หนังสือพิมพ์ลูกศิลป์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1

Page 1

สแกนเพื่ อ ชมเนื้ อ หาบนเว็ บ

สื่อสร้างสรรค์ น�ำสังคม ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 | 20 บาท

อ�ำนาจ (นิยม) ความสงบ

3 ฟาสต์ฟูดบ้า นจัดสรร ถมดินด่วนบ้านทรุด

23 ก่อน‘เกาะล้าน’หาย กลายเป็ น เพียงชื่อ...

ชองทาง

ผูสอนเลือกรายการ เสนอรายชื่อหนังสือผานคณะที่เกี่ยวของ ประสานขอใบเสนอราคา รายงานขอซื้อพรอมจัดทําใบสั่งซื้อ หนังสือใหครบทุกคน ฝายพัสดุพจิ ารณาจัดซื้อจากงบประมาณ ผูขายอยางนอย 3 ราย โดยพิจารณาจากผูเสนอราคาตํ่าสุด

ผูขายเขาหาครูผูสอนให เลือกหนังสือที่ตองการ สวนลดจากผูแทนจําหนายตามประกาศ กระทรวง เอกชน 20% 30% ราคากลาง

28 คนกินเสี่ยง! ผลิตเนื้อหมู ไร้มาตรฐาน

เพยเนื้อหมูไม่ได้มาตรฐาน ภัยเงียบทีผ ่ บ ู้ ริโภคไม่เคยรู้ อึง ้ ‘อย.’พบสารเร่งเนือ ้ แดง หน้าเขียงกว่า 1 ใน 3 แพทย์ เตื อ นกิ น มากอาจถึ ง ขั้ น เสียชีวต ิ พบโรงเชือดเถือ ่ น กว่า 600 โรงทั่วประเทศ อ่านต่อหน้า 12

เสี่ยงทุจริต จัดซื้อ หนังสือเรียน

ฝายบริหารล็อกสเปค ตัวแทนจําหนายผาน TOR เงินสวนแบงเปลี่ยนเปนเงินบริจาค 5 - 10% เชน ซื้อ 1,000,000 บาท ไดเงินสวนแบง 100,000 บาท

ตัวแทนจําหนายกอตั้งบริษัท ไมมีตัวตนเขารวมเสนอราคา วิธีสอบราคาของร.ร.แหงหนึ่งในกทม. งบประมาณ 1,526,767.75 บาท บริษัท ก. เสนอ 1,526,767.75 บาท x บริษัท ข. เสนอ 1,756,617.00 บาท x บริษัท ค. เสนอ 1,768,353.50 บาท

จัดซื้อจัดจาง ตามขั้นตอนปกติ แต! หลังสอบราคาไมมีสวนลด จากผูแทนจําหนายจริง 0%

ข้อมูลจาก: ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

พบพิ รุ ธ โรงเรี ย นในกทม.จงใจซื้ อ หนั ง สื อ เรี ย นแพงทั้ ง ที่ รั ฐ มี ห นั ง สื อ เวี ย นให้ ต ่ อ รองส่ ว นลด 20-30% เผยขบวนการร่วม‘ผู้ขาย-ครู’ล็อกสเปกเจาะจงชื่อผู้เขียนต�ำรา เงินส่วนลดเข้ากระเป๋า ครูหลักแสนบาท ด้านส�ำนักการศึกษา กทม.อ้างลงตรวจยังไม่พบเจตนาทุจริต อ่านต่อหน้า 2

วิ ก ฤตครู อ าชี ว ะ ขาดแคลนสะสมนั บ หมื่ น

15 ปี ‘บั ต รทอง’ ไม่ เ อื้ อ แรงงานนอกระบบเข้ า ถึ ง

แก้ขาดครูอาชีวะไม่ถก ู จุด มาตรการรัฐใช้

บริการสุขภาพ เหตุเงื่อนไขจ�ำกัด ย้ายสถานรักษา

ครูอัตราจ้างก่อปัญหาเพิ่ม ส่งผลยอด

พยาบาลได้ 4 ครั้งต่อปีไม่สอดคล้องวิถีการท�ำงาน

ขาดแคลนครูสะสมต่อเนือ ่ งกว่า 1.8 หมืน ่

แถมต้ อ งรอครึ่ ง เดื อ นกว่ า จะอนุ มั ติ สปสช.เผย

คน เหตุไร้อนาคตและความมัน ่ คงในอาชีพ

อนาคตอาจร่วมจ่ายเพือ ่ คุณภาพในการรักษาพยาบาล

แถมเงินเดือนไม่พอใช้ วิทยาลัยช่างอ้าง

อ่านต่อหน้า 27

เปิดสอบตามอัตรา

อ่านต่อหน้า 26

โทร. 02-431-2177

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 1

21/1/2560 16:37:24


2

| ลูกศิลป์

ข่าวเด่น

ต่ อ จากหน้ า 1 : ทุ จ ริ ต จั ด ซื้ อ แจ้งทีต่ งั้ ไว้ที่ 20/4 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลพันท้ายนรสิงห์ ไม่มีหน้าร้าน เป็นเพียงนายหน้าหาของจาก

ห นั ง สื อ พิ ม พ ์ ลู ก ศิ ล ป ์ ต ร ว จ ส อ บ สถานการณ์การจัดซือ้ หนังสือเรียนจากเว็บไซต์ กรมบัญชีกลาง ปี 2558 – 2559 ที่วงเงิน 2 แสน - 2 ล้านบาท จ�ำนวน 300 โรงเรียน ทัว่ ประเทศ พบพฤติการณ์นา่ สงสัยในเขตพื้นที่ กรุ ง เทพฯ โดยโรงเรี ย นจ� ำ นวน 58 แห่ง ของกรุงเทพฯ ที่เว็บไซต์แสดงผล มี เ พี ย ง 17 แห่งเท่านั้นที่จัดซื้อหนังสือเรียนต�่ำกว่ า ราคากลาง ร้อยละ 10 - 35 ส่วนอีก 41 แห่ง จัดซื้อต�ำราด้วยวิธีสอบราคา ในราคาเท่ากับ ราคากลางโดยไม่ ไ ด้ ส ่ ว นลด และมี บ ริ ษั ท กลุม่ หนึง่ เป็นคูเ่ ทียบการสอบราคาเสมอ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ระเบียบส�ำนักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2353 ข้อ 50 บัญญัติให้โรงเรียนสามารถจัดซื้อรอบใหม่ได้ หากพบว่าไม่มผี เู้ สนอราคาทีเ่ หมาะสม ขณะที่ เมื่อปี 2552 ส�ำนักการคณะกรรมการศึกษา ขั้ น พื้ น ฐาน (สพฐ.) ได้ มี ห นั ง สื อ เลขที่ ศธ.04002/ว725 แจ้ ง ไปยั ง ผู ้ อ� ำ นวยการ ส� ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ทุ ก เ ข ต ระบุแนวทางว่า แม้จะมีผู้เสนอราคารายต�่ำ สุดแล้ว แต่หากไม่มสี ว่ นลด ร้อยละ 20 โรงเรียน ก็ต้องต่อรองราคาให้ลดลง อย่างไรก็ดี ในรอบ ปีทผี่ า่ นมา ยังไม่ปรากฏว่า โรงเรียนในกรุงเทพฯ จัดซือ้ หนังสือเรียนใหม่ ตั ว อย่ า งเช่ น โรงเรี ย นแห่ ง หนึ่ ง ย่ า น หนองแขม ก�ำหนดราคากลาง 1,640,138 บาท เลือกซือ้ หนังสือเรียนจากบริษทั พัฒนาวิชาการ ไทยโนวเลดจ์ (พท.) จ�ำกัด ที่เสนอราคาเท่า งบประมาณของโรงเรียน ขณะที่ คู่เทียบคือ บริ ษั ท เพี ย รประเสริ ฐ จ� ำ กั ด เสนอราคา 1,756,617 บาท และบริษทั หนังสือ ดอท คอม เสนอราคา 1,768,353.50 บาท ซึ่งสูงกว่า ราคากลาง 116,479 บาท และ 128,215.50 บาท ตามล�ำดับ เช่ น เดี ย วกั บ โรงเรี ย นอี ก แห่ ง ในย่ า น มีนบุรี ก�ำหนดราคากลาง 1,526,767.75 บาท เลื อ กซื้ อ หนั ง สื อ เรี ย นจากบริ ษั ท สยามที ช เอ็ดดูเคชั่น (สท.) จ�ำกัด ที่เสนอราคาเท่า งบประมาณของโรงเรียน ขณะที่คู่เทียบคือ บริษทั สันติภาพวัสดุการศึกษา จ�ำกัด เสนอราคา 1,627,760.50 บาท และบริษทั หนังสือ ดอท คอม เสนอราคา 1,674,508.50 บาท สู ง กว่ า ราคากลาง 100,992.75 บาท และ 147,740.75 บาท ตามล�ำดับ

