หนังสือพิมพ์ลูกศิลป์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1

Page 1

พิเศษ! ส่อง QR code หน้าสิทธิสิ่งแวดล้อม

สื่อสร้างสรรค์ น�ำสังคม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561

ยัดเงิน-ข่มขู-่ ยืดสอบ

สารพัดปัญหา 25 ปี

เบี้ยผู้สูงอายุ

เอือ ้ ครูลามกย่ามใจก่อเหตุซำ�้ เจาะระบบเอาผิดครูละเมิดทางเพศ พบผูบ ้ ริหาร-เขตการศึกษา ช่วยไกล่เกลีย ่ ให้จา่ ยเงิน-ข่มขู-่ มัดมือแต่งงานแลกไม่เอาผิด ถ้า เรือ ่ งแดงหลุดเข้าสูข ่ น ั้ สอบวินย ั ใช้เวลา 8 เดือน แถมไม่กำ� หนด เส้นตายตัดสิน สถิติชี้ชัด 5 ปี หลังฟันวินัยครูเกือบ 200 คน แต่ถอนใบประกอบฯ ได้แค่ 4 คน สะท้อนระบบตรวจสอบล้มเหลว ท�ำครูย ู า่ มใจก่อเหตุซำ�้ ซาก

“หลั ง เกิ ด เหตุ 4 เดื อ น ก็ เ ริ่ ม มี ข ่ า วลื อ ครูฝ่ายปกครองเรียกดิฉันกับครูที่กระท�ำ มาถามข้อเท็จจริง ดิฉนั ไม่อยากตอบเพราะ ครู ค นนั้ น นั่ ง อยู ่ ด ้ ว ย และกลั ว ว่ า ครูฝ่าย ปกครองจะไม่เชื่อ” อ่านต่อหน้า 2

ระบบเอาผิ ด ครูล่วงละเมิดทางเพศนักเรียน ไกลเกลี่ย

สอบสวน ในโรงเรย ี น

*** บังคบ ั แตง  งาน ***

จายเงน ิ ขม  ขู

แจง  ใหเขต พจ ิ ารณา

สอบสวนและ ั ฐาน รวบรวมหลก

ครอ ู อกจาก ราชการ

8

เดอ ื น

ยืดเวลาออกได้ ไม่มีกำหนด

ครูย้ายไปเขตอื่น ชิงลาออก

200 ราย ที่ล ี ว  งละเมด ิ ทางเพศเดก ็ นก ั เรย ี นในป 2555-2560 คุรุสภาถอดใบประก เพียง

อบวิชาชีพ

4 ราย

ที่มา : คู่มือการด�ำเนินการทางวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปี2550

ทุ่มหลักแสน!

จัดกีฬาสีเอาหน้านาย

ตะลึง! กีฬาสีโรงเรียนมัธยมจัด หนั ก ทุ ่ ม เงิ น หลั ก แสน เนรมิ ต ขบวนพาเหรด-ชุดเชียร์ลด ี เดอร์

LAYOUT.indd 3

รี ด เพื่ อ นนั ก เรี ย นสู ง หลั ก พั น บาท ไม่มต ี อ ้ งผ่อนจ่าย อ้างศึก แห่งศักดิศ ์ รี ผูใ้ หญ่มาเปิดต้อง จัดใหญ่ นักรัฐศาสตร์ชส ี้ ะท้อน ราชการไทย ‘ท�ำอะไรนายต้องเห็น’ โรงเรียนโยนเด็กท�ำเองห้ามไม่ได้ อ่านต่อหน้า 20

กว่าจะเข้าถึง

‘สะพานบุญ’

12 ก่อนโลมา จางหายใต้คลื่น

โรงเรียนไม่มีมาตรการ ป้องกันผู้ถูกกระทำ

ขั้นตอนลาชาถง ึ

ตด ั สน ิ

9

อลังการ : เครื่องแต่งกายชุดเชียร์ประดับแวววาว

22

แง้มช่อง

สินบน กรมที่ดิน เปิ ด โปงขบวนการเรี ย กเงิ น อยากซื้ อ ขายที่ ดิ น เร็ ว ต้ อ ง ยั ด ใต้ โ ต๊ ะ จ่ า ยหมื่ น บาทถึ ง แสนบาทโอนโฉนดถึ ง มื อ เสร็จสรรพ ยื่นตามระเบียบ โดนยื้ อ รั ง วั ด แถมเรี ย กเก็ บ ภาษี เ กิ น จริ ง เปิ ด ผลวิ จั ย จุ ฬ าฯ พบกรมที่ ดิ น ครอง อันดับ 1 ต่อเนือ ่ ง หน่วยงาน รั ฐ เรี ย กสิ น บนสู ง สุ ด มี เ งิ น หมุ น เวี ย นเกื อ บ 2 พั น ล้ า น บาท อ่านต่อหน้า 21

25/1/2561 11:29:16


2 | ลูกศิลป์

ต่อจากหน้า 1 : ละเมิด

เมือ่ 7 ปีทแี่ ล้ว เด็กหญิงคนหนึง่ ในโรงเรี ย นชื่ อ ดั ง ย่ า นปริ ม ณฑล ขณะนัน้ อายุ 14 ปี ถูกกระท�ำช�ำเรา ในห้องว่างภายในโรงเรียนช่วงหลัง เลิกเรียน หลังจากนั้น 1 สัปดาห์ คณะผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นเรี ย กเธอ เข้าไปถามย�้ำอีกครั้ง เธอยืนยันว่า ถูกกระท�ำจริง ถัดมา 3 วัน ทราบว่า โรงเรียนให้ครูคนดังกล่าวหยุดสอน แต่จากนัน้ ไม่นาน ภรรยาของครูคนนี้ ย้ายเข้ามาสอนทีโ่ รงเรียนและมาพูด กับเธอให้ไปบอกกับครูฝา่ ยปกครอง ว่า เต็มใจมีเพศสัมพันธ์ มิเช่นนัน้ จะบีบ ให้ออกจากโรงเรียนให้ได้ สุดท้ายเธอ ย้ายโรงเรียนเพราะอับอาย และรูส้ กึ ว่าโรงเรียนไม่อำ� นวยความยุตธิ รรม ต่อมาทราบว่า ครูคนนีย้ า้ ยไปสอนที่ โรงเรียนอีกแห่ง ไม่ตา่ งจากมารดาของเด็กหญิง วัย 14 ปี ในจังหวัดอุดรธานี เล่าถึง เหตุการณ์เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2558 ว่า ได้ร้องเรียนว่า ลูกสาว โดนจับหน้าอก แต่ผ่านไป 1 เดือน เรื่องยังเงียบ “รองผู้อ�ำนวยการบอกแค่ว่า เขาท�ำแบบนี้กับคนอื่นด้วย และ ให้ เ ด็ ก ระวั ง ตั ว ดิ ฉั น จึ ง ไปแจ้ ง ต�ำรวจ ระหว่ า งที่ มี ก ารด� ำ เนิ น คดี เพื่อนครูรวมเงินไปประกันตัว ท�ำให้เขายังสอนที่เดิม ผ่านไป 1 ปี ถึงมีการย้ายให้ไปช่วยงานในเขต การศึกษา” ผู้ปกครอง ระบุ เธอบอกอี ก ว่ า เพื่ อ นลู ก ถู ก กระท� ำ ช� ำ เราไปแล้ ว 1 คน และอี ก คนโดนชวนเข้ า ห้ อ ง และได้ยินมาว่า ก่อนย้ายมาที่นี่ เคยก่อเหตุลวนลามนักเรียนมาแล้ว เช่นเดียวกับเด็กหญิงคนหนึ่ง ในจังหวัดร้อยเอ็ด ที่ขณะนั้นอายุ 14 ปี ถูกครูกระท�ำช�ำเรา ป้าของเธอ เปิดเผยว่า ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรี ย น ขอไม่ให้แจ้งความ ก่อนทีค่ รูผกู้ อ่ เหตุ จะพาภรรยาที่ เ ป็ น ครู โ รงเรี ย น เดียวกันและพ่อตาที่ มี ต� ำ แหน่ ง ใหญ่ ใ นพื้ น ที่ ม าไกล่เกลี่ยที่บ้าน และจ่ายเงินชดเชย 70,000 บาท ตอนนี้เขาก็สอนที่นี่เหมือนเดิม ยังมีอกี 16 กรณี ทีห่ นังสือพิมพ์ ลูกศิลป์พบเหตุการณ์การถูกล่วง ละเมิ ด ทางเพศในสถานศึ ก ษา ระดับประถมและมัธยมศึกษาของรัฐ จนได้สัมภาษณ์ผ่านทางสื่อสังคม อ อ น ไ ล น ์ โ ด ย ผู ้ ถู ก ก ร ะ ท� ำ ไม่ประสงค์ให้ไปพบ ทัง้ หมดระบุวา่ ไม่ ไ ด้ ร ้ อ งเรี ย นเพราะอั บ อาย และเชือ่ ว่า โรงเรียนจะไม่จดั การให้

LAYOUT.indd 4

ผู้บริหารช่วยดึงเรื่อง ไม่ตั้งกก.สอบ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเพชรบูรณ์ เปิดเผยว่า ที่เพชรบูรณ์มักเกิดเหตุในโรงเรียน นอกเขตอ� ำ เภอเมื อ ง ส่ ว นมาก เป็ น การแตะเนื้ อ ต้ อ งตั ว กอด จับหน้าอก ไม่ถึงขั้นกระท�ำช�ำเรา และเกิดกับนักเรียนมัธยม ส่วนมาก เป็ น ช่ ว งมี กิ จ กรรมแล้ ว เลิ ก ดึ ก ครูผชู้ ายทีม่ ฝี มี อื ก็ให้เด็กมาฝึกซ้อม กีฬาสี หรือตอนเข้าค่ายลูกเสือ ดึก ๆ ก็เรียกมากอด “พอเรื่ อ งแดง ผู ้ อ� ำ นวยการ จะเรี ย กครู ม าสอบถามแล้ ว ก็ บอกให้ไปเคลียร์กันเองหรือช่วย เคลียร์กับผู้ปกครองด้วย มักจบ ด้วยการจ่ายค่าชดเชยหลักหมื่น ไม่ถงึ ขัน้ ตัง้ กรรมการสอบ หากเรือ่ ง ดังขึ้นหน่อย เขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดจะเข้ามาไกล่เกลีย่ อย่างมาก จบโดยผูกข้อมือ ไม่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย น สมรส ไม่ ไ ด้ จั ด งานแต่ ง งาน จากนัน้ สนับสนุนค่าใช้จา่ ยให้นกั เรียน ชาวบ้านเองก็ยงั ให้เกียรติครู จึงไม่ได้ เล่นงานกันถึงขั้นเอาออก แค่ให้ ย้ายออกถือว่าแรงสุดแล้ว แต่ก็ แทบจะไม่มี” แหล่งข่าว ระบุ ด้ า น ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย น แ ห ่ ง ห นึ่ ง ใ น จั ง ห วั ด สุ ริ น ท ร ์ กล่าวว่า ได้ยินเรื่องครูล่วงละเมิด ทางเพศนั ก เรี ย นในจั ง หวั ด ทุ ก ปี แต่เมือ่ ผูป้ กครองร้องมายังโรงเรียน ผู ้ บ ริ ห ารมั ก จะดึ ง เรื่ อ งไม่ ตั้ ง กรรมการสอบและให้ไปไกล่เกลี่ย เรื่องก็จบไปอย่างเงียบ ๆ “ถ้าไม่เป็นข่าว แม้เรื่องจะถึง เขตพื้นที่การศึกษาจังหวัด แต่เขา จะบล็ อ กแล้ ว ให้ ค รู ไ ปเคลี ย ร์ กั บ ผู้ปกครอง มีทั้งจ่ายเงินประมาณ 200,000 บาท หรื อ จบกั น ด้ ว ย การแต่งงาน บางโรงเรียนผูอ้ ำ� นวยการ ท� ำ เสี ย เองด้ ว ย” ผู ้ อ� ำ นวยการ คนดังกล่าว ระบุ

ครู แ ทรกแซงมาที่ พ ่ อ แม่ เช่ น เสนอแต่ ง งานกั บ นั ก เรี ย นที่ ถู ก กระท�ำจนตั้งครรภ์ หรือเสนอจ่าย เงินแลกกับการไม่แจ้งความ รวมถึง ขูเ่ ด็กและผูป้ กครองว่า จะฟ้องกลับ จึงเชื่อได้ว่า ยังมีกรณีอื่น ๆ ที่ไม่มี การแจ้งมา หรือมีการไกล่เกลี่ยกัน ให้ยอมความ หรือถูกขู่จนไม่กล้า แจ้งความอีกเป็นร้อยกรณีซึ่งไม่ได้ ถูกบันทึกไว้” นางวาสนา กล่าว

ขั้ น ต อ น ส อ บ สุ ด ยื้ อ ลงโทษจริงรอ10ปี ผูส้ อื่ ข่าวตรวจสอบขัน้ ตอนการ ด�ำเนินการต่อครูผกู้ ระท�ำผิด พบว่า ท�ำได้ 3 ทางคือ 1) ด�ำเนินการทาง วิ นั ย ข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึกษา 2) ด�ำเนินการทาง จรรยาบรรณผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ทางการศึกษา และ 3) ด�ำเนินการ ตามกฎหมาย ทั้ ง นี้ ก ารด� ำ เนิ น การทางวิ นั ย ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการ ครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา (ก.ค.ศ.) ว่ า ด้ ว ยการสอบสวน พิจารณา พ.ศ. 2550 ก�ำหนดว่า ให้ อ นุ ก รรมการ ก.ค.ศ. ดํ า เนิ น การสอบสวนให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน ก่อนที่จะส่งส�ำนวนมาให้ ก.ค.ศ. ตัดสิน แต่อนุกรรมการฯ ขอขยายระยะเวลาได้ตาม ความจําเป็นครั้งละไม่เกิน 60 วัน และถ้าไม่แล้วเสร็จภายใน 240 วัน ก็ขอยืดต่อไปอีกได้โดยไม่มกี ำ� หนด ค รู โ ร ง เ รี ย น แ ห ่ ง ห นึ่ ง ใ น จังหวัดอุบลราชธานี ให้ข้อมูลว่า ในความเป็นจริง ขั้นตอบสอบวินัย ใช้เวลานานมาก กว่าจะท�ำให้ครู ออกจากราชการได้ใช้เวลากว่า 10 ปี ระหว่ า งนี้ ค รู จ ะเลื อ กไปสอนใน โรงเรียนที่ห่างไกลก็ได้ นายธีรทัศน์ ทางทอง นิติกร ช�ำนาญพิเศษ ส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึ ก ษาประถมศึ ก ษาชลบุ รี ยอมรับว่า ถ้าโรงเรียนปิดข่าวเงียบ ยัดเงิน-จับแต่งปิดปาก เรื่ อ งก็ จ บภายในสถานศึ ก ษา นางวาสนา เก้ า นพรั ต น์ เขตฯ ไม่มีวันรู้ ยกเว้นจะเป็นข่าว ผู ้ อ� ำ นวยการมู ล นิ ธิ ศู น ย์ พิ ทั ก ษ์ สิทธิเด็ก เปิดเผยว่า ได้รับเรื่อง 5 ป ี ห ลั ง ถ อ น ใ บ ป ร ะ ร้องเรียนนักเรียนถูกครูล่วงละเมิด กอบฯครู ไ ด้ แ ค่ 4 คน รายงาน ก.ค.ศ. กลุม่ วินยั และ ทางเพศประมาณ 100 เรื่องต่อปี ส่วนใหญ่โรงพยาบาลจะรายงาน นิตกิ าร ปีงบประมาณ 2554-2559 มี ห ลั ก ฐานแน่ ชั ด เป็ น ผลตรวจ ระบุวา่ มีขา้ ราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะ ร่างกาย “มูลนิธไิ ด้เข้าร่วมเป็นกรรมการ กรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ร่วมสืบหาข้อเท็จจริงด้วย พบว่า (สพฐ.) ถูกด�ำเนินการทางวินยั ทีย่ ตุ ิ แทบจะทั้ ง หมด นั ก เรี ย นจะถู ก แล้วในความผิดฐานชูส้ าว อนาจาร ข่มขู่จากครูผู้ก่อเหตุ และพบว่า และล่วงละเมิดทางเพศ 190 คน

ขณะที่ รายงานสถิตกิ ารรับเรือ่ ง ร้องเรียนของศูนย์บริการช่วยเหลือ เด็กและสตรีทถี่ กู กระท�ำรุนแรง หรือ ศูนย์พึ่งได้ ตั้งแต่ปี 2556-2560 ระบุวา่ ได้ชว่ ยเหลือเด็กอายุตำ�่ กว่า 18 ปี ทีถ่ กู กระท�ำความรุนแรงทาง เพศทีเ่ กิดเหตุในโรงเรียน 879 แห่ง มีผกู้ ระท�ำเป็นครูจำ� นวน 168 คน ผู ้ สื่ อ ข ่ า ว ร า ย ง า น ว ่ า พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส ภ า ค รู แ ล ะ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ระบุวา่ ครูประพฤติชสู้ าวกับนักเรียน หรือ มีความผิดทางเพศ เช่น ข่มขืน กระท�ำช�ำเรา ต้องถูกถอนหรือพัก ใช้ใบประกอบวิชาชีพ แต่รายงาน สรุปผลการด�ำเนินการพฤติกรรม ประพฤติ ผิ ด จรรยาบรรณของ วิ ช าชี พ ตั้ ง แต่ ป ี ง บประมาณ 2554-2560 คุ รุ ส ภา ระบุ ว ่ า เพิ ก ถอนใบประกอบวิ ช าชี พ ไป แล้ว 4 คน และพักใช้ใบประกอบ วิชาชีพ 10 คน นั ก วิ ช าการชี้ ส ะท้ อ น ระบบตรวจสอบล่ม ท�ำครูกอ ่ เหตุซำ�้ ซาก นางสาววราภรณ์ แช่ ม สนิ ท ผู้จัดการแผนงานสุขภาวะผู้หญิง และความเป็ น ธรรมทางเพศ สมาคมเพศวิ ถี ศึ ก ษา กล่ า วว่ า ประเทศไทยมี ขั้ น ตอนสอบสวน การละเมิดทางเพศล่าช้าและยืดเยือ้ สะท้ อ นวั ฒ นธรรมเรื่ อ งเพศที่ ไ ม ่ คุ ้ ม ค ร อ ง ผู ้ ถู ก ล ะ เ มิ ด ท� ำ ใ ห ้ ผู้ถูกกระท�ำไม่กล้าเปิดเผย ส่งผลต่อการล่วงละเมิดทางเพศ ยังคงมีอยู่ “พฤติ ก รรมช่ ว ยกั น ปกปิ ด ช ่ ว ย กั น ไ ก ล ่ เ ก ลี่ ย ท� ำ ใ ห ้ การล่ ว งละเมิ ด ทางเพศนั ก เรี ย น เกิดขึ้นเรื่อย ๆ ต้องแก้ไขตั้งต้นที่ คุ้มครองสิทธินักเรียน และจัดการ ครู ผู ้ ก ่ อ เหตุ อ ย่ า งเด็ ด ขาด” นางสาววราภรณ์ กล่าว นางเกศธิ ด า เขี ย วสอาด ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ทะเบี ย น ใ บ อ นุ ญ า ต ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ คุ รุ ส ภา ชีแ้ จงว่า เคยขอความร่วมมือ ก.ค.ศ. และ สพฐ. ให้ ส่งเรื่อง แต่ ก็ ไ ม่ ค ่ อ ยส่ ง มา คุ รุ ส ภาจึ ง ไป ตรวจสอบไม่ได้เพราะอยู่นอกเขต อ� ำ นาจ นอกจากจะมาร้ อ งกั บ คุรสุ ภาโดยตรง อ้างค�ำสัง่ คสช.ปลดบอร์ด คุรส ุ ภา ท�ำเรือ ่ งตกค้าง นางสาวบัณฑิตตา จินดาทอง นิตกิ รเชีย่ วชาญ รักษาการผูอ้ ำ� นวยการ

ข่าวเด่น

กลุ ่ ม ก� ำ กั บ ดู แ ลจรรยาบรรณ วิชาชีพ ส�ำนักจรรยาบรรณวิชาชีพ และนิ ติ ก าร คุ รุ ส ภา ชี้ แ จงว่ า ปี 2559-2560 มีเรื่องครูละเมิด ทางเพศนั ก เรี ย นค้ า งพิ จ ารณา เพราะไม่มคี ณะกรรมการมาตรฐาน วิชาชีพ (กมว.) ที่จะมาเพิกถอน ใบประกอบวิชาชีพครู เนื่องจาก ค� ำ สั่ ง ค ส ช . ที่ 7 / 2 5 5 8 วันที่ 17 เมษายน 2558 ให้ปลด กรรมการคุรสุ ภาซึง่ เป็นคนตัง้ กมว. ก . ค . ศ . ยึ ด ร ะ เ บี ย บ สอบวินัยไม่มีเส้นตาย ผู ้ สื่ อ ข่ า วโทรศั พ ท์ ส อบถาม นายสนิ ท แย้ ม เกษร ผู ้ ช ่ ว ย เลขาธิการ สพฐ. ถึงนโยบายการ แก้ปญ ั หาเด็กถูกครูละเมิดทางเพศ ได้มอบหมายให้นายธีร์ ภวังคนันท์ ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ เ ฉพาะกิ จ คุม้ ครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน สพฐ. เป็นผู้ชี้แจง ด้าน นายธีร์ กล่าวว่า ระยะ เวลาการสอบครูลว่ งละเมิดทางเพศ นักเรียน ถ้ามีผเู้ สียหายมากก็จะสืบ พยานนาน เช่น กรณีผู้อ�ำนวยการ โรงเรี ย นแห่ ง หนึ่ ง ในภาคเหนื อ ลวนลามเด็ ก นั ก เรี ย น ใช้ ร ะยะ เวลาประมาณ 4 เดือน แต่ระหว่าง สอบสวนก็จะย้ายนักเรียนไปเรียน ที่อื่นตามความสมัครใจ ขณะที่ นางปราณี ศิวารมณ์ รองเลขาธิการ ก.ค.ศ. ชี้แจงว่า ก.ค.ศ. มีหน้าที่ตรวจสอบส�ำนวน จากกรรมการสอบสวน ก่อนที่จะ ตัดสินวินัยครู และส่งไปให้คุรุสภา ถอดใบประกอบวิชาชีพ ซึ่งความ ล่าช้าเกิดจากระเบียบเปิดช่องให้ อนุกรรมการ ก.ค.ศ. ขยายเวลา สืบสวนได้คราวละ 60 วัน เช่น ลงพื้นที่แล้วไม่พบพยาน หรือครู ผู้ถูกสอบยื่นเรื่องอุทธรณ์ค�ำตัดสิน นอกจากนี้ อนุกรรมการที่ต้ังขึ้น อาจไม่ช�ำนาญทางกฎหมาย ท�ำให้ สอบไม่ครบทุกประเด็นจึงต้องสอบใหม่ ที่ส�ำคัญระเบียบไม่ได้ก�ำหนดเวลา สิ้ น สุ ด ให้ ชั ด เจน ท� ำ ให้ เ รื่ อ ง โดนขยายเวลาไปเรื่อย ๆ

มยุรา ยะทา สิทธิชัย ศรีม่วง ศุภณัฐ วุฒิโสภณ พรรณปพร เข็มทอง ปณาลี ลักษณสมบูรณ์

25/1/2561 11:29:16


รายงานพิเศษ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 3

เปิดขัน ้ ตอนจัดการครูละเมิดทางเพศ โรงเรียนเอกชนแค่ให้ลาออก-ไม่สง ่ เรือ ่ งถอดใบประกอบวิชาชีพ

“เคยถู ก ครู จั บ ต้ น ขาระหว่ า งเรี ย น พอพ่ อ ไปร้ อ งผู ้ อ� ำ นวยการให้ ต รวจสอบ วันรุ่งขึ้นโรงเรียนแค่ย้ายครูคนนี้จากหมวด วิชาดนตรีไปอยู่ฝ่ายปกครอง แล้วก็ไม่มีท่าที อย่างอื่นเลย” เมื่อ 5 ปีที่แล้ว นักเรียนหญิงคนหนึ่งใน โรงเรียนเอกชนย่านนนทบุรี ประสบเหตุถูก ล่วงละเมิดทางเพศ แต่โรงเรียนกลับไม่ท�ำ อะไรมากไปกว่าการย้ายครูไปอีกแผนกหนึ่ง จนเธอต้องย้ายโรงเรียนเพราะหวาดกลัว ส่วนนักเรียนหญิงอีกคนหนึ่งในโรงเรียน เอกชนชื่ อ ดั ง ของจั ง หวั ด นครสวรรค์ ถูกครูสอนคอมพิวเตอร์ตั้งกล้องแอบถ่ายใต้ กระโปรงในห้ อ งเรี ย น เมื่ อ 2 ปี ที่ แ ล้ ว พอถูกจับได้ โรงเรียนท�ำแค่ยา้ ยครูคนดังกล่าว ไปสอนในโรงเรียนเอกชนอีกแห่งหนึ่งที่อยู่ ใกล้กัน “ทีน่ ไี่ ม่มเี รือ่ งครูถา่ ยคลิปฉาว” ผูอ้ ำ� นวยการ ของโรงเรียนที่เกิดเหตุปฏิเสธทันทีก่อนที่ ทีมข่าวจะเอ่ยปากถาม เช่นเดียวกับผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนเอกชน ทีร่ บั ครูคนดังกล่าวไปสอน ยืนยันว่า “รูจ้ กั ครู ในจังหวัดทุกคน ถ้ามีเหตุรา้ ยแรงแบบนีเ้ กิดขึน้ ก็ต้องทราบแล้ว” เหตุ ค รู ล ่ ว งละเมิ ด ทางเพศนั ก เรี ย น ถ้าไม่ปรากฏเป็นข่าวตามหน้าสื่อ โรงเรียน และผู ้ บ ริ ห ารก็ มั ก ปกปิ ด ไกล่ เ กลี่ ย ให้ ยอมความ กระทั่งช่วยเหลือรับรอง ไม่ตั้ง กรรมการสอบสวนท�ำให้ครูเหล่านี้ยังสอน หนังสือในโรงเรียนต่อไปได้ หนังสือพิมพ์ลูกศิลป์ใช้ช่องทางสื่อสังคม ออนไลน์เสาะหาจนได้สัมภาษณ์นักเรียน และผู้ปกครองของนักเรียนโรงเรียนเอกชน ที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ 6 กรณีในภาคกลาง ทั้ ง หมดบอกตรงกั น ว่ า เคยร้ อ งผู ้ บ ริ ห าร โรงเรียนเพื่อเอาเรื่องแต่ปรากฏว่า โรงเรียน ไม่ดำ� เนินการใด ๆ บางแห่งผูบ้ ริหารติดต่อขอ ให้ไม่เอาความเพือ่ ไม่ให้โรงเรียนเสียชือ่ เสียง “ครูมาหอมมือลูกสาวของดิฉันที่เรียน ประถม บอกว่า หน้าเหมือนแฟนเก่า พอดิฉนั ร้องไปยังผูอ้ ำ� นวยการก็โดนหัวเราะใส่ บอกว่า ไม่นา่ จะใช่เรือ่ งจริง” ผูป้ กครองนักเรียนหญิง โรงเรียนเอกชนในกรุงเทพฯ รายหนึ่ง เล่า ขณะทีอ่ กี 13 กรณีในกรุงเทพฯ นักเรียน ที่ถูกกระท�ำบอกตรงกันว่า ตัดสินใจไม่เล่า ให้คนอื่นฟังว่าโดนครูลูบไหล่ ลูบแขนขา เพราะไม่คิดว่าเป็นเรื่องใหญ่ ถ้าไปร้องเรียน ผู้บริหารก็คงไม่ด�ำเนินการอะไร ขณะเดี ย วกั น เมื่ อ สอบถามขั้ น ตอน การด�ำเนินการเอาผิดครูล่วงละเมิดทางเพศ นักเรียน กับโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล กว่า 10 แห่ง ผู้อ�ำนวยการ และครูในโรงเรียนบอกตรงกันว่า โรงเรียนจะ

LAYOUT.indd 5

ตั้งคณะกรรมการสอบสวนภายในเพื่อค้นหา ความจริ ง หากพบว่ า ครู ก ระท� ำ ผิ ด จริ ง จะไกล่เกลี่ยขอไม่ให้แจ้งความแต่จะขอให้ ครูคนนั้นลาออกหรือไล่ออกทันที ดวงตา แต่งสกุล ฝ่ายส�ำนักงานอธิการ โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์ ยอมรับว่า กรรมการบริหาร โรงเรียนจะสอบสวนหาหลักฐานจากการถาม นักเรียนและครูทอี่ ยู่ ในเหตุการณ์ หากพบว่า ครูก่อเหตุจริง จะเชิญครูคนนั้นออก แต่จะ ไกล่เกลี่ยกับผู้ปกครองให้จบแค่ในโรงเรียน หากผู้ปกครองยังไม่พอใจก็เป็นสิทธิที่จะไป ด�ำเนินการตามกฎหมาย แต่โรงเรียนจะไม่มี ส่วนเกี่ยวข้องและไม่ได้ยื่นเรื่องถอดถอน ใบประกอบวิชาชีพ เช่นเดียวกับโรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ กรุ ง เทพฯ ยุ ท ธดนั ย พิ ทั ก ษ์ อ รรณพ หัวหน้างานวัดผลและประเมินผล อธิบายว่า หากสอบสวนแล้วพบว่าครูกระท�ำผิดจริง จะให้ครูลาออก “จากนั้ น โรงเรี ย นจะส่ ง เรื่ อ งไปที่ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน (สช.) เพี ย งแต่ ไ ม่ ร ะบุ ส าเหตุ ใ น การลาออกที่ชัดเจนเท่านั้น” ขณะที่ ภราดาวิ นั ย วิ ริ ย วิ ท ยาวงศ์ ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนเซนต์คาเบรียล กล่าวว่า โรงเรี ย นในเครื อ ยึ ด คู ่ มื อ นโยบายปกป้ อ ง คุ้มครองเด็ก/เยาวชน ค.ศ. 2016 ส�ำหรับ เเขวงประเทศไทย เป็นแนวปฏิบัติ กล่าวคือ จะตรวจสอบข้อเท็จจริงและลงโทษครูตาม ระเบียบ ขั้นสูงสุดคือ ไล่ออกแต่ไม่มีการส่ง รายชือ่ ครูกระท�ำผิดไปให้โรงเรียนอืน่ ในเครือ “ไม่จำ� เป็นต้องแจ้งรายชือ่ ครูทกี่ ระท�ำผิด ให้ โ รงเรี ย นในเครื อ เพราะไม่ มี ผ ลอะไร เราประชุมแบ่งปันข้อมูลกันทุกเดือนอยู่แล้ว ส่วนจะต้องแจ้ง สช. หรือไม่ ก็แล้วแต่ความจ�ำเป็น” นอกจากไม่ด�ำเนินการขั้นเด็ดขาดถึงขั้น ยื่นเรื่องให้ภาครัฐถอนใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพ อีกด้านหนึง่ ยังพบด้วยว่า การตรวจสอบ ประวัติครูที่จะเข้ามาสอนเพื่อไม่ให้เกิดเหตุ ซ�้ำรอยนั้น โรงเรียนเอกชนบางแห่งท�ำเพียง สุ่มตรวจ ศิวารมย์ ศิริภาพ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน โพฒิสารศึกษา จังหวัดนครสวรรค์ บอกว่า การรั บ ครู ใ หม่ จ ะเน้ น ความสามารถใน การสอน และสอบสัมภาษณ์ หากครูไม่มี ใบประกอบวิ ช าชี พ ก็ จ ะไปขอใบอนุ ญ าต ประกอบวิชาชีพชั่วคราวให้ และจัดอบรม ด้านความประพฤติเชิงชู้สาว การแต่งกาย และหนี้สินในวันปฐมนิเทศ “กรณียา้ ยมาจากโรงเรียนอืน่ ถ้าสนิทกับ โรงเรียนนัน้ ก็จะโทรไปสอบถามสาเหตุทเี่ ขาลาออก ถ้าไม่สนิทก็ไม่ตรวจสอบ” ผูบ้ ริหารโรงเรียน ระบุ

ที่มา : สำ�รวจจากโรงเรียนเอกชนทั้งหมด 13 แห่ง

ส�ำหรับการก�ำกับดูแลกิจการโดยภาครัฐ พบว่ า ไม่ มี ห น่ ว ยงานใดระบุ ภ ารกิ จ ความรับผิดชอบในเรื่องนี้ สิรมิ า ไทรแก้ว นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ พิเศษ สช. อ้างว่า สช. ไม่มีหน้าที่ตรวจสอบ ครูโรงเรียนเอกชนล่วงละเมิดทางเพศ เธอบอกอี ก ว่ า ท� ำ งานมา 39 ปี ยั ง ไม่เคยรับเรื่องร้องเรียนครูโรงเรียนเอกชน ล่วงละเมิดทางเพศนักเรียนแม้แต่รายเดียว และเท่ า ที่ ท ราบ หากเกิ ด เรื่ อ งผู ้ ป กครอง จะร้องเรียนตรงไปยังศึกษาธิการจังหวัดและ จะมีนติ กิ รจากคุรสุ ภามาตรวจสอบถอดถอน ใบประกอบวิชาชีพ ส่วน เกศธิดา เขียวสอาด ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักทะเบียนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ คุ รุ ส ภา ระบุ ว ่ า ไม่ ค ่ อ ยมี ก รณี ถ อดถอน ใบประกอบวิ ช าชี พ ครู โ รงเรี ย นเอกชน เพราะ สช. หรือโรงเรียนไม่เคยส่งเรือ่ งเข้ามา คุรุสภาจะทราบและเข้าไปจัดการได้ต่อเมื่อ ปรากฏเป็นข่าวในสื่อหรือผู้ปกครองแจ้งมา โดยตรง สอดคล้องกับที่ บัณฑิตตา จินดาทอง นิตกิ รเชีย่ วชาญรักษาการผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ก�ำกับ ดูแลจรรยาบรรณวิชาชีพ ส�ำนักจรรยาบรรณ วิชาชีพและนิตกิ าร คุรสุ ภา เปิดเผยว่า ตัง้ แต่ ปี 2554 ถึงปัจจุบัน มีการถอดใบประกอบ วิชาชีพครูโรงเรียนเอกชนมาแล้วเพียง 4 ราย มีค�ำชี้แจงจาก ธีร์ ภวังคนันท์ หัวหน้า ศู น ย์ เ ฉพาะกิ จ คุ ้ ม ครองและช่ ว ยเหลื อ นักเรียน (ฉก.ชน.) ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน (สพฐ.) ระบุ ว ่ า ศูนย์เฉพาะกิจฯ เริ่มจัดท�ำระบบฐานข้อมูล การคุ้มครองนักเรียนตั้งแต่ปี 2558 แล้ว โดยรวบรวมข้ อ มู ล ของครู แ ละบุ ค ลากร

ทางการศึ ก ษาที่ มี พ ฤติ ก รรมไม่ เ หมาะสม ต่อนักเรียนในทุกกรณีเพื่อตรวจสอบข้อมูล และป้องกันไม่ให้ครูกลับมากระท�ำผิดซ�้ำ ซึ่ ง ก� ำ ลั ง ท� ำ เป็ น ระบบดิ จิ ทั ล ให้ ง ่ า ยต่ อ การตรวจสอบแต่ยังขาดแคลนบุคลากรมา ด�ำเนินการย้ายข้อมูลเข้าระบบ ขณะที่ พะโยม ชิ ณ วงศ์ เลขาธิ ก าร ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน ชี้ แ จงว่ า โรงเรี ย นเอกชนเป็ น นิติบุคคลจึงมีอ�ำนาจตรวจสอบและเอาผิด ครูในโรงเรียนได้อย่างสมบูรณ์ ครูทกี่ ระท�ำผิด มักจะถูกไล่ออกทันที และ สช. จะส่งให้ คุรสุ ภาพิจารณาความผิดทางจรรยาบรรณ ซึ่งแตกต่างจากโรงเรียนรัฐที่มีกระบวนการ สอบสวนหลายขั้นตอนและใช้เวลานาน “หากโรงเรียนไม่ด�ำเนินการ ผู้เสียหาย ต้องแจ้งความ หรือร้องเรียนมาที่ สช. หรือ ศึกษาธิการจังหวัดโดยตรง แต่ทผี่ า่ นมาไม่คอ่ ย มีเรือ่ งดังกล่าวทีม่ กี ค็ ลีค่ ลายเรียบร้อยดี สช. ดู ข้อมูลของแต่ละโรงเรี ย นอยู ่ บ ้ า งถ้ า เกิ ด เรื่ อ งบ่ อ ยก็ จ ะมี นโยบายไปที่โรงเรียน” เลขาธิการ สช. ระบุ

ศุภิสร มาอินทร์ จิรัชญา ชัยชุมขุน ศศิประภา เตชะมา นภัสพร อุทัยทวีลาภ พิมพ์แพร หาญผดุงกิจ

25/1/2561 11:29:17


4 | ลูกศิลป์

ต้องก�ำกับระบบตรวจสอบ แทบทุกเดือนจะพบข่าวครูลว่ งละเมิดทางเพศนักเรียน เสนอผ่ า นสื่ อ หลั ก และสื่ อ สั ง คมออนไลน์ ซึ่ ง ข่ า ว ‘เจาะระบบเอาผิดครูล่วงละเมิดทางเพศ’ เผยให้เห็น ระบบตรวจสอบเอาผิดที่เอื้อประโยชน์ไปในทางผู้ก่อเหตุ กล่าวคือ นอกจากผู้บริหารโรงเรียนและเขตการศึกษา จะไม่ปกป้องสิทธิของนักเรียนแล้ว ยังช่วยลงมาไกล่เกลี่ย ขอให้ผู้ถูกกระท�ำยอมความ ยอมรับค่าชดเชย ไปจนถึง เกลี้ยกล่อมให้แต่งงานกับครูผู้ก่อเหตุ ธงของพวกเขาคือ ท�ำให้เรื่องเงียบลงโดยเร็วที่สุด หากเรือ่ งแดงขึน้ จนถึงขัน้ ปกปิดไม่ได้ การตัง้ กรรมการ สอบสวนหาข้อเท็จจริง ไปจนถึงขั้นตัดสินลงโทษและ ถอดใบประกอบวิชาชีพ ยังใช้เวลาเนิน่ นาน ระเบียบเปิด ให้ต่ออายุเวลาออกไปโดยไม่มีก�ำหนด เป็นการไม่อ�ำนวย ความยุตธิ รรมให้กลับคืนมาโดยเร็ว ข้อมูลผลการด�ำเนินการ พฤติกรรมประพฤติผดิ จรรยาบรรณวิชาชีพตัง้ แต่ปี 2554-2560 ของคุรุสภา ระบุว่า สามารถถอนใบประกอบวิชาชีพครูที่ ล่วงละเมิดทางเพศได้เพียง 4 คน ในรอบ 5 ปีหลัง จากที่ มีค รู ถู ก ด� ำ เนิ น การทางวิ นั ย ในกรณี นี้ เ กื อ บ 200 คน เป็นข้อยืนยันการตรวจสอบอันไร้ประสิทธิภาพ สภาพแวดล้อมแบบนี้เองได้กดทับผู้ปกครอง และ นักเรียนไม่ให้ลุกขึ้นต่อสู้ ซ�้ำผู้มีอ�ำนาจในโรงเรียนยังโยน ความผิดให้แก่เด็ก บอกแต่เพียงว่าให้เด็กระมัดระวังตัว หรือโทษว่าเด็กแต่งตัวไม่เรียบร้อยยาวไปถึงพฤติกรรมและ

