว่ ไป “เด็กพิเศษ” จะครอบคลุมเด็กที่ มีความบกพร่ องทางร่ างกายการเรี ยนรู้ สติ ปั ญญา อารมณ์ หรื อพฤติ ก รรม เช่ น เด็กกลุ่มอาการออทิสติก ทังที ้ ่มีปัญหาด้ าน พฤติกรรม สัมพันธภาพทางสังคม ภาษา และ การสื่อความหมาย เด็กดาวน์ซินโดรม เด็ก พิการซ� ้ำซ้ อน และเด็กที่มีภาวะบกพร่องด้ าน การเรียนรู้ (แอลดี) ปั จจุบันกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมัน่ คงของมนุษย์ได้ ประกาศประเภทและ หลักเกณฑ์ความพิการ ก�ำหนดให้ ออทิสติก ทุกกลุ่มอาการเป็ นความพิการประเภทหนึ่ง และสามารถขอเอกสารรั บรองความพิการ เพือ่ ใช้ ขึ ้นทะเบียนคนพิการ และรับสมุดผู้พกิ าร เพือ่ เข้ าถึงสิทธิใ์ นการรักษาพยาบาลเหมือนกับ เด็กทีม่ คี วามบกพร่องทางร่างกาย แม้ นโยบายดังกล่าวได้ รับเสียงตอบรั บ จ�ำนวนไม่น้อย หากขณะเดียวกันผู้ปกครอง ของเด็ ก กลุ่ม อาการออทิ ส ติ ก บางส่ ว นมี ความเห็นว่า รัฐไม่ควรตีตราเด็กกลุม่ นี ้ว่าเป็ น “คนพิการ” เพราะเขาแค่มี “ความต้ องการ พิเศษ” เท่านัน้ และแท้ จริ งแล้ ว หากเลือกได้ เด็ก ๆ ก็มิได้ ต้องการเป็ นคนพิเศษแต่อย่างใด ผู้ ปกครองกลุ่ ม นี จ้ ึ ง ไม่ ค วรน� ำ บุ ต รหลาน ไปขึน้ ทะเบียนคนพิการ และกลายเป็ นอี ก สาเหตุห นึ่ง ที่ ท� ำ ให้ ไ ม่ส ามารถระบุจ� ำ นวน เด็กออทิสติกที่แน่นอนในประเทศได้ ส�ำหรับ “เด็กออทิสติก” นัน้ ทางการแพทย์ เชื่อว่าเกิดจากความผิดปกติทางสมอง ท�ำให้ มีปัญหาทางสังคม การสื่อสาร พฤติกรรม กล้ า มเนื อ้ และความรู้ สึ ก เด็ ก เหล่ า นี จ้ ึ ง ไม่ ส ามารถสร้ างปฏิ สั ม พั น ธ์ รู้ ความคิ ด อารมณ์ พฤติกรรมสื่อความหมายของตัวเอง และคนรอบข้ างได้ ดีนกั
LOOKSILP FOR PRINT.indd 22
เด็กออทิสติก แสดงอาการและความผิด ปกติ อ อกมาหลายรู ปแบบแตกต่ า งกั น ปั จจุบันแบ่งเป็ น 3 ประเภท ได้ แก่ กลุ่มที่ ความสามารถสูง กลุม่ ที่ความสามารถระดับ ปานกลาง และกลุ่ม ที่ มี ค วามบกพร่ อ งขึน้ รุ น แรง เด็ก ๆ เหล่า นี จ้ ึง จ� ำ เป็ นต้ อ งได้ รั บ การศึกษาและการดูแลเป็ นพิเศษ
ครอบครัวธรรมดา ของเด็กพิเศษ “ตอนแรกพวกเราก็ไม่ร้ ูวา่ เขาไม่ปกติ” ศิ ริ รั ต น์ มณี น พไพศาล วัย 51 ปี พยาบาลโรงพยาบาลพุทธชินราช จ.พิษณุโลก เอ่ยถึงจันทร์ จิรา มณีนพไพศาล หลานสาวที่ มี อ าการผิ ด ปกติ ท างสมองส่ว นการบัง คับ กล้ ามเนื ้อและการหยิบจับตังแต่ ้ ก�ำเนิด เด็ ก หญิ ง ตัว น้ อยมี ค วามผิ ด ปกติ ด้ า น พัฒนาการ เนื่องจากมารดาประสบอุบตั เิ หตุ ถูกรถยนต์ชนเมื่อตังครรภ์ ้ ได้ 8 เดือน แม้ จะ โชคดีทอ่ี บุ ตั เิ หตุครังนั ้ นไม่ ้ ได้ คร่าชีวติ สองแม่ลกู ทว่าก็ส่งผลสะเทือนต่อชีวิตบริ สทุ ธิ์ในครรภ์ อย่างทีไ่ ม่มใี ครจะคาดคิด “ตอนแรกหลานสาวก็ปกติเหมือนเด็กปกติ จนเมือ่ เริ่มหัดเดิน หลานกลับเดินชน หลบสิง่ กีดขวางตรงหน้ าใกล้ ๆ ไม่ได้ ไม่สามารถก�ำ หรือจับสิง่ ของต่าง ๆ ไว้ ในมือ” ศิริรตั น์ กล่าวถึง สัญญาณแรกที่ปรากฏ ครอบครัวเองก็เริ่ มมี อาการวิตกกังวล แต่เพราะสมาชิกในครอบครัว ไม่เคยมีประวัตวิ า่ มีความบกพร่องดังกล่าว จึง ไม่มใี ครเอะใจ จนเมื่ อ หลานสาวมี อ ายุ ถึ ง เกณฑ์ เ ข้ า อนุ บ าล ครอบครั ว จึ ง พาไปเข้ าเรี ย นใน โรงเรี ยนแห่งหนึง่ ในจ.พิษณุโลก ตอนนันเด็ ้ ก น้ อยก็ดเู หมือนเด็กปกติ กระทัง่ ครูประจ�ำชัน้ ส่งสัญญาณครัง้ ต่อมา “ครู ประจ�ำชันรายงานพฤติ ้ กรรมกลับมา ที่บ้าน เขาบอกว่าหลานไม่เข้ าสังคม หยิบจับ สิ่งของไม่ได้ อ่านเขียนตามพัฒนาการของ เด็กรุ่นเดียวกันไม่ได้ ตัวหลานเองก็พดู บ่อย ๆ ว่า ไม่อยากไปโรงเรี ยน เพราะถูกครูลงโทษ” ครอบครัวมณีนพไพศาลจึงตัดสินใจพา หลานสาวไปตรวจทีโ่ รงพยาบาล ผลปรากฏว่า จันทร์ จิรามีพฒ ั นาการช้ ากว่าเด็กรุ่นเดียวกัน เธอไม่สามารถหยิบจับสิง่ ของได้ เอง การอ่าน
เขียนช้ า รวมถึงมีภาวะทางอารมณ์ทแี่ ปรปรวน และรุนแรง แพทย์วนิ จิ ฉัยว่าความผิดปกตินี ้เกิด จากภาวะสมองได้ รับการกระทบกระเทือน อย่างรุนแรงตังแต่ ้ ครัง้ อยูใ่ นครรภ์ เมื่อคนในครอบครัวไม่เคยมี “คนพิเศษ” มาก่อน การดูแลเด็กที่มีความต้ องการเป็ น พิเศษเช่นนี ้จึงไม่ใช่เรื่ องง่ายแก่การรับมือ “ตอนทีร่ ้ ูวา่ หลานผิดปกติ ทังครอบครั ้ วท�ำ อะไรไม่ถกู ไม่เคยมีคนในครอบครัวเป็ นแบบ นี ้มาก่อน มันมืดไปหมด ทุกคนจึงมานัง่ คุยกัน และตัดสินใจว่า เราต้ องดูแลเขาอย่างใกล้ ชิด ทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้ ” ศิริรัตน์ผ้ มู ศี กั ดิเ์ ป็ นอาเล่า ด้ วยความทีเ่ ธอเป็ นพยาบาล จึงอาสาเป็ น ผู้ดูแ ลหลานสาวอย่า งใกล้ ชิ ด นับ ตัง้ แต่นัน้ เป็ นต้ น มา รวมถึง ตัด สิน ใจย้ า ยจัน ทร์ จิ ร า ไปเรียนทีโ่ รงเรียนพิษณุโลกปั ญญานุกลู ซึง่ เป็ น โรงเรียนทีร่ องรับเด็กเฉพาะกลุม่ โดยเฉพาะ หลังจากนันจั ้ นทร์ จริ าได้ เข้ าพบแพทย์เป็ น ประจ� ำ แต่พัฒนาการกลับไม่ดีขึน้ มากนัก ขณะนีจ้ ันทร์ จิราอายุ 19 ปี ทางครอบครัว ตัดสินใจไม่ให้ จนั ทร์ จริ าเข้ าศึกษาต่อในระดับ ชั น้ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย เนื่ อ งจากตัว จันทร์ จิ ร าเองไม่สามารถอ่า นออกเขี ยนได้ รวมถึงเธอตัดสินใจที่จะอยูบ่ ้ านเองด้ วย ดังนัน้ ในแต่ละวันของจันทร์ จิราจึงอยู่ท่ี โรงพยาบาลที่ศริ ิรัตน์ท�ำงานและร้ านขายของ ของครอบครัว ช่วยเหลือและแบ่งเบาภาระ เท่าที่คนที่มีความพิเศษเช่นเธอจะสามารถ ท�ำได้ “เด็กพิเศษ ไม่ได้ เป็ นตัวประหลาดหรื อตัว ปั ญหาอะไร เขาแค่ ต้ องการการดู แ ลที่ แตกต่างจากคนอื่น บางครัง้ หลายครอบครัว ไม่ทราบ สิ่ง ที่ ส� ำ คัญ ที่ สุดคื อ ความเข้ า ใจ เริ่ ม แรกเราต้ อ งเข้ า ใจและยอมรั บ ว่ า ต้ อ ง เผชิญอะไรบ้ าง และอย่างที่สองเราต้ องเข้ าใจ ความต้ องการพิ เ ศษจากคนของเราเอง” ศิริรัตน์ทิ ้งท้ ายถึงสิง่ ที่เธอค้ นพบ
การจัดการศึกษาพิเศษ เพื่อคนพิเศษ
นับตังแต่ ้ กระทรวงศึกษาธิการอนุญาตให้ โรงเรี ยนที่มีความพร้ อมสามารถรับเด็กพิการ เข้ าเรี ยนร่ วมกับเด็กปกติได้ เด็กออทิสติกซึง่ เป็ นกลุ่ ม เด็ ก ที่ มี ค วามต้ องการพิ เ ศษก็ มี โอกาสเข้ าถึงระบบการศึกษามากยิ่งขึ ้น