อ�ำเภอเมือง จังหวัสมุทรสาคร แต่เมือ่ ลงพืน้ ที่ กลับไม่พบบ้านเลขที่ดังกล่าว และชาวบ้าน บริเวณนัน้ ต่างปฏิเสธว่าไม่รจู้ กั บริษทั นี้ เช่นเดียวกับ บริษัท หนังสือ ดอท คอม จ�ำกัด จดทะเบียนเมือ่ วันที่ 13 มีนาคม 2558 มีผถู้ อื หุน้ คือ นายบุญส่ง ตัง้ คงสถิตย์ แจ้งทีต่ งั้ ไว้ ที่ 46/1505 หมูบ่ า้ นพฤกษา 3 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบล บางคูรัด อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี แต่เมือ่ ลงพืน้ ทีต่ รวจสอบพบว่า เป็นทาวน์เฮาส์ เมือ่ สอบถามเพือ่ นบ้านทราบว่า เป็นบ้านของ ข้าราชการทีเ่ กษียณแล้ว มิใช่บริษทั แต่อย่างใด

ก�ำหนดชื่อผู้แต่งเจาะจง ส่อกีดกัน ‘ส่องปิดส่องเปิด’ โค้ดลับโรงเรียน ผูกขาดส�ำนักพิมพ์ แข่งขันเสรี

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากการตรวจสอบ เอกสารประกอบการจั ด ซื้ อ ด้ ว ยวิ ธี ส อบ ราคา พบอีกว่า โรงเรียน 41 แห่งนี้ ก�ำหนด เจาะจงชื่อหนังสือและชื่อผู้แต่งอย่างชัดเจน ทั้ ง ที่ ก ่ อ นหน้ า นี้ ใ นเดื อ นกรกฎาคม 2551 คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง กระทรวง มหาดไทย สรุปผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีมีการร้องเรียนกล่าวหาองค์การบริหาร ส่ ว นจั ง หวั ด บางแห่ ง จั ด ซื้ อ หนั ง สื อ เรี ย น ส่อทุจริตว่า การก�ำหนดคุณลักษณะเฉพาะ ชื่อหนังสือ และชื่อผู้แต่งถือว่าเข้าข่ายกีดกัน ผู ้ ค ้ า ซึ่ ง มี ห นั ง สื อ อื่ น เข้ า ข่ า ยการสมยอม เสนอราคาหรือฮั้วประมูล ตามพ.ร.บ.ว่าด้วย ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงาน ของรัฐ พ.ศ. 2542 เผยเซลล์จา่ ยใต้โต๊ะครูหลักแสนบาท

ผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นมั ธ ยมในภาคกลาง แห่งหนึง่ เปิดเผยว่า รัฐบาลเคยแจ้งให้โรงเรียน ต่อรองลดราคาอย่างน้อย ร้อยละ 20 แต่ไม่ได้ ประกาศทุกปี ท�ำให้เมื่อขึ้นปีการศึกษาใหม่ โรงเรียนบางแห่งก็ไม่ยดึ ปฏิบตั ิ ผู ้ บ ริ ห ารคนเดิ ม กล่ า วต่ อ ว่ า วงใน ทราบกันดีว่า เอกชนสามารถให้ส่วนลดถึง ร้อยละ 25 - 30 จากราคากลาง ตัวแทนจ�ำหน่าย จะเสนอเงินส่วนลดให้กับครูหัวหน้ากลุ่มสาระ ร้อยละ 5 - 10 ต่อการจัดซือ้ เช่น จัดซือ้ 1 ล้านบาท ได้ 1 แสนบาท มีส่วนน้อยที่ถูกดัดแปลงเป็น เงินบริจาคเพื่อน�ำไปสนับสนุนกิจกรรมของ โรงเรียน “เงินส่วนแบ่งที่เสนอให้กับครู พบมาก ในโรงเรียนขนาดใหญ่ เพราะงบต่อหัวนักเรียน เฉพาะค่ า หนั ง สื อ เรี ย นก็ หั ว ละพั น แล้ ว พบคูเ่ ทียบเสนอราคาเป็นทีมเดียวกัน ถ้านักเรียนห้าหกพันคนก็คณ ู เข้าไป เป็นจ�ำนวน ผู้สื่อข่าวตรวจสอบหนังสือบริคณห์สนธิ มหาศาล” ผูบ้ ริหารคนเดิม กล่าว เว็ บ ไซต์ ก รมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า พบว่ า บริษัท พัฒนาวิชาการ ไทยโนวเลดจ์ (พท.) แฉผู้บริหารเรียกเงินใต้โต๊ะ-ร้านค้า และบริษทั สยามทีช เอ็ดดูเคชัน่ (สท.) จ�ำกัด สร้างคู่ประมูลปลอม ตัวแทนจ�ำหน่ายครุภณ ั ฑ์คนหนึง่ กล่าวว่า จดทะเบียนเมือ่ วันที่ 28 เมษายน 2558 มีผถู้ อื หุน้ คนเดียวกันคือ นายอภิชาติ โรจน์สาญรมย์ ส่ ว นมากผู ้ บ ริ ห ารจะเรี ย กรั บ ผลตอบแทน แจ้งทีต่ งั้ ไว้ทเี่ ขตดุสติ กรุงเทพฯ ซึง่ เป็นทีเ่ ดียวกับ โดยถามเป็นนัยว่า สามารถให้สว่ นลดได้เท่าไร ซึ่งจะตอบแทนเป็นเงินใต้โต๊ะหรือเงินบริจาค ส�ำนักพิมพ์พฒ ั นาวิชาการ (พว.) ขณะที่ บริ ษั ท เพี ย รประเสริ ฐ จ� ำ กั ด ช่วยเหลือกิจกรรมโรงเรียน “การจั ด ซื้ อ ราคาหลั ก ล้ า นขึ้ น ไปมั ก พบ และ บริษัท สันติภาพวัสดุการศึกษา จ�ำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2558 การฮั้วประมูล โดยจ้างผู้ขายอื่นมาร่วมเสนอ มีผถ้ ู อื หุน้ คนเดียวกันคือ นายสันติ หวังพระธรรม ราคาให้ครบ 3 รายตามระเบียบ ผูข้ ายบางเจ้า

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 2

ร้านค้าอื่นมาให้โรงเรียนและบวกเปอร์เซ็นต์ ให้กับผู้อ�ำนวยการ เพื่อให้โรงเรียนเลือกซื้อ กับร้านนี้ต่อไป” ตัวแทนจ�ำหน่ายคนดังกล่าว ระบุ นางลั ด ดา อ่ อ นลมู ล อดี ต เจ้ า หน้ า ที่ ศึ ก ษานิ เ ทศก์ ส� ำ นั ก เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เปิ ด เผยว่ า หลายครั้ ง เอกชนมีข้อเสนออื่นพ่วงกับต�ำราเรียน เช่น อุปกรณ์การเรียน หรือสิ่งก่อสร้าง เพื่อให้ โรงเรี ย นพิจารณาเลือกซื้อหนังสือเรียนของ ตัวแทนจ�ำหน่ายนัน้