นิสัยซึ่งอ้างว่าเป็นต้นเหตุให้เกิดการล่วงละเมิดทางเพศ สิง่ เหล่านีท้ ำ� ให้ครูเหล่านัน้ ย่ามใจ รูว้ า่ ถึงอย่างไรเสียก็จะมี คนช่วยเหลือไม่ให้ได้รบั โทษ นีจ่ งึ เป็นการซ�ำ้ เติมความเลวร้าย ไปสู่นักเรียนผู้ถูกกระท�ำ ขณะที่ผู้กระท�ำลอยนวลและ กลับมาก่อเหตุซ�้ำ การแก้ปญ ั หาการล่วงละเมิดทางเพศมีการถกเถียงกัน หลายครั้งในสังคม บางฝ่ายเสนอให้เพิ่มโทษผู้ก่อเหตุ แต่คงไม่ใช่ทางออกหากยังจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ ผู้ก่อเหตุเช่นนี้ ทางออกในกรณีนคี้ อื ระบบตรวจสอบที่ เข้มแข็ง ซึง่ จะเข้มแข็งได้นนั้ ต้องโปร่งใส ก�ำกับ กดดันได้ อาจจะเริม่ จากการสร้างตัวระบบให้เกิดความใกล้ชดิ กับผูร้ บั บริการด้านการศึกษา เริ่มจากระดับโรงเรียน สมาคมผู้ปกครองมีบทบาท ส�ำคัญทีจ่ ะดูแลผลประโยชน์ของเด็ก ไม่ผลักให้จดั การกันเอง เป็ น เรื่ อ งรายบุ ค คลซึ่ ง ท� ำ ให้ อ� ำ นาจการต่ อ รองน้ อ ย จนเรื่องเงียบ แต่ ต ้ อ งเป็ น การยื น ยั น ปกป้ อ งหลั ก การ ความปลอดภั ย ในเนื้ อ ตั ว ร่ า งกาย ส่วนระดับถัดมา การให้ครูด้วยกันตรวจสอบกันเอง อาจเกิดการช่วยเหลือกัน ช่วยยืดเวลาการสอบยาวนาน จึงต้องเปิดให้มีตัวแทนจากชุมชน องค์กรประชาสังคม หน่วยงานด้านยุตธิ รรม เข้ามาร่วมตรวจสอบโดยมีสดั ส่วน มากกว่าคนกันเอง และก�ำหนดเวลาสอบสวนให้มเี ส้นตาย ไม่ใช่ปล่อยให้ยดื ยาวโดยไม่มที สี่ นิ้ สุด

บทบรรณาธิการ

ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศักดิ์ ชาติน�้ำเพ็ชร (คณบดี) อาจารย์อริน เจียจันทร์พงษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์มัทนา เจริญวงศ์ อาจารย์ทองนากศิริวิ เหล่าวงษ์โคตร อาจารย์หทัยรัตน์ พหลทัพ อาจารย์วัยวัฒน์ สายทุ้ม อาจารย์ชัยณรงค์ กิตินารถอินทราณี อาจารย์กันย์พัชญ์ กะลัมพะเหติ

คณะผู้จัดท�ำ

บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา วิภาภรณ์ สุภาพันธ์ บรรณาธิการบริหาร รชา เหลืองบริสุทธิ์ บรรณาธิการข่าว จิรัชญา ชัยชุมขุน มยุรา ยะทา บรรณาธิการศิลปกรรม พระจันทร์ เอี่ยมชื่น ฝ่ายศิลปกรรม นภสร ทองหล่อ ปณาลี ลักษณสมบูรณ์ ศศิประภา เตชะมา โสฬวรรณ สุวรรณโชติ ฝ่ายพิสูจน์อักษร ภาพย์ตะวัล สุภานิธินันน์ ศรุตยา ทองขะโชค อรณี รัตนวิโรจน์ ผู้ประสานภาพข่าว พัชรี งามสมชาติ สัมภาษณ์พิเศษ วิภาภรณ์ สุภาพันธ์ ปาณิศา แสงชัยสุคนธ์กิจ สารคดีเชิงข่าว จิรัชญา ชัยชุมขุน สุดารัตน์ พรมสีใหม่ รชา เหลืองบริสุทธิ์ ที่ปรึกษาบรรณาธิการ วุฒิพงษ์ วงษ์ชัยวัฒนกุล เขมพัฏฐ์สร ธนปัทมนันท์ พัชรี พรกุลวัฒน์ ศูนย์ข่าวเพชรบุรี นักศึกษาวารสารและหนังสือพิมพ์ ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงพิมพ์ บริษัท ภัณธรินทร์ จ�ำกัด คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร เมืองทองธานี City Campus เมืองทองธานี 80 ถนนป๊อปปูล่า ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ / โทรสาร : 0-2233-4995-7 เว็บไซต์ : www.ict.su.ac.th : http://www.ictsilpakorn.com/ictmedia : www.facebook.com/looksilp/

ลู ก ศิ ล ป์ สามารถตี ค วามได้ ส องความหมาย หนึง่ คือ ลูกศิลปากร สองคือ ลูกศิษย์ ของอาจารย์ศลิ ป์ พีระศรี ผูก้ อ่ ตัง้ มหาวิทยาลัยศิลปากร ทัง้ ยังเป็นศิลปินผูม้ มุ านะ ในการสัง่ สอนและสร้างสรรค์ผลงานจนเป็นทีป่ ระจักษ์ แจ้งแก่สายตาชาวไทย หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ เป็ น ชิ้ น งานของ คณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร จั ด ท� ำ โดยนั ก ศึ ก ษา ชั้ น ป ี ที่ 3 เ อ ก ว า ร ส า ร แ ล ะ ห นั ง สื อ พิ ม พ ์ เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาแต่ ล ะรุ ่ น มี ป ระสบการณ์ ต รง

LAYOUT.indd 6

ใ น ก า ร จั ด ท� ำ ห นั ง สื อ พิ ม พ ์ อ ย ่ า ง มื อ อ า ชี พ เ ต รี ย ม พ ร ้ อ ม ส� ำ ห รั บ ก า ร อ อ ก ไ ป ฝ ึ ก ง า น ภาคสนามทุ ก รู ป แบบ ไม่ ว ่ า จะเป็ น การฝึ ก งาน จุลนิพนธ์ หรือหลังจบส�ำเร็จการศึกษา โดยขัน้ ตอน การด�ำเนินการ นักศึกษาจะเลือกหัวข้อที่ตัวเอง สนใจเพื่ อ ลงพื้ น ที่ โ ดยอาศั ย ทั ก ษะที่ ไ ด้ รั บ การฝึ ก ฝนมาใน 2 ปี แ รก อาทิ การสั ม ภาษณ์ การถ่ า ยรู ป และแบ่ ง หน้ า ที่ ต ามความถนั ด ของ แต่ละคน เพือ่ จัดท�ำรูปเล่มหนังสือพิมพ์ ไม่วา่ จะเป็น ฝ่ายจัดหน้า ฝ่ายกราฟิก ฝ่ายตรวจทาน รวมถึง

กองบรรณาธิการ ด้านงบประมาณ ทางคณะจะสนับสนุน งบประมาณร้อยละ 50 ขณะทีส่ ว่ นทีเ่ หลือ นักศึกษา จะเป็นผูจ้ ดั หาด้วยตนเอง ผลลัพธ์ที่ได้จากการท�ำงานครั้งนี้ คือ นักศึกษา สามารถผลิตหนังสือพิมพ์คณ ุ ภาพและได้มาตรฐานเทียบ เท่าหรือมากกว่าทีว่ างขายในท้องตลาดรวมถึงนักศึกษา สามารถน�ำประสบการณ์ทไี่ ด้รบั ไปประยุกต์ใช้กบั การ ฝึกงานและอาชีพการงานในอนาคต

25/1/2561 11:29:19


สัมภาษณ์พิเศษ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 5

‘เลือกตัง ้ ’ในฐานะพืน ้ ทีต ่ อ ่ รองเศรษฐกิจ เกื อ บ 4 ปี ภายใต้ รั ฐ บาลทหาร นักเศรษฐศาสตร์วเิ คราะห์วา่ เศรษฐกิจยุคนี้ ถดถอย ภาคเอกชนหมางเมิ น การลงทุ น เมือ่ เทียบกับยุคประชาธิปไตย จนเป็นรัฐบาลแรก ทีก่ ารลงทุนติดลบ 3 ปีซอ้ น ศู น ย์ พ ยากรณ์ เ ศรษฐกิ จ และธุ ร กิ จ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ออกมาระบุเมือ่ วันที่ 4 มกราคม ที่ผ่านมา ว่า “คนร้อยละ 40 ซึ่ง เศรษฐกิจไทยปีนี้มีโอกาสเติบโต ใกล้เคียงระดับร้อยละ 5 หากมี รายได้ น ้ อ ย ความรู ้ การเลือกตัง้ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ไ ด้ รั บ ก็ น ้ อ ย อ� ำ นาจต่ อ โอกาสจาก เดชรั ต สุ ข ก� ำ เนิ ด รองอยู ่ ที่ เ สี ย งของ หั ว หน้ า ภาควิ ช าเศรษฐศาสตร์ เ ก ษ ต ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร เขา แต่ เ มื่ อ ไม่ มี ก าร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย เลื อ กตั้ ง เขาก็ ไ ม่ มี เกษตรศาสตร์ มาชี้ให้เห็นความ อ�ำนาจต่อรองผ่าน สัมพันธ์ของเศรษฐกิจกับการเลือก ตัง้ ทีผ่ า่ นมา และทีค่ าดว่า ก�ำลังจะ การโหวต” มาถึงปลายปีนี้ อาจจะมองกันว่า มีเลือกตัง้ มีพรรคการเมือง เกื อ บ 4 ปี ที่ ไ ม่ มี เ ลื อ กตั้ ง เขาต้องไปเอาใจกลุ่มร้อยละ 40 ใช่ไหม เศรษฐกิ จ ประเทศไทยเป็ น นัน่ ก็แล้วแต่จะมองค�ำว่า ‘เอาใจ’ เขามีรายได้ น้อยสุดแล้วคุณท�ำให้เขามีรายได้เพิ่มขึ้นมัน อย่างไรกันแน่ เป็นเศรษฐกิจถดถอย (Recession economy) ผิดตรงไหน แต่บางคนก็จะบอกว่า ท�ำเพือ่ เอาใจ หมายความว่า โต แต่โตช้า ข้อเท็จจริงพบว่า แต่การเมืองมันเป็นเรือ่ งสร้างความนิยมซึง่ ไม่ใช่ โตไม่ถงึ ร้อยละ 5 ปีแรกทีร่ ฐั บาลคณะรักษา เรือ่ งผิด อย่าลืมว่า รัฐบาลปัจจุบนั ก็เอาใจคนรวย ความสงบแห่งชาติ (คสช.) เข้ามา เศรษฐกิจโต ฉะนั้น ถ้าถามว่า ปากท้องเป็นผลมาจาก ร้อยละ 0 ปีที่ 2 โตร้อยละ 1 ปีลา่ สุดโตมากทีส่ ดุ การเลือกตั้งไหม ก็ตอ้ งบอกว่า เป็นส่วนหนึง่ ร้อยละ 3.5-4 ซึง่ ยังไม่มใี ครสรุปตัวเลขออกมา แน่นอน ยกตัวอย่าง เรือ่ งค่าแรงขัน้ ต�ำ่ ทีไ่ ม่ขนึ้ ตัวเลขดังกล่าวหมายความว่า ภาพแรก มา 3 ปี นี่ เ ห็ น ชั ด เจน ถ้ า เป็ น รั ฐบาลที่ มา การเติบโตค่อนข้างช้า ภาพทีส่ องการเติบโต จากการเลือกตัง้ ท�ำแบบนีป้ ระชาชนไม่โอเค ไม่เท่ากันระหว่างกลุม่ ทีม่ ฐี านะดี คือ กลุม่ ทีม่ ี แต่รัฐบาลนี้มาจากรัฐประหาร ประชาชน ธุรกิจขนาดใหญ่จะเติบโตได้เร็วกว่า ส่วนกลุม่ ที่ ไม่สามารถแสดงความเห็นอะไรก็ไม่สามารถ เป็นเกษตรกร นอกจากจะไม่เติบโตแต่ยงั ลดลง ต่อรองได้ อย่ า งไรก็ ดี ก็ ยั ง มี ส ่ ว นอื่ น ด้ ว ย เช่ น เรียกว่า แตกต่างกันมากภายในเศรษฐกิจของ เราเอง ระหว่างคนทีม่ รี ายได้สงู สุดของประเทศ ความสามารถของผูป้ ระกอบการว่า สามารถ ุ ภาพ ต้นทุนถูก แข่งกับคนอืน่ ทีม่ รี อ้ ยละ 20 มีรายได้สงู ขึน้ ส่วนกลุม่ คนทีม่ ี ผลิตของทีม่ คี ณ รายได้นอ้ ยทีม่ รี อ้ ยละ 40 กลับมีรายได้นอ้ ยลง ได้หรือไม่ แต่ทเี่ ราพูดกันเรือ่ งเลือกตัง้ มันก็มผี ล ต่อการต่อรองบางเรือ่ ง ถ้าส่งออกเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4 เพราะฉะนัน้ ความเหลือ่ มล�ำ้ มันขยายมากขึน้ แต่คา่ แรงไม่เพิม่ เลย นีม่ นั ก็มเี รือ่ งการเลือกตัง้ ความแตกต่ า งเรื่ อ งรายได้ เข้ามาเกีย่ วข้อง ของ 2 กลุม ่ เกีย ่ วกับการเมือง นโยบายประชารัฐตอบโจทย์คน อย่างไร ่ ไหนแน่ รัฐบาลทีม่ าจากการเลือกตัง้ จะต้องดูแลฐาน กลุม ต้องเข้าใจก่อนว่า การออกนโยบายอยู่ เสียงคนกลุม่ ใหญ่ของเขา แต่ในสถานการณ์ที่ ไม่มกี ารเลือกตัง้ กลุม่ ร้อยละ 20 กับกลุม่ ร้อยละ 40 ที่แต่ละรัฐบาลมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนา มันไม่มคี วามส�ำคัญเลย คนทีม่ รี ายได้นอ้ ย มีรายได้ อย่างไร มันไม่มนี โยบายใดดีทสี่ ดุ มีแต่จดุ มุง่ หมาย แย่ลงไปอีก รัฐบาลทีไ่ ม่ได้มาจากการเลือกตัง้ ก็เฉย ๆ เป็นอย่างไรแล้วท�ำให้ได้ตามจุดมุ่งหมายที่ แต่ถา้ อยูใ่ นบริบทเลือกตัง้ ถ้ารัฐบาลไม่สนใจก็จะ วางไว้ กรณีนี้ ถ้าต้องการลดความเหลือ่ มล�ำ้ แพ้เลือกตัง้ มันจึงเกีย่ วกับการเมืองโดยปริยาย รั ฐ บาลก็ ค วรจั ด หาอะไรสนั บ สนุ น กลุ ่ ม คนร้อยละ 40 ซึง่ รายได้นอ้ ย ความรูก้ น็ อ้ ย อ�ำนาจ ร้อยละ 40 สุดท้ายของประเทศ รั ฐ บาลปั จ จุ บั น เคยออกนโยบาย ต่อรองอยูท่ เี่ สียงของเขา แต่เมือ่ ไม่มกี ารเลือกตัง้ ‘ชอปช่วยชาติ’ คนอาจจะไม่รวู้ า่ จริง ๆ แล้ว เขาก็ไม่มอี ำ� นาจต่อรองผ่านการโหวต

LAYOUT.indd 7

คนทีส่ ามารถลดหย่อนภาษีได้มแี ค่รอ้ ยละ 10 ของประชาชนทัง้ ประเทศ เพราะทีเ่ หลือเขามี รายได้ไม่พอทีจ่ ะเสียภาษี สมมติวา่ คุณมีรายได้ที่ จะเสียภาษีเกินมานิดเดียวคุณก็สามารถหัก ลดหย่อนภาษีได้นดิ เดียว แต่คนทีม่ รี ายได้หลาย สิบล้าน จะลดหย่อนได้อย่างเต็มที่ เพราะฉะนัน้ ผลประโยชน์ก็จะตกไปกับกลุ่มที่รวยที่สุด ในประเทศ สาเหตุสว่ นหนึง่ ก็เป็นเพราะว่าไม่มี ฝ่ายค้าน ถ้ามีฝา่ ยค้านแล้วรัฐบาลออกนโยบาย นีร้ บั รองว่าจะถูกค้านอย่างแน่นอน เพราะว่า คนที่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ ที่ สุ ด คื อ คนที่ ร วย เหมือนยิง่ รวยยิง่ ได้ประโยชน์ บางฝ่ายอ้างว่า ประชาชนไม่ ได้มองการเลือกตั้ง แต่มอง ถึงปากท้อง ไม่ใช่หรอก มันอยูท่ วี่ า่ ประชาชนแต่ละกลุม่ มีวธิ ที ำ� ความเข้าใจทีแ่ ตกต่างกัน แบ่งเป็น 3 กลุม่ กลุม่ แรกท�ำความเข้าใจว่า มีหรือไม่มเี ลือกตัง้ ก็ได้ ขอให้ฉนั มีรายได้ กลุม่ ที่ 2 ก็อาจจะมีความเข้าใจ คล้าย ๆ กับทีเ่ ราคุยกันว่าเราต่อรองเงินเดือนไม่ได้ ก็เพราะว่ามันไม่มกี ารเลือกตัง้ กลุม่ ที่ 3 ก็อาจจะ มองว่า มันดีหรือไม่ดมี นั ก็อกี เรือ่ ง แต่เราจ�ำเป็น ทีจ่ ะต้องมีการเลือกตัง้ ทีจ่ ะท�ำให้มนั เป็นพืน้ ทีท่ ี่ ท�ำให้ทกุ คนมีโอกาสทีจ่ ะต่อรองได้เท่ากัน ฉะนัน้ ‘บางฝ่าย’ ทีว่ า่ อาจจะเป็นเฉพาะแบบแรก ทัง้ ที่ มีการมองแบบอืน่ ๆ อีกมาก คือมันต้องแฟร์กบั คนอืน่ ๆ ทีอ่ าจจะล�ำบาก บางพรรคทีเ่ ราเลือกมาเราอาจจะได้ประโยชน์ แต่ถา้ ไม่มกี ารเลือกตัง้ แล้วบอกว่า เอารัฐบาล นีใ้ ห้เป็นรัฐบาลตลอดไป มันไม่แฟร์กบั คนอืน่ ก็เหมือนกับคนกลุม่ ร้อยละ 20 ทีไ่ ด้ประโยชน์จาก รัฐบาล คสช. ต้องถามตัวเองว่า แฟร์กบั คนอืน่ ไหม ปัญหาคือ คนกลุม่ นีม้ กั มีเสียงดัง มักจะอ้างว่า หวังดีตอ่ ประเทศชาติมากกว่ากลุม่ ร้อยละ 40

ซึง่ จนแล้วไม่รเู้ รือ่ ง แต่นมี่ นั เป็นข้ออ้าง จะไป รูไ้ ด้อย่างไรว่า คนอืน่ ได้ประโยชน์แบบทีเ่ รา ได้ประโยชน์ รูไ้ ด้อย่างไรว่า หวังดีกบั ประเทศ มากกว่าคนอืน่ ต่างประเทศวิเคราะห์ว่า ปีนี้ ไทยก็อาจจะยังไม่มีเลือกตั้ง เศรษฐกิจจะเป็นอย่างไร ปีนี้มีหรือไม่มีเลือกตั้ง ผมคงเดาไม่ได้ แต่ ที่ รั ฐ บาลออกมาบอกว่ า พร้ อ มจะขึ้ น ค่าแรง จุดนีผ้ มเชือ่ ว่า เข้าสูโ่ หมดการเลือกตัง้ แล้ว แปลว่า รัฐบาลก�ำลังเตรียมพร้อมที่จะจ่าย เพื่อให้คนกลุ่มร้อยละ 40 ที่ไม่มีสิทธิ์มีเสียง มีเสียงเพิ่มขึ้น แต่จะเลือกตั้งเมื่อไรอาจจะ เป็นจังหวะทางการเมืองมากกว่า อันที่จริง ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ว่า ไม่ได้มี การเลือกตัง้ แต่มนั อยูท่ วี่ า่ การเลือกตัง้ ครัง้ นี้ ถ้าดูกติกาจะเห็นว่า ไม่เป็นธรรมร้อยเปอร์เซ็นต์ พรรคทีไ่ ด้คะแนนเสียงมาก ก็ไม่ได้หมายความว่า พรรคนัน้ จะได้เป็นรัฐบาล ลองคิดดูว่า ยังมี ส.ว. 250 คน ทีน่ ายก รัฐมนตรีในฐานะหัวหน้า คสช. เป็นคนเลือก สมมติว่า พรรคทีช่ นะที่ 1 ได้ ส.ส. 300 คน เสนอขึน้ ค่าแรงขัน้ ต�ำ่ เพิม่ เป็น 350 บาท ก็ควร จะได้เป็นรัฐบาลใช่ไหม แต่ถา้ พรรคอันดับรอง ๆ ไปรวมกับ ส.ว. 250 คน เขาก็กลับมาชนะ แล้วมาบอกว่า ไม่ ขึ้ น ค่ า แรงแล้ ว ล่ ะ ที่ประชาชนเลือก พรรคการเมืองทีไ่ ด้ที่ 1 ก็เพราะเขาต้องการ ต่อรองแบบนี้ แต่กลับไม่ได้เป็นรัฐบาล มันก็จะมีปญ ั หา

วิภาภรณ์ สุภาพันธ์ ปาณิศา แสงชัยสุคนธ์กิจ

25/1/2561 11:29:21


6 | ลูกศิลป์

สิทธิการเดินทาง

รถเมล์ไทยภายใต้อำ� นาจ‘รัฐราชการ’ ส่วนกลางรวบอ�ำนาจ ชี้ชะตาสิทธิการสัญจรท้องถิ่น ไม่ ว ่ า จะเป็ น เชี ย งใหม่ นครราชสี ม า นครสวรรค์ ชลบุรี และนครศรีธรรมราช ประชาชนนอกเขตอ�ำเภอเมืองต่างบอกเป็น เสี ย งเดี ย วกั น ว่ า เส้ น ทางรถประจ� ำ ทาง ไม่ครอบคลุมถึงสถานทีส่ ำ� คัญ เช่น ทีว่ า่ การ อ�ำเภอ โรงพยาบาล และสถานีต�ำรวจ ส่วนประชาชนในเขตอ�ำเภอเมือง รวมถึง แหล่งท่องเที่ยวอย่างเมืองพัทยา ไม่ประสบ ปัญหาดังกล่าว ทว่าไม่สามารถค�ำนวณเวลา เดินทางได้ เนื่องจากรถประจ�ำทางจะรอ ผู้โดยสารเต็มคันก่อนถึงจะออก ซึ่งบางครั้ง ก็ เ ร็ ว เพี ย ง 10 นาที บางครั้ ง ก็ น านถึ ง ครึง่ ชัว่ โมง แม้รอ้ งเรียนไปยังส�ำนักงานขนส่ง จังหวัดหลายครัง้ แต่กย็ งั คงไม่ได้รบั การแก้ไข หรือพัฒนา ขณะที่ ช าวกรุ ง เทพฯ ต่ า งระบุ ว ่ า รถประจ�ำทางมีผู้โดยสารแออัดในช่วงเวลา เร่งด่วน ส่วนบางพื้นที่รถขาดช่วงต้องรอ ร่วมชั่วโมง จนต้องหันไปใช้รถไฟฟ้า รถตู้ และรถแท็กซี่ แต่ก็แลกมาด้วยค่าใช้จ่ายสูง กว่าหลายเท่า หนังสือพิมพ์ลูกศิลป์สอบถามส�ำนักงาน ขนส่งจังหวัด 14 จังหวัด ครอบคลุมทุกภาค ของประเทศถึงระบบการจัดการรถประจ�ำทาง ไม่ ว ่ า จะเป็ น การก� ำ หนดเส้ น ทางเดิ น รถ ตารางการเดินรถ อัตราค่าโดยสาร คุณภาพ การให้บริการทั้งในและนอกเขตอ�ำเภอเมือง เจ้าหน้าทีส่ ำ� นักงานขนส่งจังหวัดบอกตรงกัน ว่า “ด�ำเนินงานตามแผนจากกรมการขนส่ง ทางบก กรุ ง เทพฯ ทางนี้ เ ป็ น แค่ ลู ก ข่ า ย ไม่มอี ำ� นาจอนุมตั ไิ ม่วา่ จะเป็นเรือ่ งใดก็ตาม”

ชีห ้ ากท้องถิน ่ มีศก ั ยภาพก็ให้ทำ� ด้ า น เอกบุ ญ วงศ์ ส วั ส ดิ์ กุ ล ผู ้ ช ่ ว ย ศาสตราจารย์ ป ระจ� ำ คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ อธิ บ ายว่ า เดิ ม งานขนส่ ง สาธารณะอยู ่ ใ นประกาศ คณะปฏิวัติฉบับที่ 58 ปี 2516 ว่าด้วยเรื่อง กิจการสาธารณูปโภคให้เป็นเรือ่ งความมัน่ คง ซึง่ ปัจจุบนั ยังไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงกฎหมายนี้ “แต่หลักการท�ำบริการสาธารณะจริง ๆ แล้วควรพิจารณาตามภารกิจ หากท้องถิ่น รู ้ ค วามต้ อ งการของประชาชนในท้ อ งถิ่ น มากกว่า ใกล้ชดิ กว่า ท�ำได้ดกี ว่า ก็ให้ทอ้ งถิน่ ท�ำ ส่วนเรื่องไหนที่ท้องถิ่นยังไม่มีศักยภาพพอ ส่ ว นกลางก็ ยั ง ต้ อ งท� ำ ” นั ก วิ ช าการด้ า น นิติศาสตร์ กล่าว เขาบอกอี ก ว่ า แม้ แ ผนการกระจาย อ� ำ นาจสู ่ ท ้ อ งถิ่ น จะระบุ ไ ว้ ใ นรั ฐ ธรรมนู ญ พ.ศ. 2540 แต่ก็เป็นแค่แผนงาน เมื่อไม่มี การแก้พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ในเรือ่ งนัน้ ๆ ให้ ท ้ อ งถิ่ น มี อ� ำ นาจ การกระจายอ� ำ นาจ ก็ ไ ม่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง แม้ จ ะใช้ ค� ำ ว่ า ถ่ า ยโอน อ� ำ นาจสู ่ ท ้ อ งถิ่ น แล้ ว แต่ เ ป็ น เพี ย ง การกระจายอ�ำนาจเทียม

ขนส่งจังหวัดเป็นแค่ไปรษณีย์ อุ ษ า บั ว จ� ำ นงค์ นั ก วิ ช าการขนส่ ง ช�ำนาญการ หัวหน้างานก�ำหนดเส้นทางและ เงื่อนไขการเดินรถ 4 กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม บอกว่า การจัดการเดินรถ ประจ�ำทางในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดมี 3 รูปแบบ คือ 1) ประชาชนยื่นเรื่องขอเส้น ทาง 2) ผู้ประกอบการยื่นเรื่องขอเส้นทาง และ 3) กรมฯ เล็งเห็นเส้นทางที่เหมาะสม “ในกรุงเทพฯ กลุม่ โครงข่ายเส้นทางและ เงือ่ นไขการเดินรถ กรมการขนส่งทางบกจะ ส� ำ รวจเส้ น ทาง ส่ ว นต่ า งจั ง หวั ด คณะ กรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจ�ำ จั ง หวั ด เป็ น ผู ้ ส� ำ รวจ ทั้ ง สองหน่ ว ยงาน ยั ง ก� ำ หนดประเภทรถ อั ต ราค่ า โดยสาร จากนัน้ คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ส่วนกลางเป็นผูพ้ จิ ารณาอนุมตั ”ิ อุษา กล่าว ขณะเดียวกัน เมือ่ วันที่ 27 กันยายน 2559 คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบยกเลิก อ�ำนาจหน้าทีใ่ นการอนุญาตเดินรถขององค์การ

LAYOUT.indd 8

ทีม ่ า : เอกสารคูม ่ อ ื ประชาชนเรือ ่ งการกำ�หนด (ปรับปรุง) เส้นทางเดินรถโดยสารประจำ�ทาง หมวด 1 และ 4 กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคมเว็บไซต์ศน ู ย์รวมข้อมูลเพือ ่ ติดต่อราชการ สำ�นักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (สรอ.)

ขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ให้กรมขนส่ง ทางบกเป็นผูก้ ำ� กับดูแล และให้ ขสมก. เป็นเพียง ผูป้ ระกอบการเดินรถรายหนึง่ นัน่ เท่ากับว่า ราชการส่ ว นกลางมี อ� ำ นาจพิ จ ารณาสิ ท ธิ การสัญจรทัว่ ทุกทีใ่ นประเทศไทย

อึ้ ง !เคาะเส้ น ทางเดิ น รถ ต้องรอเป็นปี เอกสารคูม่ อื ประชาชน เรือ่ งการก�ำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางรถโดยสารประจ�ำทาง หมวด 1 และ หมวด 4 กรมการขนส่งทางบก

กระทรวงคมนาคม ในเว็ บ ไซต์ ศู น ย์ ร วม ข้อมูลเพื่อติดต่อราชการ ส�ำนักงานรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ (สรอ.) ระบุวา่ การยื่นค�ำขอ และพิจารณาอนุญาตเส้นทางเดินรถใช้เวลา 300-480 วัน ขณะที่ วิษณุ อภิบาล เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยวิชาการ ส�ำนักงานขนส่งจังหวัดตราด เปิดเผยว่า ระยะ เวลาในการขอเส้นทางการเดินรถตั้งแต่เริ่ม จนเสร็จกระบวนการใช้เวลาเฉลีย่ ประมาณ 1 ปี แต่ก็มีบางกรณีที่การขอปรับปรุงเส้นทางมี ขัน้ ตอนการพิจารณายืดเยือ้ ยาวนานกว่า 2 ปี

‘ ท ้ อ ง ถิ่ น โ ก ง ’ ว า ท ก ร ร ม รัฐราชการรวบอ�ำนาจ ตระกูล มีชยั อดีตรองศาสตราจารย์ประจ�ำ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า เคยท�ำวิจยั เรือ่ งการกระจายอ�ำนาจบริการ ขนส่งสาธารณะให้ทอ้ งถิน่ ตัวแทนกระทรวง คมนาคมอ้างว่า ทีก่ ระจายอ�ำนาจไม่ได้ เพราะ 1) การเดิ น รถมี ห ลายเส้ น ทางทั้ ง ภายใน จังหวัดและข้ามจังหวัด รัฐมีความจ�ำเป็นต้อง จัดระบบเส้นทาง 2) การเดิ น รถเป็ น เรื่ อ ง ความมั่ น คง ถ้าไม่ควบคุมจะเกิดการแข่งขันจน เส้นทางทับซ้อน เอาเปรียบผูบ้ ริโภค 3) ท้องถิน่ ไม่มศี กั ยภาพจัดเดินรถได้ แต่พอจะดูแลสถานี ขนส่งผูโ้ ดยสารได้ “สิง่ ทีเ่ ขาพูดเป็นข้ออ้าง กระจายอ�ำนาจ ไม่ได้หมายความว่าจะปล่อยหมดเลย แต่ใช้ อ�ำนาจก�ำกับดูแล เช่น ถ้าเกิดการชุมนุม รถหยุดเดิน รัฐก็ตอ้ งก�ำกับให้เอกชนมีมาตรการ ส�ำรองการบริการประชาชน” นักวิชาการด้าน รัฐศาสตร์ กล่าว ส่วน ยุทธพร อิสระชัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ให้ความเห็นว่า ส่วนกลางสร้างวาทกรรมท้องถิ่นไม่โปร่งใส ในการท�ำงาน ซึง่ ทีจ่ ริงเป็นความไม่อยากลด อ�ำนาจของตนเอง “หากจะอ้างว่า กลัวการทุจริต นัน่ ก็เป็นเรือ่ ง ของกลไกในการตรวจสอบทุจริตทีม่ ปี ญั หามากกว่า ไม่ใช่เรือ่ งกระจายอ�ำนาจมีปญั หา” ยุทธพร ระบุ

25/1/2561 11:29:25


สิทธิการเดินทาง

ร อ ง อ ธิ บ ดี ข น ส ่ ง ฯ อ ้ า ง ท้องถิ่นไม่มีศักยภาพ ขณะที่ เชิดชัย สนั่นศรีสาคร รองอธิบดี ฝ่ายบริหาร กรมการขนส่งทางบก กระทรวง คมนาคม ชี้แจงว่า มีการกระจายอ�ำนาจให้ ท้องถิ่นแล้วในบางเรื่อง เช่น การให้บริการ ขนส่ ง สาธารณะ การจั ด การสถานี ข นส่ ง มีส�ำนักงานขนส่งประจ�ำจังหวัด แต่ในเรื่อง การดู แ ล การอนุ มั ติ แ ละก� ำ หนดเส้ น ทาง ส่วนกลางจ�ำเป็นต้องดูแล เพราะงานเส้นทาง เป็นเรือ่ งโครงข่ายของประเทศ ไม่ใช่แค่เรือ่ ง ท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง เพื่อป้องกันการทับ ซ้อนของเส้นทาง “อย่ า มองว่ า รั ฐ หวงอ� ำ นาจ กรมฯ พยายามจะกระจายอ�ำนาจให้แล้ว แต่แค่ให้ ท้องถิ่นบริการเดินรถ จัดการสถานีขนส่งยัง ท�ำได้ไม่ดี ไม่ผ่านการประเมินความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการทุกปี ส่วนในอนาคตก็ยังไม่มี แผนกระจายอ�ำนาจเพิ่มเติม” รองอธิบดี ฝ่ายบริหาร กรมการขนส่งทางบก อธิบาย ‘ขอนแก่นโมเดล’ท้องถิ่นตั้ง บริ ษั ท ลู ก ร่ ว มเอกชนไม่ ส น ส่วนกลาง หั น มาดู ก ารจั ด การเดิ น รถประจ� ำ ทาง จั ง หวั ด ขอนแก่ น พบว่ า นั ก ธุ ร กิ จ และ นักวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รวม 15 ราย ร่วมกันก่อตั้งบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมือง เมือ่ ปี 2557 ยืน่ ขอเส้นทางเดินรถ 3 เส้นทาง ได้แก่ 1) สายสีเขียว สนามบินขอนแก่นสถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 3 ครอบคลุมโรง พยาบาลขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2) สายสีแดง รอบเมืองขอนแก่นวนขวา ครอบคลุมสถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 1-3 โรงเรียนประจ�ำจังหวัด ห้างสรรพสินค้า และ 3) สายสีน้�ำเงิน รอบเมืองขอนแก่นวนซ้าย ครอบคลุม สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 1-3 สนามกีฬาจังหวัด บึงแก่นนคร เดินรถปรับ อากาศภายใต้ชอื่ ขอนแก่นซิตบี้ สั และเริม่ ต้น ด�ำเนินโครงการรถไฟฟ้ารางเบาสายเหนือ-ใต้ (ส�ำราญ-ท่าพระ) 26 กิโลเมตร สุ ร เดช ทวี แ สงสกุ ล ไทย รองคณบดี ฝ่ายบริหาร วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง บริษทั ขอนแก่นพัฒนาเมือง กล่าวว่า ต้องการ พัฒนาขอนแก่นให้เป็นเมืองกระชับ คือ ทีพ่ กั อาศัย สถานที่ท�ำงาน สถานศึกษา สถานที่ ท่องเที่ยวอยู่ใกล้กัน ทั้งหมดนี้ต้องเริ่มจาก การพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ภาคเอกชน ร่วมกับภาควิชาการจึงท�ำแผนพัฒนาเมือง 20 ปี มีรถรางเป็นหัวใจ ซึง่ จะท�ำให้เศรษฐกิจ ขยายตัวได้ 4 เท่า แต่จะท�ำได้ ก็ต้องท�ำให้ คนเข้าใจและใช้ขนส่งสาธารณะ ก่ อ น จึงเริ่มด้วยรถประจ�ำทาง 3 เส้นทาง ครอบคลุมเมือง เป็นสมาร์ทบัส คุณภาพดี สบาย เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมให้คนไม่ใช้รถ

LAYOUT.indd 9

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 7

เปิดผลส�ำรวจบริการรถเมล์ 16 พื้นที่ทั่วไทย ไม่ผา่ นจุดส�ำคัญ รอนานร่วมชม. แถมโก่งราคา! หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ สุ ่ ม ส� ำ รวจ การให้บริการรถประจ�ำทางใน 16 พื้นที่ ทั่วประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคัดเลือก จังหวัดทีม่ ปี ระชากรมากและน้อยทีส่ ดุ 6 ภาค รวม 14 จังหวัด แบ่งเป็น ภาคเหนือ คือ เชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน ภาคอีสาน ตอนบน คือ ขอนแก่นและมุกดาหาร ภาคอีสานตอนล่าง คือ นครราชสีมาและ อ�ำนาจเจริญ ภาคกลาง คือ นครสวรรค์ และสมุ ท รสงคราม ภาคตะวั น ออก คื อ ชลบุ รี แ ละตราด ภาคตะวั น ตก คื อ กาญจนบุ รี แ ละเพชรบุ รี ภาคใต้ คือ นครศรีธรรมราชและพังงา รวมถึง เขตการปกครองพิเศษอีก 2 แห่ง อย่าง กรุงเทพฯ และเมืองพัทยา ระหว่างวัน ที่ 1 สิ ง หาคม-15 กั น ยายน 2560 รวม 6 ประเด็น ได้แก่ 1) การเข้าถึง การสั ญ จร 2) ความตรงต่ อ เวลา 3) ความแออัดของผู้โดยสาร 4) อัตรา ค่ า โดยสาร 5) ความปลอดภั ย และ 6) การบริการ ผลส�ำรวจประเด็นการเข้าถึงการสัญจร พบว่า ในตัวเมืองของหลายจังหวัดไม่มี รถประจ�ำทางแม้แต่เส้นทางเดียว เช่น แม่ฮอ่ งสอน ตราด เชียงใหม่ ในนครราชสีมา มีเส้นทางเพียง 2 สาย มุกดาหารมีเพียง 4 สาย นครศรีธรรมราชมีเพียง 6 สาย ท�ำให้ไม่ครอบคลุมสถานที่ส�ำคัญ เช่น สนามบิน สถานีขนส่ง ศาลากลางจังหวัด สมุทรสงคราม มี 1 สาย แต่ผปู้ ระกอบ การน�ำรถไปวิง่ แบบไม่ประจ�ำทางและเก็บ ราคาเหมาจ่าย ส่วนนครสวรรค์ ขอนแก่น ชลบุรี อ�ำนาจเจริญ ตราด กาญจนบุรี กรุงเทพฯ มีเส้นทางการเดินรถครอบคลุม ทั้งตัวเมืองและสถานที่ส�ำคัญ

ในขณะที่ ก ารเดิ น ทางระหว่ า งอ� ำ เภอ พบว่ า บางส่ ว นอย่ า ง มุ ก ดาหาร ตราด เพชรบุรี และพังงา มีเส้นทางการเดินรถไป ต่างอ�ำเภอแต่มีรอบการออกน้อย ผูโ้ ดยสาร ต้องรอเฉลีย่ 45 นาที - 1 ชัว่ โมงครึง่ บางจังหวัด มี เ ส้ น ทางการเดิ น รถไม่ ไ ปถึ ง บางอ� ำ เภอ เช่น สมุทรสงครามมีเส้นทางการเดินรถไม่ ครอบคลุ ม อ� ำ เภออั ม พวา กาญจนบุ รี ไ ม่ ครอบคลุมอ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย สังขละบุรี เชียงใหม่ไม่ครอบคลุมอ�ำเภอไชยปราการ ฝาง และนครศรี ธ รรมราชไม่ ค รอบคลุ ม อ� ำ เ ภ อ ข น อ ม ส ่ ว น อ� ำ น า จ เ จ ริ ญ อ�ำเภอชานุมานมีรถโดยสารเพียงคันเดียว ประเด็นความตรงต่อเวลา พบว่า ทุกจังหวัด การเดิ น รถประจ� ำ ทางทั้ ง ในตั ว เมื อ งแ ล ะ ระหว่ า งอ� ำ เภอไม่ มี ร อบระยะเวลา การออกรถที่ชัดเจน ผู้ประกอบการมักรอ ให้ผู้โดยสารทีท่ า่ รถขึน้ รถเต็มคันก่อนจึงจะออก รถ ในตัวเมืองเฉลี่ย 15–30 นาที ต่างอ�ำเภอ เฉลี่ย 1-2 ชั่วโมง ส่วนผู้โดยสารรายทางต้อง รอนานเฉลี่ย 20-30 นาที ทั้งที่ พระราช บัญญัตกิ ารขนส่งทางบก ปี 2522 มาตรา 33 ก�ำหนดว่าใบอนุญาตประกอบการจะก�ำหนด เวลาและจ�ำนวนเที่ยวของการเดินรถ ผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตประกอบการขนส่งประจ�ำทางต้องจัด ให้มตี ามประกาศ โดยตัวเมืองเฉลีย่ 10–15 นาที และต่างอ�ำเภอ 45 นาที–1 ชัว่ โมง ในขณะทีก่ รุงเทพฯ แม้ผปู้ ระกอบการจะ ออกตามตารางเวลา แต่เนือ่ งจากการจราจร ติดขัด ท�ำให้ผโู้ ดยสารรายทางไม่ทราบเวลาที่ รถมาถึงอย่างแน่ชัด ประเด็นความแออัดของผูโ้ ดยสาร พบว่า ทุกจังหวัดในช่วงเวลาปกติมีผู้โดยสารน้อย แต่กท็ ำ� ให้รถออกช้า แต่ชว่ งเวลาเร่งด่วน (07.0008.00 น. และ 17.00-18.00 น.) มีผโ้ ู ดยสารแออัด