ระพี พ ร ศุ ภมหิ ธ ร ผู้ อ� ำ นวยการ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์ วิจัยและพัฒนาการศึกษา เปิ ดเผยว่า นอกจากให้ การศึกษาแก่เด็กปกติแล้ ว โรงเรียน แห่งนี ้ยังมีการจัดการศึกษาพิเศษส�ำหรับเด็ก ผู้มคี วามบกพร่อง 3 กลุม่ ได้ แก่ นักเรียนทีม่ ี ความบกพร่ องทางการเรี ยนรู้ นักเรี ยนที่มี วุฒภิ าวะไม่สมวัย และนักเรียนออทิสติก “วิธีการสอนเด็กพิเศษไม่ได้ เป็ นเรื่องยาก ขึ ้นอยูก่ บั ระบบการดูแลทีด่ ี เด็กออทิสติกทีจ่ ะ เข้ ามาเรียนในโรงเรียนนี ้ได้ ต้องได้ รบั การรับรอง จากโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ว่า เป็ นเด็กพิเศษที่มีความบกพร่องจริง และเมื่อ เปิ ดภาคเรี ยนจะประชุมอาจารย์ทกุ ระดับชัน้ เพื่ อ ชี แ้ จงผลวิ นิ จ ฉั ย เด็ ก เหล่ า นี จ้ ากทาง โรงพยาบาลให้ ทราบว่า เด็กมีปัญหาด้ านใด อะไรเป็ นตัวเร้ าให้ เขาเรียนได้ ดหี รือได้ ไม่ดบี ้ าง” จากการสัมผัสเด็กพิเศษที่ผา่ นมา เธอพบ ว่า การที่เด็กออทิสติกมีความบกพร่ องทาง ด้ านภาษาและการสื่อความหมาย ร่ วมกับ ความบกพร่ องด้ านการเข้ าสั ง คมและ การสร้ างสัมพันธ์ กับผู้อื่น ส่งผลให้ เด็กขาด ทักษะการสือ่ สารในการพูด การอ่านหรือเขียน บางคนเรี ย บเรี ย งประโยคออกมาได้ ไ ม่ ดี ไม่สามารถอธิ บายความรู้ สึกของตนเองได้ ท�ำให้ มีปัญหาในการเริ่ มบทสนทนาก่อน “เมื่อมีเพื่อน เขาจะรู้สกึ หวงคน ๆ นันเป็ ้ น พิเศษ อาชีพที่เหมาะสมกับพวกเขาจึงเป็ น อาชีพที่ไม่ต้องคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ ไม่จ�ำเป็ นต้ องเกี่ยวข้ องกับคนอื่นมากนัก” ผู้อ�ำนวยการ ร.ร.สาธิตแห่งมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ฯ กล่ า วต่ อ ไปว่ า ที่ ผ่ า นมา โรงเรี ยนเปิ ดรับเด็กออทิสติกตังแต่ ้ ชนเตรี ั ้ ยม ประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาปี ที่ 6 จัดการให้ ชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 1-2 เรียนในห้ องเรียนของ โครงการการศึกษาพิเศษและเรียนร่วมกับเด็ก ปกติในบางวิชา อย่าง ศิลปะ พละ ดนตรี เด็ก เหล่านี ้จึงมีโอกาสได้ ปรับตัวและท�ำความรู้จกั กับคนอืน่ มากขึ ้น เมือ่ ขึ ้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ถึง มัธยมศึกษาปี ที่ 6 จะเรี ยนร่ วมกับเด็กปกติ เต็ ม เวลาโดยมี อ าจารย์ ป ระจ� ำ โครงการฯ ติ ด ตามและให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ในสัด ส่ ว น เด็กออทิสติก 2-3 คนต่ออาจารย์ 1 คน เธอเล่ า ให้ ฟั ง ว่ า มี เ ด็ ก ออทิ ส ติ ก กลุ่ม ที่มีความบกพร่ องรุ นแรง ไม่สามารถเข้ าใจ เนื ้อหาในรายวิชาได้ และถ้ าเกิดความเครี ยด
25/1/2559 10:38:02
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
มักส่งเสียงดัง ท�ำร้ ายตัวเอง แต่ทางโรงเรี ยน เลือกที่จะไม่ตดั โอกาสเด็กเหล่านี ้ พวกเขา ยังได้ เรี ยนกับเด็กปกติโดยมีอาจารย์ประจ�ำ โครงการฯ ท�ำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลอย่าง เข้ มข้ น แต่บางครัง้ ผู้ปกครองบางคนไม่เห็น ด้ วย เพราะเห็นว่าเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ เด็กที่ มีความบกพร่องกลัน่ แกล้ งเด็กปกติ เนือ่ งจาก มีภาวะทางอารมณ์แปรปรวน “ในทางกลับกันผู้ปกครองก็ไม่ได้ ตระหนัก ถึงปั ญหานี ้ว่า เด็กปกติอาจเป็ นฝ่ ายกลัน่ แกล้ ง เด็กพิเศษได้ เหมือนกัน น�ำมาสูค่ วามไม่เข้ าใจ ซึง่ กันและกัน ฉะนันการแก้ ้ ปัญหาทีถ่ กู ต้ อง คือ การเปิ ดใจยอมรับในความแตกต่าง ถึงเรามีทงั ้ เด็กปกติแกล้ งเด็กพิเศษ และเด็กพิเศษแกล้ ง เด็ก ปกติ เช่น การล้ อ ชื่ อ เล่นหรื อ ล้ อ เลีย น ท่าทาง ก็เป็ นเรื่ องธรรมดาของการอยูร่ ่วมกัน อยูท่ วี่ า่ เราจะยอมรับพวกเขาหรือไม่ ” แนวทางการจัดการศึกษาส�ำหรับเด็กพิเศษ จึ ง ส� ำ คั ญ ที่ ทั ศ นคติ ข องครู ที่ ต้ องเชื่ อ ใน พัฒนาการของเด็ก เข้ าใจปั ญหาที่เกิดจาก ความบกพร่องของเขา ขณะเดียวกันก็ต้องเน้ น การพั ฒ นาทั ก ษะต่ า ง ๆ ของเด็ ก กลุ่ ม นี ้ ให้ เต็มศักยภาพ และดึงความสามารถเฉพาะ ตัวของเขาออกมา นอกจากโรงเรี ยนกลางเมื องหลวงแล้ ว พื ้นทีห่ า่ งไกลอย่างอ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี ยังมีโรงเรียนเล็ก ๆ แห่งหนึง่ ทีใ่ ห้ การศึกษาแก่ เด็กพิเศษโดยใช้ แนวทางการจัดการศึกษา ทางเลือก “นีโอฮิวแมนนิสต์” (Neo-Humanist) ซึง่ เน้ นการท�ำความรู้จกั ตัวเอง การพัฒนาจิตใจ และเคารพสรรพสิ่งธรรมชาติรอบกายเป็ น ศูนย์กลางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วัชราภรณ์ ใจซื่อ หรือ ครูอ้อ ผู้จดั การ โรงเรียนบ้ านอุน่ รักเล่าให้ ฟังว่า โรงเรียนแห่งนี ้ มีครู 25 คน มีนกั เรียนตังแต่ ้ ระดับอนุบาลถึง ระดั บ มั ธ ยมตอนต้ นประมาณ 250 คน ในจ�ำนวนนี ้มีเด็กออทิสติกมากถึงร้ อยละ 10 แม้ วา่ เด็ก ๆ จะมาจากหลายเชื ้อชาติทงไทย ั้ มอญ กะเหรี่ยงและพม่า แต่ภาษาก็ไม่ได้ เป็ น อุปสรรคต่อการสือ่ สารระหว่างกัน “แนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรี ยน ตังอยู ้ ่บนปรัชญาที่ต่างจากกระแสหลัก ที่นี่ นอกจากความรู้วชิ าการแล้ ว เราปลูกฝั งให้ เด็ก รู้ สกึ เป็ นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ มีการฝึ กนัง่ สมาธิ ท�ำโยคะ นอกจากพัฒนาทักษะฟั ง พูด คิด อ่าน เขียนแล้ ว การรู้จกั ตัวตนและมัน่ ใจใน ตัวเองก็ได้ บรรจุเป็ นหนึง่ ในหลักสูตรการสอน ซึง่ ทุกปิ ดภาคเรียนจะมีการจัดสัมมนาอาจารย์ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง และพัฒ นาหลัก สูต ร รวมถึ ง แลกเปลี่ยนวิธีการรับมือเด็กพิเศษในแต่ละ สถานการณ์ เพราะเรามีเด็กพิเศษมาเรี ยน ด้ วย” ผู้จดั การโรงเรียนบ้านอุน่ รักกล่าวต่อว่า การ สอนเฉพาะเด็กออทิสติกหรือสอนเด็กออทิสติก ร่ วมกับเด็กปกติ ครู ต้องใช้ ศิลปะในการพูด และจิตวิทยาอย่างมาก เช่น เน้ นพูดเชิงบวก
สารคดีเชิ งข่าว ไม่สร้ างความอับอายด้ วยการพูดถึงปมด้ อย “เราต้ องเข้ าหาเด็กพิเศษมากกว่าปกติ เพราะบางคนชอบอยูค่ นเดียว มีโลกส่วนตัวสูง ครู ต้องหมัน่ สังเกตว่า ที่เขามีอาการเงียบซึม เป็ นปกติ หรื อ ว่ า ก� ำ ลัง ป่ วย เฝ้ าระวัง การ กลัน่ แกล้ งหรื อล้ อเลียนในชันเรี ้ ยน สังเกตว่า เวลาอยูใ่ นสังคมในห้ องเรียน เด็กมีพฤติกรรม เป็ นอย่างไร นอกจากนี ้ ครู ยงั ต้ องประยุกต์ แผนการสอนให้ ได้ ทงเด็ ั ้ กพิเศษและเด็กปกติ ซึง่ ท�ำกิจกรรมทุกอย่างเหมือนกัน แต่เกณฑ์ ทีใ่ ช้ วดั ต่างกัน” เธอยื น ยัน ว่ า การสอนเด็ ก พิ เ ศษไม่ ไ ด้ สร้ างความล�ำบาก เพียงแต่ต้องหมัน่ สังเกต พฤติ ก รรมและพั ฒ นาการบางอย่ า งของ เด็กพิเศษทีอ่ าจคาดไม่ถงึ บางครัง้ เมือ่ ได้ เห็น ความแตกต่างก็เป็ นเสมือนเป็ นการจุดประกาย ซึง่ น�ำไปสูก่ ารเรียนรู้ใหม่สำ� หรับคนเป็ นครู สิ น้ เสี ย งเพลงชาติ หลัง จากกิ จ กรรม สวดมนต์ นัง่ สมาธิ ณ ลานเข้ าแถวเสร็จสิ ้นลง ครู สี หรื อ สินาภรณ์ สังขคีรี ครูประจ�ำชัน้ ห้ องเรี ยนเด็กพิเศษ ระดับประถมศึกษาปี ที่ 5 ผู้ดแู ลติดตามเด็กออทิสติกทัง้ 14 คนมาตังแต่ ้ พวกเขายังเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 4 เริ่มต้ น ชั น้ เรี ย นด้ วยการทั ก ทายนั ก เรี ยนในชั น้ ต่อด้ วยการเล่านิทานพร้ อมสอดแทรกความรู้ คุณธรรมลงไปผ่านการตังค� ้ ำถาม ชวนเด็ก ๆ แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และหาข้ อสรุ ป ร่วมกัน ก่อนแยกย้ ายไปเรี ยนวิชาตามตาราง สอน ซึง่ เป็ นการเรียนร่วมกับเด็กปกติ ก่อนจะ กลับมาพบครูประจ�ำชันอี ้ กครังหลั ้ งเลิกเรียน เพือ่ ทบทวนสิง่ ทีเ่ รียนมาและช่วยกันท�ำการบ้าน ครูสี เล่าว่า เด็กพิเศษแต่ละคนไม่เหมือน กันและมีหลากหลายพฤติกรรม เธอจึงต้ อง รับมือไปตามแต่ละสถานการณ์เพื่อให้ เข้ าหา พวกเขาได้ มากขึ ้น ซึง่ เธอเองก็ต้องเรี ยนรู้ ไป พร้ อม ๆ กับพวกเขา “พยายามท� ำให้ พวกเขาได้ ร้ ู จักแบ่งปั น บางคนสามารถแบ่งปั นให้ คนอื่น ๆ ได้ เลย แต่บางคนต้ องค่อย ๆ ปรับ อาจมีดกุ นั บ้ าง เคยมี ก รณี ที่ ต้ อ งเรี ย กมานั่ง คุย กัน ทัง้ ห้ อ ง ว่าเป็ นแบบนี ้เพราะอะไร แล้ วให้ พวกเขาช่วย กัน คิ ด หาทางออก บางครั ง้ ต้ อ งคอยบอก คอยเตือน ทดเวลาสอนกันไป ค่อย ๆ เรี ยนรู้ และปรับตัวไปพร้ อมกับเขา” เธอพูดถึงงานดูแลเด็กพิเศษทัง้ 14 คน ด้ วยใบหน้ ายิ ้มแย้ ม หน้ าที่ของเธอสะท้ อนภาพการเป็ นเพื่อน เป็ นพี่ เป็ นครูทรี่ ้ ูใจและคอยอยูเ่ คียงข้ างเด็ก ๆ เพราะส่วนใหญ่ครู ประจ�ำชันมี ้ หน้ าที่ในดูแล ด้ านพฤติกรรมมากกว่าด้ านวิชาการที่จะเป็ น หน้ าที่ของครูประจ�ำวิชา ส�ำหรับการวัดผลการเรี ยนของเด็กพิเศษ ครู สีเล่าว่าแม้ จะอ้ างอิงเกณฑ์ตามหลักสูตร การศึกษากลางแต่จะลดมาตรฐานลงมา ดังนัน้ แม้ ความสามารถด้ านวิชาการของเด็กกลุม่ นี ้ จะสู้เด็กในวัยเดียวกันไม่ได้ แต่ครูสียืนยันว่า