ผูจ้ ดั การฝ่ายขาย ส�ำนักพิมพ์ชอื่ ดังแห่งหนึง่ ให้ข้อมูลว่า วงการผู้ขายสื่อสิ่งพิมพ์ จะเรียก ก า ร ป ร ะ ก ว ด ร า ค า ห นั ง สื อ เ รี ย น ว ่ า ‘ส่องปิดส่องเปิด’ โดยส่องเปิดเป็นการแข่งขัน เสรี แต่ ส ่ อ งปิ ด คื อ โรงเรี ย นมี ส� ำ นั ก พิ ม พ์ ในดวงใจอยูแ่ ล้ว เมือ่ ถามว่า หากมีสำ� นักพิมพ์ยนื่ เสนอราคา สูงกว่าราคากลางทีโ่ รงเรียนตัง้ ไว้ถอื ว่าผิดปกติ หรือไม่ ผูจ้ ดั การฝ่ายขาย กล่าวว่า “ส�ำนักพิมพ์ ต้องรู้งบของโรงเรียนอยู่แล้ว หากไม่รู้ไม่ต้อง มาเป็นเซลล์” เมือ่ ถามย�ำ้ ว่า บริษทั หนึง่ เสนอ เท่าราคากลางส่วนคู่เทียบเสนอสูงกว่าราคา กลางแสดงว่าล็อกกันไว้แล้ว ผูจ้ ดั การฝ่ายขาย กล่าวว่า “สะดวกตอบได้แค่น”ี้ นางอินทิรา บุนนาค นายกสมาคมผู้ผลิต และจ� ำ หน่ า ยสื่ อ เทคโนโลยี ท างการศึ ก ษา กล่าวว่า ปัจจุบันธุรกิจหนังสือเรียนเปิดกว้าง แต่ก็ไม่ได้เป็นการค้าเสรี เพราะบางโรงเรียน ยังจัดซื้อหนังสือเรียนตามค�ำสั่งของผู้บริหาร เขตการศึกษาหรือท้องถิน่ และเอกชนขนาดใหญ่ บางร้านให้บริษทั เครือข่ายของตนเองเป็นคูร่ ว่ ม แข่งขันเสนอราคา กทม.อ้างลงตรวจแล้วไม่พบเจตนา ทุจริต

ขณะที่ นายจรูญ มีธนาถาวร ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ชีแ้ จงว่า กรณี โรงเรียนจัดซื้อต�ำราเรียนเท่าราคากลางโดย ไม่ได้รบั ส่วนลด เป็นเรือ่ งปกติทเี่ กิดขึน้ ได้ เพราะ หลังจากรัฐจัดสรรงบประมาณให้และโรงเรียน จัดซือ้ ต�ำราไปแล้ว ภายหลังอาจรับนักเรียนเพิม่ ซึง่ ราคาจ�ำหน่าย ณ ขณะนัน้ ก็อาจเพิม่ ขึน้ ด้วย อย่างไรก็ตาม หากโรงเรียนเห็นว่า ราคาแพงเกินไป ก็ตอ้ งต่อรองราคาให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้ นายจรูญ กล่าวต่อว่า การจัดซือ้ ด้วยวิธกี าร สอบราคาจะไม่สามารถก�ำหนดชือ่ หนังสือหรือ ชือ่ ผูแ้ ต่งได้ เพราะเป็นการล็อกสเปค ก�ำหนด ได้แค่ชอื่ วิชาเรียนและเนือ้ หาทีต่ อ้ งมีในหนังสือ แต่ถ้าอยากได้เฉพาะเจาะจงก็ต้องจัดซื้อด้วย วิธพี เิ ศษ เมื่อถามว่า โรงเรียนในกรุงเทพฯ ที่ระบุ ชื่อผู้แต่งในเอกสารจัดซื้อ นายจรูญ กล่าวว่า ได้ ต รวจสอบแล้ ว แต่ ไ ม่ พ บเจตนาทุ จ ริ ต โดยกรุงเทพมหานครมีหน่วยงานเพือ่ ก�ำกับดูแล และตรวจสอบภายในตามระเบียบ

เปิดส่วนแบ่ง ตลาดหนังสือเรียน

ตลาดหนั ง สื อ เรี ย นชั้ น ป.1 ถึ ง ม.6 มี มู ล ค่ า รวม 6,000 ล้ า นบาทต่ อ ปี ซึ่ ง กว่ า จะถึ ง มื อ นั ก เรี ย น ก็ ผ ่ า นหลาย กระบวนการ ส่งต่อมูลค่ากันเป็นทอด ๆ สมาคมผูจ้ ดั พิมพ์และผูจ้ ำ� หน่ายหนังสือ แห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า องค์การค้าของ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ และสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (องค์การค้าของ สกสค.) มีสว่ นแบ่ง ประมาณ 2,000 ล้านบาท หรือคิดเป็น 1 ใน 3 ของ ทัง้ ระบบ ส่วนทีเ่ หลือเป็นของเอกชน โดยองค์การค้าของสกสค. จะจัดพิมพ์ และจ�ำหน่ายหนังสือเรียนของกระทรวง ศึกษาธิการใน 8 กลุ่มสาระ ประกอบด้วย 1.ภาษาไทย 2.วิทยาศาสตร์ 3.คณิตศาสตร์ 4.ภาษาต่างประเทศ 5.สุขศึกษาและพลศึกษา 6.สั ง คมศึ ก ษา ศาสนาและวั ฒ นธรรม 7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8.ศิลปะ ส่ ว นอี ก 4,000 ล้ า นบาท เป็ น ของ ส�ำนักพิมพ์เอกชน ทีม่ ปี ระมาณ 5 บริษทั ใหญ่ ในวงการค้าหนังสือเรียน โดยส�ำนักวิชาการ และมาตรฐานการศึ ก ษา กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร ได้ เ ปิ ด เผยรายชื่ อ คื อ 1.ส�ำนักพิมพ์ บริษทั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จ�ำกัด 2.บริษทั แม็คเอ็ดดูเคชัน่ จ�ำกัด 3.บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ำกัด 4.บริษทั ส�ำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จ�ำกัด และ 5.บริษทั พัฒนาวิชาการ (2535) จ�ำกัด การส่งต่อหนังสือตามโครงสร้างตลาด เริ่ ม จาก ผู ้ ค ้ า รายใหญ่ รั บ หนั ง สื อ เรี ย น ของทั้ ง องค์ ก ารค้ า ของสกสค. และ ส� ำ นั ก พิ ม พ์ เ อกชนไป โดยองค์ ก าร ค้ า ของสกสค. จะส่ ง หนั ง สื อ ให้ ผู ้ ค ้ า รายใหญ่ (มูลค่ากว่า 2,000 ล้านบาท) ส่วนส�ำนักพิมพ์เอกชนจะส่งนังสือให้ผู้ค้า รายใหญ่ ร้อยละ 70 (มูลค่า 2,800 ล้านบาท) ที่เหลือ ร้ อ ยละ 30 (มู ล ค่ า รวม 1,200 ล้านบาท) จะส่งให้รา้ นค้ารายย่อยจังหวัด ด้านมูลค่าเงินส่วนลด ผูค้ า้ รายใหญ่จะได้ จากส�ำนักพิมพ์เอกชน ร้อยละ 40 จากราคา หน้าปก ส่วนองค์การค้าของสกสค. ได้รับ ร้อยละ 25 - 26 จากราคาหน้าปก หลังจากนัน้ ผู้ค้ารายใหญ่จะน�ำหนังสือขององค์การค้า และเอกชนมาจัดชุดเพื่อขายส่งให้ร้านค้า รายย่อยในแต่ละจังหวัด ร้านค้ารายย่อย ในจังหวัดก็สง่ ต่อให้รา้ นค้ารายย่อยในอ�ำเภอ ก่อนส่งต่อให้รา้ นค้ารายย่อยในต�ำบล จากนัน้ จะส่งต่อให้โรงเรียนทีม่ กี ว่า 35,000 โรงเรียน ในท้ายทีส่ ดุ กัลยกร ทองเต็ม ปุญญิศา ค�ำนนสิงห์ รติมา เงินกร วุฒพ ิ งษ์ วงษ์ชย ั วัฒนกุล อริสรา นนศิริ