ประเด็ น อั ต ราค่ า โดยสาร พบว่ า ทุ ก จั ง หวั ด ในอ� ำ เภอเมื อ ง โดยทั่ ว ไป เก็บในราคา 7-10 บาท ต่างอ�ำเภอเก็บ ตามระยะทางตามที่กรมขนส่งทางบก ก�ำหนด แต่ในเมืองพัทยามีการเก็บอัตรา ค่าโดยสารกับนักท่องเที่ยวราคาสูงกว่า คนท้องถิ่น เช่น จาก 10–30 บาท เป็น 50–100 บาท และนครศรีธรรมราชเก็บ ราคานักเรียน 20 บาท ผูโ้ ดยสารทัว่ ไป 35 บาท โดยสามารถตกลงราคาเป็นเดือน ได้ตกวันละ 15 บาท ประเด็ น ความปลอดภั ย พบว่ า ทุกจังหวัดใช้รถสองแถวและรถเมล์มี สภาพที่ผ่านการใช้งานมานาน ขึ้นสนิม เบาะที่ นั่ ง ไม่ แ ข็ ง แรง ไม่ มี สิ่ ง อ� ำ นวย ความสะดวกต่ อ คนพิ ก าร พนั ก งาน ขับรถเร็ว ช่วงเวลาเร่งด่วนรถแออัดท�ำให้ ผู ้ โ ดยสารต้ อ งยื น จนเต็ ม คั น รถทะลั ก ไปถึงบันได ประเด็นการบริการ พบว่า กาญจนบุรี ขอนแก่ น บางครั้ ง พนั ก งานพู ด จา ไม่สภุ าพ ในขอนแก่น สมุทรสงครามและ เพชรบุรี หากคนน้อยจะเดิ น รถไม่ ถึ ง สถานี ป ลายทาง ให้ผู้โดยสารลงก่อน เพราะไปไม่คุ้มกับค่าโดยสาร ทั้งนี้ทั้ง 16 พื้นที่ยังพบว่า สุดท้าย ประชาชนต้องเลือกเดินทางด้วยวิธีอื่น ทั้ ง ซื้ อ รถยนต์ ส ่ ว นตั ว เรี ย กรถแท็ ก ซี่ รถจักรยานยนต์ รถตู้โดยสาร รถไฟฟ้า หรื อ รถรั บ จ้ า งแบบเหมา แต่ ทั้ ง หมด ก็มีอัตราค่าบริการสูงกว่ารถประจ�ำทาง หลายเท่า

หรือรถจักรยานยนต์ส่วนตัว แล้วก็คุยกับ สองแถวว่ า ทั้ ง หมดนี้ อ ยู ่ ด ้ ว ยกั น ได้ รถทุ ก แบบทุ ก เจ้ า จะเชื่ อ มต่ อ ตรอกซอก ซอยเข้าสู่รถรางที่ไปเชื่อมรถไฟรางคู่หรือ รถไฟความเร็วสูง “แต่ จ ะไปถึ ง รถรางได้ ท้ อ งถิ่ น ก็ ต ้ อ งท� ำ เอง รอส่ ว นกลางท� ำ คงไม่ ไ หว เพราะโครงการขนาดใหญ่ ถ้ า ท� ำ ตาม ขั้นตอนปกติ 7 ปีก็ยังศึกษาไม่เสร็จ ถึงเสร็จ ก็บอกว่าไม่พร้อมท�ำ เขาไม่ได้อยู่บ้านเรา เขาจึ ง ไม่ รู ้ ป ั ญ หา ดูตอนนีก้ ม็ แี ค่รถสองแถว ซึ่ ง รถรางกฎหมายเปิ ด ช่ อ งให้ ท� ำ ได้ โ ด ย เ ท ศ บ า ล ตั้ ง บ ริ ษั ท ลู ก ซึ่ ง ไ ด ้ รั บ ก า ร อ นุ มั ติ จ า ก ม ห า ด ไ ท ย แ ล ะ มี ภาคเอกชนเข้าไปร่วมทุน คล้าย ๆ กับ บริษทั

กรุงเทพธนาคม จ�ำกัด ของกรุงเทพมหานคร ข อ ง เ ท ศ บ า ล เ มื อ ง ข อ น แ ก ่ น ก็ เ ป ็ น บริ ษั ท ขอนแก่ น ทรานซิ ท ซิ ส เต็ ม จ�ำกัด ภายหลังได้รับอนุมัติบริษัทลูกแล้ว ก็ เ ริ่ ม ท� ำ ได้ เ ลย ไม่ ต ้ อ งรอการศึ ก ษา ก า ร อ นุ มั ติ จ า ก ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี

แ ล ะ ก า ร ป ร ะ มู ล ง า น จ า ก ส ่ ว น ก ล า ง ซึ่ ง ค น ใ น จั ง ห วั ด เ ห็ น ด ้ ว ย บ อ ก ว ่ า พร้ อ มจ่ า ยภาษี เพื่ อ ให้ ท ้ อ งถิ่ น มี เ งิ น ม า ร ่ ว ม ล ง ทุ น นี่ จึ ง เ ป ็ น ก ร ณี ศึ ก ษ า ที่ ท ้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ เ อ ก ช น มี บ ท บ า ท น� ำ ในการพัฒนาเมือง” สุรเดช กล่าว

สุนิฐสา มณฑา นภสร ทองหล่อ พัชรี งามสมชาติ ศรุตยา ทองขะโชค สุดารัตน์ พรมสีใหม่ ปาณิศา แสงชัยสุคนธ์กิจ

25/1/2561 11:29:25


8 | ลูกศิลป์

ร้องทุกข์ไม่คืบ ศูนย์ด�ำรงธรรมส่อล้มเหลว

โวยร้ อ งทุ ก ข์ ศู น ย์ ด� ำ รงธรรมไร้ ค วามคื บ หน้ า พบ 3 ปีใช้งบเฉียด 600 ล้านบาท อ้างแก้เรื่อง ร้องเรียนกว่า 7.7 ล้านเรื่อง หรือร้อยละ 97 สุด งง! ดัชนีชี้วัด แค่รับส่งต่อหน่วยงานเกี่ยวข้อง ถื อ ว่ า ท� ำ งานส� ำ เร็ จ นั ก วิ ช าการชี้ แค่ ที่ พั ก ใจ ประชาชน แต่ไร้น�้ำยาแก้ปัญหา “ร้องศูนย์ดำ� รงธรรมจังหวัดให้ ตรวจสอบการใช้งบประมาณของ อบต. แต่ 1 ปี ผ่านไปไม่มีอะไรคืบ หน้า แถมไม่มกี ารติดต่อกลับ พอไป ตามเรื่องได้รับค�ำตอบว่า ส่งไปให้ ศูนย์ด�ำรงธรรมท้องถิ่นจัดการแล้ว พอไปตามต่ อ เจ้ า หน้ า ที่ ศู น ย์ ฯ บอกว่า ส่งเรื่องไปให้นายอ�ำเภอ เพื่อตั้งกรรมการสอบแล้วแต่ไม่รู้ ว่าจะสอบเสร็จเมื่อไหร่” นายเกรียงไกร ไทยอ่อน ตัวแทน ชาวบ้านองค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) นาทม อ�ำเภอทุง่ ฝน จังหวัด อุดรธานี เป็น 1 ในประชาชนอีก กว่า 50 คน ทั่วประเทศ ที่เคยส่ง เรื่ อ งร้องเรียนความเดือดร้อนไป ยั ง ศู น ย ์ ด� ำ ร ง ธ ร ร ม แ ต ่ ไ ม ่ ไ ด ้ รั บ การติดต่อกลับเพื่อชี้แจง ว่ า ได้ ด� ำ เนิ น การถึ ง ขั้ น ตอนใด จนท� ำ ให้ พ วกเขาต้ อ งออกมาตั้ ง กระทูใ้ นเว็บไซต์พนั ทิปว่า ไม่มนั่ ใจ การท�ำงานของหน่วยงาน เพราะแก้ ปัญหาล่าช้า

ศูนย์ดำ� รงธรรมตัง้ ขึน้ ตามค�ำสัง่ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เมือ่ เดือนกรกฎาคม 2557 ระบุเหตุผลว่า เพือ่ รับเรือ่ งราวร้องทุกข์ ของประชาชน แบ่งการท�ำงานเป็น 2 ส่วน คือ 1) ส่วนรับเรือ่ งร้องทุกข์ มีขนั้ ตอนปฏิบตั คิ อื เมือ่ ศูนย์ฯ ทราบ เรื่องและตรวจสอบแน่ชัดแล้วว่า หน่วยงานใดเป็นผูร้ บั ผิดชอบ ก็จะ ประสานผ่านโทรศัพท์ภายในเวลา 7 วันท�ำการ หากไม่ทราบแน่ชดั ว่า หน่วยงานใดรับผิดชอบ หรือผูร้ อ้ งเรียน ไม่มตี วั ตน ก็จะจัดเป็นเรือ่ งไม่มมี ลู ไม่ด�ำเนินการต่อ 2) ส่วนรายงาน ผลการด� ำ เนิ น งาน มี ขั้ น ตอน คื อ เมือ่ ส่วนราชการได้รบั เรือ่ งจาก ศูนย์ฯ แล้ว ให้สว่ นราชการรายงาน ผลการด�ำเนินการกลับมาให้ทราบ ภายใน 7 วันท�ำการ จากนัน้ ศูนย์ฯ จะชี้แจงเป็นเอกสารให้ผู้ร้องเรียน ทราบภายใน 7 วันท�ำการ ผู้สื่อข่าวตรวจสอบรายงานผล สัมฤทธิก์ ารด�ำเนินการศูนย์ดำ� รงธรรม

ปี 2557-2559 ระบุวา่ มีประชาชน มาร้ อ งเรี ย นกั บ ศู น ย์ ด� ำ รงธรรม ทัง้ หมด 7,989,623 เรือ่ ง ด�ำเนินการ แล้วเสร็จ 7,794,264 เรือ่ ง คิดเป็น ร้อยละ 97.55 ทัง้ นีต้ งั้ แต่เริม่ ตัง้ ศูนย์ ด�ำรงธรรมจนถึงปัจจุบัน ได้รับงบ ประมาณรวม 599,869,300 บาท ด้ า น นายสุ เ ทพ แก้ ว ทอง ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ ด� ำ รงธรรม กระทรวงมหาดไทย ส�ำนักตรวจ ราชการและเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ กระทรวงมหาดไทย ชี้ แ จงว่ า ศูนย์ดำ� รงธรรม เป็นช่องทางการร้อง ทุกข์ มีลกั ษณะเป็นหน่วยประสาน และใกล้ชดิ พืน้ ที่ ประชาชนไม่ตอ้ ง มาร้องเรียนทีห่ น่วยราชการไกลบ้าน “เรือ่ งทีร่ อ้ งมาเกือบทัง้ หมดยุติ แล้ว หมายความว่า ถ้าไม่เกีย่ วข้อง กั บ หน่ ว ยงานสั ง กั ด มหาดไทย ศูนย์ฯ จะส่งเรือ่ งไปให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องรับทราบ แล้วรอการส่ง จดหมายกลับมาว่า รับทราบแล้ว พร้อมการแก้ไข อย่างนี้ถือว่า ยุติ แล้ว 1 เรือ่ ง แต่ถา้ เกีย่ วกับหน่วยงาน สังกัดมหาดไทย ก็จะติดตามเรือ่ งให้ แก้ไขโดยเร็วทีส่ ดุ ถ้าได้รบั เอกสาร เซ็ น รั บ เรื่ อ งตอบกลั บ มาก็ ถื อ ว่ า เป็นเรื่ อ งที่ ยุ ติ แ ล้ ว แต่ ย อมรั บ ว่ า ถ้ากรณีไหนอยู่นอกขอบเขต อ�ำนาจก็ไม่สามารถท�ำอะไรได้มาก” นายสุเทพ กล่าว ส่ ว น นายรั ฐ พล รั ต นเสนี ย ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักตรวจราชการ และเรื่องราวร้องทุกข์ กระทรวง มหาดไทย ชีแ้ จงว่า ศูนย์ดำ� รงธรรม ติดตามผลการด�ำเนินงานโดยให้

เมืองไม่ตอบโจทย์ผู้สูงวัย ผู้สูงอายุไทยฝันค้างอยากใช้ชีวิตเหมือนคนวัยอื่น แต่แค่ใจกลางเมือง หลวง สภาพแวดล้อมไม่ตอบสิทธิทง ั้ ทีก ่ ำ� หนดในแผนพัฒนาฯ ฉบับล่าสุด เทียบญี่ปุ่นสุดก้าวหน้าปรับหมด ทั้งอาคาร ขนส่ง ผังเมือง “อยากไปเที่ยวไหว้พระท�ำบุญ ทั้ ง นี้ ป ระเทศไทยจะเข้ า สู ่ สั ง คม ต่างกันเกิน 2 เซนติเมตร เป็นต้น เหมือนตอนสาว ๆ แต่ทางเดินชัน ผูส้ งู อายุโดยสมบูรณ์ในอีก 4 ปีขา้ งหน้า แต่ เ มื่ อ ส� ำ รวจการจั ด สภาพ ห้องน�้ำก็นั่งยอง ๆ ไม่ได้ บันได เมื่อมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป แวดล้ อ มรอบกรุ ง เทพฯ ในช่ ว ง รถเมล์สูง ก้าวขึ้นไม่ไหว แค่เดิน มากกว่าร้อยละ 20 เดือนพฤศจิกายน ทีผ่ า่ นมา ทัง้ ย่าน บนทางเท้าก็เคยสะดุดล้มจนต้อง แม้ แ ผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สยามสแควร์ อนุสาวรียช์ ยั สมรภูมิ ไปหาหมอ” นางนิตยา สินธุวงศานนท์ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 12 ฯลฯ พบว่า ห้องน�ำ้ สาธารณะตาม วัย 70 ปี ป่วยด้วยโรคข้อเข่าเสื่อม (ปี 2560-2564) ซึ่งประกาศใน ปัม๊ น�ำ้ มันและห้างสรรพสินค้าบางแห่ง เดินไม่สะดวก แต่ก็ใฝ่ฝันอยากใช้ ราชกิ จ จานุ เ บกษาเมื่ อ วั น ที่ 30 ยั ง คง ใ ช ้ โ ถ ส้ ว มแบบนั่ ง ยอง ชีวิตในบั้นปลายเดินทางท่องเที่ยว ธันวาคม 2559 ระบุแผนจัดการ ไม่มีร าวจับ ไม่ตดิ ตัง้ ระบบสัญญาณ ไม่ ต ่ า งจากคนวั ย อื่ น โดยไม่ ต ้ อ ง สภาพแวดล้ อ มให้ เ อื้ อ ต่ อ การใช้ ขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน ส่วนทางเท้า พึ่งพาผู้อื่น ชีวิตของผู้สูงอายุ เช่น ระบบขนส่ง มี พื้ น ไม่ ส ม�่ ำ เสมอ มี สิ่ ง กี ด ขวาง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ผู ้ สู ง อ า ยุ สาธารณะ อาคาร พื้นที่สาธารณะ ไม่มที างลาด 9,934,309 คน จากประชากร และที่อยู่อาศัย เป็นครั้งแรก ขณะ ผู้สื่อข่าวสืบค้นข้อมูลประเทศ ทั้ ง ประเทศ 65,931,550 คน เดียวกันคูม่ อื การจัดสภาพแวดล้อม ญี่ ปุ ่ น ซึ่ ง เป็ น สั ง คมผู ้ สู ง อายุ โ ดย คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 15.07 ตาม เมืองที่เหมาะสมกับสังคมผู้สูงอายุ สมบูรณ์ประเทศแรกเมื่อปี 2548 รายงานของกระทรวงมหาดไทย ส� ำ นั ก ง า น ก อ ง ทุ น ส นั บ ส นุ น และเป็นประเทศที่มีอัตราผู้สูงอายุ ล่าสุดปี 2559 ถือว่า เข้าสู่สังคม การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) มากที่สุดในโลกถึงร้อยละ 33 ของ ผู้สูงอายุแล้วตามเกณฑ์องค์การ ปี 2556 ระบุว่า ห้องน�้ำควรใช้ ประชากรทัง้ ประเทศ พบงานวิจยั เรือ่ ง สหประชาชาติ ท่ี ก� ำ หนดสั ด ส่ ว น โถส้วมแบบนั่งราบ มีราวจับ ติดตั้ง การเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนของ ประชากรอายุ 60 ปี ขึ้ น ไปไว้ ที่ สัญญาณขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน ผู้สูงอายุ จัดท�ำโดยมหาวิทยาลัย ร้อยละ 10 ของประชากรทัง้ ประเทศ ทางเท้าต้องเรียบ มีทางลาด หากระดับ เซาท์ออสเตรเลีย ปี 2559 ระบุว่า

LAYOUT.indd 10

ประธานในแต่ละจังหวัดเป็นผูต้ ดิ ตาม เรือ่ งร้องเรียนของประชาชนทุก 7 วัน “ทีล่ า่ ช้าอาจมาจากหลายสาเหตุ เช่น รอหน่วยงานที่รับผิดชอบรับ ทราบเรือ่ ง ศูนย์ฯ ถึงจะแจ้งผูร้ อ้ งได้ อย่างไรก็ดี สุดท้ายหากไม่ได้รบั แจ้ง จริง ๆ ประชาชนก็ไปติดตามทีศ่ นู ย์ ด�ำรงธรรมจังหวัดได้” นายรัฐพล กล่าว ด้าน นายยอดพล เทพสิทธา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำคณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าวว่า หน่วยงานรัฐทุกหน่วยมี หน่วยที่รับเรื่องร้องเรียนอยู่แล้ว จึงไม่รวู้ า่ จะมีศนู ย์ดำ� รงธรรมขึน้ มา ท�ำไม อาจท�ำให้เรื่องช้าลงด้วยซ�้ำ เพราะอ�ำนาจทับซ้อนกัน “ที่ บ อกว่ า แก้ ป ั ญ หาส� ำ เร็ จ ก็เห็นท�ำแค่รบั และส่งเรือ่ งต่อ ตัวชีว้ ดั ความส� ำ เร็ จ คื อ อะไร ได้ เ ลขรั บ หนังสือมาแค่นี้ถือว่าส�ำเร็จอย่าง นั้นหรือ ส่วนปัญหาจะแก้ส�ำเร็จ หรื อ ไม่ กลั บ ไม่ เ อามาชี้ วั ด ” นายยอดพล กล่าว นายตระกู ล มี ชั ย อดี ต รอง ศาสตราจารย์ประจ�ำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า จะนับความส�ำเร็จอย่างไรในเมื่อ ศูนย์ด�ำรงธรรมมีหน้าที่แค่รับส่ง เรือ่ ง หรือถ้าสามารถแก้ปญ ั หาได้ก็ แค่เรือ่ งเล็ก ๆ น้อย ๆ เท่านัน้ “ตั ว ระบบบริ ห ารราชการ ไทยเป็นระบบเจ้านายกับลูกน้อง เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นบางเรื่ อ งที่ เ ป็ น นโยบายใหญ่ ๆ แทบจะไม่ได้แก้หรือ ถูกยื่นเรื่องให้แก้ไขเลย เพราะว่า ถ้ามันกระทบกับเจ้านาย ตัวลูกน้อง

ปี 2543 ญี่ปุ่นออกกฎหมายพัฒนา ระบบขนส่งสาธารณะทุกระบบเพือ่ ให้ผสู้ งู อายุใช้ขนส่งสาธารณะได้อย่าง สะดวกสบาย ปี 2549 ได้กำ� หนดให้ อาคารทุกแห่งและระบบขนส่งทีส่ ร้าง ขึน้ ใหม่ตอ้ งมีทางลาด ส่วนทางเท้าให้ กว้างขึน้ จากเดิม 1.5 เมตร เป็น 2 เมตร เพือ่ รองรับเก้าอีร้ ถเข็น และปี 2558 ปรับผังเมืองใหญ่ สร้างสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกอย่างห้างสรรพสินค้า ศูนย์บริการทางการแพทย์ให้ใกล้ ที่อยู่อาศัย นางสาวสุจติ รา จิระวาณิชย์กลุ นั ก วิ จั ย หน่ ว ยปฏิ บั ติ ก ารวิ จั ย สภาพแวดล้ อ มที่ เ หมาะสมกั บ ผู้สูงอายุและผู้พิการ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ทุกระบบ ในประเทศไทยไม่ พ ร้ อ มรั บ สั ง คมผู้สูงอายุ ผูบ้ ริหารก็ไม่เห็น ความส�ำคัญ หลายหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ พืน้ ทีส่ าธารณะร่วมกันกลับคิดถึง แต่ ง านใครงานมั น แต่ ไ ม่ คิ ด ถึ ง สิทธิผใู้ ช้ และแม้จะมีกฎกระทรวง ก�ำหนดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกใน อาคารส�ำหรับผู้พิการและคนชรา ปี 2548 แต่ไม่มบี ทลงโทษ ฉะนัน้ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนจึงไม่ทำ�

เกาะติดนโยบายรัฐ

ก็จะกันให้นายตัวเอง นีค่ อื จุดอ่อน ของศูนย์ฯ มันจึงเป็นแค่ทพี่ กั ใจของ ชาวบ้านเท่านัน้ ” นายตระกูล กล่าว นายยุทธพร อิสรชัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กล่าวว่า หน่วยงานรับเรือ่ งร้องเรียนใน ประเทศไทยมีจำ� นวนมาก สะท้อน ว่า ตัวระบบราชการมีอ�ำนาจมาก เมื่อกระบวนการการตรวจสอบถูก คุมโดยราชการ เรียกว่าเป็นภาวะ รัฐราชการ ท�ำให้การตรวจสอบโดย ภาครัฐด้วยกันเองไม่สามารถท�ำได้ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์เพราะย่อม ไม่ตรวจสอบตนเอง “กรณีศนู ย์ดำ� รงธรรมก็เช่นกัน แก้ ป ั ญ หาให้ ใ ครไม่ ไ ด้ เ พราะ โครงสร้างประเทศเป็นแบบรวม ศูนย์ ทุกอย่างตัดสินใจโดยส่วนกลาง ด้วยคนไม่กกี่ ลุม่ จึงไม่สามารถตอบ สนองประชาชนได้ ยิ่งมีล�ำดับขั้น บังคับบัญชา ก็ท�ำงานตอบสนอง นายแทนทีจ่ ะตอบสนองประชาชน ดังนั้นท�ำหรือไม่ท�ำอะไรก็อยู่ต่อไป ได้เรื่อย ๆ ประชาชนไม่มีอ�ำนาจ ไม่เหมือนคนที่มาจากการเลือกตั้ง ไม่ ส ามารถเมิ น เฉยเรื่ อ งของ ประชาชนได้ เพราะประชาชนมี อ�ำนาจตัดสิน” นายยุทธพร กล่าว

มยุรา ยะทา

ขณะที่ นางธนาภรณ์ พรมสุวรรณ อ ธิ บ ดี ก ร ม กิ จ ก ร ม ผู ้ สู ง อ า ยุ ก ร ะ ท ร ว ง พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ความมั่นคงของมนุษย์ ชี้แจงว่า มีการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม ให้เหมาะกับทุกวัยไปแล้ว 39 จังหวัด ทัง้ สถานทีร่ าชการ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ป ั ๊ ม น�้ ำ มั น ส ถ า นี ข น ส ่ ง ส่ ว นกรุ ง เทพฯ อยู ่ ร ะหว่ า ง การด� ำ เนิ น การ คาดว่ า จะเสร็ จ สมบูรณ์ทวั่ ประเทศภายในปี 2562 นอกจากนี้ กระทรวงคมนาคม อยู่ร ะหว่ า งจั ด ซื้ อ รถเมล์ ช านต�่ ำ ส่วนท่าเทียบรถวีลแชร์อยู่ระหว่าง วางแผนโครงการ

ปาณิศา แสงชัยสุคนธ์กิจ

25/1/2561 11:29:26


สิทธิผู้สูงอายุ

โอนช้า-ชื่อหาย

สนทาง บี้ยยังชีพผูสูงอายุ

ซ�ำ้ ไร้เงินส�ำรองจ่ายเบีย ้ สูงวัย

25 ปี เบี้ ย ผู ้ สู ง อายุ ยั ง พบสารพั ด ปั ญ หา เทศบาล-อบต. 54 จาก 91 แห่งใน 10 จังหวัด-ส�ำนักงานเขตกทม. กว่า ครึ่ง เจอพิษส่วนกลางโอนเงินช้าเป็นเดือน บางแห่งระบบลง ทะเบียนไม่เสถียรท�ำชื่อหายจนเบิกจ่ายไม่ได้ หลายรายลงชื่อ กับท้องถิน ่ แล้วแต่สว ่ นกลางตัดทิง ้ อ้างไม่พบในทะเบียนราษฎร์ ท้องถิ่นไร้เงินส�ำรองจ่ายหลังจัดเก็บรายได้ไม่เข้าเป้า “ทุ ก วั น นี้ ต ้ อ งกระเหม็ ด กระแหม่ ซื้อปลา น�้ำพริก ผักต้ม มาเติมตู้กับข้าวที่มี เพี ย งแตงโมและกล้ ว ยเป็ น อาหารหลั ก ต้องพยายามกินอย่างประหยัดให้เหลือเก็บไว้ กินได้หลาย ๆ วัน เดือนไหนได้เงินช้าก็อดข้าว ยังไม่นบั ว่าเป็นโรคหัวใจ ความดัน แต่ไม่อยากไป หาหมอเพราะมีทงั้ ค่าเดินทาง และค่ารักษา” นายจ�ำนง กล�ำ่ คลองตัน อายุ 79 ปี และ นางอ่อนศรี กล�ำ่ คลองตัน อายุ 91 ปี อาศัยอยู่ ในบ้านไม้ 2 ชัน้ สภาพทรุดโทรม ในชุมชนเคหะ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ ได้รบั เบีย้ ยังชีพผูส้ งู อายุ 700 บาท และ 1,000 บาท ต่อเดือนตามล�ำดับ เงินรวมกัน 1,700 บาท เป็นรายได้ทางเดียวที่ ต่อชีวติ ให้สองตายาย เนือ่ งด้วยอายุมากและ สภาพร่างกายที่เสื่อมถอยไปตามวัยท�ำให้ ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ประเทศไทยเริม่ ด�ำเนินนโยบายเบีย้ ยังชีพ ผูส้ งู อายุมาตัง้ แต่ปี 2535 ปัจจุบนั เป็นปีที่ 25 มีผู้สูงอายุลงทะเบียนรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 8,118,540 คน จ่ายเบี้ยแบบขั้นบันได ผูท้ ี่ มีอายุ 60-69 ปี รับเงิน 600 บาท อายุ 70-79 ปี รับเงิน 700 บาท อายุ 80-89 ปี ได้รบั เงิน 800 บาท และอายุตงั้ แต่ 90 ปีขนึ้ ไป ได้รบั เงิน 1,000 บาท ต่อเดือน ปีงบประมาณ 2560 ใช้ ง บประมาณของเทศบาลและ องค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) เป็นเงิน 58,902,266,400 บาท กรุงเทพมหานคร เป็นเงิน 5,523,402,000 บาท รวมเป็นเงิน 64,425,668,400 บาท อย่างไรก็ดี หนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์สมุ่ ส�ำรวจ การเบิกจ่ายเบีย้ ยังชีพผูส้ งู อายุ 10 จังหวัด เลือก จังหวัดที่มีจ�ำนวนผู้สูงอายุมากสุด–น้อยสุด คือ นครราชสีมา เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช นนทบุรี ชลบุรี มุกดาหาร ตราด แม่ฮอ่ งสอน ระนอง และสมุทรสงคราม พบว่า ผูส้ งู อายุใน เทศบาล 23 แห่ง จากทัง้ หมด 49 แห่ง และใน อบต. 31 แห่ง จาก 42 แห่ง ได้รบั เบีย้ ล่าช้าเกิน วันที่ 10 ของเดือน ตามทีร่ ะเบียบกระทรวง มหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ย ยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้อง ถิน่ พ.ศ. 2552 หมวด 4 ข้อ 13 ก�ำหนดไว้ ส่วนกรุงเทพฯ ทัง้ หมด 50 เขต กว่าครึง่ ได้รบั งบประมาณล่าช้า นายอภิชาติ ศรีสุข หัวหน้าส�ำนักปลัด อบต. ละอาย จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เปิดเผยว่า ทุกต้นปีงบประมาณช่วง 5-6 ปี หลังจะมีการชะลอจ่าย ท�ำให้ไม่สามารถโอน เงินให้ชาวบ้านได้ อบต. แก้ปัญหาโดยโอน

LAYOUT.indd 11

สำนักงานเขตและเทศบาล รวบรวมรายชื่อและจำนวนผู้สูงอายุ

สำนักพัฒนาสังคมและองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น พิจารณาและอนุมัติงบประมาณ ของแต่ละเขตและเทศบาล

ควบ 2 เดือน โดยเจ้าหน้าที่จะท�ำหนังสือ แจ้งผู้สูงอายุ นายอนันตชัย บุญตะนัย นักพัฒนาสังคม ช�ำนาญการ ส�ำนักงานเขตจอมทอง ยอมรับ ว่า มีปญ ั หาล่าช้า โดยเฉพาะต้นปีงบประมาณ ซึง่ ณ วันที่ 2 พฤศจิกายน งบประมาณก็ยงั ไม่ เข้ามาท�ำให้ผสู้ งู อายุโทรมาร้องเรียนจ�ำนวนมาก ระบบทะเบี ย นท� ำ ชื่ อ หายจน เบิกจ่ายไม่ได้ นายกิตติคณ ุ เอซัน ผูช้ ว่ ยนักพัฒนาชุมชน อบต. ท่าอิฐ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เปิดเผยว่า ระบบการกรอกข้อมูลรายชือ่ ผูส้ งู อายุเปิดแค่ปีละครั้งในเดือนธันวาคม ระยะ เวลา 15-30 วัน ซึง่ น้อยเกินไป “ทีเ่ ป็นปัญหามาก คือ ระบบลงทะเบียน ผูร้ บั เบีย้ ไม่เสถียร เช่น รับเข้าระบบ 2,000 คน แต่อยู่ดี ๆ ชื่อหายไปภายหลัง 300 คน เจ้าหน้ า ที่ ก็ต ้ อ งตามตรวจสอบและกรอก รายชือ่ ลงระบบใหม่ ซึง่ ถ้าเกินจากวันทีร่ ะบบ เปิ ด อบต. ก็ ต ้ อ งส� ำ รองจ่ า ยเงิ น ไปก่ อ น จนจบปีงบประมาณ ซึง่ บางครัง้ เงินเราไม่พอ” นายกิตติคณ ุ กล่าว ส่วนกลางตัดชือ ่ ทิง ้ อ้างไม่พบ ในทะเบียนราษฎร์ นางสาวศุภสิ รา อักษร หัวหน้าส�ำนักงาน ปลัด อบต. กุดโบสถ์ อ�ำเภอเสิงสาง จังหวัด นครราชสีมา กล่าวว่า ท้องถิน่ ต้องกรอกข้อมูล ในระบบสารสนเทศ ซึง่ ระบบนีก้ ลับไม่เชือ่ มต่อ กับทะเบียนราษฎร์ของส่วนกลาง เมื่อกรม การปกครองส่วนท้องถิ่นตรวจสอบรายชื่อ แล้วไม่ตรงกับทะเบียนราษฎร์ ก็จะตัดรายชือ่ ที่ท้องถิ่นกรอกทิ้งไป ท�ำให้ผู้สูงอายุไม่ได้รับ เบีย้ ยังชีพ ท้องถิน่ ก็ตอ้ งน�ำเงินส่วนอืน่ หรือขอ งบอุดหนุนทัว่ ไปมาจ่ายให้กบั ผูส้ งู อายุไปก่อน ท้องถิ่นหมดเงินส�ำรองจ่าย หลังเก็บภาษีไม่เข้าเป้า นายธั ช พล ท้ า วนาง ผู ้ อ� ำ นวยการ สวั ส ดิ ก ารสั ง คม เทศบาลน�้ ำ ก�่ ำ จั ง หวั ด นครพนม กล่าวว่า เทศบาลมีปัญหาการเงิน ตั้งแต่ปี 2558 เนื่องจากจัดเก็บรายได้ไม่เข้า เป้า ปีงบประมาณ 2560 จัดเก็บรายได้เป็น เงิน 1.03 ล้านบาท ไม่สามารถส�ำรองจ่ายได้ ด้าน นางอรทัย ก๊กผล รองศาสตราจารย์ ประจ�ำภาควิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และรองเลขาธิ ก ารสถาบั น

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 9

สำนักงบประมาณ

จายงบประมาณให้สำนักงานเขตและเทศบาล

สำนักงานเขตและเทศบาล

จายเบี้ยยังชีพให้ผู้สูงอายุ

ผ่านการโอนเข้าบัญชีหรือเงินสด

ที่มา : กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น

พระปกเกล้า กล่าวว่า รายได้สว่ นใหญ่ของท้องถิน่ มาจากรัฐบาลเป็นผูเ้ ก็บเงินแล้วกระจายไปให้ ท�ำให้ทอ้ งถิน่ มีอสิ ระลดลง และประสบปัญหา งบประมาณไม่ เ พี ย งพอ ท้ อ งถิ่ น ก็ ไ ม่ มี ความสามารถเก็บภาษี เนือ่ งจากนักการเมือง กลัวจะไม่เป็นทีน่ ยิ มในการเลือกตัง้ นอกจากนี้ ในเชิงพืน้ ที่ เทศบาลทีไ่ กลออกไปจะเก็บภาษีได้ น้อยกว่าเทศบาลในเมือง จึงเกิดความเหลือ่ มล�ำ้ ส� ำ นั ก งบฯปั ด ตอบเบิ ก จ่ า ย ช้า-มท.เร่งแก้ระบบ หนังสือพิมพ์ลูกศิลป์ได้ส่งหนังสือติดต่อ ขอสัมภาษณ์ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณ เพือ่ ทราบถึงสาเหตุของความล่าช้าในการเบิกจ่าย อย่างไรก็ดี หน่วยงานส่งหนังสือตอบกลับมา ว่า เรือ่ งดังกล่าวเป็นเรือ่ งภายใน ไม่สามารถ ให้คำ� ตอบได้ ด้าน นายสมยศ นามพุทธา ผูอ้ ำ� นวยการ ส่วนส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ คุ ณ ภาพชี วิ ต กรมส่ ง เสริ ม การปกครอง ส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ชี้แจงว่า ก�ำลังแก้ไขระบบลงทะเบียนโดยเปิดให้กรอก ข้อมูลได้ทกุ เดือนเพือ่ ให้รายชือ่ เป็นปัจจุบนั ส่วน นายจุมพล สมุทรวินจิ พันธุ์ หัวหน้า กลุม่ ส่วนนโยบายการคลังพัฒนารายได้ ส�ำนัก การคลั ง บริ ห ารท้ อ งถิ่ น กรมส่ ง เสริ ม การปกครอง กระทรวงมหาดไทย ชี้แจงว่า ท้องถิน่ ทุกทีต่ อ้ งมีเงินสะสมทีเ่ หลือเก็บไว้ตาม กฎหมายเพื่อส�ำรองจ่ายในกรณีได้งบล่าช้า แต่ถา้ จัดการไม่มปี ระสิทธิภาพก็อาจจะท�ำให้ เงินส่วนนี้หมดไป และส่วนกลางไม่สามารถ เข้าไปแทรกแซงได้ เพราะท้องถิน่ มีอสิ ระทีจ่ ะ บริหารจัดการเอง

กรมบั ญ ชี ก ลางเตรี ย มดู แ ล แทน-จ่ายผ่าน‘พร้อมเพย์’ นางสาวอรนุช ไวนุสทิ ธิ์ ทีป่ รึกษาอาวุโส ด้านการเงินการคลัง กรมบัญชีกลาง กระทรวง การคลัง ชีแ้ จงว่า ก่อนหน้านีส้ ำ� นักงบประมาณ เป็นผู้กระจายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ แต่ใน อนาคตกรมบั ญ ชี ก ลางก� ำ ลั ง จะได้ รั บ มอบหมายให้ดูแลเรื่องนี้ ระหว่างนี้ก�ำลัง เตรียมระบบและแก้ไขกฎหมายรองรับอ�ำนาจ กรมบัญชีกลาง คาดว่าจะเริม่ ช่วงไตรมาสแรกของ ปีงบประมาณ 2561 ในกรุงเทพฯ และเมืองพัทยา ส่วนต่างจังหวัดคาดว่า จะเปลีย่ นตามเร็ว ๆ นี้ “ส�ำนักงานเขตและท้องถิ่น ยังคงเป็น ผู้รับเรื่องลงทะเบียน ส่วนกรมฯ จะเป็นผู้ จ่ายเงินผ่านระบบออนไลน์ทเี่ ชือ่ มกับเลขบัตร ประชาชนหรือเบอร์โทรศัพท์ทเี่ รียกว่าพร้อม เพย์” นางสาวอรนุช กล่าว นางสาวอรนุช กล่าวต่อว่า ทางกรมฯ มี แ นวทางพั ฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล การลง ทะเบียนโดยให้ท้องถิ่นกับส่วนกลางใช้ร่วม กัน สามารถรองรับรายชื่อได้กว่า 20 ล้าน รายชื่อ และสามารถตรวจสอบได้ทุกเดือน น่าจะลดปัญหาการจ่ายเบี้ยซ�้ำซ้อนในกรณี เสียชีวติ หรือย้ายทีอ่ ยูไ่ ด้

วรศิริ สมมณี ปาณิสรา ศรีวงษ์ รชา เหลืองบริสุทธิ์ โสฬวรรณ สุวรรณโชติ เพ็ญสินี ธิติธรรมรักษา

25/1/2561 11:29:26


10 | ลูกศิลป์

ครูไทยงานท่วม!