วัชราภรณ์ ใจซื่ อ หรือ ครูออ้ ผู จ้ ดั การโรงเรียนบ้านอุ น่ รัก
LOOKSILP FOR PRINT.indd 23
23
ความสามารถด้ านกิจกรรมของพวกเขาไม่เคย แพ้ ใคร พวกเขาชอบร้ องเพลง เต้ น เล่นดนตรี โดยมีเธอและโรงเรี ยนคอยสนับสนุนอยูเ่ สมอ เพือ่ ให้ พวกเขาได้ มคี วามเชือ่ มัน่ ในตัวเอง และ มีความสุขสมวัย การท�ำหน้ าทีข่ องครูเด็กพิเศษทีบ่ ้ านอุน่ รัก ไม่ได้ เริ่ มต้ นและสิ ้นสุดลงตามเวลาเปิ ด-ปิ ด ของรัว้ โรงเรี ยน หากยังคง ด�ำเนินอย่างต่อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจากเด็ ก ส่ ว นใหญ่ ที่ ม าเรี ย นที่ บ้ านอุ่นรักเป็ นเด็กด้ อยโอกาส และมีปัญหา ยากจน ครูจงึ ต้ องท�ำ หน้ าที่ประหนึง่ สมาชิก ในครอบครั ว พูดคุย สอบถามและติดตาม พฤติกรรมของเด็ก ๆ เหล่านี ้อย่างใกล้ ชิด เพื่อ ให้ คำ� ปรึกษา แก่ผ้ ปู กครองในยามทีผ่ ้ ปู กครอง ต้ องการได้ อย่างทันท่วงที
การช่วยเหลือเด็กออทิสติกต้ องผสมผสาน วิธีการต่าง ๆ ให้ เหมาะสม ทังการฝึ ้ กทักษะ การสือ่ ภาษา การส่งเสริ มและปรับพฤติกรรม การส่งเสริ มการเรี ยนรู้ การฝึ กการเคลื่อนไหว การฝึ กทักษะชีวิต รวมทังการจั ้ ดการศึกษา ซึ่ ง ค ว ร มี ก า ร จั ด ก า ร อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ เพื่อส่งเสริ มคุณภาพชีวิตบุคคลออทิสติก เป็ นความจริ งที่ ว่ า หากโรงเรี ยนมี ความพร้ อมเปิ ดรั บ เด็ ก พิ เ ศษและสั ง คม ยอมรั บ เด็ ก เหล่ า นี ม้ ากขึ น้ จะท� ำ ให้ เด็ ก ออทิสติกเข้ าถึงระบบการศึกษาพิเศษและ สามารถประกอบอาชีพเลี ้ยงดูตนเองได้ ปั จจุ บั น ข่ า วคราวของ “เด็ ก พิ เ ศษ” ทีป่ รากฎในสือ่ มวลชน ท�ำให้ สงั คมบางส่วนได้ เปิ ดใจ ท� ำ ความรู้ จัก “ความไม่ ธ รรมดา” พวกเขามากขึ ้น แม้ ค วามผิ ด ปกติ ที่ พ วกเขาเลื อ กไม่ ไ ด้ ก้าวต่อไปของการจัดการศึกษา ตัง้ แต่เกิดจะส่งผลให้ พวกเขามีชีวิตที่เหลือ เพื่อคนพิเศษ แตกต่างจากคนอื่น และถูกเรี ยกขานว่าเป็ น เอกสารแถลงการณ์รณรงค์ออทิสติกไทย “เด็กพิเศษ” ทว่าลึกลงไปภายใต้ หัวใจของ ของสมาคมผู้ปกครองออทิซึ่ม(ไทย)ระบุว่า พวกเขาแล้ ว เด็กพิเศษมิได้ ต้องการอะไรมาก สถิติของเด็กหรื อบุคคลออทิสติกทัว่ โลกเพิ่ม ไปกว่ า “โอกาส” ในการศึ ก ษาและสิ ท ธิ มากขึ ้น โดยมีจ�ำนวนประมาณ 35 ล้ านคน ที่จะได้ รับพัฒนาการที่สมวัย เพื่อเติบโตเป็ น ส� ำ หรั บ ประเทศไทย คาดว่ า จะมี จ� ำ นวน สมาชิกของสังคมที่มีคณ ุ ภาพ ประมาณ 370,000 คน และในจ�ำนวนนี ้ ไม่วา่ อย่างไร เด็กทุกคนก็คอื เด็กทีค่ วรมีสทิ ธิ ไม่สามารถเข้ าถึงระบบการศึกษาได้ ทงหมด ั้ ทีจ่ ะเข้าถึงโอกาสทีด่ ใี นชีวติ อย่างเท่าเทียมกัน
“การศึกษาพิเศษ” ในต่างประเทศ หลายประเทศมีพฒ ั นาการ “การศึกษา พิเศษ” จนกลายเป็ นกฎหมาย นโยบาย และบริการด้ านการศึกษาเพือ่ สามารถตอบ สนองความต้ องการและเป็ นสิทธิให้ แก่เด็ก พิการได้ ในปั จจุบนั อย่าง สหรัฐอเมริ กา เริ่ มตังโรงเรี ้ ยน เฉพาะทางส�ำหรับเด็กพิการแต่ละประเภท ขึ ้น แต่ต่อมาพบว่ากลับเป็ นการแยกเด็ก เหล่านี ้ออกจากสังคม ซึง่ ขัดต่อรัฐธรรมนูญ จึงให้ พวกเขาเข้ าเรี ยนร่วมกับเด็กปกติ ซึง่ พบว่า ท� ำ ให้ เ ด็ก ๆ เข้ า ใจข้ อ จ� ำ กัด และ ความสามารถของกันและกัน จากนันรั ้ ฐ ได้ ข ยายการศึก ษาพิ เ ศษแบบเรี ย นร่ ว ม มากขึ ้น ขณะเดียวกันได้ ลดงบประมาณ โรงเรี ยนเฉพาะทางส�ำหรั บเด็กพิเศษลง ด้ านครอบครัวเด็กเหล่านี ้สามารถเลือกส่ง ลูกหลานเข้ าโรงเรี ยนใดโรงเรี ยนหนึง่ และ มีสว่ นร่วมในการท�ำแผนการศึกษาเฉพาะ บุคคล วัดผลประเมินต่าง ๆ ในกิจกรรม นอกหลักสูตร เมือ่ การศึกษาพิเศษกลายเป็ นส่วนหนึง่ ข อ ง ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ป ก ติ ท� ำ ใ ห้ สหรัฐอเมริ กามีการอบรมครู เด็กปกติให้ มี ความเข้ าใจความต้ องการ ข้ อจ� ำ กั ด ความสามารถของเด็ ก พิ ก าร และ มีการก�ำหนดกฎหมายการศึกษาขึ ้น หาก โรงเรี ยนใดเปิ ดรั บเด็กเหล่า นี ก้ ็ จ ะได้ รั บ งบประมาณตามมา เพื่ อ ว่ า ในอนาคต ทุกคนสามารถยอมรับความแตกต่างของ กันและกันได้ ด้ าน สวีเดน ได้ จดั ตังโรงเรี ้ ยนส�ำหรับ เด็กพิการขึ ้นเหมือนโรงเรียนเด็กปกติ และ มีความพยายามให้ เด็กพิการเข้ าเรี ยนร่วม กับเด็กปกติเท่าทีจ่ ะท�ำได้ โดยรัฐรับผิดชอบ ค่าใช้ จา่ ยทังหมด ้ และมุง่ หวังให้ เด็กทุกคน ได้ รับการสอน การเลี ้ยงดู และการรักษา ตามทีพ่ วกเขาต้ องการ การจัดเด็กเข้ าเรียน
ชั น้ พิ เ ศษที่ ไ ด้ รั บการสนั บ สนุ น ทาง การแพทย์ การสอนและการเข้ า สัง คม เป็ นการแก้ ปัญหาเด็กพิการได้ อย่างมาก ไม่ ต่า งกับ ออสเตรเลี ย มี น โนบาย ส่งเสริ มให้ เด็กพิการเรี ยนร่วมกับเด็กปกติ และพยายามยุบหน่วยการศึกษาเฉพาะ ทางส�ำหรับเด็กพิการลง แม้ มเี สียงจากคน ที่เกี่ยวข้ องกับการศึกษาพิเศษบางส่วนว่า หน่ว ยการศึกษาเฉพาะทางส�ำหรั บเด็ก พิการยังมีความจ�ำเป็ นอยู่ นอกจากนี ้ได้ เน้ นให้ ค�ำแนะน�ำแก่ผ้ ปู กครองและพัฒนา เด็กพิการที่ แพทย์ วินิจฉัยว่าสามารถได้ ทุกอย่างเช่นเดียวกับเด็กปกติ ด้ าน ญี่ปนุ่ มีการจัดตังโรงเรี ้ ยนเฉพาะ ทางส�ำหรั บคนหูหนวกและตาบอดก่อน ความความพิ ก ารประเภทอื่ น ต่ อ มา มี โ รงเรี ยนส� ำ หรั บเด็ ก ปั ญญาอ่ อ น และความบกพร่ องทางร่ างกายขึน้ ในปี 2449 กฎหมายของญี่ปนครอบคลุ ุ่ มการ ศึกษาของเด็กพิการ ส่วนใหญ่เด็กเหล่านี ้ เข้ าเรี ยนในโรงเรี ยนเฉพาะทาง กระทัง่ ปี 2530 มีการตังโรงเรี ้ ยนเรี ยนร่ วมตัวอย่าง จนขยายตัวออกไปทัว่ ประเทศ โดยมีเจ้ า หน้ าทีท่ ้ องถิน่ ส�ำรวจเด็กพิการในพื ้นทีแ่ ละ ค�ำแนะน�ำแก่ผ้ ูปกครองเกี่ยวกับการเข้ า โรงเรียนของเด็กเหล่านี ้ “การศึกษาพิเศษ” เป็ นสิง่ จ�ำเป็ นส�ำหรับ เด็กพิการ หรือ เด็กทีม่ คี วามต้ องการพิเศษ เพื่อให้ พวกเขาสามารถพัฒนาตัวเองได้ เต็ ม ศัก ยภาพ และเป็ นสิ่ ง ส� ำ คัญ ที่ รั ฐ ควรใส่ใจ ไม่ควรมองข้ ามความต้ องการ ของเด็กเหล่านี ้ ข้ อ มู ล จาก: http://e-book.ram.edu/e-book/e/ES203/ ES203(50)-5.pdf
ภัทรานิษฐ์ จิตส�ำรวย รินพร ออกเวหา สกลสุภา กระดังงา ภีมรพี ธุ รารัตน์
25/1/2559 10:38:02
สิทธิการศึกษา
24
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ห้ อ งสมุ ดประชาชนร้ า ง!