21/1/2560 16:37:26


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สัมภาษณ์พเิ ศษ

3

อ�ำนาจ (นิยม) ความสงบ

“รัฐสมัยใหม่ทก ุ ประเทศสร้างกองทัพขึน ้ มาเพือ ่ ปกป้องอ�ำนาจอธิปไตยในประเทศ ไม่ใช่ให้มาบริหารบ้านเมืองหรือมาเป็นรัฐบาล” 22 พฤษภาคม 2557 กองทัพอ้างเหตุ ความวุ่นวายทางการเมือง กระท�ำรัฐประหาร และ ‘คุ ม เข้ ม ’ การแสดงความคิ ด เห็ น มาโดยตลอด ข้อมูลจากโครงการอินเทอร์เน็ต เพือ่ กฎหมายประชาชน (ilaw) พบว่า นับตัง้ แต่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เข้ามามี บทบาท ประชาชนอย่างน้อย 1,161 คน ถูก ปิดกัน้ การแสดงออก แบ่งเป็น ปรับทัศนคติและ เยีย่ มถึงบ้าน 902 คน ข้อหาชุมนุม 99 คน มาตรา 116 (ฐานยุยง - ปลุกปัน่ ) 47 คน มาตรา 112 (ฐานหมิ่ น ประมาทพระมหากษั ต ริ ย ์ ) 73 คน พ.ร.บ.ความสะอาดและอืน่ ๆ 17 คน ข้อหาไม่มารายงานตัว 12 คน และข้อหาอืน่ ๆ ทีม่ เี หตุจงู ใจทางการเมือง 11 คน วาทกรรม ‘ความสงบ’ เป็นกระบวนการ ที่พยายามสร้างความจริงว่า สังคมที่น่าอยู่ ต้ อ งเงี ย บเสี ย ง ไม่ แ สดงความเห็ น ขั ด แย้ ง มีภาคปฏิบตั กิ ารจริงคือ การไล่จบั ผูค้ นทีว่ จิ ารณ์ โดยใช้หลังพิงกฎหมายทีต่ นเองขีดกฎ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ไ ด้ รั บ โอกาสจาก ‘ประจักษ์ ก้องกีรติ’ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจ�ำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิพากษ์ ความสงบทีเ่ งียบ... จนแสบแก้วหู สังคมไทยบางส่วนเบือ ่ ความวุน ่ วาย แต่ความสงบแบบไหนที่จะอ�ำนวยให้ ทุกคนอยูร่ ว ่ มกันได้อย่างเป็นสุข

สั ง คมที่ ดี ไ ม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งสงบราบคาบ ไม่มีใครเคลื่อนไหว หรือปิดกั้นจนไม่มีใคร แสดงออกอะไรได้ มันสงบก็จริง แต่ถามว่าน่าอยู่ หรือเปล่า ? อาจจะไม่ใช่ เพราะเราไม่รู้ความ คิดเห็นของประชาชน เหมือนห้องเรียนทีด่ ไี ม่ใช่ ห้องเรียนที่สงบ นักศึกษาไม่กล้าถาม กลัวครู อาจสอนง่ายส�ำหรับอาจารย์ แต่ไม่เกิดการเรียนรู้ สงบอย่างเดียวจึงไม่ควรเป็นตัวตัง้ สังคมสมัยใหม่ประชาชนมีความเดือดร้อน ต่างกัน สังคมที่ดีควรเป็นสังคมที่เปิดให้ผู้มี ความเดือดร้อนมีพื้นที่แสดงออก ถ้าสังคมมี ระบบดี พรรคการเมืองท�ำหน้าทีด่ ี รัฐสภาท�ำ หน้าทีด่ ี คนก็แสดงออกผ่านช่องทางเหล่านีไ้ ด้ สื่อก็ท�ำหน้าที่เป็นกระบอกเสียง ท�ำให้คนใน อ�ำนาจได้ยิน เและน�ำมาแก้ปัญหา แน่นอน ว่า การแสดงออกเหล่านัน้ ควรมีขอบเขต ไม่นำ� ไปสูค่ วามรุนแรง ความสูญเสียหรือการปะทะ กันบนท้องถนน แต่การชุมนุมก็ไม่ใช่ปญั หาเสมอไป ตราบใด ทีช่ มุ นุมโดยสันติ แต่ตอนนีส้ งั คม มีความเข้าใจ ผิด ๆ ว่า สังคมทีด่ ตี อ้ งไม่มใี ครเสนอความเห็น อะไรเลย ทุกคนต้องเงียบต้องฟังรัฐบาล แค่มา รวมกลุ่มน�ำเสนอปัญหา เสวนาหรืออภิปราย ถึงปัญหาก็ไม่ได้ ขึน้ ชือ่ ว่าประชาธิปไตยต้องมี พืน้ ทีแ่ สดงออก สั ง ค ม ที่ แ ส ด ง อ อ ก ไ ม ่ ไ ด ้ เ ล ย จะเป็นอย่างไร

จะเกิ ด สภาวะอึ ด อั ด คั บ ข้ อ งใจ ปัญหาจ�ำนวนมากก็ยิ่งซุกอยู่ใต้พรม ผู้มีอ�ำนาจในสังคมไทยมักเน้นการ กลบปั ญ หามากกว่ า แก้ ป ั ญ หา เขาคงคิดว่า กลบไว้ไม่ให้มันโผล่ ขึ้นมาได้ก็ถือว่า ประสบความ ส�ำเร็จ เราจึงเห็นความพยายาม ปิดข่าว แต่นนั่ ไม่ได้หมายถึง ปัญหาได้รบั การแก้ไข

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 3

ตอนนี้สังคมไทยรู้ปัญหาต่าง ๆ น้อยมาก หรือรูผ้ วิ เผิน เพราะสือ่ ก็รายงานไม่ได้ คนทัว่ ไป ไม่กล้าพูด สือ่ ต้องเซ็นเซอร์ตวั เอง ไม่มใี ครกล้า รายงานข่าวทีเ่ ป็นเรือ่ งส�ำคัญ เพราะอาจกระทบ ผูม้ อี ำ� นาจท�ำให้ไม่พอใจ เหลือแค่พนื้ ทีโ่ ซเชียล มีเดียที่คนไประบายในนั้น แต่ก็ไม่ได้น�ำไปสู่ การแก้ปญ ั หาจริงจัง ถูกซุกอยูใ่ ต้พรม ภายใต้ วาทกรรมเรือ่ งความสงบ

ไปบริหารสหรัฐฯ เยอรมนี ศรีลงั กา ออสเตรเลีย ประท้วงก็ยาก เพราะยังมีภาพหลอนในอดีต มันก็จะมีลกั ษณะคล้าย ๆ เรา กองทัพชินกับ โจทย์คือ จะท�ำอย่างไรให้ความคิดเห็นของ ค�ำสัง่ ทีต่ อ้ งเชือ่ ฟัง ไม่ได้ถกู ฝึกมาให้ฟงั ผูค้ น คนกลุ่มต่าง ๆ สามารถมีพื้นแสดงออกโดย ไม่ต้องตีกัน เพื่อที่เราจะได้มีเสรีภาพในการ คสช.มีกระบวนการสร้างความจริง พูดถึงปัญหาส�ำคัญ โดยไม่ถกู ปิดกัน้ อีก

การกลบปั ญ หามาจากฐานคิ ด ว่ า ผูน ้ อ ้ ยไม่จำ� เป็นต้องรู?้

ความขั ด แย้ ง ควรถู ก แก้ ไ ขโดยสั น ติ มีความสงบที่มีเสรีภาพให้ผู้คนได้แสดงออก อย่ า งสั ง คมเกาหลี เ หนื อ ถื อ ว่ า สงบแน่ ไม่มใี ครแสดงความคิดเห็นได้เลย รัฐเข้มงวดมาก แสดงความคิดเห็นก็โดนจับไปประหารชีวิต ทุกคนต้องคิดเหมือนรัฐ ถ้าเอาแง่ความสงบ เป็นตัวตั้ง สังคมเกาหลีเหนือเป็นสังคมที่สงบ ที่สุดประเทศหนึ่งในโลก แต่ลองถามคนไทย ว่า อยากไปอยูเ่ กาหลีเหนือไหม ? สั ง คมที่ ดี จ ะต้ อ งมี อ งค์ ป ระกอบอื่ น ๆ เศรษฐกิจทีเ่ จริญ การศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพ เสรีภาพ การแสดงออก ยอมรับในความหลากหลาย ไม่ควรเป็นสังคมที่ใช้ค�ำสั่ง รัฐบาลต้องรับฟัง ผูค้ น แต่เราจะสร้างสังคมเหล่านีอ้ ย่างไร ก็ตอ้ ง ยอมรับก่อนว่า คนแตกต่างหลากหลาย อย่าไป คิดว่ามีคนคิดเหมือนกันสังคมจะสงบสุข เป็น ไปไม่ได้ เราพยายามท�ำสิ่งที่ฝืนธรรมชาติ