ครู ไ ทยน่ ว มเจอทั้ ง งานธุ ร การ-บั ญ ชี - ประกั น คุ ณ ภาพ กว่ า 16 ชม. ต่ อ สั ป ดาห์ เกิ น ภาระงานขั้ น ต�่ ำ อื้ อ แถมกิ น เวลามากกว่ า งานสอน นั ก เรี ย นเซ็ ง เจอแต่ สั่ ง งานในคาบแถมฝากครู ห ้ อ งข้ า ง ๆ ดู แ ล นั ก วิ ช าการจี้ รื้ อ ระบบบริ ห ารโรงเรี ย นใหม่ ห มด “แต่ละวันดิฉนั ต้องสอนครึง่ วัน 800-1,000 คน ใช้เวลาในการกรอก อย่างไรก็ดี งานวิจยั เชิงส�ำรวจ อีกครึง่ วันเสียไปกับงานเอกสารและ ข้อมูลลงฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ เรื่องกิจกรรมภายนอกชั้นเรียนที่ งานกรอกข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และ ครัง้ ละไม่ตำ�่ กว่า 10 นาทีตอ่ นักเรียน 1 คน กระทบต่อการจัดการเรียนการสอน ยังต้องยืนเวรรับนักเรียนตัง้ แต่ 6 โมงเช้า มีโรงเรียนมัธยมอีกกว่า 30,000 ของครู จัดท�ำโดย สสค. ปี 2558 ตรวจระเบียบตอนเข้าแถวเคารพธงชาติ แห่งทั่วประเทศ ที่ครูต้องท�ำงาน พบว่า ใน 1 ปี มีวนั เปิดภาคเรียน กลางวันเป็นครูสหกรณ์ขายของซึง่ ต้อง บริหารนอกจากงานสอนตามข้อมูล 200 วัน ปี 2557 ครูต้องใช้เวลา ท�ำบัญชี แถมช่วงปลายปีตอ้ งเตรียม ของส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่ง กับกิจกรรมนอกห้องเรียนที่ไม่ใช่ เอกสารไว้สำ� หรับตรวจประกันคุณภาพ การเรียนรูแ้ ละคุณภาพเยาวชน (สสค.) การสอนถึง 84 วัน หรือคิดเป็นร้อยละ 42 การศึกษา” ประกาศก�ำหนดภาระงานสอน หมายความว่า เฉลีย่ แล้วใน 1 สัปดาห์ นางสุภาพ ล่องหลง ครูชำ� นาญ ขัน้ ต�ำ่ ของส�ำนักงานคณะกรรมการ ทีม่ ชี วั่ โมงท�ำงาน 40 ชัว่ โมง ครูใช้ การ โรงเรียนสวนศรีวทิ ยา จังหวัด ข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทาง เวลากับกิจกรรมทีไ่ ม่ใช่การสอน 16.8 ชุมพร เป็นครูในโรงเรียนมัธยมทีไ่ ด้รบั การศึ ก ษา (ก.ค.ศ.) กระทรวง ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ปีถดั มากระทรวง มอบหมายงานอืน่ นอกเหนืองานสอน ศึกษาธิการปี 2553 ก�ำหนดว่า ครูตอ้ ง ศึกษาธิการจึงเริม่ นโยบายลดภาระ จากผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียน ไม่ตา่ งจาก มีชวั่ โมงสอนขัน้ ต�ำ่ 12 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ครู ปรากฏว่า ครูใช้เวลากับกิจกรรม นายไชโย ถนอมพุทรา ครูชำ� นาญการ และต้องมีภาระงานอืน่ ได้แก่ เตรียม นอกห้องเรียนลดลงจาก 84 เหลือ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เอกสารส�ำหรับตรวจประกันคุณภาพ 65 วัน หรือคิดเป็นร้อยละ 32.5 หรือ สมุทรปราการ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายเป็น การศึกษา กิจกรรมตามนโยบายจาก 13 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ แต่กย็ งั เกินกว่า หัวหน้างานฝ่ายวัดผลและประเมินผล กระทรวงศึกษาธิการ และงานบริหาร ภาระขัน้ ต�ำ่ ในส่วนงานอืน่ ๆ ที่ ก.ค.ศ. ซึง่ เป็นงานบริหารด้านวิชาการ เขาจะ ภายในสถานศึกษา ขัน้ ต�ำ่ อีก 6 ชัว่ โมง ก�ำหนดไว้ที่ 6 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ต้องรวบรวมและตรวจสอบนักเรียนที่ ต่อสัปดาห์ รวมงานสอนและงานอืน่ นางสาวอุนนดา แจ้งตระกูล สามารถจบการศึกษาได้ ปีละประมาณ ไม่นอ้ ยกว่า 18 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน

โวย‘แนะแนว’ให้ทำ� แค่แบบสอบถาม

วิชาแนะแนวเมืองไทยให้ทำ� แค่แบบสอบถาม แต่ไม่คน ้ หาความชอบผูเ้ รียน หลายโรงเรียนมีครูแนะแนวคนเดียวดูแลนักเรียนร่วมพันคน เทียบฟินแลนด์ ครูช่วยค้นหาศักยภาพรายบุคคล นักวิชาการห่วงแนะแนวไม่มีคุณภาพ ท�ำเด็กเสียเวลาเรียนสาขาทีไ่ ม่ชอบ สพฐ.แจงไม่มน ี โยบายบรรจุเพิม ่ “ในห้องท�ำแค่แบบประเมินความ ถนัดเพือ่ ช่วยหาคณะทีเ่ หมาะกับตัว เอง แต่ไม่ได้ชว่ ยให้รวู้ า่ เราชอบเรียน ด้านไหน” นางสาวชั ญ ญานุ ช บั ว คง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ใน จังหวัดจันทบุรี เป็น 1 ในนักเรียน มัธยมอีกเกือบ 400,000 คน ทีจ่ ะ สมัครสอบเรียนต่อมหาวิทยาลัยใน อีก 5 เดือนข้างหน้า พวกเธอต้องเรียน วิชาแนะแนวสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง ตัง้ แต่ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนด โดยระบุ วัตถุประสงค์ว่า เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาผูเ้ รียนให้รจู้ กั ตนเอง สามารถ คิดตัดสินใจ คิดแก้ปญ ั หา วางแผน ชีวิตทั้งด้านการเรียน อาชีพ และ ปรับตนได้อย่างเหมาะสม ตลอดจน ช่วยให้ครูให้คำ� ปรึกษาแก่ผปู้ กครอง ในการมีสว่ นร่วมพัฒนาผูเ้ รียน แม้เธอจะเรียนวิชานี้มาเกือบ 6 ปีแล้ว แต่ยงั ไม่รวู้ า่ จะเรียนต่อ สาขาอะไร เพราะครูแนะแนวไม่เคย แนะน�ำว่า ถ้าเรียนสาขานีแ้ ล้วต้อง พบอะไร เช่นเดียวกับนักเรียนใน

LAYOUT.indd 12

กรุงเทพฯ ปริมณฑล และภาคกลาง อีกเกือบ 20 คน ทีบ่ อกกับผูส้ อื่ ข่าว ท�ำนองเดียวกัน บางคนยังระบุว่า ครูทโี่ รงเรียนปล่อยวิชาแนะแนวเป็น คาบว่าง นายธีรวัฒน์ มาโต ครูผู้ช่วย รับผิดชอบวิชาแนะแนว โรงเรียน ชิโนรสวิทยาลัย กรุงเทพฯ กล่าว ว่า วิชาแนะแนวมีเพื่อให้นักเรียน วางแผนศึกษาต่อทั้งมหาวิทยาลัย และอาชีวะ ในชัน้ เรียนจะให้ผเู้ รียน ท�ำแบบประเมินวัดบุคลิกภาพว่า เหมาะกับอาชีพอะไร รวมถึงพา วิทยากรมาพูดคุยเกีย่ วกับคณะต่าง ๆ และมีการให้ค�ำปรึกษารายบุคคล แต่ยอมรับว่า โรงเรียนมีครูแนะแนว 3 คน ต่อนักเรียนกว่า 2,000 คน ถือว่าน้อยเกินไป นางนงค์นชุ ภูมี รองผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ โรงเรียน หลวงพ่อปานคลองด่านอนุสรณ์ จังหวัดสมุทรปราการ กล่าวว่า นโยบาย วิชานี้คือ เน้นให้นักเรียนรู้จักและ ค้นพบตนเอง เพือ่ น�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จใน ชีวติ และให้คำ� ปรึกษาปัญหาครอบครัว

“แต่ยอมรับว่า ในโรงเรียนมีครู แนะแนว 2 คน ถือว่าน้อยเกินไป เพราะต้องเจอเด็ก 1,200 คน และ รับครูแนะแนวเพิม่ ไม่ได้เพราะต้อง เพิม่ ครูวชิ าสังคม วิทยาศาสตร์กอ่ น แต่แก้ปญ ั หาโดยให้ครูทปี่ รึกษาและ ครูแต่ละวิชาคอยแนะแนวไปด้วย” นางนงค์นชุ กล่าว ด้านคูม่ อื การศึกษาต่อเมืองเกราวา ประเทศฟิ น แลนด์ ระบุ ว ่ า วิ ช า แนะแนวเน้นแนะน�ำเรือ่ งการเรียน และการวางแผนอนาคตทัง้ รายกลุม่ และรายบุคคลว่า หากเรียนสาขานี้ ต้องเรียนอะไรและประกอบอาชีพ อะไร เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้เห็นเส้นทาง อนาคตและส�ำรวจตนเอง เช่น แนะน�ำ ว่า เรียนวิชาเคมีสามารถท�ำอาชีพ อะไรได้บา้ ง นางสาวกุลธิดา รุ่งเรืองเกียรติ นักวิชาการอิสระผู้เชี่ยวชาญด้าน การศึ ก ษาในประเทศฟิ น แลนด์ กล่าวว่า แนะแนวที่นี่จะเน้นให้เด็ก รู ้ จั ก ศั ก ยภาพของตั ว เองก่ อ น ครูแนะแนวจะช่วยวางแผนตารางเรียน สอนให้เรียนรูส้ งิ่ ต่าง ๆ ผ่านบทบาท

สิทธิการศึกษา

สตรีสมุทรปราการ กล่าวว่า ครูตอ้ ง ออกจากห้องสอนกะทันหันและสัง่ งานให้ทำ� ในคาบ บางครัง้ เข้าห้องเรียน เพียง 10 นาทีเพือ่ สัง่ งานแล้วให้ครูหอ้ ง ข้าง ๆ ช่วยดูแล เวลาตนมีขอ้ สงสัย เกีย่ วกับวิชาเรียนก็ไม่สามารถถามครูได้ ครูหอ้ งข้าง ๆ ก็ไม่ได้สอนวิชาเดียวกัน ด้าน นายไกรยส ภัทราวาท ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นเศรษฐศาสตร์ การศึกษา สสค. กล่าวว่า ครูใน โรงเรียนขนาดเล็กต้องแบ่งเวลา มาท�ำงานอื่นที่ไม่ใช่การสอน เช่น งานการเงิน ทั้งที่ควรใช้เจ้าหน้าที่ ทีไ่ ม่ใช่ครูเพือ่ ไม่ให้กระทบการสอน ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการต้อง หารือกับกระทรวงการคลังเพราะต้อง ใช้งบประมาณจ้างเจ้าหน้าทีจ่ ำ� นวนมาก ส่วน นายอรรถพล อนันตวรสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำคณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ภาระนอกการสอนของ ครูไทยมีจ�ำนวนมาก ต่างกับต่าง ประเทศที่ครูจะมีภาระนอกเหนือ การสอนน้อย เพือ่ ให้ครูมคี วามเป็น มืออาชีพเชิงวิชาการ และใช้เวลาอยู่ กับเด็กเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน มากกว่า “บ้านเราปัญหาอยูท่ มี่ บี คุ ลากร สนับสนุนไม่เพียงพอ จึงต้องอาศัย ครูมาท�ำงานบริหาร และสารพัด

นโยบายจากกระทรวงฯ ทุกคนคาดหวัง จากครูหมด เมื่อครูไม่ได้จดจ่ออยู่ ที่การเรียนการสอน จึงส่งผลต่อ คุณภาพการศึกษาเด็ก วิธีแก้คือ ต้องออกแบบระบบการบริหารโรงเรียน ใหม่ทงั้ หมด” นายอรรถพล กล่าว นางนารี ว รรณ จั น ทบาล ผู้อ�ำนวยการภารกิจวิจัยนวัตกรรม การบริหารงานบุคคล ก.ค.ศ. ชีแ้ จงว่า กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้ ล ด ภ า ร ะ ง า น ข อ ง ค รู ล ง แ ล ้ ว หลักเกณฑ์กำ� หนดต�ำแหน่งวิทยฐานะ ปี 2560 ยังก�ำหนดให้นำ� งานอืน่ ที่ ได้รับมอบหมายมานับเป็นชั่วโมง ขอเลือ่ นวิทยฐานะได้ ขณะที่ นางปราณี ศิวารมภ์ รองเลขาธิการ ก.ค.ศ. ชีแ้ จงว่า ก.ค.ศ. เสนอให้เพิม่ เจ้าหน้าทีล่ งไปช่วยภาระ นอกการสอนของครูแล้ว แต่ตอ้ งใช้ อัตราก�ำลังเยอะมาก ส่งผลกระทบ กับงบประมาณประเทศท�ำให้รฐั ยัง ไม่อนุมตั ิ “ปัจจุบนั จึงใช้วธิ เี กลีย่ อัตราก�ำลัง บุคลากรภายในกระทรวงให้เหมาะสม อาทิ จ้างครูตำ� แหน่งอัตราจ้าง หรือ พนักงานราชการลงไปช่วยงานภาระ นอกการสอนในสถานศึกษาเล็ก ๆ บางแห่ง ซึง่ จะดูตามขนาดของสถาน ศึกษานัน้ ๆ ด้วย” รองเลขาธิการ ก.ค.ศ. กล่าว

สมมติ เช่น จ�ำลองเมือง เด็กอยาก เป็นเจ้าของบริษทั ต้องท�ำอะไรบ้าง ไป กูเ้ งินธนาคาร ไปจดทะเบียน เป็นต้น ส่วนวิชาไหนไม่จำ� เป็นก็ไม่ตอ้ งเรียน ให้เสียเวลา “ครู แ นะแนว 1 คน ดู แ ล นักเรียนเพียงร้อยกว่าคน ท�ำให้พดู คุ ย กั บ นั ก เรี ย นเป็ น รายบุ ค คลได้ คนละประมาณ 45 นาที ท�ำให้มี ประสิทธิภาพและทั่วถึง ส่วนของ ไทยแค่ให้ทำ� แบบทดสอบในกระดาษ อย่างเดียวซึ่งไม่หลากหลายพอ” นางสาวกุลธิดา กล่าว นายวรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีกิตติคุณ มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า การแนะแนวไม่มีคุณภาพส่งผลให้ เด็กเสียเวลาในการเรียนคณะที่ไม่ ชอบ และก็กนั ทีน่ งั่ เด็กคนอืน่ ทีส่ นใจ คณะนัน้ จริง นอกจากนีย้ งั ส่งผลให้เด็ก ออกนอกระบบการศึ ก ษาเยอะ เพราะไม่มคี รูคอยให้คำ� ปรึกษา นายมฤษฎ์ แก้วจินดา หัวหน้า ภาควิ ช าจิ ต วิ ท ยาการศึ ก ษาและ การแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ กล่าวว่า ปรัชญาการสอนแนะแนว เน้นเรื่องการให้ค�ำปรึกษา เข้าใจ จิ ต ใจและพฤติ ก รรมของมนุ ษ ย์ ว่าแตกต่างกัน รวมถึงเชือ่ ว่า มนุษย์ เป็นทรัพยากรที่มีมูลค่าสามารถ พัฒนาได้

“การที่ครูแนะแนวยังให้เด็ก ท� ำ แบบสอบถาม อาจมาจาก ข้อจ�ำกัดบางอย่าง เช่น จ�ำนวน เด็กเยอะ ครูขาดแคลน ท�ำให้ให้ ค�ำปรึกษาได้ไม่เต็มที่ ทั้งนี้ควรให้ น�้ำหนักกับแบบทดสอบจิตวิทยา แค่ร้อยละ 10 ก็เพียงพอ เพราะ แบบทดสอบไม่ตอบโจทย์ ความต้องการรายบุคคล แต่ควร เน้นกิจกรรมที่สร้างแรงบันดาลใจ ของเด็ก” นายมฤษฎ์ กล่าว ขณะที่ นางสาวรัตนา แสงบัวเผือ่ น ผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ พัฒนาหลักสูตรและ มาตรฐานการเรียนรู้ ส�ำนักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) ชีแ้ จงว่า การท�ำแบบทดสอบ ยังคงเป็นเครือ่ งมือช่วยในการหาตัว ตนของเด็กทีง่ า่ ยทีส่ ดุ จึงจ�ำเป็นต้อง ใช้ในงานแนะแนว อย่างไรก็ดี สพฐ. มีหน้าทีเ่ พียงก�ำหนดกรอบของวิชา เท่านัน้ ส่วนการน�ำไปปฏิบตั เิ ป็นเรือ่ ง ของสถานศึกษา เมือ่ ถามถึงการขาดครูแนะแนว นางสาวรัตนา ยอมรับว่า ขาดแคลนจริง แต่เมือ่ วิชานีเ้ ป็นเพียงกิจกรรมเสริม หลักสูตรจึงไม่จำ� เป็นต้องใช้ครูเฉพาะทาง กระทรวงฯ จึงไม่มีนโยบายบรรจุ ครูแนะแนวเพิม่ เพราะมีความส�ำคัญ น้อยกว่า 8 วิชาสาระหลัก และ สามารถอบรมครูวิชาอื่นมาสอน แนะแนวควบคูไ่ ด้

นภสร ทองหล่อ

ปาณิสรา ศรีวงษ์

25/1/2561 11:29:27


สิทธิเศรษฐกิจ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 11

‘หวย’ ความหวังสุดท้ายในการหารายได้? ท�ำให้เป็นทีน่ บั หน้าถือตาเป็นทีร่ จู้ กั รวมถึงช่วยบ�ำบัดความตึงเครียด ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ� ำ วั น ใ ห ้ เ บ า ล ง จนสามารถลื ม ความทุ ก ข์ ห รื อ ปัญหาที่แท้จริงได้

หวย ความหวัง และความเชื่อของคนไทย

“ซือ้ ใต้ดนิ งวดละ 200-300 บาท ลอตเตอรี่งวดละใบ หวังจะมีโชค กั บ เขาบ้ า ง จะได้ มี ต ้ น ทุ น ไปท� ำ การค้าการขาย” ฉวี ว รรณ เทษเพราะผล วัย 52 ปี ชาวจังหวัดลพบุรี มีอาชีพ หลัก คือ รับจ้างท�ำความสะอาด มี ร ายได้ ต กวั น ละ 310 บาท ต้องท�ำงานทุกวัน ไม่เว้นเสาร์-อาทิตย์ เพราะต้องหาเงินส่งให้ลกู เรียน “ฉันไม่รู้ว่าจะไปท�ำงานอะไร อย่ า งอื่ น ได้ อี ก จบแค่ ชั้ น ป.4 จะไปแข่งอะไรกับใครได้” เธอ บอก ไม่ตา่ งจากอีก 20 คน หลายวัย หลากอาชีพ ที่เล่าเรื่องราวท�ำนอง เดี ย วกั น นี้ ใ ห้ ฟ ั ง มี จุ ด ร่ ว ม คื อ เพื่อหารายได้อีกช่องทางหนึ่ง รายงานสถานการณ์ พ ฤ ติ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ก า ร พ นั น ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ประจ�ำปี 2558 ของศูนย์ศกึ ษาปัญหา การพนั น คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบุว่า คนไทยราว 19 ล้านคน ซื้อสลาก กิ น แบ่ ง รั ฐ บาลและหวยใต้ ดิ น ในจ�ำนวนนีป้ ระมาณ 10.7 ล้านคน หรือ ราวร้อยละ 56.5 มีรายได้สว่ นบุคคล เฉลีย่ ต่อเดือนไม่เกิน 10,000 บาท อีกประมาณ 5.4 ล้านคน หรือราว ร ้ อ ย ล ะ 2 8 . 6 มี ร า ย ไ ด ้ 10,001-20,000 บาท ส่วนกลุม่ ทีม่ ี รายได้เกินกว่า 20,000 บาท มีอยูร่ าว 2.6 ล้านคน หรือราวร้อยละ 14.2 โอกาสเศรษฐกิจ-สังคมน้อย เข้าถึงแหล่งทุนยาก รายงานการส� ำ รวจภาวะ เศรษฐกิจสังคมในช่วงครึง่ แรกของ ปี 2560 ของส�ำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ ระบุวา่ ในกลุม่ ของประชากรทีจ่ นทีส่ ดุ มีรายได้ประจ�ำ 2,496 บาท/คน/เดือน ส่วนในกลุ่มประชากรที่รวยที่สุด

LAYOUT.indd 13

มีรายได้ประจ�ำ 26,545 บาท/คน/เดือน เท่ากับว่า มีชอ่ งว่างระหว่างรายได้ สูงถึง 24,049 บาท ตั ว เลขข้ า งบนนี้ บ ่ ง บอกถึ ง การขาดโอกาสทางเศรษฐกิ จ ของคนที่ มี ร ายได้ น ้ อ ย ส� ำ หรั บ ก า ร เข ้ า ถึ ง แ ห ล ่ ง ทุ น เ พื่ อ ไ ป ท�ำมาหากิน ท�ำให้ตอ้ งกูน้ อกระบบ ผลส�ำรวจของกระทรวงการคลัง และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสั ง คม ปี 2560 พบว่ า จากผูม้ าลงทะเบียนผูม้ รี ายได้นอ้ ย มีจ�ำนวน 1.8 ล้านคน ที่เป็นหนี้ นอกระบบ วิ ษ ณุ ว ง ศ ์ สิ น ศิ ริ กุ ล ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ป ระจ� ำ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ ขยายความว่ า คนมี ร ายได้ น ้ อ ยไม่ มี ก� ำ ลั ง ซื้ อ เข้ า ไม่ ถึ ง แหล่ ง ทุ น หวยจึ ง เป็ น อี ก ทางเลื อ กหนึ่ ง ที่ ล งทุ น น้ อ ย แต่ได้เงินกลับมามาก “เขารู ้ สึ ก ว่ า เงิ น ที่ ซื้ อ หวย มันน้อยมากเมื่อเทียบกับรายได้ และเขาก็รวู้ า่ โอกาสถูกมีนอ้ ยมาก แต่ คิ ด ว่ า คุ ้ ม กั บ การเสี่ ย ง” วิษณุ อธิบาย ด ้ า น โ อ ก า ส ท า ง สั ง ค ม ร า ย ง า น เ บื้ อ ง ต ้ น ว ่ า ด ้ ว ย ความเหลื่ อ มล�้ ำ ในประเทศไทย ของอ็อกแฟม ประเทศไทย เผยว่า โอกาสของลูกคนที่มีรายได้น้อย ได้เข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัย ต่ า งจากกลุ ่ ม อื่ น ถึ ง 19 เท่ า โ ด ย ก ลุ ่ ม ค รั ว เรื อ น ที่ จ น สุ ด (ร้ อ ยละ 10) สามารถส่ ง ลู ก เรี ย นจบมหาวิ ท ยาลั ย ได้ เ พี ย ง ร้อยละ 4 ขณะที่กลุ่มคนรวยสุด (ร้อยละ 10) สามารถส่งลูกเรียนจบ มหาวิทยาลัย จ�ำนวน ร้อยละ 66 เดชรัตน์ สุขก�ำเนิด อาจารย์ ป ร ะ จ� ำ ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร ์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อธิบายว่า โอกาสทางสั ง คมของคนรวยกั บ คนจนไม่เท่ากัน และยังไม่แน่นอนด้วย “คนรวยสามารถค� ำ นวณว่ า ชี วิ ต จะไปไหนต่ อ ได้ จะน� ำ เงิ น ก ้ อ น ที่ มี ไ ป ท� ำ อ ะ ไร ไ ด ้ บ ้ า ง แต่คนจนค�ำนวณไม่ได้วา่ ในอนาคต จะเป็ น อย่ า งไรต่ อ ไป จึ ง คิ ด ว่ า หวยอาจจะท�ำให้โอกาสบางอย่าง ดีขึ้น จึงฝากความหวังไว้กับหวย น อ ก จ า ก ก า ร กู ้ น อ ก ร ะ บ บ ” นักเศรษฐศาสตร์ ระบุ โอกาสถู ก แค่ 1 ในล้ า น แต่คนยังซื้อเป็นยาฝิ่น ส�ำนักข่าวออนไลน์ไทยพับลิกา้ ร่ ว มมื อ กั บ โครงการสร้ า งชุ ม ชน การใช้ ข ้ อ มู ล ส� ำ นั ก งานรั ฐ บาล อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) บริษทั บุญมีแล็บ จ�ำกัด และสถาบัน Social Technology เปิ ด เผย ง า น วิ จั ย โ อ ก า ส ถู ก ห ว ย จ า ก โครงการ ‘หวย ใครรวย ? ’ เมือ่ ปี 2560 ว่า โอกาสถูกรางวัลที่ 1 จากสลากกิ น แบ่ ง รั ฐ บาลมี แ ค่ ร้อยละ 0.0001 คิดเป็นประมาณ 2 เท่ า ของโอกาสถู ก ฟ้ า ผ่ า ใน ประเทศไทย พูดให้ง่าย คือ หากซื้อสลาก คนละ 1 ฉบั บ ทุ ก 1 ล้ า นฉบั บ จะมีผู้ถูกรางวัลที่ 1 เพียง 1 คน แ ต ่ เ มื่ อ มั น ถู ก ย า ก ม า ก แล้วท�ำไมคนถึงยังซื้อ? พสุ นิ ต สารมาศ อาจารย์ ป ร ะ จ� ำ ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร ์ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ ผู ้ เ คยท� ำ วิ จั ย เรื่ อ ง ‘ชีวิตนักเสี่ยงโชคจาก ตัวเลข : กรณีศกึ ษาคนเล่นหวยใต้ดนิ ’ อธิ บ ายข้ อ ค้ น พบในงานวิจัยว่า การซื้อความหวังด้วยการเล่นหวย เป็นวิธกี ารหนึง่ ทีท่ ำ� ให้คนรากหญ้า มีโอกาสทางการเงินเพิ่มขึ้น และ

สื่ อ เ ค รื่ อ ง มื อ ผ ลิ ต ความหวัง? “เวลาอ่านข่าวคนถูกรางวัลที่ 1 เขาบอกว่า ซื้อใบเดียวก็ถูก หรือ บอกว่ า อยู ่ ๆ ก็ มี ค นมาขาย ลอตเตอรี่ให้ในปั๊มน�้ำมัน แล้วก็ถูก รางวัล เราก็อยากจะถูกรางวัลที่ 1 เหมือนคนอืน่ บ้าง” แม่คา้ ขายขนมหวาน ย่านนนทบุรี บอก เธอบอกอีกว่า มีขา่ วลงในสือ่ ทุกงวด ใบเดียวบ้าง 3 ใบบ้าง 5 ใบบ้าง ท�ำไมถูกกันเยอะ ถูกกันง่าย เราก็ซอื้ แต่ ไ ม่ ถู ก รู ้ ทั้ ง รู ้ ว ่ า ได้ ไ ม่ คุ ้ ม เสี ย แต่ก็ซื้อทุกงวด องค์ ป ระกอบความเป็ น ข่ า ว ข้อหนึง่ มีเรือ่ งความใกล้ชดิ เป็นไปได้ หรือไม่วา่ สือ่ มองว่า หวยเป็นเรือ่ งที่ ทุกคนสัมผัสจึงเลือกน�ำเสนอ ถ้าจะมองว่า เป็นความแปลก ผิดธรรมดา แต่เมือ่ ถูกกันง่ายทุกงวด แบบนี้ มั น อาจจะไม่ แ ปลกแล้ ว แต่กลับสร้างความหมายให้หวยว่า มันถูกกันง่าย สุระชัย ชูผกา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ป ร ะ จ� ำ ค ณ ะ สื่ อ ส า ร ม ว ล ช น มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง อธิบายว่า แทบไม่มีโอกาสถูกหวยเลยในทาง สถิ ติ แต่ สื่ อ สร้ า งความเป็ น จริ ง โดยให้ความส�ำคัญ เช่น เชิญคน ถูกรางวัลมาออกรายการ ท�ำสกู๊ป ข่าวย้อนหลัง แต่ไม่เคยท�ำข่าวว่า หลังจากถูกรางวัลแล้วเขามีปัญหา จั ด สรรเงิ น ไหม หรื อ เขาเสี ย เงิ น ทั้งหมดไปกับการซื้อหวยเท่าไหร่ “ สื่ อ เ ป ็ น ส ่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ความเป็ น วั ฒ นธรรมมวลชนที่ ลื่ น ไหลไปกั บ วั ฒ นธรรมนี้ ด ้ ว ย เรือ่ งการพนันกับหวย คือ มายาคติ ทีค่ รอบคนในสังคมมาตลอด สือ่ เองก็ มีสว่ นช่วยท�ำให้มายาคตินฝี้ งั รากลึก ยิ่งขึ้น โดยการผลิตภาพมายาซ�้ำ ไปมา สุ ด ท้ า ยกลายเป็ น กลไก ที่ สื่ อ สมรู ้ ร ่ ว มคิ ด กั บ ภาครั ฐ ใน การกล่ อ มเกลาประชาชนให้ เคลิบเคลิม้ ” นักวิชาการสือ่ อธิบาย อี ก มุ ม หนึ่ ง อดิ ศ ร กล�่ ำ ชาว์ ผู ้ ช ่ ว ย หั ว ห น ้ า ข ่ า ว ภู มิ ภ า ค หนั ง สื อ พิ ม พ์ เ ดลิ นิ ว ส์ บอกว่ า ข่าวเกีย่ วกับหวยขายได้ และจบในตัว ไ ม ่ ต ้ อ ง ต า ม ค ว า ม คื บ ห น ้ า

ประชาชนเองก็อยากรูว้ า่ ไปไหว้พระ หรือไปท�ำอะไรมาถึงได้เลขเด็ด “ไม่ได้ส่งเสริมให้คนเล่นหวย แต่ มั น เป็ น วั ฏ จั ก รที่ ท� ำ ต่ อ กั น มา เรือ่ ย ๆ เมือ่ มีคนถูกรางวัล ก็ไปท�ำข่าว ให้เป็นเรื่องราวในชีวิตประจ�ำวัน” อดิศร กล่าว ย�้ ำ ค ว ร เ ลิ ก ส ร ้ า ง ความหวังไว้ที่หวย นวลน้อย ตรีรตั น์ ผูอ้ ำ� นวยการ ศู น ย ์ ศึ ก ษ า ป ั ญ ห า ก า ร พ นั น และรองศาสตราจารย์ ป ระจ� ำ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า เมือ่ คนรากหญ้าอยูใ่ นสภาพสิน้ หวัง ในแง่ของการที่จะยกระดับรายได้ และคุณภาพชีวิตของตน พวกเขา จึงฝากความหวังไว้ที่หวย เมื่อถูก รางวัลที่ 1 จะได้ไปเลย 6 ล้านบาท มันพลิกสถานะทางการเงินได้ทนั ที “การขายสลากต้ อ งไม่ ไ ป กระตุ้นให้เกิดการสร้างความหวัง ที่มากเกินจนท�ำให้พวกเขาไม่คิด จะท�ำอย่างอื่น นอกจะเอาเงินมา ทุ ่ ม กั บ การซื้ อ หวยจนเป็ น ภาระ ทางการเงิน แต่ซอื้ เพือ่ ความบันเทิง เพี ย งเท่ า นั้ น ” ผู ้ อ� ำ นวยการ ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน แนะ รั ฐ ย อ ม รั บ ‘ ห ว ย ’ สร้ า งความสุ ข ผ่ า น ความหวัง ฝัง่ เจ้ามือ สุพชิ ญา นิทศั น์วรกุล หั ว ห น ้ า ส� ำ นั ก ผู ้ อ� ำ น ว ย ก า ร ส� ำ นั ก งานสลากกิ น แบ่ ง รั ฐ บาล ไ ด ้ รั บ ม อ บ ห ม า ย จ า ก พล.ต. ฉลองรั ฐ นาคอาทิ ต ย์ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานสลากกินแบ่ง ที่ ก� ำ ลั ง จะหมดวาระ ให้ ชี้ แ จง ยอมรั บ ว่ า สลากกิ น แบ่ ง เป็ น การสร้างความสุขจากความหวัง แม้ไม่ถกู รางวัลก็ภมู ใิ จว่า เงินทีซ่ อื้ อย่ า งน้ อ ยก็ เข้ า รั ฐ น� ำ ไปพั ฒ นา ประเทศ ส่ ว นปั ญ หาที่ ค นอาจติ ด หวย งอมแงมนั้ น เธอย�้ ำ ว่ า “ส� ำ นั ก งานสลากฯ ได้เขียนค�ำเตือนบน สลากแล้วว่า ซื้อแต่น้อย ใช้สอย ประหยัด ไม่อตั คัดเงินทอง และใช้สอื่ หลากหลายช่ อ งทางบอกเสมอ ว ่ า ก า ร ซื้ อ ส ล า ก ใ ห ้ เ ป ็ น ไ ป เพือ่ ความบันเทิง เพือ่ ความสนุกสนาน ไม่ใช่เป็นการลงทุน” ปณาลี ลักษณสมบูรณ์

25/1/2561 11:29:32


12 | ลูกศิลป์

สิทธิวัฒนธรรม

กว่าจะเข้าถึง‘สะพานบุญ’ พระสงฆ์เปรียบดั่ง ‘สะพานบุญ’ เชื่อม ชาวพุทธให้เข้าถึงพระพุทธศาสนาผ่านค�ำสอน การเทศนา รวมทั้งวัตรปฏิบัติต่าง ๆ แต่ก็ไม่ใช่ชาวพุทธทุกคนที่จะสามารถ เข้ า ถึ ง พระสงฆ์ ทุ ก รู ป ได้ เ สมอเหมื อ นกั น ด้วยสังคมของพระที่ปกครองโดยสมณศักดิ์ ไล่ตั้งแต่สมณศักดิ์ไทยระดับชั้นบนสุดคือ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก สมเด็ จ พระราชาคณะ (ชั้ น สุ พ รรณบั ฏ ) พระราชาคณะเจ้าคณะรอง (ชั้นหิรัญบัฏ) พระราชาคณะเจ้าคณะรอง (ชั้นสัญญาบัตร) พระราชาคณะชัน้ ธรรม พระราชาคณะชัน้ เทพ พระราชาคณะชัน้ ราช พระราชาคณะชัน้ สามัญ พระครู สั ญ ญาบัต รชั้น ตรี โท เอก พิเศษ พระครูฐานานุกรม พระครูประทวนสมณศักดิ์ จนมาถึงพระธรรมดา การเข้าถึงมีความยากง่าย ต่างกัน พระระดั บ สมณศั ก ดิ์ สู ง ยั ง ถู ก สร้ า ง ความหมายให้ เ ท่ า กั บ ผู ้ มี บุ ญ ญาบารมี คนในทุ ก วงการทั้ ง ข้ า ราชการพลเรื อ น ทหาร ต� ำ รวจ นั ก การเมื อ ง นั ก ธุ ร กิ จ จึงวิง่ เข้าหา เพือ่ สร้างความน่าเชือ่ ถือให้ตนเอง ว่า ‘คนดีย่อมมองเห็นคนดี’ ด้วยกัน เมื่อค�ำว่า ‘ลูกศิษย์’ กลายเป็นเครือข่าย ที่ จ ะน� ำ พาไปสู ่ ค วามก้ า วหน้ า ในอนาคต ส่วนสมณศักดิ์ถูกเข้าใจว่า เป็นสะพานบุญ ต่างระดับกัน มันจึงมี ‘ต้นทุน’ ที่ต้องแลก ในการไต่บันไดสู่สวงสวรรค์ กว่าจะฝากตัวเป็นศิษย์ การเข้าไปกราบ ‘พระมีตำ� แหน่ง’ แตกต่าง จากพระทั่วไป สะท้อนจากค�ำบอกเล่าของ พระครูพิมล ปุญาธร เจ้าอาวาสวัดลาดพร้าว ที่กล่าวอย่างไม่อ้อมค้อมว่า “การจะเข้าหา พระระดับผู้ใหญ่เป็นเรื่องยาก เพราะท่าน เป็นพระดังและมีระดับ” สอดคล้องกับ สมบุญ ก๊กฟ้า หรือ ‘ลุงผูใ้ หญ่’ ผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนามากว่า 30 ปี ซึ่ ง อ้ า งตั ว ว่ า เป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ พ ระพรหมโมลี เมื่อข้าพเจ้าขอเข้า กราบพระผู้ใหญ่

ว่ากันว่าจะเข้าถึงพระชั้นผู้ใหญ่นั้น ต้องมีความอุตสาหะ เพราะพระทีม่ ยี ศทาง สมณศักดิส์ งู ๆ นัน้ มีลำ� ดับขัน้ ในการเข้าไป ไม่สามารถติดต่อครั้งหนึ่งแล้วสามารถ เข้าไปกราบได้เลย จากการพูดคุยกับลูกศิษย์พระที่มียศ ทางสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง อย่าง สมบุญ ก๊กฟ้า ยืนยันว่า ต้องติดต่อ กับคนรู้จักก่อน นั่นคือ ลูกศิษย์ เขาบอกว่า การติดต่อก็ไม่ใช่ครั้งเดียว แล้วจะได้ ‘ไฟเขียว’ เลย แต่ต้องท�ำความ รูจ้ กั ไม่วา่ จะเป็น โทรศัพท์ไปคุย แวะไปหา

LAYOUT.indd 14

พระราชาคณะเจ้ า คณะรอง วั ด ปากน�้ ำ ได้เล่าประสบการณ์ส่วนตัวในการเข้าพบ พระสมณศักดิส์ งู ว่า พระระดับผูใ้ หญ่จะเป็นฝ่าย บอกเองว่า สะดวกให้เข้าพบทีไ่ หนและเมือ่ ไร เราไม่มสี ทิ ธิไ์ ปนัดหมายขอเข้าไปพบล่วงหน้า “คนธรรมดาที่ไม่ได้รู้จักเป็นการส่วนตัว แล้วต้องการเข้าไปกราบเป็นเรื่องยากมาก และต้ อ งติ ด ต่ อ กั บ ลู ก ศิ ษ ย์ ข องท่ า นก่ อ น เมื่อติดต่อจนได้เข้าพบ ในครั้งแรกก็ต้อง มี ลู ก ศิ ษ ย์ ผู ้ นั้ น อยู ่ ด ้ ว ยตลอดจนเสร็ จ สิ้ น การสนทนา ส่วนการเข้าพบครั้งต่อ ๆ ไป ลูกศิษย์กย็ งั ต้องนัง่ อยูด่ ว้ ย เว้นแต่ทา่ นอยาก พูดคุยเป็นการส่วนตัว” สมบุญ อธิบายขัน้ ตอน การเข้าถึง หรือทีเ่ รียกว่า ฝากตัวเป็นลูกศิษย์ ผู ้ น ้ อ ยตามผู ้ ใ หญ่ ห นทาง คลุ ก วงใน เมื่ อ ฝากตั ว เป็ น ศิ ษ ย์ ไ ด้ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว ศิษย์เองก็จะมีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้เป็นโยมอุปัฏฐากพระชั้นผู้ใหญ่ ดังที่ พ.ต.ท. ไพรัช รัตนะนาม รองผู้ก�ำกับการ ป้องกันปราบปราม สถานีตำ� รวจภูธรทุง่ เบญจา จังหวัดจันทบุรี กล่าวว่า นายซึ่งเป็นอดีต รองผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติเคยเข้าพบ พระชัน้ สมเด็จองค์กอ่ น การทีน่ ายมีตำ� แหน่งสูง เป็นเหมือนสะพานเชื่อมต่อท�ำให้คนเล็ก ๆ อย่างตนเข้าพบพระระดับสูงได้ง่ายขึ้น “นายไปท�ำบุญกับพระสมเด็จอยูบ่ อ่ ย ๆ ก็ชวนผมไปฝากตัวเป็นลูกศิษย์ของท่านด้วย” พ.ต.ท. ไพรัช เล่าด้วยความภูมิใจ