รั ฐ ไ ม่ แ ย แ ส พั ฒ น า จ ริ ง จั ง ผู ้ใช้ห้องสมุดประชาชนลดฮวบ นักอ่านบ่นสภาพทรุ ดโทรม-หนังสือไม่ทันสมัย บรรณารักษ์ครวญงบประมาณไม่เพียงพอ หนุนจัดกิจกรรมดึงคนเข้า นักวิชาการชี้ ไทยไม่ปลูกฝั งวัฒนธรรมการอ่าน-เด็กไทยหาความรู ้เองไม่เป็น สัดส่วนห้องสมุดประชาชน ต่อ ผู้ใช้บริการ ห้องสมุด
1
ห้องสมุด
ผู้ใช้บริการ
ต่อ
แห่ง
263,157 1 คน
คน
50
56
54
42
สัดส่วนในกทม. จำนวน 38 แห่ง 25 25
ล้านคน
เพิ่ม
73,707
ต่อ
แห่ง
สัดส่วนทั้งประเทศ จำนวน 909 แห่ง
สถิติการอ่าน
ผู้ใช้บริการ
ล้านคน
สถิติการเข้าห้องสมุด 2554
(1ล้านคน) 2556
(
(7แสนคน)
ลด = 1 แสนคน)
สาเหตุ สถิติพฤติกรรมการอ่าน (ร้อยละ) 10.1
0.3
1.8
4.7
2554
2556
2554
สมาร์ทโฟน
2556
อินเทอร์เน็ต
เหตุผลที่ต้องอ่านหนังสือเล่ม? การอ่านผ่านคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดอาการวอกแวก รับสารได้ไม่เต็มที่ อาจเสียสุขภาพดวงตาจากการเพ่ง เสี่ยงเป็นโรคคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม การสัมผัสกระดาษช่วยให้ เราเข้าใจเนื้อหาได้ดีย่งิ ขึ้น
การอ่านป้องกันอัลไซเมอร์ เพิ่มประสิทธิภาพสมองในการเรียนรู้
ข้อมูลสถิติ : สำนักงานสถิติแห่งชาติ และ ทีเค ปาร์ค ข้อมูลงานวิจัยการอ่านหนังสือเล่มดีกว่า จาก การรวบรวมของเว็บไซต์ Internation Business Time : Book is better then E-book
LOOKSILP FOR PRINT.indd 24
ห้ องแถว 2 ชัน้ ขนาด 1 คูหา ริ มถนน ประชาธิ ปก ภายในมี โ ต๊ ะไม้ 3 โต๊ ะ มี คนวัย 40-50 ปี นั่งอ่านหนังสือพิมพ์ อยู่ เกื อ บเต็ ม คื อ ห้ องสมุ ด เพื่ อ การเรี ยนรู้ คลองสาน ที่ นี่ ใ ห้ บริ ก ารยื ม -คื น หนั ง สื อ ด้ ว ย ร ะ บ บ ล ง ล า ย มื อ แ ล ะ ใ ห้ บ ริ ก า ร อิ น เทอร์ เน็ ต ห้ องสมุ ด ประชาชนสั ง กั ด กรุ งเทพมหานคร (กทม.) แห่งนี ้ปี 2558 มี ผู้ใ ช้ บ ริ ก าร 10,000 คนต่อ ปี ลดลงอย่า ง ต่อเนื่องในรอบ 2 ปี หลังสุด จากปี 2557 ที่ มีผ้ ใู ช้ บริ การ 15,000 คนต่อปี ส่วนปี 2556 มีผ้ ใู ช้ บริ การ 16,000 คนต่อปี ส่วนห้ องสมุดเพื่อการเรี ยนรู้ซอยพระนาง ริมถนนราชวิถี ฝั่งมุง่ หน้ าไปแยกดินแดง แม้ เป็ น ห้ องสมุดประชาชน 1 ใน 3 แห่งแรกของ กทม. ที่ ป รั บ ปรุ ง ระบบการยื ม -คื น หนัง สื อ โดยใช้ คอมพิ ว เตอร์ เ ข้ า มาช่ว ย และยัง สร้ างห้ อ ง ท�ำการบ้ าน ห้ องอินเทอร์ เน็ต ห้ องส�ำหรับเด็ก และห้ องฉายภาพยนตร์ ตังแต่ ้ ปี 2548 เพือ่ เป็ น แหล่งเรียนรู้และท�ำกิจกรรมร่วมกันของเด็กและ ผู้ใหญ่ในชุมชนย่านนัน้ แต่ปี 2557 มีผ้ ใู ช้ บริการ 200,000 คน ลดลงจากปี ก่อนหน้ านันเกื ้ อบ 5 เท่า โดยปี 2556 มีผ้ ใู ช้ บริการ 980,000 คน ขณะที่หอสมุดแห่งชาติ สังกัดกระทรวง วัฒนธรรม ในรอบ 3 ปี ที่ผา่ นมา เฉลีย่ มีผ้ ใู ช้ ปี ละ 300,000 คน ปี 2558 มีผ้ ูใช้ บริ การ 310,000 คน ลดลงจากปี 2557 ประมาณ 50,000 คน นางศิราภรณ์ พัฒน์ จนั ทร บรรณารักษ์ ช� ำ น า ญ ก า ร ห้ อ ง ส มุ ด เ พื่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ซอยพระนาง กล่าวว่า ปั จจัยที่ท�ำให้ คนใน ชุมชนใช้ ห้องสมุดประชาชนน้ อยลงคือ ท�ำเล แ ล ะ ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร เ ดิ น ท า ง การประชาสัมพันธ์ ไม่ทวั่ ถึง ความพร้ อมใน การให้ บริการสารสนเทศและหนังสือใหม่ของ ห้ องสมุด และการเข้ าถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ ได้ เองของประชาชน ตลอดจนการปลูกฝั ง นิสยั รักการอ่านในชุมชน “กทม.จัด สรรงบประมาณให้ ห้ อ งสมุด ประชาชนทัว่ กรุงเทพฯ ปี ละ 10 ล้ านบาท ตาม ขนาดของห้ องสมุด ไม่รวมค่าจัดซื ้อวารสาร และหนังสือพิมพ์ แต่งบจ�ำนวนนี ้ไม่มากพอจะ พัฒนาการให้ บริ การสารสนเทศใหม่ ๆ หรื อ จัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน” นางศิราภรณ์ กล่าว นางสาววาสนา งามดวงใจ บรรณารักษ์ ช�ำนาญการพิเศษหอสมุดแห่งชาติ กล่าวว่า รั ฐ ไทยไม่ ไ ด้ ส นับ สนุน วัฒ นธรรมการอ่ า น เหมือนต่างประเทศ คนใช้ ห้องสมุดแค่ค้นคว้ า ไม่ได้ ใช้ เพื่อการพักผ่อนตามปรัชญาการใช้ ห้ องสมุด จึงไม่เคยพัฒนาห้ องสมุดให้ ดงึ ดูด แม้ มีนโยบายท�ำห้ องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ แต่ ไม่บรรจุเป็ นแผนของประเทศ
นายโสรัจจ์ หงส์ลดารมภ์ รองศาสตราจารย์ ประจ� ำ คณะอั ก ษรศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การที่รัฐไม่ส่งเสริ ม วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร อ่ า น ส ะ ท้ อ น ใ ห้ เ ห็ น ความไม่พ ร้ อมของประเทศ หากเที ย บกับ ต่ า งประเทศอย่ า งสวี เ ดน ห้ องสมุ ด เป็ น สถานที่ ส� ำ คัญ มี อ ยู่ทุก หมู่บ้ า น และได้ รั บ การพัฒนาอย่างจริงจัง ครอบครัวพาลูกหลาน ไปห้ อ งสมุด แม้ แ ต่ ห นัง สื อ วิ ช าการก็ อ่ า น เพลิดเพลินได้ ไม่มีความคิดแยกความบันเทิง และวิชาการออกจากกัน “ต่างประเทศให้ ความส�ำคัญกับห้ องสมุด อย่ า งมุ ม เรี ยนรู้ ของเด็ ก อาจจะมี ต๊ ุ กตา ไดโนเสาร์ ให้ เด็ ก เล่ น เป็ นสื่ อ ที่ ใ ห้ ทั ง้ ความเพลิดเพลินและความรู้ในเวลาเดียวกัน แต่ในประเทศไทยยังมีคนที่คดิ ว่า แม้ จะสร้ าง ห้ องสมุดดีแค่ไหนก็ไม่มีใครเข้ า สะท้ อนว่า ประเทศไทยไม่ได้ ปลูกฝั งวัฒนธรรมการอ่าน เลย ซึ่ ง หมายถึ ง ไม่ ไ ด้ เน้ นการศึ ก ษาหา ความรู้ได้ ด้วยตัวเองเป็ น” นายโสรัจจ์กล่าว นางสาวบุณฑริ กา อินทร์ ต้ ุม นักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ใช้ บริ การหอสมุด แห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ กล่าวว่า ห้ องสมุดประชาชนมีสภาพทรุดโทรมไม่นา่ ใช้ หนังสือไม่ทนั สมัย บางเล่มเป็ นต�ำราตังแต่ ้ 50 ปี ก่ อ นซึ่ ง เลิ ก ใช้ ไปแล้ ว แม้ ใ ห้ บ ริ ก าร อินเทอร์ เน็ตแต่ความเร็ วช้ ามาก นอกจากนี ้ ไม่มกี จิ กรรมดึงดูดหรือประชาสัมพันธ์ไม่ทวั่ ถึง นางวัชรีภรณ์ โกสินเจริญชัย บรรณารักษ์ ช� ำ นาญการพิ เ ศษ สถาบั น ส่ ง เสริ ม และ พัฒนาการเรียนรู้ (สพร.) กระทรวงศึกษาธิการ หน่วยงานรับผิดชอบดูแลห้ องสมุดประชาชน ทัว่ ประเทศ จ�ำนวน 909 แห่ง ชี ้แจงว่า แม้ ห้ องสมุดในประเทศไทยส่วนใหญ่จะตืน่ ตัวและ พยายามเข้ าถึ ง ชุ ม ชน แต่ ก ารพั ฒ นา การให้ บ ริ ก ารสารสนเทศและหนัง สื อ ใหม่ ยังไม่ทนั ตามความต้ องการของผู้ใช้ ที่เข้ าถึง เทคโนโลยีได้ ด้วยตัวเอง รัฐจัดสรรงบประมาณ ให้ ห้องสมุดน้ อยมาก ห้ องสมุดขนาดเล็กได้ งบ 40,000 บาท ห้ องสมุดขนาดกลาง 50,000 บาท ห้ องสมุดขนาดใหญ่ 60,000 บาทต่อปี ไม่พอ ต่อการพัฒนา ต่างจากห้ องสมุดเอกชนที่มี งบประมาณ นอกจากนี ค้ นรุ่ นใหม่อ่านบน สมาร์ ทโฟนจึงไม่เข้ าห้ องสมุด “ห้ องสมุ ด ประชาชนควรจั ด กิ จ กรรม เพิ่มขึ ้น เช่น ส่งเสริ มการอ่าน เสวนาหนังสือ อ่านนิ ทานให้ เด็กฟั ง สร้ างสภาพแวดล้ อม ให้ เอื อ้ ต่ อ คนทุ ก เพศทุ ก วั ย เข้ ามาร่ วม แลกเปลี่ยน จัดการความรู้ ร่วมกันของคนใน ชุมชน อันเป็ นภารกิจของห้ องสมุดตอบสนอง สิทธิประชาชน” นางวัชรี ภรณ์ กล่าว รินพร ออกเวหา
25/1/2559 10:38:03
ข่าวเด่น
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
สัดส่วนอาจารย์ : นักศึกษา ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2558
เด็กไทยเรียนตามกระแส
นายชิ น ทาโร่ ฮารา นัก วิ ช าการภาษา มลายูชาวญี่ ปุ่น อดีตอาจารย์ ภาษามลายู มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า การเรี ย นภาษาควรเกิ ด จากความสนใจ อย่างสูง มีความพยายาม เพราะต้ องลงทุน ทัง้ เงิ น เวลา การที่ คนไทยสนใจอาเซี ยน มากกว่าสมัยก่อนถื อว่าเป็ นโอกาสส�ำหรั บ คนไทยเพื่อรู้จกั ประเทศเพื่อนบ้ าน “แต่ สัง คมไทยก็ ช อบตามกระแส เมื่ อ กระแสหมดความสนใจก็ แ ทบจะไม่ เ หลื อ จึงไม่เอือ้ ต่อการสร้ างวัฒนธรรมที่เข้ มแข็ง” นายชินทาโร่ กล่าว
ต้องเข้าใจวัฒนธรรมควบคู่กับภาษา
นายด�ำรงค์ อดุลยฤทธิกุล คณบดีคณะ ศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า หลักสูตรโครงการพิเศษ สาขาเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ของธรรมศาสตร์ เปิ ดสอน ภาษาอาเซียนทุกภาษา แม้ บางภาษาจะมี คนเรี ยนน้ อย ส่วนผู้สอนเป็ นทังชาวไทยและ ้ ชาวต่า งประเทศ และเป็ นอาจารย์ ป ระจ� ำ ทังหมด ้ ยกเว้ นภาษาโปรตุเกสเป็ นอาจารย์พิเศษ โดยความร่ ว มมื อ จากทางสถานทูต และ หน่วยงานราชการทีส่ ง่ อาจารย์ชาวต่างประเทศ มาช่วยเหลือ เช่น ภาษาพม่า ผู้สอนมาจาก ศูน ย์ รั ก ษาความปลอดภัย กองบัญ ชาการ กองทัพไทย “ภาษาเป็ นสิ่ ง จ� ำ เป็ น แต่ ก ารเรี ยน ภาษาอย่ า งเดี ย วไม่ เ พี ย งพอ ความรู้ ความเข้ าใจ ของเรื่ องวัฒนธรรมก็ ส�ำคัญ ถ้ ามี ค วามเข้ าใจเรื่ องเศรษฐกิ จ สั ง คม การเมือง จะท�ำให้ มีความรู้ ความสามารถที่ สมบู ร ณ์ แ บบมากขึ น้ เมื่ อ จบไปท� ำ งาน” นายด�ำรงค์ กล่าว นายด� ำ รงค์ กล่ า วต่ อ ว่ า นัก ศึ ก ษาใน โครงการที่ จ บไป ส่ ว นใหญ่ เ ข้ า ท� ำ งานใน องค์ ก รระหว่ า งประเทศ จ� ำ นวนหนึ่ ง เป็ น เจ้ าหน้ า ที่ ก ารทูต ในกระทรวงต่างประเทศ เป็ นผู้สื่ อ ข่ า วต่า งประเทศ หรื อ เข้ า ท� ำ งาน ในองค์ ก รพั ฒ นาเอกชน บริ ษั ท เอกชน หลายคนเป็ นเจ้ าของกิจการ นับว่าหลักสูตรนี ้ประสบความส�ำเร็ จมาก เพราะแต่ล ะปี รั บ นัก ศึก ษา 100 คน แต่มี ผู้สมัครเกินจ�ำนวนรับ
LOOKSILP FOR PRINT.indd 25
ลาว
ต่อจากหน้า 1 : ภาษาอาเซี ยน
4
กัมพูชา
1
ฟิลิปปินส์
4
มาเลเซีย อินโดนีเซีย
1 2 1
5
69
73
2
180
3
59
1
35
1
31
2
33
84 2
เวียดนาม พม่า
หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ส� ำ รวจสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาไทยที่ ติ ด อั น ดั บ QS World University Rankings Asia ปี 2015 ได้ แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ และ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เป็ น 2 มหาวิทยาลัยที่เปิ ดหลักสูตรอาเซียนศึกษา สอนครอบคลุมทังภาษา ้ ความรู้ด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม ของประเทศในภูมิภาคเท่านัน้ ขณะที่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิ ดสอนภาษาของ ประเทศในอาเซียนเป็ นวิชาโท และวิชาเลือก ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดลจัดการอบรมระยะสัน้ เพื่ อ การติ ด ต่ อ สื่ อ สารขั น้ พื น้ ฐานส� ำ หรั บ นักศึกษาและบุคคลทัว่ ไป
25
32 18
1
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2
86
2
103
2
35
1
28
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นการอบรมภาษาระยะสั้น | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ SEAS) | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (วิชาโทและวิชาเลือก)
นักวิชาการชี้ ขาดผู ส้ อนภาษาอาเซี ยน
เคยท� ำ งานร่ ว มกั บ เพื่ อ นชาวต่ า งชาติ ใ น นายธเนศ อาภรณ์ สุว รรณ กรรมการ กลุม่ ประเทศอาเซียนโดยใช้ ภาษาอังกฤษใน บริหารวิทยาลัยนานาชาติปรี ดี พนมยงค์ และ การสื่อสาร จึงคิดว่าถ้ าพูดได้ หลายภาษาจะ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย ได้ เปรี ยบมากกว่าคนอื่น เพราะแสดงออกถึง ธรรมศาสตร์ กล่ า วว่ า อาเซี ย นก่ อ ตัง้ มา วัฒนธรรมได้ ในเทอมนี ้จึงลงวิชาเลือกเป็ น 4 ทศวรรษ แต่ ห ลั ก สู ต รมี เ นื อ้ หาเพี ย ง ภาษามลายู เพราะเทอมก่ อ นเรี ย นวิ ช า ส่วนภาษา และความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับประเทศ ประวัตศิ าสตร์ อาเซียนไปแล้ ว ใ น เ อ เ ชี ย ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้ เ ท่ า นั ้น นายอินทัช ตัง๋ บุญชู นักศึกษาชันปี ้ ที่ 3 คนที่เรี ยนจบภาษาแบบเฉพาะโดยตรงมีน้อย คณะสังคมศาสตร์ ภาคประวัติศาสตร์ สาขา อี ก ทั ง้ บุ ค ลากรที่ ส อนมี ไ ม่ เ พี ย งพอ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศกึ ษา มหาวิทยาลัย แม้ ว่ า รั ฐ บาลจะให้ งบประมาณกั บ เรื่ อ ง เกษตรศาสตร์ กล่าวว่า เลือกเรี ยนคณะนี ้ อาเซียนมาก เช่น โครงการเอเชียตะวันออก เพราะเห็ น ว่ า กระแสของภาษาอาเซี ย น เฉียงใต้ ศกึ ษาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก�ำลังมาแรง ถ้ าเรียนไปไม่นา่ จะตกงาน เพราะ ได้ รั บ งบประมาณในการพัฒ นาศัก ยภาพ คาดหวั ง ว่ า เรี ยนจบแล้ วจะไปท� ำ ธุ ร กิ จ ด้ านภาษาให้ นกั ศึกษา ปี ละ 300,000 บาท ทีต่ า่ งประเทศ แต่สถาบันการศึกษา ยังไม่พร้ อมเปิ ดหลักสูตร ด้ า น นางสาวหวู ถิ ลิ ง ห์ พนั ก งาน อาเซียนศึกษา จึงต้ องปรับเปลีย่ นและพัฒนา ประสานงานต่างประเทศของบริ ษัทน�ำเข้ าอย่างต่อเนื่อง ส่ ง ออกถ่ า นหิ น ในไทย นางมนธิ ร า ราโท รายหนึง่ ท�ำหน้ าที่ตดิ ต่อ รองผู้ อ� ำ นวยการฝ่ าย ซั พ พ ล า ย เ อ อ ร์ ข อ ง การเรียนภาษา วิ ช าการสถาบัน เอเชี ย บริ ษัทคู่ค้าในเวียดนาม ศึ ก ษา จุ ฬ าลงกรณ์ อย่างเดียวไม่เพียงพอ กล่าวว่า ท�ำงานในไทย มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ต้องเรียนรู ้วัฒนธรรมด้วย มา 3 ปี สื่ อ สารได้ รั ฐ บาลมี น โยบายให้ ทั ง้ ภาษาไทย ภาษา จึ ง จะเข้ า ใจกั น และกั น มากขึ น ้ ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ต่ ล ะ เวี ย ดนาม และภาษา ภูมิภาคสอนภาษาของ อั ง กฤษ เป็ นคนเดี ย ว ป ร ะ เ ท ศ ใ น อ า เ ซี ย น ใ น บ ริ ษั ท ที่ เ ป็ น ช า ว ที่ ใ กล้ ภู มิ ภ าคนัน้ เช่ น เวี ย ดนาม ใช้ ภาษา ภาคใต้ ให้ เปิ ดสอนภาษามลายู ดั ง นั น้ เวียดนามเฉพาะติดต่อกับลูกค้ าเท่านัน้ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย จึ ง เปิ ดภาษา “ชาวเวี ย ดนามเข้ ามาท� ำ งานในไทย อาเซียนเป็ นวิชาเลือก นิสติ ที่จบไป ส่วนใหญ่ จ�ำนวนมาก เพราะรายได้ ดีกว่าที่เวียดนาม เข้ าท�ำงานกับบริ ษัทรถยนต์ ญี่ปนุ่ และบริ ษัท เรี ยนภาษาไทยเพราะเห็นโอกาสการท�ำงาน ปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) แต่ภาษาอังกฤษยังส�ำคัญเป็ นอันดับแรกอยู”่ “ปั ญหาการสอนภาษาอาเซียนที่ส�ำคัญ นางสาวหวู ถิ ลิงห์ กล่าว คือ บุคลากรผู้สอนที่เชี่ยวชาญมีไม่เพียงพอ เอกชนเน้นภาษาอังกฤษมากกว่า ประเทศไทยมี แ ต่ ค วามตื่ น ตั ว แต่ ไ ม่ มี น า ง เ บ ญ จ พ ร ห ล่ อ พ ง ศ์ ไ พ บู ล ย์ ความพร้ อมในการจัดการ เนื่องจากอาเซียน Head-Talent Recruitment Center บริ ษัท เป็ นเรื่ องใหม่” นางมนธิรา กล่าว ปูน ซิ เ มนต์ ไ ทย จ� ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ่ ผู ้เรียนเชื อภาษาอาเซี ยนยังส�ำคัญ การรู้ ภาษาอาเซียนเป็ นภาษาที่สามไม่ท�ำให้ นางสาวพิมพ์ชนก ตังเที ้ ยมศิริกุล นิสิต ได้ เ ปรี ย บมากกว่า คนที่ ไ ม่ ร้ ู ภาษาอาเซี ย น ชั น้ ปี ที่ 3 คณะอั ก ษรศาสตร์ เอกภาษา ไม่ว่าจะสมัครงานในต�ำแหน่งใดก็จะได้ รับ อิตาเลียน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า เงิ น เดื อ นและสวัส ดิ ก ารไม่ ต่า งกัน เพราะ
“
”
บริ ษัทพิจารณาทักษะภาษาอังกฤษเป็ นหลัก ยกเว้ นว่าจะระบุเจาะจงว่า ต้ องการคนที่มี ภาษาที่สาม เช่น ญี่ปนุ่ จีน เป็ นต้ น “ ส่ ว น ภ า ษ า อ า เ ซี ย น ยั ง ต้ อ ง ก า ร น้ อยมาก ที่ ผ่านมาจะใช้ วิธีส่งพนักงานไป พัฒนาทักษะก่อนให้ ย้ายไปท�ำงาน หรื อให้ พนั ก งานใช้ ภาษาอั ง กฤษสื่ อ สารแทน” นางเบญจพร กล่าว นายหิ รั ญ สุ ข เขตต์ ผู้ จั ด การฝ่ าย เทคนิคอลซัพพอร์ต บริษทั ชินคาวะ แมนูแฟคเจอริ่ ง เอเชี ย จ� ำ กัด บริ ษั ท ของชาวญี่ ปุ่ น ที่เปิ ดโรงงานในไทย ผลิตเครื่ องจักรส�ำหรับ ผลิตชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ กล่าวว่า แม้ บริษัท ต้ องติดต่อกับประเทศในอาเซียน แต่บริ ษัท ให้ ความส�ำคัญกับภาษาอังกฤษมากกว่า “การรู้ ภาษาในอาเซี ย นเป็ นเพี ย ง ข้ อได้ เปรี ยบเท่านัน้ แต่พื ้นฐานควรรู้ ทักษะ ด้ า นการท� ำ งานดี ก ว่า อย่ า งไรก็ ดี เห็ น ว่า ภาคอุ ต สาหกรรมไทยยั ง ไม่ ส นใจ และ ไม่ พ ร้ อมในภาษาอาเซี ย นเท่ า ที่ ค วร” นายหิรัญ กล่าว นายอภิ รั ต น์ สุค นธาภิ ร มย์ ณ พัท ลุง ผู้อ�ำนวยการกอง กองการสังคม กระทรวง การต่างประเทศ กล่าวว่า กระทรวงการต่าง ประเทศพิจารณารั บคนเข้ าท� ำงานที่ภาษา อังกฤษเป็ นหลัก แต่ ใ นกรณี ที่ ค ะแนนสอบเท่ า กัน ถ้ า ผู้ เข้ าสอบมีทักษะด้ านภาษาอื่น เช่น ภาษา อาเซี ย นอาจได้ รั บ การพิ จ ารณาเป็ นพิ เ ศษ ภาษาที่ น่ า สนใจคื อ ภาษาตระกู ล มลายู เนื่องจากใช้ ในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน บางส่วนของสิงคโปร์ และภาคใต้ ของ ประเทศไทย อย่ า งไรก็ ดี คนไทยรู้ ภาษา อาเซียนน้ อยมากเมื่ อเที ยบกับคนลาวหรื อ กัมพูชาที่พดู ภาษาไทยได้ คอ่ นข้ างเยอะ โชติกา กนิษฐนาคะ รัตนสุดา ศุภรัตน์บรรพต รินพร ออกเวหา ไอรยา โสกขุนทด
25/1/2559 10:38:04
ข่าวเด่น
26
100 แห่งต่อปี เท่านัน้ คิดเป็ นร้ อยละ 0.002 จากลิฟต์ที่มี 50,000 ตัว ในคอนโดมีเนียม ทัว่ กรุงเทพฯ “การตรวจลิ ฟ ต์ ทั ง้ หมดเป็ นไปไม่ ไ ด้ ในเชิงปฏิบตั ิ เพราะต้ องใช้ งบประมาณและ บุคลากรจ�ำนวนมาก แต่ขณะนีม้ ีเจ้ าหน้ าที่ เพียง 90 คน การเข้ าตรวจสอบยังท� ำด้ วย สายตา และเครื่ องมือพื ้นฐานเท่านัน้ ไม่ได้ ใช้ เครื่องมือพิเศษเฉพาะทาง” นายสุรพงษ์ กล่าว นายสุรพงษ์ กล่าวอีกว่า เจ้ าของอาคาร มีหน้ าทีจ่ ้ างผู้ตรวจสอบอาคารและท�ำรายงาน ส่งท้ องถิ่นทุกปี ล่าสุดครึ่งปี แรกของปี 2558 มีการส่งรายงานตรวจสอบอาคารที่พกั อาศัย ความสูง 8 ชัน้ ขึน้ ไปเพี ย ง 13 แห่ ง ทัง้ ที่ กฎกระทรวงก�ำหนดประเภทอาคารที่ต้องจัด
ต่อจากหน้า 1 : ลิฟต์กทม. หนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์รายงานว่า ประชากร ที่อาศัยอยูใ่ นคอนโด อะพาร์ ตเมนต์ และตึก ที่ พัก อาศัย กว่า 198,945 แห่ ง ทั่ว กทม. คิ ด เป็ น 900,000 ครั ว เรื อ น ตามข้ อมู ล ส� ำ มะโนครั ว ประชากรปี 2552-2556 ส� ำ นั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ อาจตกอยู่ ใ น ความเสี่ยงจากการใช้ ลฟิ ต์
โยธาฯ รับสุ่มตรวจ 100 แห่งทั่วกทม.