ว่าด้วยความสงบอย่างไร

ผ่านช่องทางค�ำสั่งเป็นหลัก โดยเฉพาะ มาตรา 44 เป็นเครื่องมือส�ำคัญในการปิดกั้น การแสดงออก ช่ ว ง 2 ปี ที่ ผ ่ า นมา ผู ้ ค น โดนจับกุมมากมาย ทั้งการปรับทัศนคติ ถูก อุม้ จากบ้าน เข้าค่ายทหาร 5 วัน 7 วัน ส่วน ร่างพ.ร.บ.คอมพ์ฉบับใหม่ รัฐจะปิดกัน้ เว็บไซต์ ที่รัฐมองว่า มีเนื้อหาเป็นภัยต่อความมั่นคงได้ ง่ายขึน้ รัฐมีชอ่ งทางปิดกัน้ การแสดงออกเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะพื้นที่ทางโซเชียลมีเดีย ก่อนหน้านี้ รัฐมองว่า พื้นที่นี้ควบคุมไม่ค่อยได้ ตอนนี้รัฐ ควบคุมทีวีได้ หนังสือพิมพ์ได้ แต่หลายอย่าง ที่ร้อนแรงขึ้นมาในสังคม มันโผล่ขึ้นมาจาก โซเชี ย ลมี เ ดี ย เป็ น หลั ก ที่ ยั ง เป็ น พื้ น ที่ ที่ มี เสรีภาพอยู่บ้าง

ใช่ เป็ น ฐานคิ ด แบบอ� ำ นาจนิ ย มหรื อ ประชาธิปไตยแบบไทย ๆ (เน้นเสียง) ประชาชน ทัง้ หลายเป็นบุตร รัฐบาลหรือผูม้ อี ำ� นาจเป็นบิดา เป็นการปกครองแบบ บิดาปกครองบุตร บุตร มีหน้าทีเ่ ชือ่ ฟัง ไม่ได้มสี ว่ นร่วม เรียกร้องหรือ แสดงออก ฐานคิดแบบไทย ๆ คือ ผูป้ กครอง เป็นใหญ่ มีอำ� นาจสัง่ การอย่างเด็ดขาด เขาเชือ่ ว่า สิง่ เหล่านีจ้ ะท�ำให้สงั คมเรียบร้อย แต่มนั ขัดแย้ง กับสังคมทีเ่ ป็นประชาธิปไตยโดยสิน้ เชิง เพราะ ประชาธิปไตยเริม่ จากฐานคิดว่า ประชาชนเป็น เจ้าของประเทศ ทุกคนมีสว่ นร่วมในการก�ำหนด สังคมมีภาพจ�ำว่าความไม่สงบคือ อนาคตและทิศทางของประเทศ เราไม่ใช่แค่ ความรุนแรงเสมอไหม เช่น เหตุการณ์ ชุมนุมทางการเมืองทีผ ่ า่ นมา ผูอ้ ยูอ่ าศัย แต่เราเป็นเจ้าของบ้าน เราต้องสร้างวัฒนธรรมการมี ส่วนร่วมทางการ ตามหลั ก การ กองทั พ มี บ ทบาท เมืองอย่างสันติ เพือ่ ไม่ให้รฐั บาลอ้างอ�ำนาจนิยม รักษาความสงบอย่างไร มาปกครอง แต่สงั คมไทยช่วง 7 - 8 ปีทผี่ า่ นมา กองทัพท�ำหน้าทีส่ รู้ บกับข้าศึกศัตรูภายนอก หลายครั้งจบที่ความรุนแรงบนถนน คนก็เลย ประเทศ รัฐสมัยใหม่ทกุ ประเทศสร้างกองทัพขึน้ รู้สึกในทางลบต่อการมีส่วนร่วม ฉะนั้นพอ มาเพือ่ ปกป้องอ�ำนาจอธิปไตยในประเทศ ไม่ใช่ ทหารรัฐประหาร เพื่อบอกว่าจะท�ำให้ความ ให้มาบริหารบ้านเมืองหรือมาเป็นรัฐบาล วุน่ วายเหล่านีห้ ายไป คนก็เลยรูส้ กึ ว่า ส่วนเรื่องความสงบภายในก็มี เออรับได้ เพราะเบือ่ หน่ายความ หน่วยงานต�ำรวจอยูแ่ ล้ว แต่ ขัดแย้งที่ยืดเยื้อเรื้อรัง ใคร ของเราท� ำ หน้ า ที่ เ บลอ ที่อาสามาท�ำให้สิ่งเหล่านี้ กันไปหมด กองทัพมา หายไป คนก็จะให้โอกาส รักษาความสงบภายใน เขาอย่างง่ายดาย ประเทศทัง้ ทีไ่ ม่ได้ถกู ฝึก แต่ ต อนนี้ ค นเริ่ ม มาให้จดั การกับผูช้ มุ นุม ตระหนักแล้วว่า ปัญหา อย่างสงบ จึงน�ำไปสูก่ าร อืน่ ทีไ่ ม่ได้รบั การแก้ไข ปะทะกันในประวัตศิ าสตร์ อาจสะสมรุ น แรงขึ้ น หลายครัง้ ผิดหลักในการ เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ จัดการการชุมนุม จึ ง อยากแสดงออก ยังไม่ตอ้ งพูดถึงเรือ่ งเอา มากขึน้ หลายกลุม่ อึดอัด กองทั พ มาบริ ห ารประเทศ เพราะต่ า งไม่ ถู ก พู ด ถึ ง มิติต่าง ๆ เลยเหลือแค่ความ แต่ ใ ครจะออกมา มัน่ คงเป็นหลัก ถ้าคุณ เอากองทัพ

ตามหลักการประชาธิปไตย สังคม แห่งความขัดแย้งจะเปลี่ยนผ่านไป เป็นสังคมทีส ่ งบอย่างไร