ก็ต้องไปท�ำ พระจะได้ประโยชน์จากลูกศิษย์ ขณะที่ ลู ก ศิ ษ ย์ จ ะได้ ป ระโยชน์ ใ นเรื่ อ ง การอบรมบ่มนิสัยให้เป็นคนดีขึ้น “ยังรวมถึงการฝากฝังเข้าท�ำงาน หากมี ผู ้ ห ลั ก ผู ้ ใ หญ่ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ลู ก ศิ ษ ย์ ท่านก็จะช่วยฝากฝังให้ ซึง่ ค�ำพูดทีใ่ ช้บอ่ ย คือ อาตมาเห็นสมควรว่า โยมควรจะเอาเขาไป ช่วยงาน” โนช นครชัยศรี เล่า เข้ า ถึ ง ‘สะพานบุ ญ ’ต้ น ทุ น ต้องสูง โดยทั่วไป ผู้ที่ต้องการนิมนต์พระสงฆ์ มาท� ำ กิ จ ต่ า ง ๆ จะติ ด ต่ อ กั บ วั ด โดยตรง หรือนิมนต์พระด้วยวาจา ถ้าเป็นพระที่มี สมณศั ก ดิ์ การติ ด ต่ อ ก็ จ ะต้ อ งผ่ า นทาง ลูกศิษย์เช่นเดียวกับการขอเข้าไปกราบ แต่ไม่ว่าจะเป็นพระระดับใด ผู้นิมนต์ จะมีธรรมเนียมการ ‘ใส่ซอง’ ถวายพระ ท�ำให้เกิดค�ำถามตามมาว่าต้องใส่ซองเท่าไร จึงจะเหมาะสม แหล่ ง ข่ า วย่ า นภาษี เ จริ ญ กรุ ง เทพฯ รายหนึ่งซึ่งไม่ขอออกนาม เผยว่า ใส่ซอง ครั้งละไม่ต�่ำกว่า 10,000 บาท เพื่อนิมนต์

สมเด็ จ พระราชาคณะมาประกอบพิ ธี เพราะเชื่อว่าเป็นพระระดับผู้ใหญ่ที่มียศสูง จึงจ�ำเป็นต้องใส่ซองให้สมเกียรติ “เข้าใจว่า การใส่ซองเป็นวัฒนธรรม ที่สืบต่อกันมาอย่างยาวนาน ซึ่งก�ำหนดไว้ อยูแ่ ล้วว่าพระยศเล็กจะได้เงินในซองน้อยกว่า พระยศใหญ่ และไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งแปลกที่ พระยศใหญ่จะได้ไม่ต�่ำกว่า 10,000 บาท” เขาระบุ ส่วนมุมมองฝัง่ สงฆ์จาก พระสุธี สีลวิสทุ โธ พระวัดใหม่พัฒนาราม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ไม่เห็นแย้งกับธรรมเนียมดังกล่าว และยัง เล่าว่า เพื่อนพระซึ่งเป็นพระระดับทั่วไป ในอ� ำ เภอพุ น พิ น จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี ไ ป เ ท ศ น ์ จ น พิ ธี ก ร ช ม ว ่ า เ ท ศ น ์ ไ ด ้ ดี แต่ เ มื่ อ เจ้ า ภาพทราบว่ า เป็ น พระซึ่ ง ไม่ มี ยศต�ำแหน่งใด ๆ ก็ดึงเงินออกไปจากซอง ครึ่งหนึ่งทันที เพราะเห็นว่าเป็นพระลูกวัด ธรรมดาไม่จ�ำเป็นต้องใส่มาก “การใส่เงินตามสมณศักดิพ์ ระเกิดขึน้ จริง ด้ ว ยเหตุ นี้ พ ระบางรู ป จึ ง ต้ อ งแสวงหายศ เพื่อเพิ่มค่าซอง” พระสุธี เล่า

หมั่ น ปรนนิ บั ติ ใ บเบิ ก ทาง อนาคต ด้าน จ.ส.ท. ฉัตรจตุฤทธิ์ แววน�ำ หรือที่ แวดวงพระเครือ่ งรูจ้ กั ในนาม ‘โนช นครชัยศรี’ บอกว่า การเข้าถึงพระสมณศักดิส์ งู จนกระทัง่ ได้เป็นลูกศิษย์ จะต้องคอยดูแลรับใช้และ ปรนนิบัติอย่างสม�่ำเสมอ หากท่านเรียกหา เมื่อใดก็ต้องเข้าพบ หรือขอให้ช่วยเรื่องใด

เงิน ปัจจัยเชื่อมคนให้พุทธศาสนิกชนเข้าถึงพระสงฆ์

มี ข นมและน�้ ำ ผลไม้ ติ ด ไม้ ติ ด มื อ ไปฝาก ท�ำแบบนี้หลาย ๆ ครั้ง จนคุ้นเคยกันแล้ว ลูกศิษย์ก็จะติดต่อให้ แต่จะได้เข้าพบหรือไม่ ก็อีกเรื่องหนึ่งเพราะบางครั้งท่านติดกิจธุระ “อี ก วิ ธี คื อ ท่ า นจะลงพื้ น ที่ วั น ใด ที่ใด เวลาใด แล้วแต่ท่านก�ำหนด อย่างนี้ ลูกศิษย์สามารถโทรไปหาคนที่อยากเข้าพบ และพาเข้าไปได้” สมบุญ เฉลยว่า เหตุใด ต้องผูกมิตรกับลูกศิษย์ ขณะที่ จ.ส.ท. ฉัตรจตุฤทธิ์ แววน�ำ ลูกศิษย์ หลวงปูเ่ จือ วัดกลางบางแก้ว บอกว่า การเข้าถึง พระเช่ น นั้ น จะยากตรงที่ จ ะผ่ า นลู ก ศิ ษ ย์ ไปอย่างไร เพราะส่วนมากจะมีลูกศิษย์วัด เป็นตัวกัน

“วิธที งี่ า่ ยทีส่ ดุ คือ ไปหาท่านทีว่ ดั แต่จะได้ เข้าพบหรือไม่ได้เข้าพบจะอยูท่ ตี่ วั ท่านเองว่า จะสะดวกหรือติดกิจธุระหรือไม่” ผู้เขียนทดลองท�ำตามวิธีหลัง โดยติดต่อ ตรงเข้าหาวัดหงรัตนาราม เพื่อขอเข้าพบ และสัมภาษณ์พระราชโมลี เจ้าอาวาสวัด แต่กไ็ ด้พบเพียงพระเจ้าหน้าทีส่ ำ� นักเรียน คือ พระมหามานะ ฐิ ต เมธี ซึ่ ง ท่ า นระบุ ว ่ า “เจ้าอาวาสไม่สะดวกเนือ่ งจากติดภารกิจจ�ำนวน มาก และได้มอบหมายให้พดู คุยกับอาตมาแทน” พระมหามานะ ย�ำ้ ว่า การเข้าพบพระทีม่ ี สมณศักดิ์สูง ๆ แท้จริงแล้วขึ้นอยู่กับงาน ของท่านและจริตของท่านด้วย ตัวท่านเอง ไม่ได้หยิง่ แต่รับภารกิจไว้มาก จึงมอบหน้าที่

ให้พระเลขานุการในด้านนั้น ๆ ท�ำแทน “ไม่ใช่ว่าเป็นใหญ่แล้วหลงลืม ทว่า การเข้าหาก็ต้องดูสถานการณ์ด้วยเช่นกัน ซึง่ การเป็นพระเถระผูใ้ หญ่จะมีคนเข้าหามาก จึงจ�ำเป็นต้องป้องกันตนเองด้วยส่วนหนึ่ง แต่แนะน�ำว่า การจะเข้าพบ ให้ไปงาน สาธารณะจะดีกว่า” พระมหามานะ ชีแ้ จง ด้วยประสบการณ์ข้างต้นที่ได้เข้าไป สั ง เกตและสั ม ผั ส พบว่ า การเข้ า พบ พระชัน้ ผูใ้ หญ่นนั้ ต่างมีลำ� ดับขัน้ ในการเข้าถึง ชาวพุทธยากที่จะเข้าถึงพระสงฆ์ได้ทุกรูป

เพราะจนถึง ณ ขณะนี้ ผู้เขียนก็ยัง ไม่ ไ ด้ เ ข้ า พบกั บ พระที่ มี ย ศทาง สมณศักดิ์สูง ๆ

25/1/2561 11:29:34


สิทธิวัฒนธรรม

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 13

‘ซองพระ’ใส่หลักพัน-หมื่น!

ล�ำดับการนั่งตามพัดยศของพระสงฆ์ หากยศสูงจะได้นั่งด้านบน ส่วนยศอื่น ๆ ไล่เรียงตามลงมา

‘สมณศั ก ดิ์ ’ รากฐานระบบ อุปถัมภ์? ไม่มีใครรู้แน่ชัดว่าธรรมเนียมการเข้าถึง และการใส่ซองกิจนิมนต์มีที่มาที่ไปอย่างไร แต่ สุรพศ ทวีศกั ดิ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ประจ�ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ ศูนย์การศึกษา หัวหิน เผยว่า สมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีกฎหมายให้พระมหากษัตริย์แบ่งปันที่ดิน ให้ กั บ พระตามล� ำ ดั บ สมณศั ก ดิ์ พระที่ มี ชั้นพัดยศสูงกว่าจะได้รับผลประโยชน์ที่ดิน มากกว่าพระทีไ่ ม่มสี มณศักดิ์ ซึง่ ธรรมเนียมนี้ ยังสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน “แต่ทกุ วันนีก้ ลับหนักขึน้ เมือ่ มีงานใหญ่ ๆ นิมนต์พระสมณศักดิ์สูง ๆ ก็มีการก�ำหนด อัตราค่าตัวถวาย ซึ่งถือเป็นค่านิยมที่ผิด” นักวิชาการด้านศาสนา ให้ความเห็น ในแง่ของการกีดกัน สุรพศ ยอมรับว่า พระที่มีระดับสูงเข้าถึงยากจริง อย่างเช่น สมเด็ จ พระสั ง ฆราชแทบจะเป็ น ไปไม่ ไ ด้ ที่จะได้เข้าพบ เพราะพระสงฆ์มีชนชั้น “ระบบสมณศักดิท์ ำ� ให้เข้าไม่ถงึ พระยศสูง ถ้ายกเลิกก็จะสามารถเปลี่ยนวิสัยของพระ ไม่ ใ ห้ ไ ต่ ขึ้ น ไปข้ า งบนได้ ตั ว ชาวพุ ท ธเอง ก็สามารถท�ำบุญได้กับพระทุกรูป” สุรพศ ให้ข้อคิด ด้าน คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง อาจารย์ประจ�ำ ภาควิ ช าปรั ช ญา คณะอั ก ษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กล่ า วว่ า แต่ เ ดิ ม คนไม่ได้คดิ ว่า ต้องใส่เท่าไร ขึน้ กับแรงศรัทธา แต่ปัจจุบันชาวบ้านคงรู้สึกว่า ถ้าเป็นระดับ พระครู ที่ มี ส มณศั ก ดิ์ สู ง ก็ ค วรจะใส่ ซ อง ถวายให้ ม ากกว่ า พระทั่ ว ไป ด้ า นหนึ่ ง จึ ง เป็ น การท�ำสืบต่อกันมาโดยการพูดคุยกันเอง ในหมู่ชาวบ้าน “อีกด้านหนึ่งพระก็ขวนขวายเพื่อหวัง ก้าวหน้าในชัน้ ยศ เกิดการนิมนต์ผบู้ งั คับบัญชา เช่น พระครูทไี่ ด้เลือ่ นสมณศักดิก์ ม็ กั จะนิมนต์ เจ้าคณะจังหวัดหรือเจ้าคณะแขวงมาฉลอง และพระรู ป ดั ง กล่ า วก็ จ ะถวายเงิ น ให้ พระผู้ใหญ่เป็นจ�ำนวนมากตามสมณศักดิ์ เหล่านั้น เกิดธรรมเนียมว่า ถ้าเป็นเจ้าคุณ

LAYOUT.indd 15

ต้องเท่านี้ พระครูต้องเท่านั้น” อาจารย์ ประจ�ำภาควิชาปรัชญา ระบุ เขาอธิ บ ายด้ ว ยว่ า ปรากฏการณ์ นี้ สะท้อนรากฐานของระบบอุปถัมภ์ กล่าวคือ ในแง่ ข องสมณะสู ง แปลว่ า ได้ ใ กล้ ชิ ด ระบบกษัตริย์มากขึ้น พระมีสมณศักดิ์เวลา คนท�ำบุญก็ถือว่าเป็นหน้าเป็นตากับตัวเอง “เป็ น เรื่ อ งความสั ม พั น ธ์ เวลานิ ม นต์ พระที่ มี ย ศสมณศั ก ดิ์ สู ง ไปจั ง หวั ด ไหน ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องมารับ หรือแม้แต่ ทหาร ต� ำ รวจ หากคุ ณ รู ้ จั ก ท่ า นเจ้ า คุ ณ องค์ นั้ น องค์ นี้ มั น ก็ จ ะเกิ ด ความสะดวก ต่ออะไรหลาย ๆ อย่าง เช่น เรือ่ งการฝากฝัง เข้าท�ำงานเป็นต้น” คมกฤช ทิ้งท้าย ย อ ม รั บ มี ฝ า ก ง า น จ ริ ง แต่ ไ ด้ ห รื อ ไม่ เ ป็ น อี ก เรื่ อ ง ในมุ ม มองของพระที่ มี ต� ำ แหน่ ง เช่ น พระมหามานะ ฐิตเมธี เจ้าหน้าที่กองเลขา วั ด หงส์ รั ต นารามราชวรวิ ห าร ตั ว แทน พระราชโมลี (มีชยั วีรปญฺโญ ป.ธ.9) ปฏิเสธว่า พระผู้ใหญ่ไม่ได้เข้าถึงยากอย่างที่กล่าวอ้าง แต่เพราะท่านมีกิจจ�ำนวนมาก อย่างเช่น เจ้าอาวาสวัดหงรัตนารามฯ มีทั้งรัฐมนตรี ผูน้ ำ� กองทัพพยายามเข้าหา จึงป้องกันตนเอง โดยจะไม่คอ่ ยรับแขก แต่รบั เป็นงานสาธารณะ “ส�ำหรับการฝากฝังเข้าท�ำงาน ยอมรับว่า ถ้าอยากให้ทา่ นช่วยเรือ่ งต�ำแหน่ง ท่านก็ชว่ ย แต่จะได้หรือไม่ได้ก็อีกเรื่องหนึ่ง เมื่อส�ำเร็จ ความต้องการ คนเหล่านัน้ ก็จะมาช่วยพัฒนาวัด และเข้ามาศรัทธาท่านมากขึน้ เพราะอาจารย์ ท�ำได้จริง” พระมหามานะ เผย ส่ ว นเงิ น ซองพระที่ ม ากขึ้ น ตามยศนั้ น พระมหามานะ บอกเพียงว่า ถ้าญาติโยม อยากเห็นพระเป็นไปอย่างอดีตคงเป็นไปไม่ได้ เพราะบ้านเมืองพัฒนาขึ้น วัดก็มีค่าใช้จ่าย ทั้งค่าน�้ำ ค่าไฟ ค่าเดินทาง ค่าดูแลรักษา ปรับปรุงวัด “พระพุ ท ธเจ้ า ทรงตรั ส ว่ า รู ้ จั ก กาละ สมัยต้ อ งเปลี่ ย นแปลง จะเจริ ญ ได้ ต ้ อ ง เปลีย่ นแปลงไปตามสมัย” พระมหามานะ ตอบ

การถวาย ‘ซอง’ แด่ พ ระสงฆ์ เป็ น ธรรมเนี ย มปฏิ บั ติ ข องชาวพุ ท ธ ในปัจจุบนั อย่างไรก็ดี บรรดาผูน้ ยิ มท�ำบุญ ท�ำทาน ต่างยอมรับว่า จะใส่ซองมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับก�ำลังทรัพย์ แต่ที่ส�ำคัญคือ ระดับของพระ เบญจรั ต น์ ภาคิ น ชาวบ้า นจังหวัด ชลบุ รี ผู ้ นิ มนต์ พ ระวั ด ตาลล้อมมาสวด ประกอบพิธีทางศาสนาหลากหลายครั้ง บอกว่ า พระลู ก วั ด ทั่ ว ๆ ไปที่ ไ ม่ มี ย ศ สมณศักดิ์ จะใส่ซองประมาณ 100–300 บาท ส่วนเจ้าอาวาสจะถวาย 500 บาท ไม่ต่างกับ พรพราว ทองจรูญ ที่ถวาย ซองพระในงานบวชของลูกชาย ใส่ซองให้ พระครูวิบูลปริยัติกิจ เจ้าอาวาสวัดพิบูล สัณหธรรมไป 1,000 บาท เธอยอมรับว่า การใส่ซองขึน้ อยูก่ บั แรง ศรัทธา ทว่าพระทั่วไปกับพระที่มียศต้อง ใส่ต่างกัน เพราะเชื่อว่า พระที่มียศนั้นอยู่ มานานและเป็นที่รู้จักต่างกับพระทั่วไป ส่วน สิริพร ชลสุวัฒน์ กล่าวว่า เคย ท�ำบุญวันส�ำคัญของครอบครัว พ่อใส่ซอง ให้เจ้าอาวาสวัดเนินสุทธาวาส ยศพระครู เป็นจ�ำนวนเงินหลายพันบาทแต่จ�ำตัวเลข ชัด ๆ ไม่ได้ “ที่ ท� ำ ไปก็ เ พื่ อ เป็ น กุ ศ ลบุ ญ ให้ แ ก่ ครอบครัว” สิริพร ระบุ ส�ำหรับพระทีม่ สี มณศักดิส์ งู ๆ แหล่งข่าว ย่ า นภาษี เ จริ ญ ที่ ไ ม่ ข อเอ่ ย ชื่ อ ระบุ ว ่ า ถ้านิมนต์สมเด็จพระราชาคณะมาประกอบ พิธีต้องใส่ซองไม่ต�่ำกว่า 10,000 บาท ยั น ร ะ บ บ ส ม ณ ศั ก ดิ์ มี คุ ณ มากกว่าโทษ พระมหามานะ ยั ง เห็ น ว่ า สมณศั ก ดิ์ เป็ น ตั ว บอกความดี ข องพระสงฆ์ ที่ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ งเชิ ด ชู ม าตั้ ง แต่ อ ดี ต ถึ ง ปั จ จุ บั น เพื่อเป็นก�ำลังใจ “สมณศั ก ดิ์ จึ ง เรี ย กว่ า ‘ยศ’ ไม่ ไ ด้ เรียกว่า ‘อ�ำนาจ’ และประโยชน์ที่ได้จาก สมณศั ก ดิ์ จ ะท� ำ ให้ พ ระสงฆ์ ตั้ ง ใจปฏิ บั ติ ศาสนกิจมากขึน้ ” ตัวแทนพระราชโมลี ยืนยัน ความเห็ น ของเจ้ า หน้ า ที่ ก องเลขา วัดหงส์รัตนารามฯ เป็นไปในทางเดียวกับ ศาสตราจารย์ ดร.วั ช ระ งามจิ ต รเจริ ญ สาขาวิ ช าปรั ช ญา คณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ในงานวิ จั ย “สมณศักดิ์ : ข้อดีและปัญหา” เมือ่ ปี 2556 ว่า โดยตัวสมณศักดิ์เป็นสิ่งดีงามเพราะเป็นการ ยกย่องและให้ก�ำลังใจแก่พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ อย่างไรก็ดี งานวิจยั ยังเสนอว่า สมณศักดิ์ มี ทั้ ง ข้ อ ดี แ ละปั ญ หา แต่ ป ั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น

ด้ า น หลวงพี่ ม าจิ ต ร นามิ รั ก ษ์ วัดนาคปรก เผยว่า ได้ซอง 300-500 บาท ขณะทีเ่ จ้าอาวาสอย่างพระครูวรกิตติโสภณ ซึง่ มีสมณศักดิ์ ได้มากกว่า 2 เท่าแน่นอน ไม่ ต ่ า งกั บ หลวงพี่ เ จษฎา บั ว บาล อดี ต พระลู ก วั ด ที่ ป ั จ จุ บั น ก� ำ ลั ง ศึ ก ษา ปริญญาโทด้านศาสนา เผยว่า เจ้าอาวาส ที่ มี ส มณศั ก ดิ์ ในซองจะมี เ งิ น ประมาณ 2,000 บาท หากเป็นชั้นพระราชาคณะ หรือ ชั้นธรรม จะได้ มากกว่านั้น คาดว่า ได้ 10,000 บาทขึ้น ประยงค์ ประเสริฐ เล่าว่า วัดแถวบ้าน ในจังหวัดอุบลราชธานี ถ้าจะนิมนต์พระทีม่ ี ยศทางสมณศักดิส์ งู ๆ อย่างพระราชาคณะ ชัน้ ราช จะใส่ประมาณ 30,000-40,000 บาท แต่โดยส่วนตัวยังไม่เคยนิมนต์และไม่เคย ใส่ ซ อง แต่ ที่ ท ราบเพราะคนทั่ ว ๆ ไป ในละแวกนัน้ จะรูก้ นั และพูดคุยกันจนเป็น เรื่องปกติ ในขณะที่ สมบุ ญ ก๊ ก ฟ้ า เล่ า ประสบการณ์ ก ารใส่ ซ องพระให้ ฟ ั ง ว่ า เคยนิมนต์เจ้าคณะกรุงเทพฯ สมณศักดิ์ พระราชาคณะชั้นสามัญมาเทศน์ในงาน บวชประจ� ำ ปี ข องเขตลาดพร้ า ว ถวาย ปัจจัยใส่ในซองไม่ต�่ำกว่า 20,000 บาท “ความจริงจะใส่ซอง 5,000 บาทก็ได้ แต่เมือ่ เรานิมนต์พระทีเ่ ป็นถึงพระราชาคณะ มาเป็ น ประธานก็ ค วรจะถวายปั จ จั ย ให้ สมเกียรติ สมฐานะ” สมบุญ บอก และว่า ถ้าถึงขั้นยศสูงขนาดองค์สมเด็จการจะใส่ มากกว่า 50,000 บาทก็เป็นเรื่องปกติ ยังไม่รุนแรงถึงขนาดควรยกเลิกสมณศักดิ์ และหากจะยกเลิกก็คงยาก เพราะสมณศักดิ์ ผู ก โยงกั บ ระบบการปกครองคณะสงฆ์ ระบบการปกครองบ้ า นเมื อ ง ทั้ ง ยั ง เป็ น ส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมไทยและเกีย่ วข้องกับ สถาบันพระมหากษัตริย์ ฉะนัน้ ในสภาพการณ์ ที่ยังไม่ได้ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขระบบ สมณศั ก ดิ์ พระสงฆ์ รั ฐ และประชาชน จึ ง ควรลดค่ า นิ ย มฟุ ้ ง เฟ้ อ และเผยแพร่ ความรู้ให้เข้า ใจอย่า งถูกต้องก็จะช่วยลด ปัญหาของสมณศักดิ์ได้

รชา เหลืองบริสุทธิ์

25/1/2561 11:29:36


14 | ลูกศิลป์

ตาลเมืองเพชรฯลดฮวบ กวาดเศรษฐกิจครัวเรือนล้ม

สิทธิสิ่งแวดล้อม

“ส่วนพืน้ ทีท่ ปี่ ลูก บางแห่งประสบปัญหา เช่ น เมื่ อ ต้ น กล้ า ของตาลงอกออกมา วัวของชาวบ้านก็ไปถอนรากของต้นตาลที่ ก�ำลังงอก” นายสุรยิ า กล่าว

เผยชาวบ้านส่งลูกเรียน-หา งานท�ำในเมือง ไร้คนขึ้นตาล วิถต ี าลเมืองเพชรบุรเี สีย ่ งสูญหาย พบรอบ 20 ปี น�ำ้ ตาลโตนดราคาพุง ่ 4 เท่า แตะ 150 บาทต่อ นายอ�ำนาจ ภูเ่ งิน บุตรชายนายถนอม ภูเ่ งิน กิโลกรัมท�ำขนมหวานเมืองเพชรบุรแี พงขึน ้ เป็นเงาตามตัว ร้านเล็กทยอยปิดตัว อุตสาหกรรม เจ้าของศูนย์การเรียนรู้สวนตาลลุงถนอม ครัวเรือนฟุบ หลังต้นตาลลดฮวบจากเกือบ 1.5 ล้านต้น เหลือแค่ 3 แสนต้น เหตุไร้คนขึน ้ ตาลซึง่ เป็นผูร้ เิ ริม่ การอนุรกั ษ์ตน้ ตาลเมืองเพชรบุรี ชาวบ้านขายที่นาเปลี่ยนวิถีการผลิต แห่งแรก ตัง้ แต่ปี 2537 เปิดเผยว่า สมัยก่อน “เมือ่ ก่อนน�ำ้ ตาลโตนดกิโลกรัมละ 25 บาท เมือ่ ลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจบริเวณถนนเพชรเกษม พบต้นตาลลดลงกว่าล้านต้น ชาวบ้ า นมี อ าชี พ ท� ำ นาและขึ้ น ตาลเป็น ท�ำขนมหม้อแกงขายถาดละ 20-25 บาท เส้นเลียบเขาวัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ในรอบ 20 ปี รายได้เสริมหลังฤดูท�ำนา แต่พอการศึกษา ผูส้ อื่ ข่าวตรวจสอบรายงานของส�ำนักงาน ขยายตัว ชาวบ้านนิยมส่งลูกเรียนเพื่อไป ก็ขายได้เยอะ เราอยูไ่ ด้ ปัจจุบนั กิโลกรัมละ พบว่า ยังมีรา้ นขนมหวานเปิดขายอยู่ 6 ร้าน 80-100 บาท เราขึน้ ราคาได้ระดับหนึง่ เป็น แต่ละร้านมีหลายคูหา แต่ปรากฏว่า บริเวณ เกษตรจังหวัดเพชรบุรี ฉบับล่าสุดปี 2559 ประกอบอาชีพอย่างอืน่ ถาดละ 55-60 บาท แพงกว่ า นี้ ข ายไม่ ไ ด้ ทีเ่ ปิดขายขนมแต่ละร้านจะเปิดแค่ 1-2 ห้อง พบว่า ต้นตาลในจังหวัดปี 2559 มีจ�ำนวน “บ้านหนึง่ มีลกู 5-6 คน พ่อเป็นคนขึน้ ตาล 296,040 ต้น ขณะที่รายงานฉบับปี 2541 แม่เป็นคนแปรรูป เด็กที่เริ่มเป็นหนุ่มก็ต้อง เราก็อยูไ่ ม่ได้” จากทัง้ หมดของอาคาร นางสนทนา ธงสุวรรณ เจ้าของร้าน นางสุ นั น ท์ นี ล พงษ์ ผู ้ ป ระสานงาน ระบุว่า มีต้นตาลจ�ำนวน 1,444,954 ต้น ช่ ว ยขึ้ น ปลดต้ น ตาลเตี้ ย ๆ แต่ มั น เสี่ ย ง ‘ลูกเจี๊ยบ’ ผูค้ า้ ขนมหวานในจังหวัดเพชรบุรี กลุ่มคนรักเมืองเพชร วัย 70 ปี อดีตรอง เท่ากับว่า ต้นตาลลดลงไปกว่า 1 ล้านต้นใน เมื่อการศึกษาเจริญขึ้นก็ไม่มีใครอยากให้ ที่เปิดมากว่า 30 ปี บอกถึ ง สถานการณ์ ศาสตราจารย์ประจ�ำคณะมนุษยศาสตร์และ รอบ 20 ปี ลูกเสีย่ ง เลื อ กส่ ง ลู ก ไปเรี ย นหางานอย่ า ง นายสุรยิ า ศรีนาโค นักวิชาการส่งเสริม อื่น ขณะเดียวกันพ่อเริ่มแก่ก็ขึ้นตาลไม่ได้ น�้ำตาลโตนดที่ราคาสูงขึ้นเกือบ 4 เท่าตัว สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เมือ่ เทียบกับ 20 ปีทแี่ ล้ว กล่ า วว่ า ในอดีตบนถนนเพชรเกษมสายเก่า เกษตรช�ำนาญการ ส� ำ นั ก เกษตรจั ง หวั ด หลายครอบครัวเป็นแบบนี้ จนบางหมู่บ้าน เธอบอกด้ ว ยว่ า เมื่ อ ต้ น ตาลที่ ใ ช้ ท� ำ ผ่านอ�ำเภอเมืองเพชรบุรี มีรา้ นขายขนมเปิด เพชรบุ รี กล่ า วว่ า สถานการณ์ ต ้ น ตาล ไม่มีคนขึ้นตาล” นายอ�ำนาจ กล่าว น�้ ำ ตาลโตนดในจั ง หวั ด มี จ� ำ นวนลดลง เต็มไปหมด แต่เมือ่ น�ำ้ ตาลโตนดแพงขึน้ ท�ำให้ เมืองเพชรบุรนี า่ เป็นห่วง แม้นายสยุมพร ลิม่ ไทย นายอ�ำนาจ กล่าวอีกว่า เมือ่ ไร้คนขึน้ ตาล ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี คนก่อน ไ ด ้ ต้นตาลจึงถูกตัดไปท�ำเฟอร์นิเจอร์ ยิ่งพอ ท�ำให้น�้ำตาลโตนดหายากขึ้น ราคาจึงแพงขึน้ ต้นทุนสูงขึน้ ขนมก็แพงขึน้ ส่ ง ผลให้ ผู ้ ค ้ า รายย่ อ ยหลายรายสู ้ ไ ม่ ไ หว “ยิ่งมีการตัดถนนใหม่ไม่ผ่านตัวเมือง ริ เ ริ่ ม ท� ำ โ ค ร ง ก า ร ป ลู ก ต า ล ล ้ า น ต ้ น ชาวบ้านขายที่นาต้นตาลก็โดนโค่นไปด้วย เลิกใช้น�้ำตาลโตนดท�ำขนม กระทบมาถึ ง ร้ า นใหญ่ ทุ น หนาก็ ย ้ า ยออกไปตั้ ง ที่ ใ หม่ แต่การปลูกต้นตาลใช้เวลานานหลายสิบปี ต้นตาลจึงมีจ�ำนวนลดลง ผู้บริโภคที่บ่นว่าขนมไม่อร่อยเหมือนเดิม ดั ก นั ก ท่ อ งเที่ ย ว แถมให้ ข นมหรื อ เงิ น โครงการจึงไม่ประสบความส�ำเร็จเท่าทีค่ วร จึงเลิกซือ้ สุดท้ายหลายร้านก็ตอ้ งเลิกกิจการ 500-1,000 บาท เป็ น การตอบแทน บางร้านต้องลดต้นทุนโดยใช้นำ�้ ตาลมะพร้าว กั บ ผู้จัดคณะทัวร์มาลง ร้านเล็กก็อยู่ไม่ได้ น�้ำตาลอ้อย น�้ำตาลทรายซึ่งมีราคาถูกกว่า เพราะสายป่านไม่ยาวเท่า บางร้านปรับตัว น�้ำตาลโตนดครึ่งต่อครึ่งท�ำขนมบางอย่าง เป็นขายส่งให้ร้านใหญ่ก็พออยู่ได้ แต่เงิน แทนถึงอยูไ่ ด้ ไม่ ห มุ น เวี ย นเท่ า แต่ ก ่ อ น ก็ ต ้ อ งยอมรั บ พื้ น ที่ บ ริ เ วณถนน หนังสือพิมพ์ลูกศิลป์ ศูนย์ข่าวเพชรบุรี สภาพ” นางสุนันท์ กล่าว เพชรเกษม เมื อ ง เพชรบุรี ที่เห็น ถึง ล ง พื้ น ที่ ส� ำ ร ว จ ร า ค า น�้ ำ ต า ล โ ต น ด พืน ้ ทีป ่ ลูกต้นตาลมี ตามท้องตลาด และร้านขายส่ง พบว่า น�ำ้ ตาล พื้นที่ 2.99 แสนไร่ ลดลงราว 2 แสนไร่ โตนดบริสทุ ธิ์ ราคากิโลกรัมละ 100-140 บาท เมือ ่ เทียบกับปี 2506 หากไปซื้อตามเตาเคี่ยวน�้ำตาลของชาวบ้าน ทีม ่ ี 4.99 แสนไร่ ราคากิโลกรัมละ 70-80 บาท ส่วนน�ำ้ ตาลผสม ราคากิโลกรัมละ 35 บาท

ภาพจาก : เจียวต้าย เว็บไซต์พันทิป

LAYOUT.indd 16

25/1/2561 11:29:38


สิทธิสิ่งแวดล้อม

พ บ เ ก ษ ต ร ก ร ข า ย ที่ - ตั ด ต ้ น ต า ล ร อ บ คั น น า ห ลั ง เปลี่ยนใช้แทรกเตอร์ นายเชาว์ แตงอ่อน หัวหน้าโครงการ ศูนย์การเรียนรูเ้ กษตรอินทรียบ์ า้ นโป่งสลอด อ�ำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี หนึ่ ง ใน ศูนย์การอนุรักษ์ต้นตาลแห่งใหม่ กล่าวว่า อาชี พ ขึ้ น ตาลเป็ น รายได้ เ สริ ม หลั ง จาก การท�ำนา เมื่อนายทุนเข้ามาซื้อที่นาของ ชาวบ้าน ชาวบ้านจึงยอมขายทีน่ าทีม่ ตี น้ ตาล ขึน้ อยู่ไปด้วย เพราะได้เงินเยอะกว่าท�ำนา ทั้ ง ปี รวมถึ ง มี ก ารตั ด ต้ น ตาลไปขาย หรือท�ำอุปกรณ์ตกแต่งบ้าน “ส่วนเกษตรกรที่ยังท�ำนา ปัจจุบันใช้ รถแทรกเตอร์มาท�ำนาก็ต้องขยายพื้นที่นา เพือ่ ความคุม้ ทุน ท�ำให้ตอ้ งตัดต้นตาลรอบ ๆ คันนาออกเพื่อให้รถลงไปได้ จึงเป็นสาเหตุ ทีท่ ำ� ให้ตน้ ตาลลดลง” นายเชาว์ กล่าว นายเชาว์ กล่าวด้วยว่า แม้ศนู ย์ฯ ร่วมกับ ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) จัดท�ำโครงการธนาคาร ต้นไม้ตงั้ แต่ปี 2547 โดยให้ชาวบ้านน�ำต้นตาล ในพืน้ ทีม่ าจ�ำน�ำกับธนาคารแล้วแลกเป็นเงิน กลับมา แต่มเี พียงหมูบ่ า้ นตนทีอ่ ำ� เภอบ้านลาด และหมู ่ บ ้ า นถ�้ ำ เสื อ อ� ำ เภอแก่ ง กระจาน ร่วมโครงการ อาจเป็นเพราะหมู่บ้านอื่น ๆ ไม่ทราบรายละเอียดโครงการทีแ่ น่ชดั พ า ณิ ช ย ์ ฯ ลุ ย ใ ห ้ ค ว า ม รู ้ หวั ง ฟื ้ น วิ ถีต าล นายวิศรุตติ หุน่ งาม เจ้าหน้าทีส่ ำ� นักงาน พาณิชย์จังหวัดเพชรบุรี กล่าวว่า จังหวัด ด�ำเนินนโยบายและให้งบประมาณสนับสนุน ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดจัดอบรมให้แก่ผู้ที่ สนใจขึ้ น เก็ บ น�้ ำ ตาลโตนด ร่ ว มกั บ ศู น ย์ การเรียนรู้สวนตาลลุงถนอมตั้งแต่ปี 2558

วิถีตาลเมืองเพชรฯ จากความผูกพัน สูก ่ ารอนุรก ั ษ์

ต้นตาลเป็นเอกลักษณ์คจู่ งั หวัดเพชรบุรี ประโยชน์ของมันไม่เพียงแต่จะให้แค่นำ�้ ตาล โตนดรสชาติหวานหอม แต่ยงั ใช้ประโยชน์ ได้ ทุ ก ส่ ว น ตั้ ง แต่ ล� ำ ต้ น นิ ย มน� ำ ไปท� ำ เฟอร์นิเจอร์ ใบน�ำไปจักสาน ส่วนผลตาล สามารถน�ำไปประกอบอาหารคาวหวาน สารคดี ‘ต.ตาลโตนด’ ของดนยา สุเวทเวทิน หนังสือเล่มที่จัดท�ำในวิชาสุดท้ายก่อนจบ การศึกษา คณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่ อ สาร มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร พิมพ์ครัง้ แรกเดือนมีนาคม 2558 บอกเล่า ‘วิถีตาล’ ผ่านอาชีพ ประเพณี อันหลาก หลายของชาวอ�ำเภอบ้านลาด แหล่งปลูกตาล มากทีส่ ดุ ในจังหวัดเพชรบุรี ดนยา เข้าไปศึกษาชุมชนบ้านเกิดของเธอ อย่ า งจริ ง จั ง และพบว่ า ไม่ ว ่ า จะเป็ น

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 15

กลุ่มแม่บ้านหมู่บ้านถ�้ำรงค์ ที่รวมกลุ่มกัน ท� ำ โมเดลต้นตาลประดิษฐ์ โมบายลูกตาล และของจักสานจากใบตาลอย่างหมวกหรือ ตะกร้า เป็นของที่ระลึกขายนักท่องเที่ยว เป็นอาชีพเสริม ประเพณี ก ารแข่ ง ขั น มวยใบตาล ของชุ ม ชน ที่ผู้เล่นต้องปิดตา และฟังเสียง กรอบแกรบ ของคู ่ ต ่ อ สู ้ จ ากการเดิ น บน ใบตาลแห้ ง ทีใ่ ช้ปพู นื้ เวทีมวย หรื อ แรลลี่ ล ้ อ โตนด ของเล่ น พื้ น บ้ า น ที่ลูกตาลเป็นล้อ ใช้ทางตาลเป็นเบาะลาก เด็กเล่นได้ ผูใ้ หญ่เล่นดี สร้างความคิดให้รแู้ พ้ รูช้ นะ รูอ้ ภัย รวมถึงการละเล่นผีกระด้ง เป็นการเชิญผี บรรพบุรษุ มาสิงในกระด้งใบตาลในช่วงเทศกาล สงกรานต์กระชับความสัมพันธ์ของครอบครัว ตลอดจนประเพณีการเห่เรือบกทีท่ ำ� จากกิง่ ก้านตาล มีการแต่งเพลงเห่สะท้อนความคิดของ ชุมชนต่อสภาพแวดล้อม สถานการณ์บา้ นเมือง

ทั้ ง หมดนี้ ส ะท้ อ นวิ ถี ชี วิ ต ของคนเพ ชรฯ ที่มีความผูกพันกับต้นตาล อันถือได้ ว่าเป็นกุศ โลบายในการอนุรักษ์ต้นตาล เมืองเพชรบุรีอีกทางหนึ่งนอกเหนือจาก การปลูกทดแทนอีกด้วย

สแกนเพื่ออ่านฉบับเต็ม ในรูปแบบออนไลน์

และสนั บ สนุ น ผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจผลิ ต น�ำ้ ตาลโตนด ไปขายตามห้างสรรพสินค้าชือ่ ดัง ในกรุงเทพฯ โดยเน้ น สนั บ สนุ น ขั้ น ตอน การผลิตให้ได้มาตรฐาน “ผู้บริโภคตอบรับดี เพราะเก็บน�้ำตาล โตนดได้ น านขึ้ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ ส วยขึ้ น มีหลายขนาดให้เลือกซื้อ นี่เป็นแนวทางที่ น่าจะท�ำให้วิถีตาลกลับมาคู่ชาวเพชรบุรีได้” นายวิศรุตติ กล่าว ศูนย์ข่าวเพชรบุรี

พ.ศ. 2540

พ.ศ. 2560 ฿

฿ เงียบเหงา : ร้านขายขนมหม้อแกงฉันทิศาบริเวณถนนเพชรเกษมเก่า อ.เขาวัง ไร้ลูกค้าซื้อขนมหม้อแกง

LAYOUT.indd 17

25/1/2561 11:29:40


16 | ลูกศิลป์

ชุมชนรุกป่าแก่งกระจาน

ต้นเหตุช้างอาละวาดบุกไร่ชาวบ้าน

พบตั้งชุมชนทับเส้นทางเดินช้างป่า แหล่งน�้ำ-อาหารหดหายหลังผืนป่า แก่งกระจานลดลงกว่าแสนไร่ในรอบ 17 ปี ต้นเหตุช้างป่าบุกไร่ชาวบ้าน กินพืชผลการเกษตร นักวิชาการชีส ้ ร้างรัว ้ ไม่แก้ปญ ั หาแถมกดดันช้างดุขน ึ้