โดย นายสุรพงษ์ เตียวสุวรรณ วิศวกร ความปลอดภัย ส�ำนักควบคุมและตรวจสอบ อาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง เปิ ดเผยว่า กรมโยธาฯ สามารถเข้ า ตรวจสอบความปลอดภัยของลิฟต์ในอาคารทีพ่ กั อาศัยได้ เพียง
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ให้ มีผ้ ตู รวจสอบ พ.ศ.2548 มาตรา 32 ทวิ ว่า ต้ อ งตรวจสอบทัง้ ตัว อาคารและทุก ระบบ ภายในตัวอาคาร ทังระบบดั ้ บเพลิง ระบบไฟ รวมถึงระบบลิฟต์ทกุ ปี ผู้ สื่ อ ข่ า ว ต ร ว จ ส อ บ ข่ า ว ใ น ร อ บ ปี 2557-2558 พบว่ า เกิ ด เหตุ ลิ ฟ ต์ ต กใน อาคารที่พกั อาศัยใน กทม.กว่า 10 ครัง้ ท�ำให้ มี ผ้ ู เสี ย ชี วิ ต นั บ 10 ราย และบาดเจ็ บ อีก 10 ราย ด้ านผู้พกั อาศัยรายหนึง่ ในอะพาร์ ตเมนต์ ซอยรามค�ำแหง 65 ระบุวา่ ตนอยูท่ ี่นี่มา 5 ปี ปุ่ มฉุกเฉิ นในลิฟท์ ไม่ท�ำงาน ลิฟต์ค้างบ่อย ค น ที่ ติ ด อ ยู่ ใ น ลิ ฟ ต์ บ า ง ค รั ้ ง ต้ อ ง ร อ ช่างมาแก้ ไขเป็ นเวลานาน จนหายใจไม่ออก ต้ องง้ างประตูออกเพื่อเรี ยกให้ คนช่วย
การตรวจสอบความปลอดภัย
ลิฟต์
0.002%
ตึกเสี่ยงภัยลิฟต์
เสยี่ ง
1
กรมโยธาธิการ และผังเมือง ออกกฎหมาย บุ คลากรน้อย
ปีขึ�นไป 1 ก ึ ต ุ อาย > 2 ปี
> 5 ปี
> 20 ปี
> 7 ปี > 10 ปี
B
2 ส่งรายงานการตรวจลิฟต์
ÃÒÃÂÒ§ ÂÃÒ§¹ÒÃÒÂ¹Ò §ÂÒ§¹Ò ¹
อะพาร์ตเมนต์์เอกชน
งบน้อย
ไม่ส่ง
¼ÙŒµÃǨ
จ้างบริษัทเล็ก
3 LOOKSILP FOR PRINT.indd 26
กรุ งเทพมหานคร ตรวจรายงานลิฟต์
เอกชนละเลยท�ำรายงานประจ�ำปี
ส่วน นายกัญจน์ วิจารณ์ ผู้จดั การอาคาร ชุดแกรนด์พาเลซ อาคารเอ อะพาร์ ตเมนต์ ความสูง 11 ชัน้ ย่านรามค�ำแหง กล่าวว่า การจ้ างบริ ษั ท วิ ศ วกรที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ ตรวจอาคารมีค่าใช้ จ่ายราว 10,000 บาท เวลามาตรวจก็มาคนเดียว มีกล้ องเลเซอร์ หรื อ ไฟฉายมาส่ อ งตามตัว ตึ ก และกรอก เอกสารเป็ นอัน เสร็ จ ท� ำให้ เ จ้ า ของอาคาร ละเลย โดยเฉพาะอาคารที่อยูอ่ าศัยเก่า ซึง่ มี ฐานะทางการเงินไม่ดี นอกจากนี เ้ จ้ าของอาคารคิดว่าเสียเงิน โดยเปล่าประโยชน์ เพราะรัฐเพียงแค่รับเรื่ อง ไว้ แต่ไม่เคยมาตรวจสอบซ� ้ำ “ตึกนี ้มีอายุนบั 20 ปี ผมเข้ ามาท�ำงาน ที่ นี่ 7-8 ปี แล้ วแต่ ไ ม่ เ คยเห็ น รั ฐ เข้ ามา ตรวจสอบ ยกเว้ นเวลาเกิดเหตุไฟไหม้ หรื อ มีคนฟ้องร้ องไปเท่านัน” ้ นายกัญจน์ กล่าว
ผู เ้ ชี่ ยวชาญชี้ กม.ไทยขาดการบังคับใช้
ได้ตรวจ ต่อปี
198,945
เมื่ อ แจ้ งเจ้ าของอาคารก็ จ ะปิ ดลิ ฟ ต์ ดัง กล่ า วพัก หนึ่ ง แล้ ว เปิ ดให้ บ ริ ก ารหลัง มี การซ่อ มแซม แต่ปั ญ หาลิ ฟ ต์ ค้ า งก็ ยัง เกิ ด อยูบ่ อ่ ยครัง้
ไม่มีข้อมู ลตึก
นายจัก รพัน ธ์ ภวัง ค์ ค ะรั ต น์ ที่ ป รึ ก ษา คณะกรรมการสาขาเครื่องกล วิศวกรรมสถาน แห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ก ล่ า ว ว่ า ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ก ฎ ห ม า ย ก� ำ หนดให้ เจ้ าของอาคารต้ องรายงาน ผลการตรวจสอบอาคารประจ� ำ ปี ส่ง ต่อ รั ฐ ซึง่ รวมถึงตรวจความปลอดภัยลิฟท์ แต่ไม่ได้ บังคับใช้ จริ งจัง นอกจากนีก้ ฎหมายไม่ได้ ชีช้ ัดว่าใครจะ ต้ องเป็ นผู้เข้ าไปตรวจสอบ เพราะกฎหมาย ระบุเพียงว่า ผู้ที่ตรวจสอบอาคารต้ องเป็ น บุคคลที่มีความเชี่ยวชาญและมีใบอนุญาต การตรวจสอบ “ในทางปฏิ บั ติ ผ้ ู ที่ เ ซ็ น ใบรั บ รองกั บ ผู้ ที่ ล งไปตรวจสอบอาจเป็ นคนละคนกั น จึงไม่ร้ ูวา่ มีการตรวจจริ งหรื อไม่ แค่ไปส่อง ๆ ดูแล้ วให้ วศิ วกรเซ็นผ่านก็ได้ กฎหมายยังไม่ได้ ก�ำหนดมาตรฐานของบริ ษัทผู้ตรวจสอบลิฟต์ เจ้ าของอาคารที่ต้องการลดต้ นทุนอาจเลือก บริ ษัทที่มีราคาต�่ำสุดแต่ไม่ได้ มาตรฐานก็ได้ ” นายจักรพันธ์ กล่าว และว่า รั ฐควรออกกฎควบคุมบริ ษัทตรวจสอบ ลิ ฟ ต์ ด้ ว ย และก� ำ หนดข้ อ บัง คับ ให้ อ าคาร ติ ด ป้ ายรั บ รองการตรวจสอบภายในลิ ฟ ต์ ซึ่ง วิ ศ วกรรมสถานฯ เสนอกรมโยธาธิ ก าร ไปแล้ วแต่ไม่ได้ รับการตอบรับ ขณะที่นายกฤตย์ ทัศนประเสริ ฐ วิศวกรโยธาปฏิ บั ติ ก าร กองควบคุ ม อาคาร กรุงเทพมหานคร ยอมรับว่า การเข้ าตรวจสอบ ตึ ก ที่ อ ยู่ อ าศั ย เก่ า ท� ำ ได้ ยากเพราะไม่ มี การท�ำฐานข้ อมูลอาคาร ท�ำให้ เจ้ าของอาคาร ปฏิเสธการตรวจได้ กาญจนา ปลอดกรรม จริญญา ศรีวัฒนวรัญญู กุลนิษฐ์ แสงจันทร์ เกศราพร เจือจันทร์ พสชนัน คนึงหมาย
25/1/2559 10:38:04
ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ต่อจากหน้า 1 : ถุงพลาสติก แม้ ประเทศไทยเริ่ มรณรงค์ให้ ประชาชน งดใช้ ถงุ พลาสติก มาตังแต่ ้ ราวปี 2549 ล่าสุด เมื่ อ วัน ที่ 15 สิ ง หาคม ที่ ผ่ า นมา ภาครั ฐ ได้ รณรงค์ “รวมพลังลดถุงพลาสติก ลดโลก ร้ อน” ทั ง้ ประเทศร่ ว มกั บ ผู้ ประกอบการ ห้ างสรรพสินค้ าให้ สิทธิ ประโยชน์ หากผู้ซือ้ ไม่รับถุงพลาสติก ซึ่งกรมส่งเสริ มคุณภาพ สิง่ แวดล้ อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้ อม เปิ ดเผยว่า ในวันดังกล่าวลด การใช้ ถงุ พลาสติกได้ 1.8 ล้ านใบ อย่ า งไ ร ก็ ดี ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ตรวจสอบรายงานสถานการณ์ ม ลพิ ษ ประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม ตังแต่ ้ ปี 2550 เป็ นต้ นมา พบว่า แม้ ขยะพลาสติก ในประเทศไทยจะลดลงจาก 2.3 ล้ านตันต่อปี ในปี 2550 เหลือ 1.65 ล้ านตันในปี 2552 แต่ หลั ง จากนั น้ ขยะพลาสติ ก ก็ เ พิ่ ม อย่ า ง ต่อเนื่องจากปี 2553 เฉลี่ย 1.8 ล้ านตันต่อปี เป็ น 2 ล้ านตันต่อปี ในปี 2556 แม้ ปี 2557 จะเหลือ 1.3 ล้ านตันก็ตาม
ข่าวเด่น นโยบายรัฐบาลไม่ส่งผลกระทบต่ออุ ตสาหกรรม กลุ่มลูกค้า: บริษัททั่วไป ที่ไม่ต้องการเพิ่มทุน ร้านขายของ ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
รัฐไม่ได้สนับสนุน ให้เพียงเงินกู้บางส่วน กลุ่มลูกค้า: บริษัทที่มีนโยบาย รักษ์ส่งิ แวดล้อมหรือส่งออกสินค้า ไปยังประเทศแถบยุ โรป
ถุงพลาสติกไม่ลด รณรงค์ไม่ช่วย
นางสุ นั น ทา พลทวงษ์ นั ก วิ ช าการ สิ่งแวดล้ อมช�ำนาญการ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม เปิ ดเผยว่ า ขยะพลาสติ ก ในประเทศไทย รอบ 5 ปี ที่ผา่ นมา มีประมาณ 1,476,000 ตัน ต่อปี หรื อคิดเป็ นประมาณ 4,000 ตันต่อวัน “แม้ ปี 2557 จะดูเหมือนขยะพลาสติก ลดลงมาก แต่ ชี ว้ ัด ไม่ ไ ด้ เพราะไม่ ไ ด้ เ ก็ บ ตัวเลขอย่างเป็ นมาตรฐาน” นางสุนนั ทา กล่าว ด้ านรายงานสรุ ปภาวะเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรม ส�ำนักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ปี 2557 พบว่า ดัชนี ผลผลิ ต อุต สาหกรรมถุง พลาสติ ก เพิ่ ม ขึน้ อย่างต่อเนื่องหากเทียบกับฐานปี 2554 โดย ปี 2555 ร้ อยละ 31.48 ปี 2556 ร้ อยละ 26.76 ส่วนปี 2557 ร้ อยละ 34.42 อัตราการใช้ ก�ำลัง การผลิตผลิตภัณฑ์ พลาสติก เดือนตุลาคม 2558 อยูท่ ี่ ร้อยละ 72.65 หากเทียบกับเดือน เดี ย วกัน ของปี ก่ อ น ลดลงร้ อยละ 11.58 อย่างไรก็ดี ในรอบ 12 เดือนที่ผา่ นมามีอตั รา เฉลี่ยร้ อยละ 72.77 ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง ผู้ป ระกอบการอุต สาหกรรมพลาสติ ก กลุ่ม บรรจุภณ ั ฑ์ ทีข่ ึ ้นทะเบียนกับสถาบันพลาสติก ไทย พบว่า ปี 2557 มีผ้ ปู ระกอบการในกลุม่ นี ้ 1,134 ราย จากผู้ประกอบการอุตสาหกรรม พลาสติกทัง้ หมด 2,548 ราย กระจายอยู่ ทัว่ ภูมภิ าค ส่วนใหญ่อยูใ่ นกรุงเทพฯ 456 ราย สมุท รปราการ 170 ราย และสมุทรสาคร 153 ราย ซึ่งเพิ่มขึ ้นจากปี 2550 ที่มีเพียง 613 ราย จากผู้ประกอบการอุตสาหกรรม พลาสติกทังหมด ้ 1,645 ราย นายศตพร สภานุชาติ นักวิเคราะห์อาวุโส สายสารสนเทศและกุล ยุท ธ์ อุต สาหกรรม สถาบันพลาสติกไทย กล่าวว่า อุตสาหกรรม พลาสติ ก ของไทยมี แ นวโน้ มเติ บ โตขึ น้ อย่างต่อเนื่อง ส่วนใหญ่เป็ นการผลิตเพื่อใช้ ในประเทศ ทัง้ นี ถ้ ุง พลาสติก เป็ นส่วนหนึ่ง ในกลุ่ ม บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ จ� ำ เป็ นต้ องใช้ ใน ภาคอุตสาหกรรมและเป็ นความต้ องการของ ผู้บริ โภค