สงบภายใต้ความมีเสรีภาพ จะเริม ่ ต้น ได้อย่างไร

เริ่มที่ความเชื่อพื้นฐาน ถ้าเเปลี่ยนตรงนี้ ไม่ได้ ก็แก้ไขปัญหาอะไรไม่ได้ หลักสูตรทีม่ อี ยู่ สอนให้เด็กไม่โต ไม่รจู้ กั โลก ขณะทีก่ ารศึกษา ในโลกไปไกลกันมาก อย่างอินโดนีเซีย กัมพูชา เขารูว้ า่ จะสร้างคุณภาพต้องสร้างคน ของไทย สอนจนเด็กไม่รจู้ กั สังคมตัวเอง ประวัตศิ าสตร์ แบบขาด ๆ เกิน ๆ สอนด้านเดียว ปิดกั้น เน้นกล่อมเกลา ผมเคยเอาแผนที่โลกมากาง ผูเ้ รียนยังบอกไม่ถกู เลยว่า พืน้ ทีน่ คี้ อื ทวีปอะไร เราอยู ่ ใ นโลกที่ เ ปลี่ ย นแปลงรวดเร็ ว แต่การศึกษาไทยไม่ได้เตรียมพลเมืองที่จะ เผชิญโลกแบบนีไ้ ด้ เพราะรัฐรูว้ า่ จะปกครองง่าย ถ้ามีเด็กเชือ่ ง ๆ ระบบการศึกษาตอนนีเ้ หมือน โรงงาน ป้อนคนที่มีความคิดแบบเดิมเข้าไปสู่ สังคม พอคุณโตไปเป็นผูใ้ หญ่กผ็ ลิตซ�ำ้ วัฒนธรรม แบบนีใ้ ห้คนรุน่ ถัดไป สังคมเลยวนเวียน แต่การเปลีย่ นทัง้ ระบบมันยาก โรงเรียนรับ นโยบายมาจากกระทรวงศึกษาธิการ ซึง่ ก็ถกู คุม โดยคนที่มีความคิดแบบเก่า มันต้องเกิดพลัง เรียกร้องทางสังคมว่า อยากได้การศึกษาทีด่ ี กว่ารวมถึงกลุม่ ผูป้ กครอง สือ่ ต้องร่วมด้วย ถามว่ า สั ง คมเราเดิ น มาถึ ง จุ ด นี้ ได้อย่างไร คนอาจจะตอบเรื่องสังคม เศรษฐกิจ การเมือง แต่ผมคิดว่าเพราะ ระบบความคิด ตรรกะทุกอย่างของคนใน สังคมไทยล้มเหลว จะออกจากวิกฤตก็ ต้องรือ้ ถอนความคิดขนานใหญ่ สังคมเชือ่ ว่าคนเราไม่เท่ากัน พอ เรามีความคิดแบบนี้เลยเอาอ�ำนาจ ทัง้ หมดไปมอบกับคนกลุม่ เล็ก ๆ หรือ คนเดียวให้ตดั สินใจแทนเราทุกอย่าง นัน่ เป็นเหตุผลทีเ่ ราเดินย�ำ่ อยูก่ บั ที่ เขมพัฏฐ์สร ธนปัทมนันท์ จารุกต ิ ติ์ ธีรตาพงศ์ บุญญฤทธิ์ จรเสนาะ (ภาพ)

21/1/2560 16:37:30


4

| ลูกศิลป์

บทบรรณาธิการ

ที่ปรึกษา ต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล ข่ า วสาร ข่าว ‘เปิดโปงทุจริตจัดซือ้ ต�ำราเรียน’ ท�ำให้ไม่แปลกใจ ทีป่ ระเทศไทย จะอยูใ่ นอันดับ 76 ของดัชนีชวี้ ดั ภาพลักษณ์ คอร์รัปชัน ประจ�ำปี 2558 ซึ่งจัดท�ำโดยองค์กรเพื่อความ โปร่งใสนานาชาติ เงื่อนไขส�ำคัญที่ท�ำให้ประเทศยังอยู่ในวังวนของปัญหา ดั ง กล่ า วคื อ การเข้ า ไม่ ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารจนไม่ ส ามารถ ตรวจสอบหน่วยงานรัฐได้ แม้จะมีพ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 แต่ตลอดเวลาเกือบ 20 ปี ทีบ่ งั คับใช้ กฎหมายฉบับนี้ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของภาครัฐ มีอปุ สรรค นานัปการ ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลพื้นฐานของหน่วยงานบนเว็บไซต์ที่ วันดีคืนดีเคยมีก็หายไป พอเข้าไปใช้สิทธิขอข้อมูลข่าวสาร ก็ได้รับการปฏิเสธที่จะรับเรื่อง โดยอ้างว่า ไม่ได้รับผิด ชอบ และโยนเรือ่ งกันไปกันมา หรือรับเรือ่ งไปแล้ว ภายใน 15 วัน เพิกเฉย หรือตอบกลับมาว่า ไม่มเี รือ่ งทีร่ อ้ งขอ หรือ ตอบกลับว่า ไม่สามารถให้ขอ้ มูลได้ ก็ตอ้ งไปร้องเรียน - อุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ทีท่ ำ� เนียบรัฐบาล ใช้เวลาอีก 60 วัน ผลออกมา หากฝ่ายผูใ้ ช้สทิ ธิหรือหน่วยงาน ไม่เห็นด้วย ก็ไปร้องศาลปกครอง ทั้งหมดนี้ มีต้นทุนทั้งค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เวลาที่ ต้องรอยาวนาน ทั้งที่เป็นสิทธิที่จะรู้ สิทธิจะเข้าถึงข่าวสาร ของประชาชน รัฐต้องมีหน้าที่ต้องจัดให้ ตามสโลแกน ‘เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น’ แต่ผลออกมา กลับกันกลายเป็น ‘ปกปิดเป็นหลัก เปิดเผยเป็นข้อยกเว้น’ ข้อมูล ล่าสุดจากส�ำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 ระบุวา่ มีเรือ่ งร้องเรียน 350 ครัง้

เรือ่ งอุทธรณ์ 256 ครัง้ สะท้อนให้เห็นการกลับหัวกลับหาง ของกฎหมายดังกล่าว อันทีจ่ ริงข้อมูลจ�ำนวนบุคลากร รายรับ - รายจ่าย การใช้ งบประมาณของหน่วยงาน สถิติการให้บริการ เหล่านี้เป็น สิง่ ทีร่ ฐั ต้องจัดเก็บอยูแ่ ล้วในการท�ำงาน เมือ่ เปิดให้คนทัว่ ไป เข้าถึงจะท�ำให้เกิดการต่อยอดความคิดโดยไม่ต้องสาละวน เก็ บ ข้ อ มู ล ซ�้ ำ เช่ น สถิ ติ ค นไข้ ใ นโรงพยาบาลที่ จ ะช่ ว ย ให้สามารถวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณได้ดขี นึ้ ไมโครซอฟท์ บริ ษั ท ไอที ยั ก ษ์ ใ หญ่ ข องโลก เชื่ อ ว่ า การเผยแพร่ข้อมูลจะช่วยให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และสนับสนุนกระบวนการเพื่อตัดสินใจของหน่วยงานรัฐ ขณะที่ รายงานเรือ่ งการเผยแพร่ขอ้ มูล ปี 2557 ขององค์การ เพือ่ ความโปร่งใสนานาชาติ พบว่า เกือบทุกรัฐบาลทีม่ ดี ชั นี ภาพลักษณ์คอร์รัปชันที่ต�่ำ ล้วนมีการเปิดเผยข้อมูล และ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้งา่ ย ล่าสุดแม้ก�ำลังมีการพิจารณาร่างพ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร ฉบับใหม่ แต่ยงั มีขอ้ กังวลเรือ่ งการก�ำหนดบทลงโทษกรณีที่ ขอข้อมูลโดยไม่สจุ ริต เพราะนอกจากต้องมาพิจารณาว่าการ ขอข้อมูลโดยไม่สุจริตคืออะไร และหากต้องส่งเสริมให้ ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้ จึงไม่ควรต้องก�ำหนดบทลงโทษแก่ ผูข้ อข้อมูล สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ อีกประการ ทีจ่ ะท�ำให้กลไกการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารมีโอกาสเป็นไปได้คอื ระบอบการเมืองทีเ่ ปิดโอกาสให้ มีการตรวจสอบ ก�ำกับผูใ้ ช้อำ� นาจได้ นัน่ คือ ระบอบทีผ่ ใ้ ู ช้อำ� นาจ ยึดโยงกับประชาชน ไม่ใช่ระบอบทีป่ กครองด้วยปากกระบอกปืน

democracy.co.th/

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศักดิ์ ชาติน�้ำเพ็ชร (คณบดี) อาจารย์อริน เจียจันทร์พงษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์มัทนา เจริญวงศ์ อาจารย์อัจฉรา อัชฌายกชาติ อาจารย์ทองนากศิริวิ เหล่าวงษ์โคตร อาจารย์วัยวัฒน์ สายทุ้ม อาจารย์ณัฐสรวงพร ทองเนื้อนวล อาจารย์ชัยณรงค์ กิตินารถอินทราณี