“4 เดื อ นที่ แ ล้ ว ช้ า งเข้ า มา ทุบก�ำแพงบ้านพังไป 3 ด้าน และ กิ น มะละกอดิบที่เก็บไว้ ดีที่ดิฉัน ไม่อยู่บ ้ า นจึ ง ไม่ ไ ด้ รั บ อั น ตราย” บ้ า นของนางส้ ม จี น ช่ อ เกตุ เกษตรกร เลขที่ 98 หมู่ 5 ต�ำบล ห้วยสัตว์ใหญ่ อ�ำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ถู ก ช้ า งป่ า รื้ อ ท�ำลายมาแล้ว 3 ครั้ง เฉพาะปีนี้ เกิดเหตุ 2 ครั้ง เมื่อเดือนมีนาคม และล่าสุดเดือนกันยายนที่ผ่านมา ไม่ตา่ งกับ นายเสนาะ พรายแดง เกษตรกรต�ำบลเดียวกัน ประสบเหตุ ช้างป่าเข้ามากินทุเรียน และเหยียบ ต้ น มะนาวเสี ย หายเกื อ บหมดไร่ โชคดีทวี่ วั ของเขาไม่โดนช้างเตะตาย ไม่ เ หมื อ นเพื่ อ นบ้ า นที่ เ สี ย วั ว ไป แล้ว 5 ตัว ต�ำบลห้วยสัตว์ใหญ่ และต�ำบล ป่าเด็ง มีพนื้ ทีต่ ดิ กับอุทยานแห่งชาติ

แก่ ง กระจาน จั ง หวั ด เพชรบุ รี เป็น 2 ต�ำบล ที่ประสบเหตุช้าง ป่ า บุ ก พื้ น ที่ ก ารเกษตรมากที่ สุ ด จนนางศรีนวล กลิ่นศรีสุข และ ชาวบ้านส่วนหนึ่งในต�ำบลป่าเด็ง ต้ อ งเลิ ก ท� ำ สวนผลไม้ หลั ง ทน สภาพช้างป่าลอบเข้ามากินผลไม้ ในไร่ไม่ไหว หนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์ ศูนย์ขา่ ว เพชรบุรี ลงพืน้ ทีต่ ดิ ตามเส้นทางเดิน ของช้างป่าบริเวณต�ำบลห้วยสัตว์ใหญ่ โดยนายสยาม ยิง่ ยอด หัวหน้าหน่วย พิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติแก่งกระจาน ประจ�ำเขาหุบเต่า ให้ขอ้ มูลว่า ช้างป่า เดินเป็นวงกลมเคลือ่ นย้ายตามแนวผืน ป่าจากฝัง่ ตะวันออกไปตะวันตก “เมื่ อ ทางเดิ น หากิ น ของมั น ช่ ว งป่ า ละอู แ ละป่ า เด็ ง มี ชุ ม ชน คัน่ กลาง มันจึงเดินผ่านและเข้าไปใน พืน้ ทีก่ ารเกษตร” นายสยาม กล่าว

ด้ า น รายงานจากสมาคม อนุรกั ษ์สตั ว์ปา่ ประเทศไทยปี 2550 ระบุ ว ่ า เส้ น ทางเดิ น ของช้ า งป่ า ทางตอนใต้ของอุทยานแห่งชาติ แก่งกระจานถูกตัดขาด เนื่องจาก การตัง้ ถิน่ ฐานของมนุษย์ เมือ่ แนวพืน้ ที่ เกษตรกรรม หมู ่ 5 และหมู ่ 7 ต� ำ บลป่ า เด็ ง เป็ น จุ ด ที่ แ คบ ที่ สุ ด ระหว่ า งป่ า 2 ฝั ่ ง เท่ า กั บ บังคับให้ช้างต้องเคลื่อนผ่านที่นี่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายตามมา แหล่ ง น�้ ำ -อาหารลด ท� ำ ช้ า งต้ อ งหากิ น ใน หมู่บ้าน รายงานฉบับเดียวกัน ยังระบุ ด้ ว ยว่ า แหล่ ง น�้ ำ ตามธรรมชาติ ในป่ า ด้ า นตะวั น ออกค่ อ นข้ า ง ขาดแคลนในฤดูแล้ง จึงดึงดูดให้ ช้างป่าออกมาใช้แหล่งน�้ำที่มนุษย์

รอ  งรอยชางปา

แกง  กระจาน

สแกนเพื่อดู Motion Graphic ถ น น เส น ้ ท า ง 9 ก โิ ล เ ม ต ร บ ร เิ ว ณ เ ส น ้ ท า ง เด น ิ ข อ ง ช า้ ง ป า่ จด ุ ทช ่ี า ว บ า้ น เ ค ย พ บ ช า้ ง ป า่ (ต ง ้ั แ ต พ ่ .ศ . 2 5 55 - 2 5 5 9 )

พ บ ป ร ะ ช า ก ร ช า้ ง เฉ ล ย ่ี 1 4 0 - 1 5 0 ต ว ั

ส่องวิธีจัดการ ผืนป่ากุยบุรี

สลายพิพาทคน-ช้าง ไม่ ใ ช่ แ ค่ พื้ น ที่ ต อนใต้ ข องอุ ท ยาน แห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี เท่านั้น ที่มีข้อพิพาทคน-ช้าง แต่อุทยาน แห่งชาติกยุ บุรี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ผืนป่า ที่อยู่ติดกันตามแนวเทือกเขาตะนาวศรี ก็ประสบปัญหานี้เช่นกัน วิ ท ยานิ พ นธ์ เ รื่ อ งความคิ ด เห็ น ของ ราษฎรต่ อ แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หา ช้างป่ากุยบุรี ของ ประทีป ลิสกุลรักษ์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ป ี 2547

LAYOUT.indd 18

ระบุว่า ปี 2520-2525 อันเป็นยุคบุกเบิก จัดสรรทีด่ นิ เพือ่ ปลูกสับปะรด ชาวบ้านเริม่ พบ ร่องรอยช้างป่าใกล้พนื้ ทีเ่ พาะปลูกเป็นครัง้ แรก ปี 2525-2528 มีจ�ำนวนไร่สับปะรดเพิ่ม มากขึ้ น จนติ ด ขอบป่ า สงวนแห่ ง ชาติ กุ ย บุ รี (ขณะนั้นยังไม่ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ) แต่ ใ นปี เ ดี ย วกั น ราคาสั บ ปะรดตกต�่ ำ ลง จนเกษตรกรต้ อ งทิ้ ง ไร่ เมื่ อ ถึ ง ฤดู ที่ ช ้ า งป่ า เคลื่อนย้ายจากภูเขาลงมา พวกมันเดินผ่าน และได้กินสับปะรดเป็นครั้งแรก ปี 2540-2545 ช้ า งเปลี่ ย นพฤติ ก รรม อย่างรวดเร็ว ปรากฏตัวนอกพื้นที่ป่ามากขึ้น ใช้เวลาหากินบริเวณชายป่าเปิดโล่งติดไร่สบั ปะรด นานขึ้น และเข้ามากินสับปะรดของชาวไร่ กลายเป็นการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า

สร้างขึ้นตามชายป่า เมื่อเข้าใกล้ พืน้ ทีเ่ กษตรกรรมและพบพืชทีช่ อบ ก็ยงิ่ ดึงดูดให้ชา้ งป่าออกมารุกพืน้ ที่ เกษตรอย่างสม�ำ่ เสมอ เพราะติดใจ ในรสชาติ อ าหารที่ เ หนื อ กว่ า พื ช อาหารตามธรรมชาติ นายทองใบ เจริญดง หัวหน้าทีม อนุรักษ์ช้างป่าประจ�ำศูนย์อนุรักษ์ ช้ า งป่ า แก่ ง กระจาน สมาคม อนุ รั ก ษ์ สั ต ว์ ป ่ า ประเทศไทย กล่าวว่า ช้างป่าจะหากินในที่ราบ เมื่ อ พื้ น ที่ ท างตอนเหนื อ ของป่ า แก่งกระจานสูงชัน และมีภยั คุกคาม ทั้งตัดไม้ ล่าสัตว์ ท�ำให้พวกมัน มากระจุกตัวอยู่ทางตอนใต้ “ทีอ่ ยูต่ ามธรรมชาติอาจมีสภาพ ไม่สมบูรณ์เพียงพอต่อประชากร ช้ า งที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ท� ำ ให้ มั น ออกมา หากิ น ตามแนวชายป่ า เมื่ อ มี การสร้างที่อยู่ แปลงเกษตร และ ร่องห้วยบริเวณนี้ คนกับช้างใช้ พื้นที่เดียวกันจึงเกิดความขัดแย้ง กันขึ้น” นายทองใบ กล่าว หั ว หน้ า ที ม อนุ รั ก ษ์ ช ้ า งป่ า กล่าวอีกว่า คนยังน�ำผลไม้เน่าเสีย ไปทิ้งไว้บนถนน หรือตามชายป่า ช้างเจอเข้าก็กิน และเริ่มเปลี่ยน พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ข ้ า ม า กิ น พื ช ผ ล การเกษตรของชาวบ้าน บางครั้ง มาพังบ้าน พังรถ ออกมาบนถนน เหยียบคน เพื่อหาผลไม้กิน มนุษย์ ตอบโต้ดว้ ยการยิง หรือกัน้ รัว้ ไฟฟ้า 200 โวลต์ ช้างก็ถูกไฟฟ้าช็อตตาย ไม่เป็นผลดีต่อทั้งคนและช้าง ผื น ป่ า ลดกว่ า แสนไร่ พ้องช่วงเวลาช้าง ออกจากป่า ผู ้ สื่ อ ข ่ า ว ต ร ว จ ส อ บ ก า ร เปลีย่ นแปลงพืน้ ทีป่ า่ พบว่า รายงาน การติ ด ตามการเปลี่ ย นแปลง การใช้ประโยชน์ที่ดินในกลุ่มป่า แก่ ง กระจานปี 2551 โดย นางสาวชมภู นุ ช โสดาจั น ทร์ นักวิชาการป่าไม้ชำ� นาญการพิเศษ หัวหน้าโครงการ ระบุว่า ปี 2543 อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ก่ ง กระจาน มี พื้ น ที่ 1,935,656 ไร่ ขณะที่ เว็ บ ไซต์ ส� ำ นั ก อุ ท ยานแห่ ง ชาติ กรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป ่ า

กระทั่ ง ปี 2548 อุ ท ยานแห่ ง ชาติ กุยบุรี ชุมชนท้องถิน่ และกองทุนสัตว์ปา่ โลก สากล ประเทศไทย เริม่ ต้นร่วมกันหาทางออก โดยนอกจากชาวบ้านจะหยุดล่าช้างแล้ว ยังช่วยกันฟืน้ ฟูแหล่งอาหาร และแหล่งน�ำ้ ของช้างป่ารวมถึงรับมือช้างป่าด้วยวิธีที่ ปลอดภัยต่อช้าง ชาวบ้านที่เคยโกรธแค้นกลายมาเป็น มัคคุเทศก์อาสา พานักท่องเที่ยวเยี่ยมชม ช้าง สร้างรายได้ให้กับชุมชน และช่วย เปลี่ ย นทั ศ นคติ ข องชาวบ้ า นให้ หั น มา หวงแหนช้างป่า ล่าสุด 2 ปีที่แล้ว กองทุนสัตว์ป่าโลก สากล ประกาศว่า อุทยานแห่งชาติกุยบุรี เป็น 1 ใน 2 พืน้ ที่ (อีกแห่งหนึง่ คือ อุทยาน

สิทธิสิ่งแวดล้อม

และพั น ธุ ์ พื ช ระบุ ว ่ า ปั จ จุ บั น อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ก่ ง กระจานมี 1,821,687 ไร่ เท่ากับในรอบ 17 ปี มีพื้นที่ลดลงประมาณ 1.1 แสนไร่ ด้าน นายธรรมนูญ เต็มไชย หัวหน้าศูนย์ศกึ ษาและวิจยั อุทยาน แห่งชาติ จังหวัดเพชรบุรี กล่าวว่า ข้อพิพาทคนกับช้างเพิ่งเกิดในช่วง 10 ปีนี้ ก่อนหน้านี้ช้างอยู่ในป่าลึก และมีแหล่งน�้ำ แต่เมื่อหาแหล่งน�้ำ ตามธรรมชาติไม่ได้ จึงเดินออกมา หาแหล่งน�้ำซึ่งอยู่ตามชายป่า สร้างรัว ้ กัน ้ ยิง ่ ท�ำช้างดุ แนะสร้างอาหารในป่า นายธรรมนูญ กล่าวว่า การสร้าง รั้วกึ่งถาวรเป็นการกีดกันเส้นทาง ที่ ชา้ งเคยเดินอยูแ่ ล้วท�ำให้ชา้ งมีนสิ ยั ดุรา้ ยขึน้ ทางแก้ คือ ท�ำเส้นทาง ให้ช้างเดินได้ เกษตรกรควรสร้าง แหล่งน�ำ้ และปลูกทุเรียนให้ชา้ งกิน ในป่าด้วยก็จะไม่มีปัญหาช้างรุก พื้ น ที่ ก ารเกษตร และยั ง ท� ำ เป็ น ธุรกิจท่องเที่ยวดูช้างป่าไปได้ด้วย ขณะที่ นายมานะ เพิ่ ม พู ล หัวหน้าพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติ แก่งกระจาน ชี้แจงว่า จะสร้าง แหล่งน�้ำและอาหารไว้หลังแนวรั้ว ลึกเข้าไปในป่าด้วย ล่าสุดเมื่อวันที่ 9 ตุ ล าคม 2560 ได้ เ ข้ า ส� ำ รวจ บริเวณเหนืออ่างเก็บน�ำ้ กระหร่าง 3 อ่างเก็บน�้ำละเมาะน้อย และอ่าง เก็บน�ำ้ ป่าแดงแล้ว น่าจะช่วยรักษา ช้างทีย่ ังไม่ออกจากป่าให้อยู่ในป่า ไว้ก่อน “ส่วนช้างที่เปลี่ยนพฤติกรรม มากินพืชเกษตร หากมีพฤติกรรม อันตราย อุทยานฯ อาจจะเสนอ เรื่องจับช้างตัวนั้นไปปล่อยบริเวณ ที่ห่างไกลผู้คนเพื่อลดพฤติกรรม” นายมานะ กล่าว ผูส้ อื่ ข่าวรายงานว่า ทางอุทยานฯ ยังได้น�ำป้ายมาติดประกาศห้ามให้ อาหารช้าง ริมถนนสายหัวหิน-ป่าละอู ช่วงบ้านห้วยสัตว์ใหญ่ เมื่อเดือน พฤษภาคมที่ผ่านมา หากฝ่าฝืน จะถูกปรับ 2,000 บาท อย่างไรก็ดี เจ้าหน้าที่อุทยานฯ ระบุว่า ยังมี ผู ้ น� ำ อาหารมาให้ ช ้ า งอยู ่ แ ละไม่ สามารถหาตัวผู้กระท�ำได้

แห่งชาติคาซีรังกา ประเทศอินเดีย) ที่จัดการ ความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างป่าได้ดที สี่ ดุ ใน ภูมภิ าคเอเชีย โดยตัง้ แต่ปี 2553 ไม่มชี า้ งป่าตาย จากการถูกล่าในพื้นที่ ขณะที่ จ�ำนวนช้างป่าตายจากเหตุความขัด แย้งกับคนมีเพียง 4 ตัว หรือลดลงร้อยละ 64.64 เมือ่ เทียบกับช่วงปี 2540-2548 ทีม่ กี ว่า 11 ตัว ส่วนสถิตคิ วามขัดแย้งระหว่างคนกับช้างป่า ที่เกิดจากการท�ำลายผลผลิตทางการเกษตรมี 146 ครั้ง ลดลงกว่าร้อยละ 46.72 เมื่อเทียบ กับปี 2556 ที่เกิดขึ้น 274 ครั้ง และเทียบกับ ปี 2548 ที่เกิดสูงสุดถึง 332 ครั้ง ศูนย์ข่าวเพชรบุรี

25/1/2561 11:29:41


สิทธิสิ่งแวดล้อม

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 17

หมีของกลางค้างติดกรง หมีของกลางกว่า 100 ตัวไม่ได้กลับสูธ ่ รรมชาติแม้คดีสน ิ้ สุด กฎหมายคุม ้ ครองสัตว์ปา่ ฯ ไม่เปิดช่องให้จด ั การก่อนหมดอายุความ ท�ำสัตว์ป่าของกลางต้องค้างติดกรงหลายปี จนพฤติกรรมเปลี่ยน

สแกนเพื่อรับชมคลิป

ส�ำหรับ QR

สัตว์เล็กอายุสั้น ตายคากรงก่อนจบคดี

ชีวิตในกรงขัง : แอพอร์ทหมีหมาเพศเมียในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าบางละมุงอาศัยในกรงมายาวนานกว่า 6 ปี

กว่า 6 ปีแล้วที่ ‘แอร์พอร์ท’ หมีหมาเพศเมียต้องกินนอนอยู่ใน กรงขนาด 4 ตารางเมตร ในสถานี เพาะเลีย้ งสัตว์ปา่ บางละมุง จังหวัด ชลบุรี หลั ง ถู ก ยึ ด เป็ น ของกลาง ในคดีค้าสัตว์ป่าข้ามชาติที่สนาม บินสุวรรณภูมิเมื่อปี 2554 ในขณะ ที่ยังเป็นลูกหมี ปั จ จุ บั น คดี นี้ อ ายุ ค วามเกิ น 5 ปี มันจึงตกเป็นทรัพย์สินของ แผ่ น ดิ น ตาม พระราชบั ญ ญั ติ (พ.ร.บ.) สงวนและคุม้ ครองสัตว์ปา่ พ.ศ. 2535 มาตรา 58 แต่ยังคง อยู ่ ที่ ก รงเดิ ม แม้ จ ะสิ้ น สภาพ ของกลางแล้ว ข้อมูลจากส�ำนักอนุรกั ษ์สตั ว์ปา่ กรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป ่ า และพั น ธุ ์ พื ช สั ง กั ด กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ล่าสุดเดือนตุลาคม 2560 ระบุว่า มี สั ต ว์ ป ่ า ของกลางในคดี อ าญา 26,555 ตัว แบ่งเป็นสัตว์ปกี 383 ชนิด รวม 16,167 ตัว สัตว์เลีย้ งลูกด้วยนม 180 ชนิ ด รวม 5,406 ตั ว สัตว์เลือ้ ยคลาน 67 ชนิด รวม 4,510 ตัว และสัตว์ในบัญชีอนุสัญญาว่าด้วย การค้าระหว่างประเทศซึง่ ชนิดพันธุ์ สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส) 62 ชนิด อาทิ เสือ ลิง ชิมแปนซี เต่ากระ ตะกวด นกกาฮัง นกแต้วแล้วท้องด�ำ รวม 472 ตัว กระจายไปตามสถานี เ พาะเลี้ ย ง สัตว์ป่า 25 แห่งทั่วประเทศ ผู้สื่อข่าวลงพื้นที่สังเกตการณ์ สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าบางละมุง พบว่า ที่นี่รับดูแลสัตว์ป่าของกลาง

LAYOUT.indd 19

โดยมากเป็นหมีควายและหมีหมา มี สั ต วแพทย์ ดู แ ลประจ� ำ และมี การแยกกรง เมื่อครบก�ำหนด 5 ปี สัตว์ป่าของกลางตกเป็นทรัพย์สิน ของแผ่นดินแล้ว ส่วนหนึง่ จะปล่อย ในพื้นที่รั้วไฟฟ้าเพื่อให้ใกล้ชิดกับ ธรรมชาติ ทว่าตลอดเวลาทีผ่ า่ นมา หมีควายและหมีหมารวม 129 ตัว ไม่ เ คยกลั บ สู ่ ธ รรมชาติ แ ม้ แ ต่ ตั ว เดี ย ว ต้ อ งอยู ่ ใ นกรงขั ง ของ สถานีเพาะเลี้ยงฯ ต่อไปอย่างไม่มี ก�ำหนด นายพสวัตน์ โชติวัตพงษ์ชัย หั ว หน้ า สถานี เ พาะเลี้ ย งสั ต ว์ ป ่ า บางละมุ ง เปิ ด เผยว่ า ที่ ไ ม่ เ คย ปล่อยหมีของกลางกลับป่าแม้แต่ ตัวเดียวเพราะมันชินกับการอยูใ่ นกรง ไม่ ไ ด้ ถู ก ฝึ ก ให้ อ ยู ่ ใ นธรรมชาติ หากปล่อยไปอาจไม่รอด แม้จะมี โครงการปล่อยหมีกลับสูธ่ รรมชาติ ภายในปี 2562 แต่ยังอยู่ระหว่าง ศึกษาวิจัยความเป็นไปได้ นางสาวชุติกาญจน์ เขียวอิ่ม สัตวแพทย์ประจ�ำสถานีเพาะเลี้ยง สัตว์ป่าบางละมุง กล่าวว่า ปกติ เจ้าหน้าที่จะให้ข้าวต้ม โครงไก่ หรือหมูเป็นอาหาร ไม่ได้ฝึกให้มัน หาอาหารกิ น เองในธรรมชาติ เมื่ อ มั น อยู ่ ที่ นี่ เ ป็ น เวลานาน บางตั ว อยู ่ ม านานกว่ า 20 ปี จึงเคยชินกับการอยู่กรง “แค่ปล่อยเข้าพื้นที่รั้วไฟฟ้า ยังท�ำให้มันเครียด เพราะเคยชิน กับการอยู่กรงขังเดี่ยว หากปล่อย กลั บ เข้ า ป่ า จึ ง เสี่ ย งที่ มั น จะไม่ รอด แต่ ดิ ฉั น คิ ด ว่ า ควรเริ่ ม ฝึ ก

ให้มันได้กลับสู่ธรรมชาติได้แล้ว” นางสาวชุติกาญจน์ กล่าว ด้ า น วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญา มหาบัณฑิต เรื่องการจัดการของ ป่าในคดีอาญา โดยนางสาววราพร บุญสิน คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ปี 2555 ระบุ ว ่ า ปัจจุบนั ไม่มกี ฎหมายและข้อบัญญัติ รองรั บ ความเป็ น อยู ่ ข องสั ต ว์ ป ่ า ของกลางในคดี อ าญา ท� ำ ให้ รั ฐ ต้องจัดการเช่นเดียวกับของกลาง ประเภทอื่ น ๆ ไม่ มี ข ้ อ บั ญ ญั ติ ให้มีหน่วยงานรับผิดชอบสัตว์ป่า ของกลางโดยเฉพาะ ท�ำให้สถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ป่าต้องรับผิดชอบ ดูแลและใช้งบประมาณของหน่วยงาน นอกจากนี้ ไม่มีการบัญญัติระยะ เวลาควบคุ ม สั ต ว์ ป ่ า ของกลาง เมื่อคดีสิ้นสุดหรือสัตว์ป่าตกเป็น ทรั พ ย์ สิ น ของแผ่ น ดิ น ชี วิ ต ของ สั ต ว์ ป่ า จะขึ้ น อยู ่ กั บดุ ล พิ นิ จ ของ เจ้ า หน้ า ที่ ว ่ า จะปล่ อ ยกลั บ คื น สู ่ ธรรมชาติหรือไม่ พวกมันจึงอยู่ใน สภาพของกลางเป็นเวลานานเกิน จ�ำเป็น และสถานีเพาะเลีย้ งสัตว์ปา่ ต้องรับภาระสัตว์ป่าของกลางซึ่งมี จ�ำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่วน นายเอ็ดวิน วิค เลขาธิการ มู ล นิ ธิ เ พื่ อ นสั ต ว์ ป ่ า กล่ า วว่ า พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 มาตรา 58 ส่ ง ผล ต่ อ สุ ข ภาพสั ต ว์ ป ่ า ของกลาง เพราะไม่เปิดช่องให้จัดการได้ก่อน ครบอายุความ 5 ปี สัตว์ปา่ หลายตัว ถูกริบเป็นของกลางขณะที่ยังเล็ก สามารถปล่ อ ยกลั บ สู ่ ธ รรมชาติ

แต่ ม าตรานี้ ยื้ อ เวลาจนท� ำ ให้ พวกมันพฤติกรรมเปลีย่ นเป็นสัตว์ ติ ด กรง จึ ง ควรแก้ ไ ขกฎหมาย โดยด่วน “ในปั จ จุ บั น นี้ ห มี ข องกลาง ในสถานี เ พาะเลี้ ย งบางละมุ ง ไม่ถงึ 20 ตัว มีโอกาสคืนสูธ่ รรมชาติ แต่การปล่อยพวกมันก็ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด ทั้ ง บุ ค ลากรและงบประมาณ ต้องใช้เงินไม่ตำ�่ กว่า 6-7 แสนบาท ในการปล่อยหมี 1 ตัว จึงควรเปิดให้ ภาคเอกชนหรือมูลนิธิเข้ามาช่วย ดูแลสัตว์ป่าของกลางเพื่อแบ่งเบา ภาระ เพราะปัจจุบันประเทศไทย เป็นประเทศเดียวในกลุม่ อาเซียนที่ รัฐรับภาระดูแลของกลางทัง้ หมด” นายเอ็ดวิน กล่าว ขณะที่ นายสุรศักดิ์ อนุเมธางกูร หั ว หน้ า ฝ่ า ยสุ ข ภาพสั ต ว์ ป ่ า กลุ่มงานเพาะเลี้ยง กรมอุทยาน แห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป ่ า และพั น ธุ ์ พื ช ชี้ แ จงว่ า กรมอุ ท ยานฯ ร่ า ง กฎหมายฉบั บ ใหม่ เ สร็ จ แล้ ว โดยเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่สามารถ น�ำสัตว์ปา่ ของกลางมาใช้ประโยชน์ หรือปล่อยกลับสูธ่ รรมชาติได้ทนั ที หากผู ้ ต ้ อ งหาไม่ น� ำ หลั ก ฐานมา แสดง และยังมีแนวทางให้เอกชน มี ส ่ ว นร่ ว มสนั บ สนุ น ขณะนี้ อยู ่ ร ะหว่ า งการปรั บ ปรุ ง จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แต่ไม่สามารถตอบแน่ชัดว่า จะใช้ กฎหมายฉบับใหม่ได้เมื่อใด

ขณะทีส่ ตั ว์ใหญ่ของกลางที่ สถานีเพาะเลีย้ งสัตว์ปา่ บางละมุง จังหวัดชลบุรี ต้องติดกรงชั่ว ชีวิต สัตว์ปีกและสัตว์ขนาด เล็กของกลางอื่น ๆ ที่สถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ป่าบางพระ ใน จังหวัดเดียวกันต้องถูกจองจ�ำ อยูใ่ นกรงขังจนสิน้ อายุขยั ก่อน ที่คดีความจะหมดอายุ ปัจจุบันที่นี่รับภาระดูแล ของกลาง 96 ชนิด จ�ำนวน 1,949 ตัว อาทิ งู สุนัขจิ้งจอก กระรอก เหยี่ยว และสัตว์ปีก อีกหลายสายพันธุ์ ตัวอย่างกรณี นกกระติด๊ ขีห้ มู ที่ มี อ ยู ่ ป ระมาณ 1,046 ตั ว มี อ า ยุ เ ฉ ลี่ ย เ พี ย ง 2 ป ี ขณะที่คดีความเฉลี่ยยาวนาน 2-5 ปี พวกมันยังเป็นสัตว์ที่ มี ลั ก ษณะนิ สั ย อ่ อ นไหวต่ อ สภาพแวดล้อมได้ง่าย การขัง ในกรงท�ำให้เกิดความเครียด ต่อตัวนก อีกปัญหา คือ ความแออัด เนื่ อ งจากสถานี ฯ ต้ อ งรั บ สัตว์ป่าของกลางเพิ่มขึ้นทุกปี ประกอบกั บ การขยายพั น ธุ ์ ของสัตว์ปา่ ของกลางเดิมทีม่ อี ยู่ ซึ่ ง ลู ก ของสั ต ว์ ป ่ า ของกลาง ที่เกิดขึ้นมาใหม่ กฎหมายก็ ให้ ถื อ เป็ น สั ต ว์ ป ่ า ของกลาง ด้วย เมื่อจ�ำนวนสัตว์ป่าเพิ่ม ขึน้ เรือ่ ย ๆ โดยไม่มกี ารน�ำออก ไปปล่อยสู่ธรรมชาติ จึงท�ำให้ กรงเลี้ยงแออัด ไม่เพียงพอต่อ จ�ำนวนสัตว์ที่มี ในที่สุดต้อง ขังสัตว์รวมกันหลายสายพันธุ์ นอกจากนี้ กรงเลีย้ งหลายส่วน ยังช�ำรุด สาเหตุเกิดจากการใช้ กรงผิดประเภท เช่น เลี้ยงนก ประเภทนกน�้ำในกรงส�ำหรับ นกธรรมดา เป็นต้น

พระจันทร์ เอี่ยมชื่น

25/1/2561 11:29:42


18 | ลูกศิลป์

เซฟเซ็กซ์ล้มเหลว! รัฐไม่สอนมีเพศสัมพันธ์ปลอดภัย

รณรงค์ ‘เซฟเซ็กซ์’ ล้มเหลว รัฐสร้างภาพติดเอดส์เพราะส�ำส่อน แต่ไม่สอน มีเพศสัมพันธ์ปลอดภัย ส่งผลวัยหนุ่มสาวไม่ใช้ถุงยางกับคู่รัก ท�ำสถิติ เป็นกลุ่มเดียวที่ติดเชื้อสูงขึ้นเกือบเท่าตัว นักวิชาการชี้รัฐสร้างชุดความรู้ หลีกเลีย ่ งเรือ ่ งเพศ กระทรวงศึกษาฯ ลังเลปรับหลักสูตร กลัวชีโ้ พรงให้กระรอก “รับเชือ้ เอชไอวีมาจากแฟนคนแรก ตอนอายุ 20 ปี ตอนนั้นไม่ได้มั่ว คิดแต่วา่ อยากมีเพียงใครสักคนทีร่ กั กัน ไปนาน ๆ มีอนาคต ใช้ชวี ติ ร่วมกัน จึ ง ไ ม ่ ไ ด ้ ป ้ อ ง กั น ร ะ ห ว ่ า ง มี เพศสัมพันธ์” เมื่ อ 4 ปี ที่ แ ล้ ว นั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น ปี ที่ 4 คนนี้ กลายเป็น 1 ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี แม้รายงานสถานการณ์ เอชไอวีและเอดส์ของส�ำนักระบาด วิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข ฉบับล่าสุดปี 2560 ระบุ ว ่ า ประเทศไทยมี ผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวีทั้งหมด 442,127 คน โดย มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ตั้งแต่ปี 2555-2560 ลดลงอย่างต่อเนื่อง จาก 9,437 คน เหลือเพียง 5,801 คน ทว่าวัยรุน่ ตอนปลายอายุ 20-24 ปี ยั ง เป็ น กลุ ่ ม ที่ ติ ด เชื้ อ สู ง ขึ้ น จาก 2,857 คน ในปี 2558 เป็น 4,696 คน ในปี 2560 พบปัจจัยเสี่ยงติดเชื้อ มากที่ สุ ด คื อ มี เ พศสั ม พั น ธ์ โ ดย ไม่ป้องกัน รัฐสร้างภาพเพศสัมพันธ์ เป็นเรือ ่ งไม่ควร ผูส้ อื่ ข่าวตรวจสอบหนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ปี 2551 พบว่ า เรื่ อ งเพศศึ ก ษาเป็ น เพี ย ง บทเรียนในวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา เนื้อหาระบุให้เลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อ การมีเพศสัมพันธ์ เช่น ไม่อยูต่ ามล�ำพัง สองต่อสองในทีล่ บั ตา วิธพี ดู ต่อรอง หรือปฏิเสธเพศตรงข้าม ผลกระทบ จากการมีเพศสัมพันธ์กอ่ นวัยอันควร เช่น ตัง้ ครรภ์ไม่พร้อม โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ ถูกต�ำหนิจากสังคม ฯลฯ จ� ำ กั ด ความค� ำ ว่ า ผู ้ ห ญิ ง ที่ ดี คื อ ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์กอ่ นแต่งงาน และ สุภาษิตค�ำพังเพย เช่น รักนวลสงวนตัว อดเปรีย้ วไว้กนิ หวาน ฯลฯ โดยระบุวา่ เป็นแบบอย่างอันดีงามตามวัฒนธรรมไทย อี ก ทั้ ง เนื้ อ หาเรื่ อ งเอดส์ แ ละ เอชไอวี ระบุวา่ การติดเชือ้ เกิดจาก การร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อไวรัสเอดส์

LAYOUT.indd 20

โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย และสอน ให้ ป ้ อ งกั น ตนเองโดยใช้ สุ ภ าษิ ต ว่า อย่าชิงสุกก่อนห่าม ห้ามไม่ให้ นักเรียนมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน การมีเพศสัมพันธ์กับใครนั้น ต้องมี ความพร้อม เกิดจากความรักแท้จริง และพร้อมจะครองคู่กันตลอดไป แต่ ไ ม่ มี ก ารสอนเรื่ อ งวิ ธี ส วมใส่

ถุงยางอนามัยอย่างถูกต้อง หรือ วิธพี ดู ต่อรองเพือ่ ใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกัน เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่พร้อมจะมี เพศสัมพันธ์

โดยก�ำหนดให้ตัวละครเหล่านั้นมี จุ ด จบว่ า มี อ าการทางจิ ต ติ ด โรค ทางเพศสัมพันธ์ ไปจนถึงเสียชีวิต เมื่ อ ค้ น หาการใช้ ค� ำ รณรงค์ วั น เอดส์ โ ลกทางอิ น เทอร์ เ น็ ต ระบุ ค� ำ ส� ำ คั ญ ‘ส� ำ ส่ อ น’ พบ การใช้ค�ำที่มีผลต่อความเข้าใจใน พฤติกรรมทางเพศว่า การติดเชื้อ

เกิดการจากเปลี่ยนคู่นอนบ่อย เช่น ขั บ รถระวั ง คนซุ ก ซนระวั ง เอดส์ (เทศบาลนครแหลมฉบังปี 2554) ไม่ ส� ำ ส่ อ นทางเพศป้ อ งกั น เอดส์ ได้สดุ ๆ (วิทยาลัยนาฏศิลป์อา่ งทอง สื่อสร้างภาพติดเอดส์ ปี 2556) ไม่สำ� ส่อนไม่มวั่ ไม่ตอ้ งกลัว เพราะส� ำ ส่ อ น ติดเอดส์ (มหาวิทยาลัยรังสิตปี 2556) ผู ้ สื่ อ ข่ า วตรวจสอบละคร โทรทัศน์และซีรีส์ออนไลน์ ในช่วง ชี้คนมองใช้ถุงยางเป็น 1 ปีที่ผ่านมา พบว่า มีการฝังภาพ เรือ ่ งคูน ่ อนชัว ่ คราว จ�ำว่า ผูห้ ญิงทีม่ เี พศสัมพันธ์หรือผ่าน นายอภิวฒ ั น์ กวางแก้ว ประธาน ผู้ชายมาหลายคน คือ ผู้หญิงไม่ดี เครื อ ข่ า ยผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวี / เอดส์ อาทิ ซีรีส์คลับฟรายเดย์ทูบีคอนทิ ประเทศไทย ห นึ่ ง ใ น ผู ้ ติ ด เ ชื้ อ นิวด์ ตอนรักลองใจ ออกอากาศ เอชไอวี กล่าวว่า ก ่ อ น ติ ด เ ชื้ อ ทางไลน์ ที วี ละครหลงไฟ ออก ตนคิดว่า เอดส์เป็นเรื่องของการซื้อ อากาศทางช่องจีเอ็มเอ็ม 25 เป็นต้น บริ ก ารทางเพศหรื อ รั ก ร่ ว มเพศ

อีกทั้งคู่ของตนแข็งแรงดี ไม่มีตุ่ม หรือตัวผอมแห้งอย่างที่รัฐรณรงค์ และคิ ด ว่ า การใช้ ถุ ง ยางอนามั ย เป็นเรือ่ งของคูน่ อนชัว่ คราว เมือ่ ตน จริงจังกับคู่จึงไม่ป้องกัน ผู้ติดเชื้อ ในเครือข่ายส่วนใหญ่กเ็ ข้าใจแบบนี้ และไม่รู้สึกว่าตัวเองเสี่ยง นางสาวสุ น ทราพร เกษแก้ ว ผูจ้ ดั การโครงการเครือข่ายผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี/เอดส์ ประเทศไทย กล่าวว่า กรอบเรือ่ งเพศของสังคมไทยทีใ่ ห้คา่ เพศหญิงและเพศชายไม่เท่ากันท�ำให้ เสีย่ งติดเชือ้ เอชไอวี เพราะท�ำให้ผหู้ ญิง ไม่กล้าบอกว่า เคยมีคู่นอนมาก่อน หรือควรใช้ถงุ ยางอนามัยกับคู่ ด้าน งานวิจยั เรือ่ งทัศนคติประชาชน ชาวไทยต่ อ การใช้ ถุ ง ยางอนามั ย ในการป้องกันควบคุมโรคปี 2557

สิทธิสุขภาพ

รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า หลักสูตรในหนังสือเรียนมา จากฐานความคิดเรื่องเพศที่เน้นว่ า อย่ า ยุ ่ ง เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งเพศ ไม่ใช่ การให้การศึกษา ท�ำให้ผเ้ ู รียนไม่มที กั ษะ จัดการเรื่องเพศในสถานการณ์จริง เช่น เพศสัมพันธ์และถุงยางอนามัย เป็ น ของคู ่ กั น และยั ง ตี ก รอบ การแบ่งผูห้ ญิงทีด่ ี คือ ต้องไร้เดียงสา เรื่องเพศและต้องบริสุทธิ์ เมื่อถามว่า การใช้ค�ำว่าส�ำส่อน เ พื่ อ ร ณ ร ง ค ์ ส ่ ง ผ ล อ ย ่ า ง ไ ร นางสาวชลิ ด าภรณ์ กล่ า วว่ า รัฐนิยาม ให้ความรู้ และปฏิบัติการ ต่อค�ำว่า ส�ำส่อน แปลว่า อย่าร่วม เพศกับคนหลายคน “ถามว่ามีความสัมพันธ์โดยมี แฟนทีละคน ก็เป็นการร่วมเพศกับ คน ๆ เดียว แต่ไม่ใช่คนเดียวไปตลอด ชีวติ ใช่ไหม แต่นที่ ำ� ให้เวลาร่วมเพศ จึ ง ไม่ ใ ช้ ถุ ง ยางอนามั ย เพราะ ไปเน้ น ว่ า ควรใช้ กั บ คู ่ ชั่ ว คราว” นางสาวชลิดาภรณ์ กล่าว

โดยนางสาวอัจฉรา บุญชุม หัวหน้า กลุ ่ ม พั ฒ นาภาพลั ก ษณ์ แ ละภาคี เครือข่าย กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุ ข และคณะ ส� ำ รวจ ทัศนคติประชาชนชาวไทย ทัง้ เพศชาย และเพศหญิงทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 15 ปีขนึ้ ไป จ�ำนวน 2,921 คน จาก 25 จังหวัด พบว่า ประชาชนเพศชายมากกว่า ครึ่งหนึ่งมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้หญิง ทีพ่ กถุงยางอนามัยติดตัว โดยมองว่า มีอาชีพขายบริการทางเพศ

ส พ ฐ . ลั ง เ ล ป รั บ หลักสูตรกลัวชีโ้ พรงให้ กระรอก ด้ า น นางธนพรรณ ฟองศิ ริ รองผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก โรคเอดส์ วั ณ โ ร ค แ ล ะ โ ร ค ติ ด ต ่ อ ท า ง เพศสั ม พั น ธ์ กรมควบคุ ม โรค กระทรวงสาธารณสุ ข กล่ า วว่ า สั ง ค ม ไ ท ย รั บ ไ ม ่ ไ ด ้ กั บ ก า ร มี เพศสั ม พั น ธ์ จึ ง พบการรณรงค์ ในทางให้หลีกเลี่ยง อ ย ่ า ง ไ ร ก็ ดี กระทรวงฯ ได้ ใ ห้ ค วามรู ้ เ รื่ อ ง การป้องกันโดยสวมถุงยางทุกช่วง วั น ส� ำ คั ญ แต่ ง บจ� ำ กั ด เพราะมี การทุ่มงบไปที่การยุติท้องไม่พร้อม มากกว่า ขณะที่ นางสาวรัตนา แสงบัวเผือ่ น นั ก วิ ช าการศึ ก ษา กลุ ่ ม พั ฒ นา หลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้ น พื้ น ฐาน (สพฐ.) ยอมรั บ ว่ า ตอบไม่ได้ว่าจะมีการปรับหลักสูตร ให้ ส อนเพศศึ ก ษาอย่ า งชั ด เจน หรื อ เตรี ย มพร้ อ มส� ำ หรั บ การมี เพศสัมพันธ์หรือไม่ เนื่องจากเป็น เหมื อ นดาบสองคมที่ ใ ห้ ค วามรู ้ แต่ อี ก ด้ า นชี้ โ พรงให้ ก ระรอก แต่ อ าจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงได้ ในอนาคต