LOOKSILP FOR PRINT.indd 27
“นโยบายรณรงค์ ข องรั ฐ ไม่ ก ระทบต่ อ ภาคอุตสาหกรรมพลาสติกเลย เพราะสามารถ ลดการใช้ ได้ เพียงภาคครั วเรื อนเท่านัน้ แต่ ในอนาคตถุ ง ไบโอพลาสติ ก ที่ ย่ อ ยสลาย ได้ ง่ายและเร็ ว มี โอกาสสูงที่ จะเข้ ามาเป็ น ตัว เลื อ กของผู้บ ริ โ ภค ซึ่ง จะส่ง ผลกระทบ โดยตรงต่ออุตสาหกรรมถุงพลาสติกธรรมดา” นายศตพร กล่าว นายพิเชษฐ์ วิริยะจิตรา หัวหน้ าโครงการ วิ จัย เครื อ ซี เ มนต์ ไ ทย กล่า วว่ า ปั จ จุบัน มี การผลิ ต เม็ ด ไบโอพลาสติ ก เพื่ อ ส่ ง ออก ร้ อยละ 95 สาเหตุทยี่ งั ผลิตเพือ่ ใช้ ในประเทศ น้ อย เพราะเม็ดไบโอพลาสติกมีราคาสูงกว่า เม็ดพลาสติกทัว่ ไป 3 เท่า ส่งผลให้ ราคาถุง ไบโอพลาสติกสูงกว่าถุงพลาสติกทัว่ ไปถึง 5 เท่า “แม้ ภาครัฐจะสนับสนุนเงินกู้ดอกเบี ้ยต�่ำ ประมาณร้ อยล้ า นบาท แต่ ยัง ไม่ เ พี ย งพอ ต่อการลงทุนอุตสาหกรรมไบโอพลาสติกที่มี ต้ นทุนราวพันล้ านบาท ที่ ภาครั ฐพยายาม ลดใช้ ถงุ พลาสติกท�ำให้ เข้ าใจว่า จะผลักดัน ถุง ไบโอพลาสติ ก แต่ค วามจริ ง กลับ ไม่เ ป็ น เช่นนัน้ นอกจากนีป้ ระชาชนยังไม่ทราบถึง ความแตกต่ า งระหว่ า งถุ ง พลาสติ ก สอง ประเภทนี ้ ดังนันเมื ้ ่อมีการลดใช้ ถงุ พลาสติก กลายเป็ นว่ า ลดการใช้ ถุ ง ไบโอพลาสติ ก ไปด้ วย” นายพิเชษฐ์ กล่าว
“ที่ ส� ำ คัญ กฎหมายไม่ ไ ด้ มี ส่ ว นท� ำ ให้ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ผ ลิ ต ถุ ง พลาสติ ก ทั่ ว ไปลดปริ มาณการผลิ ต ลง ตลอดจนลดการใช้ ถงุ พลาสติกของผู้บริ โภค ขณะเดียวกันถุงไบโอพลาสติกก็มีต้นทุนสูง ผู้ผลิตสู้ไม่ไหว ราคาจึงแพง ห้ างร้ านที่ซื ้อถุง ไบโอพลาสติกมาใช้ บรรจุสินค้ าก็ซื ้อไม่ไหว สะท้ อนว่า รัฐไม่ได้ มีนโยบายจริงจังในการลด การใช้ ถงุ พลาสติกทัว่ ไปที่ยอ่ ยสลายยาก ทัง้ ที่ควรเข้ ามาช่วยในการวิจยั พัฒนา ให้ เงิน สนับ สนุ น หรื อ ลดภาษี ถุ ง ไบโอพลาสติ ก มากขึ ้น” นายชาคริ ต กล่าว ส่ ว น นายอุ ด มศั ก ดิ์ ศี ล ประชาวงศ์ รองศาสตราจารย์ ประจ�ำคณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) กล่าวว่า ประเทศไทยยังไม่มกี ฎหมาย เข้ ามาควบคุมการผลิตอุตสาหกรรมพลาสติก เพราะผู้ผลิตมี อ�ำนาจเหนื อตลาด แต่ถ้ามี ผู้ผลิตก็จะเรี ยกเก็บจากผู้บริ โภคผ่านราคา ขายสุดท้ าย “การเรียกเก็บค่าถุงพลาสติกเป็ นส่วนหนึง่ ของภาษี สิ่งแวดล้ อม ในอนาคตหากจะเก็บ จริ ง ๆ ก็อาจจะเก็บที่ผ้ ผู ลิตหรื อผู้บริ โภคก็ได้ ทัง้ สองทาง ซึ่ง จะคิ ด ราคาถุง พลาสติ ก ใน การรั บ ถุง แต่ ล ะครั ง้ เพื่ อ สร้ างแรงจูง ใจให้ ประชาชนลดการใช้ ถงุ พลาสติกอย่างจริ งจัง” นายอุดมศักดิ์ กล่าว
ด้ าน นายชาคริ ต สิทธิเวช อาจารย์ประจ�ำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า กฎหมายสิง่ แวดล้ อมในประเทศไทย ที่ เ กี่ ย วกับ การจัด การถุง พลาสติ ก เข้ า มา ควบคุมเพียงแค่การก�ำจัด แต่รัฐก็ไม่ได้ บงั คับ ใช้ กฎหมายอย่างจริ งจัง
ขณะที่ นางภาวินี ณ สายบุรี ผู้อำ� นวยการ ศู น ย์ ง านรณรงค์ กรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้ อม กระทรวงทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม ชี ้แจงว่า การรณรงค์ลดใช้ ถุงพลาสติกมีมานาน แต่กรมฯ เพิ่งเริ่ มเก็บ สถิ ติ เ มื่ อ วัน ที่ 5 มิ ถุ น ายน 2558 พบว่ า
อุ ตสาหกรรมถุงไบโอโอดงบไม่พอ
ไร้ กม.ภาษีคุมผู ้ผลิตถุงพลาสติก
รัฐรับรณรงค์ไม่ถึง-เพิ่มนโยบายคุม
27
จับตามาตรการ ลดใช้ ถุงพลาสติก
ใน‘ต่างแดน’
‘ถุงพลาสติก’ บรรจุภณ ั ฑ์ใช้ สะดวก แต่ย่อ ยสลายยากล� ำ บาก และส่ง ผล กระทบต่อสิง่ แวดล้ อม 450 ปี คื อ ระยะเวลาย่ อ ยสลาย ของพลาสติ ก หลายประเทศจึ ง มี มาตรการควบคุมการใช้ บั ง คลาเทศเป็ นประเทศแรกที่ ห้ ามผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยถุ ง พลาสติ ก จากโพลี เ อทิ ลี น ตัง้ แต่ ปี 2545 ใน เมืองหลวง ก่อนขยายไปทัว่ ประเทศ และในปี เดียวกัน รัฐบาลไอร์ แลนด์ เรี ยกเก็บภาษี ถงุ พลาสติกจากผู้บริ โภค ถุงละ 0.15 ยูโร หรื อประมาณ 6 บาท เป็ นประเทศแรก โดยน�ำภาษีทจี่ ดั เก็บไป ใช้ ในกองทุนสิง่ แวดล้ อม ต่อมาปี 2550 ได้ เพิ่มอัตราภาษี เป็ นถุงละ 0.22 ยูโร หรื อประมาณ 9 บาท ซึ่งมาตรการนี ้ สามารถลดปริ มาณการใช้ ถงุ พลาสติก ลงได้ กว่าร้ อยละ 90 ขณะที่ไต้ หวันเก็บภาษี ถงุ พลาสติก โดยไม่ ก� ำ หนดอั ต ราภาษี ตายตั ว ส่ ว น ใ ห ญ่ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร คิ ด ค่ า ถุงพลาสติกใบละ 1-3 ดอลลาร์ หรื อ ประมาณ 1-3.5 บาท ล่าสุดปี 2558 อังกฤษออกกฎหมาย ให้ เก็ บ ค่ า ถุ ง พลาสติ ก จากนั ก ช็ อ ป ใบละ 5 เพนซ์ หรื อประมาณ 2.73 บาท แต่เมือ่ หลายปี กอ่ นมอดบิวรี่ (Modbury) กลายเป็ นเมื อ งปลอดถุ ง พลาสติ ก แห่งแรก จากความร่วมมือโดยสมัครใจ ของร้ านค้ า มาตรการต่าง ๆ ของรั ฐสามารถ ลดการใช้ ถุ ง พลาสติ ก ได้ จริ ง แต่ ความร่ วมมือของพลเมืองจึงจะน� ำมา ซึง่ การเปลี่ยนแปลง ข้ อ มูล จาก: บทความวิ ช าการ วารสารการจัด การ สิ่งแวดล้ อม ปี ที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถนุ ายน 2555 โดย วรางคณา ศรนิล อาจารย์คณะพัฒนาสังคมและสิง่ แวดล้ อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์
มี ก ารลดใช้ ถุ ง พลาสติ ก ได้ จริ ง จากการ ตรวจสอบห้ า งสรรพสิ น ค้ า ที่ ร่ ว มโครงการ ส่ ง ผลเข้ า มา แต่ นัย ของตัว เลขการลดใช้ ถุ ง พลาสติ ก ของห้ างสรรพสิ น ค้ ายั ง ไม่ ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรม “หากผู้ซื ้อไม่ต้องการถุง ผู้ค้าปลีกลดการ ใช้ ภาคอุตสาหกรรมก็จะผลิตลดลง ดังนัน้ ต้ องแก้ ทสี่ ภาพแวดล้ อมของทังผู ้ ้ ซื ้อ ผู้ค้าปลีก และภาคอุตสาหกรรม เช่น ออกนโยบายภาษี กับฝั่ งผู้ผลิต ถ้ าผู้ซื ้อจะรับถุงพลาสติกภายใน ห้ างสรรพสินค้ าต้ องซือ้ เพราะการรณรงค์ เป็ นเพี ย งการกระตุ้ นจิ ต ส� ำ นึ ก เท่ า นั น้ ” นางภาวินี กล่าว ชญานิศ จ�ำปี รัตน์ ณัฐกานต์ เจริญขาว วราภัสร์ มาลาเพชร ภัทรานิษฐ์ จิตส�ำรวย
25/1/2559 10:38:05
ชั้น 8 อาคาร กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) ถนนเจริญกรุง แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กทม. 10500 โทรศัพท์ / โทรสาร : 0-2233-4995-7 เว็บไซต์ : www.ict.su.ac.th www.ictsilpakorn.com/ictmedia www.facebook.com/looksilp LOOKSILP FOR PRINT.indd 28
25/1/2559 10:38:05