คณะผู้จัดท�ำ

บรรณาธิการผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา เขมพัฏฐ์สร ธนปัทมนันท์ บรรณาธิการบริหาร และบรรณาธิการข่าว วุฒิพงษ์ วงษ์ชัยวัฒนกุล บรรณาธิการศิลปกรรม อริสรา นนศิริ บรรณาธิการเนื้อหาพิเศษ ปุญญิศา ค�ำนนสิงห์ สิราวรรณ สกุลมาลัยทอง ฝ่ายศิลปกรรม ศรัณยา ตั้งวรเชษฐ ณัฐนันท์ แก้วบุญถึง ศิรวิชญ์ บุญทน ฝ่ายพิสูจน์อักษร หทัยชนก โฉมมณี กัลยกร ทองเต็ม ศรีสิทธิ์ วงศ์วรจรรย์ รติมา เงินกร ผู้ประสานงานภาพข่าว บุญญฤทธิ์ จรเสนาะ สัมภาษณ์พิเศษ จารุกิตติ์ ธีรตาพงศ์ เขมพัฏฐ์สร ธนปัทมนันท์ สารคดีเชิงข่าว ณัชชา เชี่ยวกล พาขวัญ ศักดิ์ขจรยศ กองบรรณาธิการ ฐิติพร อินผวน ธนกร ตันติสง่าวงศ์ บัณฑิตา สุขสมัย บุรยา อังประชา ปัญยภัสสร์ พรหมชัยวัฒนา พัชรี พรกุลวัฒน์ ภาศิณี สุนทรวินิต รชนีกร ศรีฟ้าวัฒนา วิสุทธิภา เพียวริบุตร ศุภนิดา อินยะบุตร อนาลา กุลรัตน์ ศูนย์ข่าวเพชรบุรี นักศึกษาวารสารและหนังสือพิมพ์ ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร บางรัก ชั้น 8 อาคาร กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) ถนนเจริญกรุง แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ / โทรสาร : 0-2233-4995-7 เว็บไซต์ : www.ict.su.ac.th www.ictsilpakorn.com/ictmedia www.facebook.com/looksilp

เกีย ่ วกับ

ลูกศิลป์ LOOKSILP-PRINT-200160.indd 4

ลูกศิลป์ สามารถตีความได้สองความหมาย หนึ่งคือ ลูกศิลปากร สองคือ ลูกศิษย์ ของ อาจารย์ศิลป์ พีระศรี ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย ศิลปากร ทัง้ ยังเป็นศิลปินผูม้ มุ านะในการสัง่ สอน และสร้างสรรค์ผลงานจนเป็นทีป่ ระจักษ์แจ้งแก่ สายตาชาวไทย หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ เป็ น ชิ้ น งานของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิท ยาลั ย ศิ ล ปากร จั ด ท� ำ โดยนั ก ศึ ก ษา ชั้นปีที่ 3 เอกวารสารและหนังสือพิมพ์ เพื่อ

ให้ นั ก ศึ ก ษาแต่ ล ะรุ ่ น มี ป ระสบการณ์ ต รง ในการจั ด ท� ำ หนั ง สื อ พิ ม พ์ อ ย่ า งมื อ อาชี พ เตรียมพร้อมส�ำหรับการออกไปฝึกงานภาค สนามทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการฝึกงาน จุล นิพนธ์ หรือหลังจบส�ำเร็จการศึกษา โดยขัน้ ตอน การด�ำเนินการ นักศึกษาจะเลือกหัวข้อที่ตัว เองสนใจเพื่อลงพื้นที่โดยอาศัยทักษะที่ได้รับ การฝึกฝนมาใน 2 ปีแรก อาทิ การสัมภาษณ์ การถ่ายรูป และแบ่งหน้าทีต่ ามความถนัดของ แต่ละคน เพือ่ จัดท�ำรูปเล่มหนังสือพิมพ์ ไม่วา่

จะเป็น ฝ่ายจัดหน้า ฝ่ายกราฟิก ฝ่ายตรวจ ทาน รวมถึงกองบรรณาธิการ ด้านงบประมาณ ทางคณะจะสนับสนุนงบประมาณ 50% ขณะที่ ส่วนทีเ่ หลือนักศึกษาจะเป็นผูจ้ ดั หาด้วยตนเอง ผลลั พ ธ์ ที่ ไ ด้ จ ากการท� ำ งานครั้ ง นี้ คื อ นักศึกษาสามารถผลิตหนังสือพิมพ์คุณภาพ และได้มาตรฐานเทียบเท่าหรือมากกว่าที่วาง ขายในท้องตลาดรวมถึงนักศึกษาสามารถน�ำ ประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับการ ฝึกงานและอาชีพการงานในอนาคต

21/1/2560 16:37:32


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

บทวิเคราะห์

ว่ากันว่า เด็กคืออนาคตของชาติ เพราะเด็กฉลาด ชาติ (จะ) เจริญ แต่ความเจริญที่ว่าจะไปในทิศทางไหน ขึ้นอยู่กับบริบท แวดล้อมทีห่ ล่อหลอมความคิดความอ่านของเด็กขึน้ มา เพราะ สิง่ เหล่านีไ้ ม่ได้เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ หากแต่มกี ระบวนการ สร้างความจริงในสิง่ ทีเ่ รียกว่า “เด็กดี” ขึน้ มา ไม่วา่ จะเป็นการผลิตความรู้ ความจริง ว่า “เด็กดี” คืออะไร ผ่านค�ำสอน ต�ำรา ครู นโยบาย กฎหมาย หรือแม่แต่รฐั ธรรมนูญ และปฏิบตั กิ ารจริงทางอ�ำนาจด้วยสถาบันทีเ่ กีย่ วข้องกับความรู้ ความจริง ดังกล่าว