รั ฐ ส ร ้ า ง ชุ ด ค ว า ม รู ้ ‘อย่ า ยุ ่ ง กั บ เซ็ ก ซ์ ’ นางสาวชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ รองศาสตราจารย์ ป ระจ� ำ คณะ

อรณี รัตนวิโรจน์

25/1/2561 11:29:43


สิทธิสุขภาพ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 19

เปิดเส้นทางกระจาย‘ยาสวย’เถือ ่ น

ให้ตวั แทนตัง ้ ร้านบนโซเชียลฯเจ้าของรับสินค้าทางเรือส่งตรงหมอกระเป๋า

พบเส้นทางน�ำเข้า-กระจาย ‘ยาสวยเถื่อน’ ให้ตัวแทนจ�ำหน่ายสมัครสมาชิก 200 บาท ตั้งร้านบนอินสตาแกรมรับสั่งของ ก่อนเจ้าของร้านส่งตรงถึงมือ ‘หมอกระเป๋า’ เผยรับยาจากผู้น�ำเข้าทางเรือ ศุลกากรสุ่มตรวจขาเข้าได้แค่ร้อยละ 10 ที่เหลือ ทะลักเข้าประเทศ อย. รับตามจับยากเพราะโฆษณาบนโซเชียลฯ “ใคร ๆ ก็ฉีดได้ เพียงดูวิธีจาก อินเทอร์เน็ต ดิฉนั ซือ้ โบท็อกซ์ ฟิลเลอร์ เมโส และเข็มฉีด มาจากอินสตาแกรม ราคาหลักร้อย ถ้ามียหี่ อ้ ขึน้ มาก็หลักพัน กว่าบาท บางยี่ห้อเหมือนที่คลินิกใช้ แต่ราคาถูกกว่ากันเกือบครึ่ง” ผู ้ บ ริ ก ารฉี ด ยาเสริ ม ความงาม ใบหน้า หรือที่รู้จักในหมู่ผู้ใช้บริการ ว่า ‘หมอกระเป๋า’ รายหนึง่ ยอมรับว่า เคยรับฉีดยาเสริมความงามใบหน้า หรือทีเ่ รียกว่า ‘ยาหน้าสวย’ ให้ลกู ค้า ตามบ้ า น อาศั ย ความรู ้ จ ากที่ เ คย ท�ำงานในคลินิกเสริมความงาม โดย ซื้อยาตามที่ลูกค้าต้องการจากร้ า น ค้ า ในสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เช่ น อิน สตาแกรม ส่วนมากเป็นยี่ห้อที่ไม่มี ตราส�ำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) ผู ้ สื่ อ ข่ า วค้ น หาค� ำ ส� ำ คั ญ ใน อินสตาแกรม ระบุคำ� ‘โบท็อกซ์’ พบ โฆษณาขายโบท็อกซ์ ฟิลเลอร์ และ เมโส หลากหลายยีห่ อ้ กว่า 30,000 โพสต์ อ้ า งว่ า เป็ น ของแท้ น� ำ เข้ า จาก

ต่างประเทศ ราคาตัง้ แต่ 300-5,000 บาท ขณะที่ พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ยา พ.ศ. 2510 มาตรา 12 บัญญัติ ว่ า ห้ า มมิ ใ ห้ ผู ้ ใ ดผลิ ต ขาย หรื อ น�ำเ ข ้ า ม า ใ น ร า ช อ า ณ า จั ก ร ซึง่ ยาแผนปัจจุบนั เว้ น แต่ จ ะได้ รั บ ใบอนุญาตจากผู้อนุญาต หากผู้ใด ฝ่ า ฝื น ต้ อ งระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท แต่ ป รากฏว่ า ปี 2558-2560 มีผถู้ กู จับกุมรวม 231 คน ตามรายงาน การจับกุมและด�ำเนินคดีการกระท�ำ ผิดที่เกี่ยวกับการลักลอบน�ำเข้ายา ผิดกฎหมายของอย. ผูส้ อื่ ข่าวตรวจสอบเส้นทางการน�ำ เข้ายาหน้าสวยเหล่านี้ โดยสอบถาม วิธกี ารสมัครเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายจาก ร้านขายยาหน้ า สวยแห่ ง หนึ่ ง ใน อิ น สตาแกรมที่ประกาศว่า ก�ำลัง เปิดรับตัวแทนจ�ำหน่ายสินค้า ได้รบั ค�ำตอบว่า ต้องเสียค่าสมัคร 200 บาท เข้า กลุม่ ไลน์ทมี่ สี มาชิกทัง้ หมด 50 คน เพือ่ ติดตามข้อมูลสินค้าและโพสต์โฆษณา

ที่มา : พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 กระทรวงสาธารณสุข

LAYOUT.indd 21

ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยคนหนึ่ ง ของ ร้านดังกล่าว เปิดเผยว่า เมื่อสมัคร เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายแล้ว จะต้อง ตัง้ ร้านบนอินสตาแกรม และโฆษณา ให้ลูกค้าที่สนใจเข้ามาติดต่อซึ่งส่วน มากก็เป็นหมอกระเป๋า เมื่อลูกค้าสั่ง ยา ตัวแทนจ�ำหน่ายจะส่งรายการ สินค้าผ่านกลุ่มไลน์แล้วเจ้าของร้าน จะเป็นผู้ส่งสินค้าให้ลูกค้าคนนั้นเอง การขายครัง้ หนึง่ เช่น โบท็อกซ์ 150 ยูนติ ราคา 1,890 บาท ตัวแทนจ�ำหน่าย จะได้ก�ำไร 300 บาท ด้าน เจ้าของร้านขายยาเสริม ความงามดังกล่าว อ้างว่า พี่สาวรู้จัก เป็นการส่วนตัวกับเจ้าของบริษัทที่ น�ำเข้ายาจากต่างประเทศ ซึ่งบริษัท นี้ จั ด ส่ ง ให้ กั บ หลายคลิ นิ ก รวมถึ ง ร้านของตน หากสินค้าขาดก็จะโทร สั่ ง แล้ ว จะมี พ นั ก งานส่ ง ของมาส่ ง สิ น ค้ า ให้ เมื่ อ รั บ ยามาตนและ พี่ ส าวจะเป็ น คนเก็ บ สิ น ค้ า ไว้ ทั้ ง หมด เพื่อรอจ�ำหน่าย หลังจาก ได้รับรายการสินค้าเข้าทางกลุ่มไลน์ จากนั้นจะน�ำยาทั้งหมดไปส่งด้วย ตัวเอง ผ่านไปรษณีย์ รถตู้ รถทัวร์ แล้วแต่ความต้องการของลูกค้า เช่นเดียวกับ เจ้าของร้านขายยา เสริมความงามอีกแห่งหนึ่ง กล่าวว่า ยาที่ขายมาจากต่างประเทศ ขนส่ง ผ่านทางเรือ โดยมีคนน�ำเข้าตัวยา มาอีกทีหนึ่ง ทางร้านแค่รับมาขาย จึงไม่รู้กระบวนการต่าง ๆ นางสาวอั ญ ชยา รอดปาน นักวิชาการช�ำนาญการ กรมศุลกากร เปิดเผยว่า การตรวจสอบสินค้าน�ำ เข้าทางเรือ หากบริษัทน�ำเข้าไม่มี ชื่อเสียงเสียหาย หรือมาจากประเทศ ต้องสงสัย จะได้รบั ค�ำสัง่ ยกเว้นการตรวจ (กรีนไลน์) ผูน้ ำ� เข้าสามารถน�ำสินค้า ออกจากด่านศุลกากรได้ทันที ทั้งนี้ การให้กรีนไลน์คิดเป็นร้อยละ 90 เพราะปริมาณการน�ำเข้าผ่านทางเรือ แต่ละครัง้ มีจำ� นวนมากจึงไม่สามารถ เปิดตรวจได้ครบทุกตู้ และแม้เครือ่ ง เอกซเรย์สามารถระบุได้วา่ มีสงิ่ ต้อง สงสั ย อยู ่ บริ เ วณใดของตู ้ แต่ ด ้ ว ย คุณภาพของเครือ่ ง ภาพทีป่ รากฏจึง เป็นเงาด�ำ ระบุไม่ได้วา่ เป็นสินค้าที่ ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่

“เคยตรวจพบยาหน้ า สวยน� ำ เข้าผิดกฎหมายอยู่บ้าง โดยปนมา กั บ สิ น ค้ า ประเภทใกล้ กั น เช่ น ครี ม บ� ำ รุ ง ผิ ว หรื อ เครื่ อ งส� ำ อาง” นางสาวอัญชยา กล่าว ด้าน นางสาวอรยา กว้างสุขสถิตย์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการประชาสัมพันธ์ องค์กร สถาบันโรคผิวหนัง กล่าวว่า หากใช้ยาปลอม อาจมีอาการแพ้ เป็นผืน่ เป็นก้อน หรือถึงขัน้ เนือ้ เน่าตาย “ยาเหล่านีซ้ อื้ ขายง่าย จึงถูกใช้โดย บุคคลทัว่ ไปทีไ่ ม่มคี วามรูค้ วามเชีย่ วชาญ มีโอกาสทีจ่ ะฉีดโดนต�ำแหน่งทีอ่ นั ตราย อย่างเส้นเลือด หรือเส้นประสาท ส่งผล ให้ หนังตาตก หน้าเบีย้ ว ตาบอด หรือ เสียชีวิต จึงควรเลือกฉีดกับแพทย์ผู้ เชีย่ วชาญในสถานพยาบาลทีป่ ลอดภัย” นางสาวอรยา กล่า ว ขณะที่ นางสาวปาวีณา ศิรดิ ำ� รงค์ หัวหน้าฝ่ายปราบปรามศูนย์จดั การเรือ่ ง ร้องเรียนและปราบปรามการกระท�ำ ผิดกฎหมายเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ อย. กล่าวว่า ศูนย์ฯ เฝ้าระวังเรือ่ งนี้ แต่ยอมรับว่า ทีผ่ า่ นมาพบร้านค้าที่ กระท�ำผิดโดยขายยาทีไ่ ม่มใี บอนุญาต เลขทะเบียนและฉลาก บนสื่อสังคม อ อ น ไ ล น ์ เ พิ่ ม ขึ้ น จ� ำ น ว น ม า ก ด้วยรูปแบบการกระท�ำผิดทีซ่ บั ซ้อน เช่ น แอบอ้ า งชื่ อ บั ญ ชี ข องคนอื่ น มาเปิดร้านค้าของตัวเอง หรือปลอมแปลง ข้ อ มู ล ประวั ติ ส ่ ว นตั ว ซึ่ ง ร้ า นค้ า เหล่านี้ตามจับยาก เนือ่ งจากเครือข่าย สังคมออนไลน์ลว้ นมีตน้ ก�ำเนิดมาจาก ต่างประเทศ ซึ่งมีมาตรการสงวน สิทธิความเป็นส่วนตัวของผูใ้ ช้งาน จึง ไม่สามารถขอข้อมูลส่วนตัว และ สั่ ง ปิ ด ร้ า นค้ า ที่ ก ระท� ำ ผิ ด ได้ นางสาวปาวีณา กล่าวด้วยว่า ขณะนี้ก�ำลังสร้างความร่วมมือกับ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารสื่ อ สั ง คมออนไลน์ ต่ า งประเทศในการกลั่ น กรอง โฆษณาก่ อ นปล่ อ ยสู ่ ส าธารณชน แ ล ะ เ ต รี ย ม จั ด ท� ำ โ ค ร ง ก า ร เฝ้าระวังและรวบรวมข้อมูลโฆษณา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ข ภาพเชิ ง รุ ก ทางสื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต คาดว่ า จะช่ ว ยลด จ�ำนวนผูเ้ สียหายทีเ่ กิดจากปัญหายา ไม่ได้มาตรฐานตามที่ อย. ก�ำหนดไว้

้จัก ัก รูรู้จ

‘ยาหน้าาสวย’ สวย’ ‘ยาหน้ โบท็อกซ์ ชื่ อ ทางการแพทย์ ว่า ‘โบทูลนิ มั ท็อกซิน’ เป็นสารโปรตีนชนิดหนึง่ สามารถพบได้ในอาหาร กระป๋ อ งที่ เ สี ย แล้ ว มีคุณสมบัติท�ำให้กล้าม เนื้อคลายตัว ส่งผลให้ กล้ามเนื้อบริเวณที่ฉีด เป็นอัมพาต จึงน�ำมาใช้ ด้านความงาม เพื่อลด ริว้ รอยทีเ่ กิดจากการขยับ กล้ามเนือ้ เช่น หน้าผาก หางตา เมื่ อ ได้ รั บ สาร โ บ ท็ อ ก ซ ์ จ ะ ช ่ ว ย บรรเทาให้ใบหน้าเต่งตึง เห็นผลประมาณ 7 วัน อยู่ได้นาน 3-4 เดือน ฟิลเลอร์ เป็ น สารที่ มี ส ่ ว น ประกอบของกรด ไฮยาลู ร อนิ ค เติมเต็ม คอลลาเจน เพิม่ ปริมาตร ในบริเวณต่าง ๆ ของ ใบหน้ า ไม่ ว ่ า จะเป็ น ร่ อ งแก้ ม หน้ า ผาก ใช้แก้ไขปัญหาร่องลึก บนใบหน้าให้ดูตื้นขึ้น เมโส หรือ เมโสเทอราปี คื อ การใช้ เ ข็ ม ขนาด เล็ ก ฉี ด สารจ� ำ พวก วิตามิน สเตียรอยด์ เข้าสู่ ชัน้ ผิว มีคุณสมบัติฟื้นฟู สภาพผิวให้หน้าขาวใส ลดจุดด่างด�ำ

ณภัทรวดี ทินกูล

25/1/2561 11:29:44


20 | ลูกศิลป์

ต่อจากหน้า 1 : กีฬาสี

กิ จ กรรมกี ฬ าสี เ ป็ น เกณฑ์ ข้ อ หนึ่ ง ในมาตรฐานการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน (ด้านคุณภาพผู้เรียน) เพื่ อ การประกั น คุ ณ ภาพภายใน ของสถานศึ ก ษา 15 มาตรฐาน ปี 2554 ที่ส�ำนักคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ก�ำหนด หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ส� ำ รวจ ค่ า ใช้ จ ่ า ยงานกี ฬ าสี โ รงเรี ย น มัธยมของรัฐช่วงปลายปีที่ผ่านมา กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง 30 โรงเรี ย น ทั่วประเทศ พบว่า กว่า 20 แห่ง ใช้เงินสีละเกือบแสนบาทในการจัด ขบวนพาเหรด ค่าจ้างผู้สอนผู้น�ำ เชียร์และชุดผูน้ ำ� เชียร์ โดยนักเรียน เหล่านี้ระบุตรงกันว่า แม้โรงเรียน จะให้งบประมาณสนับสนุนแต่ก็ ไม่ เ พี ย งพอ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ที่ จัดงานต้องใช้เงินตัวเองจ่ายเพิ่ม เฉลี่ยคนละ 500-1,500 บาท นางสาวพชรชนก ปลายแก้ว นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 โรงเรี ย นรั ฐ ขนาดใหญ่ แ ห่ ง หนึ่ ง ในจังหวัดระนอง ซึ่งเป็นฝ่ายจัด กิจกรรมเชียร์ เปิดเผยว่า นักเรียน ตั้งงบกันเองไว้ที่ 100,000 บาท เพื่ อ เป็ น ค่ า จั ด ขบวนพาเหรด จ้างผูฝ้ กึ ซ้อมผูน้ ำ� เชียร์ และอุปกรณ์ เชี ย ร์ โรงเรี ย นช่ ว ยสนั บ สนุ น 40,000 บาท จึงต้องเก็บเงินเพือ่ น ๆ จ�ำนวน 48 คน อีกคนละ 1,400 บาท บางคนจึงเลือกที่จะไม่จ่าย ส่วน ตนต้องหักค่าขนมจ่าย ขณะที่ครู ทราบเรื่องแต่ไม่ได้ว่าอะไร ด้าน นางสาวนัทธมน สีอ่อน นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 โรงเรียนรัฐขนาดใหญ่พเิ ศษแห่งหนึง่ ในจังหวัดชลบุรี กล่าวว่า โรงเรียน สนับสนุนเงิน 30,000 บาท ต่อสี แต่ ง บที่ ไ ด้ ม าไม่ เ พี ย งพอจึ ง ต้ อ ง ระดมเงินอีกคนละ 500 บาท “เกรงใจเพื่ อ น ๆ ที่ มี ฐ านะ ทางบ้ า นล� ำ บาก เหมื อ นเป็ น ก า ร ก ด ดั น ห ลั ง จ า ก เ พื่ อ น คนอื่ น จ่ า ยกั น หมด เพื่ อ นที่ มี ก� ำ ลั ง จ่ า ยไหวต้ อ งช่ ว ยกั น โปะ ครู ก็ ม าเตื อ นให้ เ ก็ บ น้ อ ยลง แต่ปกี อ่ น ๆ ท�ำดี ปีนเี้ ลยต้องดีกว่า” นางสาวนัทธมน กล่าว ส่ ว น นายเอกชั ย วารี ด� ำ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรี ย นรั ฐ แห่ ง หนึ่ ง ในจั ง หวั ด สมุทรปราการ กล่าวว่า โรงเรียนมี นโยบายให้เก็บเงินนักเรียน โดย เก็บชั้นมัธยมต้นคนละ 50 บาท และชัน้ มัธยมปลายคนละ 100 บาท

LAYOUT.indd 22

โรงเรียนจะช่วยสนับสนุนส่วนหนึง่ ส่วนคนทีเ่ ป็นผูน้ ำ� เชียร์ตอ้ งจ่ายค่า ผู้สอนและค่าชุดกันเอง “เมื่ อ โรงเรี ย นได้ เ ชิ ญ ผู ้ ใ หญ่ ในจั ง หวั ด หรื อ ผู ้ อ� ำ นวยการ โรงเรียนอืน่ มา ท�ำให้รสู้ กึ ว่ายิง่ ต้อง ท�ำผลงานออกมาให้ดี ไม่เช่นนั้น จะเสียหน้า” นายเอกชัย กล่าว เ ชื่ อ ค รู ป ล ่ อ ย เ ด็ ก ตัดสินใจเองท�ำงบบาน ปลาย นางวงเดื อ น พลั ง สั น ติ กุ ล ผูป้ กครองนักเรียน กล่าวว่า การใช้ ง บ ป ร ะ ม า ณ เ ย อ ะ ส ่ ว น ห นึ่ ง เกิดจากครูปล่อยให้เด็กตัดสินใจเอง อีกส่วนมาจากการที่เด็กเข้าใจผิด ว่ า กี ฬ าสี คื อ การแข่ ง ประชั น ความสวยงาม ดูได้จากขบวนพาเหรด ทีน่ กั เรียนแต่งตัวสวยเพือ่ มาเดินโชว์ ในระยะเวลาสั้น ๆ แต่เสียเงินไป ไม่คมุ้ ค่า มีการจ้างบุคคลภายนอก เข้ามาช่วยจัดการให้ เช่น ท่าเต้น ของผู้น�ำเชียร์ ทั้งที่จริง ๆ แล้ว นั ก เรี ย นสามารถคิ ด กั น เองได้ “ตอนแรกลูกมาขอ 800 บาท พอเอาเข้ า จริ ง ก็ มี ม าเรื่ อ ย ๆ จนไม่ คิ ด ว่ า จะเยอะขนาดนี้ เมือ่ ครูตั้งเกณฑ์ไว้สูง นักเรียนก็ท�ำ อย่างนั้น โรงเรียนควรปรับเกณฑ์ การตั ด สิ น การแข่ ง ขั น อาจจะ เน้นให้ประยุกต์ชุดจากวัสดุเหลือ ใช้ ก็ ไ ด้ ” นางวงเดื อ น กล่ า ว ติงครูต้องช่วยแนะน�ำ อย่านนำเด็กเลยเส้น นายอรรถพล อนันตวรสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำคณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า กีฬาสีเป็นกิจกรรมเดียว ทีท่ ำ� ให้นกั เรียนรูส้ กึ ว่าเป็นเจ้าของ มี อ� ำ นาจจั ด การ สามารถแสดง ศักยภาพของตนออกมาได้ ท�ำให้เด็ก ทุ่มเทแรงกายและก�ำลังเงินมาก ปัญหา คือ ปัจจุบันกีฬาสีไปให้ค่า กั บ รางวั ล โรงเรี ย นก็ ใ ห้ ค ่ า กั บ การหาความเป็นที่ 1 แต่ลืมไปว่า ความเป็นที่ 1 นั้นไม่เหมือนกัน เพราะนักเรียนมีความถนัดต่างกัน “ ผู ้ ใ ห ญ ่ จ ะ ช อ บ พู ด ว ่ า การทุม่ เทเป็นเรือ่ งดีแต่ตอ้ งไม่เอาเป็น เอาตายเพือ่ รางวัล แต่ความเป็นจริง โรงเรี ย นก็ แ บ่ ง ประเภทรางวั ล ไว้ เ ยอะมากเพื่ อ ที่ จ ะให้ เ ด็ ก แข่งขัน ทั้งประกวดเชียร์ ขบวน พาเหรด ลี ด เดอร์ ครู ที่ ป รึ ก ษา กิ จ กรรมจึ ง เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ที่ จ ะ คอยแนะน� ำ ว่ า มั น เลยเส้ น ไหม แต่บางครั้งครูกลับมาน�ำเสียเอง

ไปมีอทิ ธิพลเหนือเด็ก ทัง้ ทีเ่ ด็กต้อง เป็ น เจ้ า ของกิ จ กรรมเพื่ อ ฝึ ก การท�ำงานเป็นทีม” นายอรรถพล กล่าว เมื่อถามว่า โรงเรียนปล่อยให้ เด็ ก จั ด ใหญ่ เ พื่ อ ให้ โ รงเรี ย น ได้ ห น้ า หรื อ ไม่ นายอรรถพล กล่าวว่า ทั่วโลกมีวันกีฬาสีซงึ่ เด็ก จะทุ่มเท แต่ส�ำหรับประเทศไทย กลายเป็ น วั ฒ นธรรมที่ ส ะท้ อ น การใช้จ่ายอู้ฟู่มากขึ้นเป็นกระจก สะท้อนผู้ใหญ่ เมื่อผู้ใหญ่อลังการ เขาก็ต้องอลังการไปด้วย ราชการไทย เชิญผูใ้ หญ่ เปิดงานหวังก้าวหน้า นายสติธร ธนานิธโิ ชติ นักวิชาการ ช�ำนาญการ ส�ำนักวิจัยและพัฒนา สถาบั น พระปกเกล้ า กล่ า วว่ า ก า ร จั ด ง า น แ ล ้ ว เ ชิ ญ ผู ้ ใ ห ญ ่ มาสะท้อนภาพการแยก ความสัมพันธ์อ�ำนาจในเชิงระบบ กับความสัมพันธ์ส่วนตัวไม่ออก “จัดใหญ่เพือ่ เป็นหน้าตาโรงเรียน เชิญผู้ใหญ่มาเปิดงานเพราะนับถือ ให้ เ กี ย รติ แต่ ว งเล็ บ ว่ า อย่ า ลื ม ความสัมพันธ์ส่วนตัวระหว่างเรา หมายถึ ง การเลื่ อ นขั้ น เลื่ อ น ต�ำแหน่ง สิ่งนี้หล่อหลอมค่านิยม ผูใ้ หญ่ผนู้ อ้ ยในสมองเด็ก ระยะยาว จะเกิดปัญหาผู้น้อยไม่กล้าคัดค้าน ผูใ้ หญ่ทมี่ อี ำ� นาจ” นายสติธร กล่าว นายตระกู ล มี ชั ย อดี ต รอง ศาสตราจารย์ประจ�ำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ปรากฏการณ์ นี้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น วั ฒ นธรรมระบบราชการไทยว่ า จะท�ำอะไรต้องให้นายเห็น เพือ่ การ ขยับสถานะหน้าทีก่ ารงานในอนาคต “เมือ่ จบกีฬาสีไปแล้วมีใครนึกถึง อะไรในพิธเี ปิดบ้างไหม คนยิม้ ก็คอื ผู ้ อ� ำ นวยการ ส่ ว นเด็ ก ก็เหนื่อย คนที่ เ ชิ ญ มาเขาเคยนั่ ง ดู กฬี าจน จบไหม ทุกองค์กรเหมือนกันหมด ท�ำอะไรต้องท�ำให้นายเห็น เกาะผูม้ ี อ�ำนาจมาก ส่วนเด็กไม่ได้อะไร แถม ซึมซับระบบนี้ เมือ่ โตขึน้ ก็ทำ� ตาม ต่อกันเป็นทอด ๆ” นายตระกูล กล่าว โ ย น ห ้ า ม เ ด็ ก ไ ม ่ ไ ด ้ ไม่ เ กี่ ย วเชิ ญ ผู ้ ใ หญ่ ต้องจัดอลังการ นางสาวจรี รั ต น์ พิ ชั ย ภาพ รั ก ษาราชการแทนผู ้ อ� ำ นวยการ โรงเรียนพิชยั รัตนาคาร จังหวัดระนอง แจงว่า โรงเรียนมีงบสนับสนุนอยูแ่ ล้ว ไม่สนับสนุนให้นักเรียนระดมทุน กันเอง หรือไปขอผู้ปกครองเพิ่ม “ทราบว่ า นั ก เรี ย นระดมทุ น กันเอง ในอดีตบางทีเป็นแสน แต่เรา

จัดการไม่ได้และเด็กเองก็ไม่ยอม ปีนี้จึงมีนโยบายว่า ถ้าโรงเรียน ทราบว่าใครขอเพิ่มจะตัดคะแนน ถ้าเราไม่ควบคุมเด็กจะใช้จ่ายสิ้น เปลืองมาก” นางสาวจรีรตั น์ กล่าว ด้ า น นายวิ โ รจน์ เอี่ ย มยิ้ ม ครู ที่ ป รึ ก ษากิ จ ก ร ร ม กี ฬ า สี โรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม จังหวัด สมุทรปราการ กล่าวว่า โรงเรียน สนั บ สนุ น งบประมาณส่ ว นหนึ่ ง และมี น โยบายให้นักเรียนมัธยม เก็บเพิ่มกันเองส่วนหนึ่ง นักเรียน จะจั ด การเองทั้ ง หมด มี ค รู เ ป็ น ผู ้ ค วบคุ ม และให้ ค� ำ ปรึ ก ษา ปี น้ี ใช้เงินราว 100,000 บาท “ที่ โ รงเรี ย นเชิ ญ ผู ้ ใ หญ่ ใ น จังหวัดมาก็เป็นการประชาสัมพันธ์ โรงเรียน แต่ก็ใช้งบของเด็กไม่มาก เท่ า ไหร่ เพราะเด็ ก ต้ อ งการท� ำ ผลงานของเขาออกมาให้ ดี ที่ สุ ด ตามวั ย ของเขา เราตั ด สิ น จาก ความสวยงาม ความพร้อมเพรียง และองค์ประกอบรวม” นายวิโรจน์ กล่าว ด้าน นางระพีพร เศวตวงษ์ ครูชำ� นาญการโรงเรียนอุดรพิทยานุกลู จังหวัดอุดรธานี ซึง่ ได้รบั มอบหมาย จากผู้อ�ำนวยการโรงเรียนให้ชี้แจง กล่าวว่า โรงเรียนมีงบสนับสนุน และยังมีเงินจากสมาคมผูป้ กครอง อี ก ส่ ว นหนึ่ ง ไม่ มี น โยบายให้ นักเรียนเก็บเงินกันเอง แต่ทุกปี ก็จะมีนกั เรียนเก็บเงินกันเองโดยที่ ครูไม่สามารถเข้าไปห้ามได้ ท�ำได้ เพียงตักเตือนเท่านั้น “โรงเรี ย นเคยเชิ ญ รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด มาเป็ น ประธาน ในพิ ธี เ ปิ ด แต่ ไ ม่ เ กี่ ย วกั บ การที่ นั ก เรี ย นใช้ ง บมาก เป็ น เรื่ อ งที่ นั ก เรี ย นมองว่า ต้องแข่งขันกัน อย่างจริงจังภายในโรงเรียนกันเอง มากกว่า” นางระพีพร กล่าว ศึ ก ษาฯโบ้ ย โรงเรี ย น จัดการเอง นายสั น ติ โลหะปิ ย ะพรรณ นั ก วิ เ คราะห์ น โยบายและแผน ปฏิบตั กิ าร กลุม่ ส่งเสริมพลานามัย นักเรียน ส�ำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ชี้ แ จงว่ า กระทรวงไม่ได้ก�ำหนดมาตรฐาน การจั ด กี ฬ าสี ไ ว้ ว ่ า จะต้ อ งเป็ น อย่างไร แต่เป็นเรื่องที่โรงเรียน ต้องก�ำหนดเอง “เคยมีการร้องเรียนว่า กีฬาสี ใช้งบประมาณเยอะ ส�ำนักฯ จึง ท�ำหนังสือถึงเขตพื้นที่การศึกษา เมื่อ 2 ปีที่แล้ว ให้วางแนวปฏิบัติ การจัดกีฬาสีโดยใช้งบอย่างประหยัด ตอบโจทย์ความสามัคคีเป็นหลัก

ข่าวเด่น

แต่ที่ยังใช้งบเยอะกันอยู่ ส�ำนักฯ ก็ไปบังคับเขาไม่ได้ ขึน้ อยูก่ บั แต่ละ โรงเรียนจะจัด” นายสันติ กล่าว ส่วน นายสนิท แย้มเกษร ผูช้ ว่ ย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กล่ า วว่ า กิ จ กรรมกี ฬ าสี ภ ายใน โรงเรียน เปรียบเสมือนกิจกรรม การเรียนการสอนทั่วไป จึงเป็น หน้ า ที่ ข องโรงเรี ย นจะพิ จ ารณา กระทรวงไม่มีนโยบายแก้ไขเรื่องนี้ ขณะที่ นายบุญรักษ์ ยอดเพชร เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปฏิเสธทีจ่ ะแสดงความเห็น ระบุวา่ ไม่มขี อ้ มูล เป็นเรือ่ งของผูอ้ ำ� นวยการ เขตการศึกษารับผิดชอบ วิภาภรณ์ สุภาพันธ์

ต่อจากหน้า 1 : ส่วยที่ดิน

หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ไ ด้ รั บ ร้องเรียนจากผูซ้ อื้ ขายทีด่ นิ หลายราย เรื่ อ งการเรี ย กเก็ บ เงิ น เพิ่ ม ของ เจ้ า หน้ า ที่ ส� ำ นั ก งานที่ ดิ น ใน กรุงเทพฯ และปริมณฑล เพือ่ อ�ำนวย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ซื้ อ ข า ย ที่ ดิ น จึ ง ตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง พบว่ า มี เ จ้ า หน้ า ที่ อ าศั ย ช่ อ ง เพื่ อ เรี ย กเงิ น จากขั้ น ตอน ดั ง นี้ 1) อ้างเอกสารไม่ครบ กรอกผิด รู ป แบบราชการ 2) ชะลอ การรังวัดอ้างว่าเจ้าหน้าทีไ่ ม่วา่ ง และ 3) เรียกค่าธรรมเนียมและภาษีอากร เกินจริง ผู ้ สื่ อ ข ่ า ว ล ง พื้ น ที่ ส� ำ ร ว จ ส� ำ นั ก งานที่ ดิ น ในกรุ ง เทพฯ สมุทรปราการ ปทุมธานี นครปฐม และนนทบุรี พบว่า ประชาชนต้อง จ่ายเงินเพิ่มเพื่อซื้อความสะดวก ในการด�ำเนินการตั้งแต่หลักหมื่น จนถึงหลักล้านบาท โดยผู้ซื้อขาย ทีด่ นิ รายหนึง่ ในกรุงเทพฯ เปิดเผยว่า ปี 2558 ยื่นเอกสารด้วยตนเอง 2 ครัง้ แต่ไม่ผา่ น เจ้าหน้าทีอ่ า้ งว่ากรอก เอกสารผิดรูปแบบราชการ สุดท้าย เจ้าหน้าทีย่ นื่ ข้อเสนอว่า จะท�ำเอกสาร และเดินเรือ่ งให้จนจบแต่ตอ้ งจ่ายเงิน 10,000 บาท สุดท้ายต้องยอมจ่าย และเรือ่ งเสร็จในเวลา 2 เดือน ด้าน นางปาณิตา เผ่าชัย ผูซ้ อื้ ขาย ที่ ดิ น ในกรุ ง เทพฯ กล่ า วว่ า เมือ่ เดือนพฤศจิกายนปีทแี่ ล้ว ได้ขาย ที่ดินมรดกที่ได้รับโอนจากมารดา 2 งาน มูลค่า 4.4 ล้านบาท ในวันที่ ไปโอน เจ้ า หน้ า ที่ พ ยายาม (อ่านต่อหน้า 21)

25/1/2561 11:29:45


ข่าวเด่น

ต่อจากหน้า 20 : ส่วยที่ดิน

ขอเอกสารประกอบการโอน เพิ่ ม เติ ม นอกเหนื อ จากที่ ร ะบุ ใ น คูม่ อื การโอน “ไปติดต่อตัง้ แต่เช้าได้ควิ ตอนบ่าย ทั้ ง ที่ มี ค น ม า ติ ด ต ่ อ ไ ม ่ เ ย อ ะ เจ้าหน้าที่ขอบัตรประชาชนและ ส� ำ เนาทะเบี ย นบ้ า นของแม่ ที่ เสียชีวิตไปแล้ว และขอใบรับรอง บุ ต รบุ ญ ธรรมทั้ ง ที่ มี เ อกสาร ผู้จัดการมรดกจากศาล ทั้งยังแยก เอกสารให้เซ็นทีละใบ และเอ่ยปาก ว่า นึกว่าจะมีค่าขนมให้ แต่ดิฉัน ไม่ยอมจ่าย สุดท้ายท�ำเรื่องเสร็จ เวลา 5 โมงเย็น” นางปาณิตา กล่าว ส่ ว น แหล่ ง ข่ า วนายหน้ า ค้าที่ดินมากว่า 30 ปี รายหนึ่งใน จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ กล่ า วว่ า การเรียกเงินใต้โต๊ะยังท�ำอยู่แต่ไม่ เอิกเกริก ถ้าเป็นผู้ประกอบการ อสังหาริมทรัพย์จะถูกเรียกเงินมาก ที่ เ คยประสบ คื อ เจ้ า หน้ า ที่ ยื่ น ข้อเสนอว่า อยากให้เอกสารเสร็จเร็ว ให้ตดิ ต่อส่วนตัวกับหัวหน้าแผนก ยื้อรังวัดเรียกเงินเพิ่ม ผู ้ ซื้ อ ขายที่ ดิ น รายหนึ่ ง ใน จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ กล่ า วว่ า เดือนตุลาคม 2558 ได้ยื่นเรื่อง ขอรังวัดแบ่งโฉนด 50 ไร่ เป็น 9 แปลง เพื่อขาย เจ้าหน้าที่ระบุว่า ต้องรอ ช่างรังวัดอีก 2 เดือน รวมออก โฉนดต้องใช้เวลาอย่างน้อย 4 เดือน หากต้องการเร็วให้เข้าพบส่วนตัว กับหัวหน้าฝ่ายรังวัด “หั ว หน้ า ฝ่ า ยรั ง วั ด บอกว่ า ถ้าอยากได้คิวเร็วขอแปลงละหมื่น มั น ไม่ ไ ด้ มี แ ค่ ผ มคนเดี ย ว มี ทั้ ง ข้างบนและข้างล่าง” แหล่งข่าว กล่าว และยอมรั บ ว่ า สุ ด ท้ า ยจ่ า ยเงิ น 90,000 บาท เพือ่ ให้ออกโฉนดให้ทนั ก�ำหนดการขาย เดือนมกราคม 2559 ผู้สื่อข่าวสืบค้นขั้นตอนการท�ำ รั ง วั ด ออกโฉนดในเว็ บ ไซต์ ข อง กรมที่ดิน ระบุว่า ปกติเจ้าหน้าที่ ต้องไปรังวัดภายใน 30 วัน จากนัน้ ต้องออกโฉนดภายใน 60-90 วัน คิดภาษีเกินจริงขอกิน ส่วนต่าง ผู ้ ซื้ อ ขายที่ ดิน อีก รายหนึ่งใน จังหวัดสมุทรปราการ เปิดเผยว่า เดือนพฤษภาคม 2559 ได้ขายทีด่ นิ 8 ไร่ตดั แบ่งเป็น 5 แปลง เจ้าหน้าที่ ระบุ ค่าอากรและค่าธรรมเนียม เป็นเงิน 4.7 ล้านบาท “เจ้ า หน้ า ที่ บ อกว่ า มี วิ ธี ลดหย่อนให้เหลือ 2.39 ล้านบาท แต่ ข อเงิ น 25 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ข อง ส่วนต่างรวมค่าอ�ำนวยความสะดวก

LAYOUT.indd 23

คือ 750,000 บาท โดยให้เอาไป ใส่ไว้ใต้เบาะรถยนต์ของเจ้าหน้าที่ สุ ด ท้ า ยก็ ย อมจ่ า ยเพราะไม่ รู ้ วิ ธี คิ ด ภาษี ภายหลั ง มารู ้ ว ่ า ภาษี ไม่ถงึ 4.7 ล้านบาท” แหล่งข่าวจาก จังหวัดสมุทรปราการ ระบุ ผู ้ ซื้ อ ขายที่ ดิ น อี ก รายหนึ่ ง ใน จังหวัดปทุมธานี กล่าวว่า ต้นปี 2560 ได้ ข ายบ้ า นพร้ อ มที่ ดิ น เจ้ า หน้ า ที่ บ อกว่ า ต้ อ งเสี ย ภาษี ธุรกิจเฉพาะเป็นเงิน 40,000 บาท จากราคาซือ้ ขายจริง 1.89 ล้านบาท เพราะปลูกบ้านไม่เกิน 4 ปี “ยืนยันไปว่าใช้อยู่อาศัย ไม่ได้ ซื้อขายเก็งก�ำไรท�ำไมต้องจ่ายภาษี ธุรกิจ เจ้าหน้าที่ให้ไปคุยในห้อง หั ว หน้ า มี ก ารลดราคาให้ เ หลื อ 20,000 บาท แต่ถือเงินมาไม่พอ จึงต่อรองอีกให้เหลือ 10,000 บาท เขาตกลง เราก็ยอมจ่าย เพราะ ไม่มีความรู้เรื่องภาษี แต่รู้ว่านี่คือ จ่ายใต้โต๊ะ” แหล่งข่าว กล่าว ง า น วิ จั ย จุ ฬ า ฯ พ บ กรมที่ดินเบอร์ 1 เรียก สินบนสูงสุด งานวิ จั ย เรื่ อ ง คอร์ รั ป ชั น ใน ระบบราชการไทย การส�ำรวจทัศนคติ ประสบการณ์ของหัวหน้าครัวเรือน ปี 2557 โดยนางผาสุก พงษ์ไพจิตร และ นายธานี ชัยวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส�ำรวจหัวหน้าครัวเรือน 6,048 ราย เมือ่ เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2557 ระบุวา่ กรมทีด่ นิ ยังเป็นหน่วยงานที่ มีการเรียกเงินสินบนจากครัวเรือน ไทยมากที่สุดเป็นอันดับ 1 มูลค่า รวม 1,922 ล้านบาท แม้จะลด ลงจากงานวิ จั ย เมื่ อ ปี 2542 ทีส่ งู ถึง 5,100 ล้านบาท อย่างไรก็ดี งานวิจยั ยังระบุวา่ กรมทีด่ นิ ยังเป็น หน่ ว ยงานเดี ย วที่ มี ก ารเรี ย กเงิ น สินบนก้อนใหญ่มากกว่า 100,000 บาท ต่อราย ป.ป.ท.เผยร้อง เรี ย นกว่ า 500เรื่ อ ง น า ย ก ร ทิ พ ย ์ ด า โ ร จ น ์ รองเลขาธิการ รักษาราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการส�ำนักงาน ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในภาครั ฐ (ป.ป.ท.) กล่ า วว่ า ปี 2558-2560 ได้รบั เรือ่ งร้องเรียน การทุ จ ริ ต ในกรมที่ ดิ น 524 คดี เกิ ด จาก 3 สาเหตุ ห ลั ก ๆ คื อ 1) เพื่ออ�ำนวยความสะดวกสบาย เช่ น การเดิ น เรื่ อ งเอกสารเร็ ว 2) เพื่ อ ให้ ไ ด้ เ ปรี ย บผู ้ อื่ น เช่ น เ รี ย ก รั บ สิ น บ น เ พื่ อ ล ด ร า ค า ประเมิ น ที่ ดิ น และ 3) เพื่ อ ซื้ อ ความถูกผิดเกี่ยวกับเอกสารสิทธิ์

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 21

เช่ น การรุ ก ล�้ ำ พื้ น ที่ ป ่ า ปั ญ หา คือ เจ้าหน้าที่มักมองว่าการทุจริต รับสินบนนั้นสามารถท�ำได้ และ ผลตอบแทนคุ้มค่าที่จะเสี่ยง

ได้ เ องแล้ ว ผ่ า นระบบอั ต โนมั ติ ในเว็บไซต์กรมที่ดิน แต่ประชาชน อาจยั ง ไม่ ท ราบเนื่ อ งจากขาด การประชาสั ม พั น ธ์

ที่ ดิ น ป ทุ ม ฯ โ บ ้ ย ยื่ น เอกสารไม่ครบ นายเอกพงค์ สุ ร ะก� ำ แหง หัวหน้าฝ่ายทะเบียน ส�ำนักงาน ที่ดินจังหวัดปทุมธานี สาขาธัญบุรี ชี้แจงว่า การท�ำธุรกรรมที่ดินใช้ เอกสารหลายฉบั บ ประชาชน หลายคนไม่ ท ราบจึ ง เตรี ย ม มาไม่ ค รบท� ำ ให้ เ กิ ด ความล่ า ช้ า แ ต ่ ย อ ม รั บ ว ่ า ก า ร รั ง วั ด มี ความล่าช้า แต่ได้ปรับนโยบายจาก รังวัด 4-5 เดือนครัง้ เป็นรอบ 30 45 และ 60 วัน ส่วนการเรียกภาษี เกิ น จริ ง น่ า จะเป็ น การเข้ า ใจผิ ด เพราะมี สู ต รค� ำ นวณตามราคา ประเมินชัดเจน ด้าน นายฉัตรชัย คะเชนทร์ เจ้าหน้าทีศ่ นู ย์ดำ� รงธรรมกรมทีด่ นิ กระทรวงมหาดไทย ยอมรับว่ามี การทุ จ ริ ต ในส� ำ นั ก งานที่ ดิ น จริ ง ทั้ ง ขั้ น ต อ น ก า ร เ ดิ น เ อ ก ส า ร การรังวัด การโอนกรรมสิทธิ์ แต่เป็น ส่วนน้อย เมือ่ มีการร้องเรียนมาส่วนกลาง ก็ได้เข้าไปจัดการ เช่น ทีจ่ งั หวัดชลบุรี “มีข้อจ�ำกัดเรื่องอุปกรณ์และ เจ้าหน้าทีร่ งั วัด บางเขตอาจต้องให้ ประชาชนรอ 5-6 เดือน จึงมองว่า เจ้าหน้าที่ดึงเรื่องเพื่อเรียกเงิน” นายฉัตรชัย กล่าว นายฉัตรชัย กล่าวด้วยว่า ปัจจุบนั ได้แก้ไขให้ประชาชนค�ำนวณภาษี

ชี้ ค� ำ น ว ณ ภ า ษี ย า ก ช่องว่างเรียกสินบน นายสั ง ศิ ต พิ ริ ย ะรั ง สรรค์ คณบดี วิ ท ยาลั ย นั ว ตกรรมสั ง คม มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า สาเหตุ ที่ พ บการทุ จ ริ ต จากการค� ำ นวณ ภาษี เ ป็ น จ� ำ นวนมาก เนื่ อ งจาก เป็ น เรื่ อ งซั บ ซ้ อ นกว่ า คนทั่ ว ไป จะค�ำนวณภาษีเองได้ โดยเฉพาะ การโอน จึ ง เป็ น ช่ อ งว่ า งให้ เ กิ ด สินบน นอกเหนือจากขัน้ ตอนต่าง ๆ ที่เจ้าหน้าที่ดึงเรื่องให้ช้า ระดับ หัวหน้าหน่วยงานก็มสี ว่ นรูเ้ ห็นด้วย แ จ ง เ ต รี ย ม ใ ช ้ ฐ า น ข้ อ มู ล ออนไลน์ แ ก้ รั บ สินบน นายประทีป กีรติเรขา อธิบดี ก ร ม ที่ ดิ น ก ล ่ า ว ย อ ม รั บ ว ่ า เจ้าหน้าที่มีโอกาสเรียกรับสินบน เพราะมีอ�ำนาจในการใช้ดุลพินิจ อนุมัติความสมบูรณ์ของเอกสาร ขณะเดี ย วกั น ประชาชนก็ ไ ม่ มี ความรูเ้ รือ่ งภาษี และระบบควบคุม เจ้าหน้าที่หละหลวม แต่ปัจจุบัน กรมที่ ดิ น ลดอ� ำ นาจเจ้ า หน้ า ที่ โดยเปิดเผยข้อมูลที่ดินผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ประชาชนสามารถ ตรวจสอบได้ทงั้ ราคาประเมิน ค่าภาษี ประจ�ำปี และค่าธรรมเนียมโอน และยั ง เปิ ด ให้ ส อบถามหรื อ

ร้ อ งทุ ก ข์ กั บ ศู น ย์ ด� ำ รงธรรม กรมที่ดินได้ 24 ชั่วโมง นายประที ป กล่ า วอี ก ว่ า ส�ำหรับปัญหารังวัดล่าช้า ได้เปลีย่ น นโยบายว่ า ต้ อ งท� ำ ให้ เ สร็ จ สิ้ น ภายใน 60 วัน หลังใช้นโยบายนี้ มา 1 ปี พบว่า คิวรังวัดเร็วขึ้นจาก เฉลี่ย 127 วัน เหลือเพียง 45 วัน มีเป้าหมายลดเหลือ 30 วัน และ เปลี่ ย นเครื่ อ งมื อ รั ง วั ด ให้ เ ชื่ อ ม ต่ อ กั บ ระบบดาวเที ย มเพื่ อ สร้ า ง ฐานข้ อ มู ล แผนที่ โ ฉนดที่ แ ม่ น ย� ำ มี ม าตรฐาน คาดว่ า จะท� ำ ระบบ เสร็จในปี 2562 ประชาชนไม่ตอ้ ง ขอยื่ น รั ง วั ด ระวั ง แนวเขตกั บ เจ้ า หน้ า ที่ อี ก ซึ่ ง ปิ ด โอกาส เจ้าหน้าที่เรียกรับสินบน

นวพร เรืองศรี อรณี รัตนวิโรจน์ ศศิวิมล หนองหาร พระจันทร์ เอี่ยมชื่น นิษณาต นิลทองค�ำ ภาพย์ตะวัล สุภานิธินันน์

ที่มา : กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย

ที่มา : รายงานคอร์รัปชันในระบบราชการไทย การสำ�รวจทัศนคติ ประสบการณ์ของหัวหน้าครัวเรือนปี 2557

25/1/2561 11:29:46


22 | ลูกศิลป์

สารคดีเชิงข่าว

ก่อนโลมาจางหายใต้คลืน ่ ตูม ้ ! เสียงวัตถุขนาดใหญ่กระทบน�ำ้ ดังกึกก้อง พร้อมเสียงปรบมือของผู้ชมหลากหลายวัย บนอัฒจันทร์ หลายคนยกกล้องขึน้ มาบันทึก ความน่ารักของสิ่งมีชีวิตที่ก�ำลังแหวกว่าย ใช้ ค รี บ สี เ ทาข้ า งล� ำ ตั ว พยุ ง ลู ก บอลให้ ลอยเหนือน�้ำ ก่อนจะใช้หางฟาดลูกบอลสี สดใสให้กระเด็นเข้าประตูไปอย่างช�ำนาญ “ยิงเข้าประตูไปแล้วค่า” พิธกี รริมสระน�ำ้ บรรยายด้วยน�ำ้ เสียงตืน่ เต้น เรียกเสียงโห่ร้องราวกับนักฟุตบอลทีมโปรด ยิงลูกโทษเข้าประตู “โลมาเป็นสัตว์ทฉี่ ลาดพอ ๆ กับเด็กเล็ก เราสามารถฝึกการแสดงให้โลมาได้ตงั้ แต่อายุ 1 ขวบครึง่ ” สุขลี ดวงกระจาย หรือ ครูถัง วัย 46 ปี ผู้ฝึกซ้อมโลมาเพื่อแสดงประจ�ำ พัทยา ดอลฟิน เวิลด์ บรรยายถึงความปราดเปรือ่ ง ของสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนมชนิดนี้ ครูถงั เล่าอีกว่า ปัจจุบนั พัทยา ดอลฟิน เวิลด์ มีโลมาทัง้ หมด 5 ตัว ทัง้ หมดนีถ้ กู ฝึกให้แสดง โดยใช้เสียง สัญญาณมือ รวมถึงใช้ปลาข้างเหลือง ทีส่ งั่ จากแม่คา้ มาเป็นอาหารเพือ่ หลอกล่อให้ นักเรียนโลมาปฏิบตั ติ าม “บางที เ ราก็ จ� ำ เป็ น ต้ อ งงดให้ อ าหาร เพื่อให้โลมาเรียนรู้ว่าต้องแสดง จึงจะได้รับ รางวั ล และหากตั ว ใดมี อ าการผิ ด ปกติ จะตรวจดูทนั ทีวา่ ป่วยหรือไม่” ความเฉลียวฉลาดของโลมาถูกถ่ายทอด ผ่านการแสดงหลากรูปแบบตลอดการแสดง กว่า 45 นาที อาทิ กระโดดลอดห่วง พ่นน�ำ้ ตามจังหวะเพลง ร�ำวงรอบครูฝกึ เมื่ อ การแสดงจบลง โลมานั ก แสดง ยั ง ต ้ อ ง น อ น ร อ คิ ว ใ ห ้ ผู ้ ช ม ต ่ อ คิ ว

LAYOUT.indd 24

มาสัมผัสเนื้อตัวและถ่ายรูปคู่บนเบาะ หรือ เตรียมว่ายน�้ำ และด�ำน�้ำร่วมกับผู้ชมที่ซ้ือ โปรแกรม ซึ่งมีราคาแตกต่างกันแล้วแต่แห่ง โดยดอลฟินส์ เบย์ ภูเก็ต ก�ำหนดราคาอยู่ที่ 10 นาที 3,500 บาท ส�ำหรับคนไทย และ 5,000 บาท ส�ำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ซึ่ ง เป็ น ราคาที่ ข ยั บ ขึ้ น มาหลั ง จากได้ รั บ ความนิยมจากผูช้ มมากขึน้ การเติบโตทางธุรกิจท�ำให้ปัจจุบันไทย มี ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ เ ปิ ด แสดงโชว์ โ ลมา ถึง 4 แห่ง คือ โอเอซิส ซีเวิลด์ จันทบุรี, พัทยา ดอลฟิน เวิลด์, ซาฟารีเวิลด์ และ ดอลฟินส์ เบย์ ภูเก็ต เหตุการณ์ดงั กล่าวสวนทางกับข้อเท็จจริง ที่ ว ่ า โลมาเป็ น สั ต ว์ ท ะเลหายากและ ใกล้สญ ู พันธุท์ มี่ แี นวโน้มลดลง และเป็นหนึง่ ในสัตว์คมุ้ ครองตามพระราชบัญญัตสิ งวนและ คุม้ ครองสัตว์ปา่ พ.ศ. 2535 รายงานวิจัยประชากรโลมาหลังโหนก บริเวณชายฝัง่ ขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ของนุชจรีย์ อุน่ ดี ปี 2556 ระบุวา่ ภัยคุกคาม โลมาทั่ ว โลกมี ห ลายปั จ จั ย โดยเฉพาะ การจับปลาเชิงพาณิชย์ที่ท�ำให้โลมาติดอวน โดยบังเอิญ จนพิการ ส�ำลักน�้ำ หรือตาย การประมงเกินขนาดท�ำให้อาหารโลมาลดลง การจับเป็นเพือ่ ใช้ในการแสดง ส่งผลให้โลมา ถูกแยกจากกลุ่ม มีช่วงชีวิตสั้นลง หรือเกิด การบาดเจ็ บ จ� ำ นวนมากจากการล้ อ มจั บ โลมาตั ว เดี ย ว การพั ฒ นาพื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง เพือ่ ใช้ประโยชน์ เช่น การสร้างท่าเรือ โรงงาน อุ ต สาหกรรมท� ำ ให้ เ กิ ด การสะสมสารพิ ษ ตะกั่ว ปรอท แคดเมียมตามอวัยวะภายใน รวมถึงการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่งที่ท�ำให้

เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมชายฝั่ง และก่อให้เกิดความเสือ่ มโทรมของแหล่งอาหาร ตลอดจนการรบกวนจากมนุษย์ในรูปแบบอืน่ ๆ เช่น ถูกเรือเฉี่ยวชน การขุดเจาะใต้ทะเล ซึง่ รบกวนประสาทรับรูก้ ารน�ำทาง จนน�ำมาสู่ การเกยตืน้ ของฝูง สอดคล้ อ งกั บ รายงานสถานภาพ สัตว์ทะเลหายาก พ.ศ. 2560 ของสถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝัง่ ทะเล และป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝัง่ ทีร่ ายงานว่า เคยมีกรณีโลมาอิรวิดี มากกว่า 16 ตัว ว่ายน�้ำเข้ามาติดแนวไม้ไผ่ ชายฝัง่ เนือ่ งจากการน�ำทางผิดพลาด

ถึง 19 ตัว ทั้งนี้ เครื่องมือประมงที่อันตราย ต่ อ ชี วิ ต โลมามากที่ สุ ด คื อ อวนลาก ทีเ่ รือประมงพาณิชย์ใช้นนั่ เอง ณัฐวุฒิ แซ่อย่ ุ หรือ โอม ชาวประมงพืน้ บ้าน อ่าวแขวงเภา อ�ำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช วัย 27 ปี อธิบายว่า อวนลากคล้ายถุงขนาดใหญ่ เ รื อ จ ะ ล า ก อ ว น เ ป ็ น ร ะ ย ะ ท า ง หลายสิบกิโลเมตร นานนับชัว่ โมง ลากตัง้ แต่ พืน้ ทะเลไปจนถึงผิวน�ำ้ “โดยธรรมชาติโลมาว่ายอยู่ผิวน�้ำและ หายใจทุก 40-50 วินาที เมื่อโดนลากไป กับอวน ขึ้ น มาหายใจไม่ ไ ด้ ก็ จ ะส� ำ ลั ก จ ม น�้ ำ ต า ย พ อ เ รื อ ป ร ะ ม ง กู ้ อ ว น แล้ ว เห็ น โลมาติ ด ขึ้ น มา โลมาที่‘จมน�้ำ’ “เมื่อเห็นโลมาขึ้นมา โลมาจะเป็ น ตั ว แรกที่ ถู ก “เดือนธันวาคมปีทผี่ า่ นมา โยนทิง้ เพราะผิดกฎหมาย บนผิวน�้ำ เรือทุกล�ำจะ โลมาเกยตื้ น ตายที่ ข นอม จะรูก้ ต็ อ่ เมือ่ ซากโลมาเกยตืน้ เข้ า ไปล้ อ มโลมาทุ ก ทิ ศ ถึ ง 4 ตั ว ในช่ ว งพายุ ล ง เจ้ า หน้ า ที่ ก็ จั บ ใครไม่ ไ ด้ พอผ่าพิสูจน์ซาก เลยรู้ว่า บ า ง ล� ำ ไ ล ่ ก ว ด ต า ม เพราะไม่รวู้ า่ ใครท�ำ” ตายจากเครื่องมือประมง โลมาอาจตื่นตกใจ และ โอม ขยายความต่อไปว่า ทั้ ง หมด” สั น ติ นิ ล วั ฒ น์ อ ว น ล า ก แ ล ะ อ ว น รุ น นักวิชาการประมงช�ำนาญ บาดเจ็บจากใบพัดเรือ เป็นเครื่องมือประมงที่ผิด การพิ เ ศษ ศู น ย์ วิ จั ย และ หรือถูกเรือเฉีย ่ วชน ...” กฎหมายว่าด้วยการต่อต้าน พัฒนาทรัพยากรทางทะเล การท�ำประมงทีผ่ ดิ กฎหมาย และชายฝัง่ อ่าวไทยตอนล่าง กล่าว ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (Illegal, เขา อธิบายว่า การเสียชีวิตของโลมา Unreported and Unregulated Fishร้อยละ 30 มีสาเหตุจากเครื่องมือประมง ing หรื อ IUU) ของคณะกรรมาธิ ก าร ซากโลมาส่วนใหญ่มบี าดแผลจากการติดอวน ยุ โ รปที่บังคับใช้ตั้งแต่ป ี 2553 เพราะจั บ ถูกของมีคมบาด ท�ำให้แผลติดเชื้อเสียชีวิต สั ต ว์ น�้ ำ ขึ้ น มาทุ ก ขนาด จึ ง เป็ น ภั ย ต่ อ บางครั้งพบเศษอวนในท้อง ปากเป็นแผล ระบบนิ เ วศหากไทยยั ง ปล่ อ ยให้ เ รื อ ใหญ่ เหวอะหวะ เพราะโลมาจะกัดอวนขึ้นมา ใช้จบั สัตว์นำ�้ ท�ำให้ชาวประมงชายฝัง่ ร่วมมือกับ หายใจ โดยในปี 2559 พบโลมาเกยตืน้ มาก ชมรมพิ ทั ก ษ์ ท รั พ ยากรทางทะเลและ ที่สุดถึง 42 ตัว เป็นโลมาหลังโหนกสีชมพู ชายฝั ่ ง ขนอม สร้ า งแนวปะการั ง เที ย ม

25/1/2561 11:29:49


สารคดีเชิงข่าว

ทั่วทั้งอ่าวจังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อมิให้ เรือพาณิชย์เข้ามาลากอวนบริเวณชายฝั่ง ทีโ่ ลมาใช้หากิน และสร้างแหล่งอนุบาลสัตว์นำ�้ ขนาดเล็ก เมือ่ บริเวณชายฝัง่ มีความอุดมสมบูรณ์ โลมาก็จะไม่ออกไปหากินย่านน�้ำลึก ซึ่งเป็น เขตลากอวนของเรือใหญ่ “ปกติโลมาจะหากินไม่เกิน 5 กิโลเมตร จากฝัง่ จุดทีพ่ บโลมาบ่อย ลึกเพียง 1-4 เมตร เพราะอาหารเขาอยูต่ รงนัน้ พอวางปะการังเทียม ใกล้ ฝ ั ่ ง เรื อ ใหญ่ เ ข้ า มาลากอวนไม่ ไ ด้ ติดปะการัง แต่พอหน้ามรสุม พฤศจิกายน ถึงเมษายน คลืน่ ลมแรง โลมาจะไม่วา่ ยโต้คลืน่ มาหากินใกล้ฝง่ั จะหากินในทะเลแทน จึงมี โอกาสติดอวนอีก เพราะเรือใหญ่ยังออกได้ นอกจากคลืน่ สูงเกิน 3 เมตร เรือใหญ่ออกไม่ได้ โลมาจึงปลอดภัย” ปัจจุบันศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั ่ ง อ่ า วไทยตอนล่ า ง ประมาณว่า มีโลมาหลังโหนกสีชมพูจ�ำนวน 45 ตั ว หากิ น และอาศั ย เป็ น วงกว้ า ง ตั้งแต่หมู่เกาะอ่างทอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จนถึงอ่าวนางก�ำ จังหวัดนครศรีธรรมราช การคุม้ ครองโลมาจึงไม่งา่ ยนัก วชิรพงษ์ สกุลรัตน์ ประธานชมรมพิทกั ษ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ขนอม กล่าวว่า ปะการั ง เที ย มช่ ว ยชี วิ ต โลมาทางอ้ อ ม แต่การปกป้องโลมาให้ได้ผลดียิ่งขึ้นจ�ำต้อง อาศัยข้อก�ำหนดการท�ำประมงร่วมอีกแรง เพือ่ ให้เกิดผลบังคับเชิงกฎหมาย “โลมาเป็ น ดั ช นี ชี้ ค วามสมบู ร ณ์ ข อง ระบบนิเวศชายฝัง่ เพราะเป็นผูล้ า่ อันดับต้น ของห่วงโซ่อาหาร ถ้าเพิ่มจ�ำนวนแสดงว่า ระบบนิเวศสมบูรณ์ เราจึงเสนอกรมประมง

LAYOUT.indd 25

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 | 23

“ฝูงโลมาบอกชาวประมงว่าฝูงปลาอยูไ่ หน ถ้าเห็นโลมาว่ายใกล้ฝง่ ั ผิดปกติ พรุง่ นีค้ ลืน่ จะแรง พายุจะมา” โอม ชาวประมงอ่าวแขวงเภา เล่าถึงประสบการณ์ทเี่ ห็นโลมามากว่า 20 ปี อร ทองค�ำ หญิงวัย 64 ปี ซึง่ ยึดอาชีพ ประมงพืน้ บ้านและท�ำกระชังปลากลางทะเล อ่าวเตล็ดมา 18 ปี เล่ายิ้ม ๆ ว่า เห็นโลมา แทบทุกเช้า เว้นแต่หน้ามรสุม “ทุกเก้าโมง โลมาจะขึน้ ตรงทีฝ่ งู ปลากระบอกขึน้ หลั ง จากนั้ น จะไปขโมยกิ น ปลากระบอก ในอวนที่วางไว้หลังเกาะ รู้เพราะเหลือแต่ ให้ก�ำหนดแนวเขตห้ามท�ำประมงพาณิชย์ หัวปลาติดตาข่าย โลมาเอาตัวไปหมดแล้ว จากเดิมต้องห่างจากฝั่ง 3,000 เมตร เป็น พอเราออกเรือ ตอนจะปลดอวน เขาจะว่าย 5,400 เมตร เพราะเป็นบริเวณที่สัตว์ทะเล ตามมา เราก็โยนปลาให้กนิ พอหมด เขาก็ไป วางไข่ หากเรือใหญ่เข้ามาจะต้องถูกด�ำเนินคดี” ปลาพวกนี้เราไม่ได้ขาย เอามาเลี้ยงปลา ในกระชัง” เกรี ย งไกร บุ ญ แก้ ว ประธานชุ ม ชน จากเนวิเกเตอร์สู่สัญลักษณ์ อ่าวแขวงเภา เล่าเสริมถึงวิถชี วี ติ ของชาวประมง ท่องเที่ยว ย้อนกลับไปปี 2547 กรมทรัพยากรทางทะเลฯ กับโลมาว่า โลมาชอบว่ายมาฉีกอวน ท�ำให้ ลงพื้ น ที่ ส� ำ รวจว่ า เหตุ ใ ดโลมาจึ ง อาศั ย ตั ว มั น ติ ด อวนไปด้ ว ย ดั ง นั้ น ชาวประมง อยู่ที่ขนอมมากกว่าที่อื่นในอ่าวไทย พบว่า จึงเลือกสาวอวนจากด้านหน้าแทน และปลด อ่าวท้องเนียนเป็นแหล่งอาหารที่มีปลาเล็ก ปลาทีไ่ ม่ตอ้ งการจากอวน โยนไปท้ายเรือให้ ชุกชุม ส่วนอ่าวขนอมมีความหลากหลาย โลมากิน ความสัมพันธ์ระหว่างโลมากับชาวประมง ทางทรัพยากรชีวภาพสูงมาก ภาพโลมากระโดดเหนื อ คลื่ น จึ ง เป็ น เริ่มเปลี่ยนแปลง หลังจากโลมาสีชมพูเป็น ภาพทีช่ าวประมงพืน้ บ้านขนอมเห็นจนชินตา สัญลักษณ์การท่องเที่ยว เกิดทัวร์ชมโลมา

กลุม่ ชุมชนชายฝัง่ ทะเล ซึง่ ท�ำประมงพืน้ บ้าน อยู่ก่อนแล้ว น�ำเรือมารับนักท่องเที่ยวชม โลมาจนกลายเป็นรายได้หลัก ทัง้ นี้ งานวิจยั เรื่องการประเมินมูลค่าของโลมาสีชมพูทาง เศรษฐศาสตร์ และการปรับตัวของประชาชน จากกิจกรรมการท่องเทีย่ วของ วรานันต์ ตันติเวทย์ ปี 2554 พบว่า มูลค่าด้านนันทนาการของ โลมาสีชมพูที่ขนอมเฉพาะในปี พ.ศ. 2553 มีมลู ค่าสูงถึง 255,679,600 บาท ค�ำกล่าวทีว่ า่ โลมาสีชมพูทำ� ให้อตุ สาหกรรมการท่องเทีย่ ว อ�ำเภอขนอมคึกคักจึงไม่เกินจริง ความคาดหวังว่าต้องเห็นโลมาสีชมพู เมื่อซื้อทัวร์ออกทะเล ท�ำให้ผู้ให้บริการงัด กลยุทธ์ต่าง ๆ ขึ้นมา จนเป็นภัยต่อโลมา โดยไม่คาดคิด สุจิตร บางข่า หนึ่งในกรรมการชุมชน อ่าวแหลมประทับ เล่าว่า เมื่อนักท่องเที่ยว เข้ า มาชมโลมามากขึ้ น เรื่ อ ย ๆ ก็ เ ริ่ ม เกิ ด การแก่งแย่งดูโลมา “เมือ่ เห็นโลมาขึน้ มาบนผิวน�ำ้ เรือทุกล�ำ จะเข้าไปล้อมโลมาทุกทิศ บางล�ำไล่กวดตาม โลมาอาจตืน่ ตกใจ และบาดเจ็บจากใบพัดเรือ หรือถูกเรือเฉีย่ วชน เมือ่ ก่อนเราให้นกั ท่องเทีย่ ว ให้อาหารโลมา แต่ปที ผี่ า่ นมาโลมาตายเยอะ กรมทรัพยากรฯ จึงขอความร่วมมืองดให้ อาหารเด็ดขาด เพราะปลาที่ซื้อจากตลาด ฉีดสารฟอร์มาลิน สมัยก่อนป้าใกล้ชดิ โลมามาก ยังเคยจับตัวมันเลย ให้ปลาแล้วก็ลบู ปากมัน ตัวเชื่อง ๆ ชื่อโทน ฉลาด คนชอบเยอะ เป็ น ตั ว เรี ย กนั ก ท่ อ งเที่ ย ว แต่ ป ่ ว ยตาย คนก็เสียดายกัน” วชิรพงษ์ ประธานชมรมพิทกั ษ์ทรัพยากร ทางทะเลและชายฝัง่ ขนอม กล่าวเพิม่ เติมว่า เมือ่ เกิดปัญหาดังกล่าว ชมรมจึงวางแนวทาง ชมโลมาทีเ่ หมาะสมขึน้ มา “ตอนนีม้ ที า่ เทียบเรือน�ำชมโลมาอยู่ 5 แห่ง คือ ชุมชนรักบ้านเกิดอ่าวแขวงเภา อ่าวท้องโหนด กลุ ่ ม ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ บ ้ า นเขาออก บ้านแหลมประทับ และอ่าวเตล็ด ทัง้ หมดนี้ เราขอความร่วมมือให้จัดอบรมว่าแนวทาง การชมโลมาทีไ่ ม่เป็นภัยต่อโลมาเป็นอย่างไร

เส้นทางทำกิน ของโลมา

หมูเกาะ อางทอง

หมูเกาะอางทอง - ขนอม ระยะ 30 - 40 กม.

สแกนเพื่อรับชมคลิป

โมชั่นกราฟิก

อาวทองเนียน

แหลงอาหารยาว 235 กม.

อวนรุน -

วิธีปองกันโลมา จากเครื่องมือประมง

อวนลาก ภัยคุกคาม โลมาสีชมพู

อาวทองเนียน

อ. ขนอม นครศรีธรรมราช

ขยายแนวเขตอนุรักษชายฝง จาก 3,000 เมตร เพิ่มเปน 5,400 เมตร ทำแนวปะการังเทียม ปองกันโลมาไมใหไปหากินแถวน้ำลึก

25/1/2561 11:29:54


24 | ลูกศิลป์

สารคดีเชิงข่าว

“เชื่ อ ผมเหอะ ถ้ า เราไม่ ช ่ ว ยกั น ดู แ ล รักษาไว้ วันหนึง ่ โลมาก็ตอ ้ งหมดไป...”

เช่น ห้ามจับตัวโลมา เพราะจะติดเชือ้ โรค จากคนจนป่วยตายได้ ห้ามขับเรือเข้าใกล้ เกินกว่ากีเ่ มตร” อย่างไรก็ตาม จากการสอบถามพนักงาน บริษทั ขนอมทัวร์ พบว่า พนักงานให้ขอ้ มูลว่า นักท่องเทีย่ วสามารถสัมผัสโลมาได้อย่างใกล้ชดิ หากมั น ว่ า ยอยู ่ ข ้ า งเรื อ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า การขอความร่ ว มมื อ จากผู ้ ป ระกอบการ ยังไม่ได้ผลร้อยเปอร์เซ็นต์ ต้องอาศัยนักท่องเทีย่ ว เป็ น หู เ ป็ น ตาและแจ้ ง ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ท ราบ เพื่อตักเตือน เมื่อพบเห็นพฤติกรรมที่เป็น อันตรายต่อโลมา ความฉลาดเป็นภัยจึงโดนล่า การสร้ า งแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ ชู โ ลมา เป็ น จุ ด ขาย ท� ำ ให้ มี ค นบางกลุ ่ ม มองเห็ น โอกาสในการล่ า โลมาเพื่ อ น� ำ ไปฝึ ก และ จัดแสดง “ตอนประมาณ 10 ขวบ ออกเรือไปกับพ่อ เห็นเรือ 4-5 ล�ำ ก�ำลังล้อมจับโลมาตัวเล็กอยู่ ขอให้เขาปล่อย แต่เขาไม่ยอม เลยโทรแจ้งเจ้าหน้าที่ ตอนนั้ น เขาก� ำ ลั ง เอาตาข่ า ยจั บ โลมา ยกใส่ผ้าใบบนเรือที่ท�ำเป็นกระชังไว้ โชคดีที่ ทหารเรือมาพอดี ถ้ามาช้ากว่านัน้ ก็คงไม่ทนั ” โอม ย้ อ นความทรงจ� ำ วั ย เด็ ก ที่ ไ ด้ เ ห็ น การล้อมจับโลมาครัง้ แรก เช่นเดียวกับ สวัสดิ์ แก้วรัชพันธ์ หรือ ตาหวัด ชาวประมงผูใ้ ช้ชวี ติ อยูก่ ลางทะเลติดเขาคลองถ�ำ้ ตาหวัด เล่าให้ฟงั ว่า เคยมีเพือ่ นจ้างให้ลอ้ มจับ โลมาเพื่ อ เอาไปไว้ ที่ ส วนสั ต ว์ แ ห่ ง หนึ่ ง

LAYOUT.indd 26

บนเกาะสมุย แต่ตนปฏิเสธ จึงไปจ้างคนอืน่ ซึ่งคนนั้นไปแจ้งผู้ใหญ่บ้าน ท�ำให้เจ้าหน้าที่ ตามไปน�ำโลมาคืนสูท่ ะเลได้สำ� เร็จ ด้าน วีรพงษ์ เหล่าเวชประสิทธิ์ หรือ หมอแม็ค นายสัตวแพทย์ประจ�ำศูนย์วจิ ยั ทรัพยากรและ ชายฝัง่ ทะเลแห่งที่ 1 ภาคตะวันออก ให้ขอ้ มูลว่า เ มื่ อ ป ี ที่ แ ล ้ ว พ บ หั ว โ ล ม า ถู ก ตั ด ที่ จั ง หวั ด ตราด คาดว่ า เกิ ด จากการล่ า เพราะมักจะมีการล่าเกิดขึน้ ในจังหวัดรอยต่อ ไทยกั บ เพื่ อ นบ้ า นมากกว่ า พื้ น ที่ อื่ น แต่ ก็ ไม่ได้พบบ่อย “การล่าโลมามาไว้ในสวนสัตว์ไม่สามารถ ตอบได้วา่ มีจริงหรือไม่ สัตวแพทย์ของศูนย์ฯ จะตรวจสอบสาเหตุการตายของโลมาเมื่อมี การแจ้งเข้ามา ถ้าไม่มสี วนสัตว์แจ้งเข้ามาว่า มีการตาย เราก็ไม่สามารถทราบได้ โดยปกติ สวนสัตว์ต้องแจ้งว่ามีการเกิดกี่ตัว ตายกี่ตัว ซึง่ เขาอาจจะเขียนขึน้ มาเองก็ได้ เราก็ไม่ร”ู้ หมอแม็ค ให้ขอ้ มูลต่อไปว่า สัตว์ทอี่ ยูใ่ น ครอบครองของสวนสัตว์จะอยูภ่ ายใต้ พ.ร.บ. คุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืช พ.ศ. 2535 ในกรณีโลมา กรมประมงจะเข้าไปตรวจว่า สวนสัตว์ปฏิบตั ติ ามระเบียบข้อบังคับหรือไม่ เช่ น การเลี้ ย งดู คุ ณ ภาพน�้ ำ หรื อ บ่ อ น�้ ำ ตรงตามมาตรฐานหรือไม่ แต่สวนสัตว์ต้อง สามารถดูแลสัตว์ภายใต้การครอบครองได้เอง ดั ง นั้ น สวนสั ต ว์ จึ ง ต้ อ งมี สั ต วแพทย์ ข อ ง ต น ซึ่ ง ที่ ผ ่ า น ม า ก็ ดี ห ม ด แ ต ่ รู ้ ม า ว ่ า มี อี ก 2 แ ห ่ ง ที่ ยั ง ไ ม ่ ได ้ ม า ต ร ฐา น

ด้าน สัตวแพทย์หญิงปิยรัตน์ คุ้มรักษา สัตวแพทย์ประจ�ำพัทยา ดอลฟิน เวิลด์ กล่าวว่า บ่อที่จัดแสดงโลมามี 2 ด้าน คือ ด้านหน้า ซึง่ เป็นโซนเวทีจดั แสดง และด้านหลัง ซึง่ เป็น ส่วนที่ผู้ชมสามารถลงไปว่ายน�้ำกับโลมาได้ ทัง้ สองส่วนมีความจุเท่ากัน คือ 30,000 ลิตร “ถ้าโลมาท�ำถูกจะได้กนิ ท�ำดีกไ็ ด้กนิ มาก แ ต ่ ไ ม ่ มี ก า ร ล ง โ ท ษ ห รื อ ตี เ ด็ ด ข า ด การให้อาหารจะแบ่งเป็น 5 มือ้ ต่อวัน เฉลีย่ วันละ 3–4 กิโลกรัม ตามรอบการแสดงโชว์ ในแต่ละวัน โลมาทีฝ่ กึ เป็นโลมาทีโ่ ตเต็มวัยขึน้ ไป คือ 7 ปี ส่วนโลมาที่โตเกินไปต้องดูสภาพ ร่างกายว่ายังแข็งแรงหรือไม่ ถ้าไม่ไหวก็ปลด ส่วนโลมาที่ป่วยส่วนใหญ่มาจากการกัดกัน ไม่คอ่ ยป่วยเรือ้ รัง เพราะตรวจสุขภาพทุกวัน” อย่างไรก็ตาม หลายประเทศมีการรณรงค์ ต่อต้านการโชว์โลมา เนื่องจากการกักขัง โลมาไว้ในสระน�้ำนั้นผิดธรรมชาติของโลมา ที่ ส ามารถว่ า ยน�้ ำ ในมหาสมุ ท รได้ ไ กลถึ ง 100 ไมล์ตอ่ วัน ส่ ว นในไทย ภู เ ก็ ต นิ ว ส์ รายงานว่ า กลุ่มอนุรักษ์ Sea Shepherd ซึ่งต่อต้าน การล่าวาฬ โลมาทัว่ โลกได้เขียนจดหมายถึง กรมประมงและการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย เรี ย กร้ อ งไม่ ใ ห้ มี ก ารแสดงโลมาที่ ภู เ ก็ ต เนื่องจากโลมาที่น�ำมาแสดง บางตัวถูกจับ โดยชาวประมงเมื อ งไทจิ ประเทศญี่ ปุ ่ น ซึ่ ง ขึ้ น ชื่ อ เรื่ อ งการฆ่ า โลมาจ� ำ นวนมาก ทว่าสุดท้าย ดอลฟินส์ เบย์ ภูเก็ต ก็ได้รบั อนุญาต ให้เปิดการแสดงอย่างถูกต้อง

ความเชื่ อ ว่ า เนื้ อ โลมาดี ต ่ อ สุ ข ภาพ เป็นอีกหนึ่งภัยคุกคามโลมา โดยพบพ่อค้า น�ำโลมามาแล่เนือ้ ขาย กิโลกรัมละ 400 บาท ที่ จั ง หวั ด ชุ ม พร ซึ่ ง วชิ ร พงษ์ กล่ า วว่ า เหตุการณ์นจี้ ะไม่เกิดให้เห็นและจับได้งา่ ย ๆ เพราะชาวประมงรูว้ า่ ผิดกฎหมาย ปกติจงึ ซือ้ ขาย กันในตลาดมืด ไม่วา่ จะเป็นเมือ่ ไร ความน่ารัก แสนรู้ และ เป็นมิตรของโลมา ก็เรียกความประทับใจ จากผูค้ นได้เสมอ เสน่หอ์ นั เหลือล้นนีเ้ อง น�ำมาซึง่ การผันเปลีย่ น ชุ ม ชนชายฝั ่ ง ให้ ก ลายเป็ น กลุ ่ ม น� ำ เที่ ย ว ล่องเรือออกชมโลมา จนเกิดการเที่ยวชม โลมาทีผ่ ดิ วิธี และการตามล่าโลมาเพือ่ น�ำไป ขายต่อ การท�ำประมงเชิงพาณิชย์ที่คุกคาม ชีวิตสัตว์น�้ำทุกชนิดทุกขนาด ไม่เว้นแม้แต่ โลมาทีแ่ หวกว่ายหากินอยูใ่ นท้องทะเล ภั ย คุ ก คามเหล่ า นี้ ล ้ ว นแต่ เ กิ ด ขึ้ น จาก น�้ำมือมนุษย์ แม้จะมีกลุ่มชาวบ้านที่ใช้ชีวิต แ บ ่ ง ป ั น พื้ น ที่ ห า อ ยู ่ ห า กิ น กั บ โ ล ม า พิทักษ์ปกป้องสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเหล่านี้ แต่หากขาดความร่วมมือจากหลายฝ่ายแล้ว การช่วยกันอนุรกั ษ์โลมา ย่อมเป็นภารกิจทีล่ ม้ เหลว เหมือนที่ ตาหวัด เปรยไว้วา่ “เชื่อผมเหอะ ถ้าเราไม่ช่วยกันดูแล รักษาไว้ วันหนึง่ โลมาก็ตอ้ งหมดไป” จิรัชญา ชัยชุมขุน สุดารัตน์ พรมสีใหม่ พัชรี พรกุลวัฒน์

25/1/2561 11:29:58


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.