“เด็ก” ยังถูกนิยามผ่านค�ำขวัญประจ�ำวันเด็ก เป็นกรอบว่า อย่างน้อย ๆ เด็กทีด่ คี วรจะเป็นอย่างไร กระทัง่ ในสมัยรัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีการก�ำหนดสิง่ ทีเ่ รียกว่า ค่านิยม 12 ประการให้นกั เรียนท่องจ�ำ และน�ำไปปฏิบตั ิ เนือ้ หา ก็ไม่ทงิ้ กับวาทกรรมทีก่ ล่าวมาข้างต้น ภาคปฏิบตั กิ ารจริงของวาทกรรมเผยตัวออกมาโดยโรงเรียน บังคับให้ต้องท่องทุกเช้า และติดบอร์ดหราทั่วโรงเรียน เหมือนกับการเปิดเพลง “คืนความสุข” ถีย่ บิ ทุกต้นชัว่ โมง ทางวิทยุ ให้สมองคนเราจะจดจ�ำอะไรซ�ำ้ ๆ จนเข้าไปในสมอง จนเคยชิน และไม่ตงั้ ค�ำถาม คนดี มีวน ิ ย ั ภูมใิ จในชาติ… เมื่อท�ำไปตามนี้ได้ ผู้ใหญ่ก็จะชมเชยว่า เป็นเด็กดี เก่ง เดือนสิงหาคม ที่ผ่านมา มีผู้โหวตรับร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ส่วนที่เหลือก็ลดหลั่นความดีลงมา ส่วนคนที่ตั้งข้อสงสัยหรือ มีชยั (ฤชุพนั ธ์) 16,820,402 คน คิดเป็นร้อยละ 61.35 จาก ไม่เชื่อฟังความรู้ชุดนี้ ก็จะถูกกีดกันและลงโทษจากระบบ ผูม้ าใช้สทิ ธิทงั้ หมด ท�ำให้รฐั ธรรมนูญฉบับนีจ้ ะได้รบั การประกาศ เพียงเพราะมีความคิดเห็นที่แตกต่าง ใช้เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ในเร็ววัน ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความจริงว่าด้วยเด็กดี คือ อ�ำนาจแนวดิง่ VS. เสรีภาพทางความคิด สิทธิการศึกษาทีก่ ำ� หนดไว้ใน หมวด 5 มาตรา 54 วรรคห้า บัญญัติ ภาคปฏิ บั ติ ก ารจริ ง ยั ง มาในรู ป แบบระเบี ย บวิ นั ย ว่า การศึกษาทัง้ ปวงต้องมุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้เป็นคนดี มีวนิ ยั ภูมใิ จ ถึงเนือ้ ถึงตัว นักเรียนชายยังคงต้องตัดผมสัน้ เกรียน นักเรียนหญิง ในชาติ สามารถเชีย่ วชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับ ตัดผมสัน้ เสมอติง่ หู หรือผูกเปีย - มัดผม อ้างว่า ท�ำให้เกิดความ ผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ เรียบร้อย หลายโรงเรียนยังห้ามท�ำสีผม สิ่งที่เพิ่มเข้ามาคือ “ให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีวินัย และภูมิใจ แม้แต่เสือ้ ผ้า กางเกง ถุงเท้า รองเท้า ชุดลูกเสือ้ ชุดพละ แหวน ในชาติ ” ซึ่ ง แตกต่ า งจากรั ฐ ธรรมนู ญ 2550 ที่ บั ญ ญั ติ ว ่ า ต่างหู ฯลฯ ล้วนบังคับให้เด็กต้องปฏิบตั ติ ามกฎอย่างเคร่งครัด การจั ด การศึ ก ษาอบรมขององค์ ก รวิ ช าชี พ หรื อ เอกชน มิเช่นนั้นจะมีบทลงโทษ กระทั่ง เดินผ่านผู้ใหญ่ให้ก้มหลัง การศึ ก ษาทางเลื อ กของประชาชน การเรี ย นรู ้ ด ้ ว ยตนเอง ห้ามเถียงครูบาอาจารย์ การเรียนรูต้ ลอดชีวติ ย่อมได้รบั ความคุม้ ครอง และส่งเสริมจากรัฐ ถ้าออก “นอกลูน่ อกทาง” ตามการนิยามของ “ผูใ้ หญ่” ก็จะ และนี่ ท� ำ ให้ ชี วิ ต ของเด็ ก หลั ง รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ใหม่ ถูกท�ำให้กลายเป็นเด็กดือ้ ถูกตีกรอบ “เนื้อหา” การศึกษาส�ำหรับเด็กอย่างที่ไม่ค่อย ตัวอย่างเช่น เพนกวิน-พริษฐ์ ชิวารักษ์ ชูปา้ ยทีม่ ขี อ้ ความ ปรากฏมาก่อน สะท้อนให้เห็นว่า เด็กดีในอุดมคติของรัฐ ว่า “สอนเด็กไทยไม่ให้โกง ใช้เหตุผลสร้างจริยธรรม ดีกว่า เป็นอย่างไร ท่องจ�ำหน้าที่พลเมือง #จากใจนักเรียนถึงลุงตู่” ก็ถูกเจ้าหน้า ที่รักษาความปลอดภัยควบคุมตัวเพราะชูป้ายเพื่อตั้งค�ำถาม เด็กเอ๋ยเด็กดี ถึงค่านิยม 12 ประการ นิยามเด็กดี ต่อหัวหน้ารัฐบาล ในแบบของรัฐ หรือกรณีของ เนติวทิ ย์ โชติภทั ร์ไพศาล กับการตัง้ ค�ำถาม “หนึ่งนับถือศาสนา สองรักษาธรรมเนียมมั่น สามเชื่อ พิ ธี ก รรมหน้ า เสาธง กราบไหว้ ฯลฯ ก็ ถู ก วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ พ่อแม่ครูอาจารย์ ...” ส่วนหนึง่ ของเพลงหน้าทีเ่ ด็ก เขียนโดย ต่าง ๆ นานา นั ก เขี ย นนวนิ ย าย ชอุ ่ ม ปั ญ จพรรค์ ในสมั ย รั ฐ บาล การควบคุ ม ด้ ว ยระเบี ย บวิ นั ย หมายถึ ง การครอบง� ำ จอมพล ป. พิบลู สงคราม เพือ่ ปลูกฝังให้เด็กมีสว่ นร่วมในสังคม บางอย่าง ไม่วา่ เรือ่ งทรงผม หรือเล็บ ก็ควบคุมทางร่างกาย ตลอด ต่อมาเพลงนีถ้ กู น�ำไปใช้ในวันเด็กแห่งชาติ จนการครอบง�ำโดยให้ผู้ถูกปกครองด้วยกันเอง ท�ำหน้าที่ตรวจ

5

คนที่มีแนวคิดขบถต่ออ�ำนาจ กฎเกณฑ์ที่ถูกเขียนขึ้น ไม่ว่าจะ เป็นเสียงซุบซิบนินทาจากเพือ่ นด้วยกัน เพือ่ นไม่คบ จนถึงตีดว้ ย ไม้เรียว เข้าห้องปกครอง ถึงขั้นไล่ออกในที่สุด นานวันเข้า ร่างกายก็ยินยอมกับการก�ำกับ จนผู้ถูกปกครองอ่อนเปลี้ย เพลียแรง ที่จะต่อต้าน ผูใ้ หญ่ในฝัน วาทกรรม “คนดี” อ�ำนาจทีม ่ ากกว่า

ผูใ้ หญ่ (บางคน) ในปัจจุบนั เติบโตขึน้ มาภายใต้วาทกรรม “คนดี” ส่งไม้ต่อให้เด็กมีวาทกรรมนี้ และเมื่อเด็กเป็นผู้ใหญ่ก็ ส่งต่อให้เด็กซ�ำ้ วนเป็นเช่นนี้ แต่การเป็น “คนดี” มีขอ้ ควรระวังว่า นิยามของมันคืออะไร ปัญหาใจกลางก็คือ ใครมีอ�ำนาจในการชี้น�ำความดี และ จะพิสจู น์กนั อย่างไร เพราะหากเป็น “คนดี” อย่างทีผ่ ใู้ หญ่นยิ าม ความชอบธรรม และอ�ำนาจต่อรองก็จะตามมา กดทับ กีดกัน ท�ำให้คนดีในแบบอืน่ ไร้ซงึ่ อ�ำนาจ มีเรื่องเล่าว่า แก้วน�้ำวางอยู่บนโต๊ะตัวเดียวกัน ต�ำแหน่ง เดียวกัน ทีไ่ ม่เหมือนกันคือ คนเดินชนโต๊ะ คนหนึง่ เป็นผูใ้ หญ่ อีกคนเป็นเด็ก ผลคือผู้ใหญ่บอกว่าแก้วนี้วางผิดจุดท�ำให้ตัว เองเดินชน ขณะทีเ่ ด็กจะโดนดุวา่ เดินไม่ดตู าม้าตาเรือ แก้วน�ำ้ ก็วางของมันอยูด่ ี ๆ เรือ่ งข้างต้นซ่อนมุมมองแห่งการตัดสินคุณค่าว่า ใครผิด - ถูก ดี - ไม่ดี โดยอ�ำนาจทีว่ า่ ก็เป็นอ�ำนาจจากผูใ้ หญ่ทบี่ อกว่าตัวเอง ดีนนั่ เอง ดังนัน้ เวลาเราพูดถึงคนดี ค�ำนีจ้ งึ ไปผูกกับอ�ำนาจโดย อัตโนมัติ เมือ่ อ�ำนาจเข้าไปในระบบการปกครอง คนดีจงึ มีอำ� นาจ ต่อรองมากกว่าคนทีไ่ ม่มคี ำ� คุณศัพท์ตอ่ ท้าย ผียอ่ มเห็นผี คนดียอ่ มเห็นคนดีดว้ ยกัน จากระบบการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาเด็กให้ดี สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของอ�ำนาจจาก คนดีทมี่ อี ภิสทิ ธิผ์ ลิตเด็กให้เป็นประเภทเดียวกันได้ ทั้ ง หมดนี้ ทุ ก คนในสั ง คมถอดรื้ อ วาทกรรมดั ง กล่ า ว ได้ ด้วยการสถาปนาความรู้ ความจริง ว่าด้วย สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค เคารพความเห็ น ที่ แ ตกต่ า ง และอดทน อดกลัน้ อันเป็นเงือ่ นไขทีเ่ ปิดโอกาสเอือ้ อ�ำนวยให้อยูร่ ว่ มกันได้โดย ไม่กดทับ กีดกัน ใครออกไป จารุกต ิ ติ์ ธีรตาพงศ์ เผยแพร่ครัง ้ แรกที่ www.ilaw.or.th

ว่าด้วยอุดมการณ์คนท�ำสือ ่ สมัยใหม่ “น�ำเสนอแบบ Data Journalism หรือการเน้นข้อมูล โดยโฟกัสทีค่ วามยัง่ ยืนและความโปร่งใส ท�ำให้เว็บไซต์เป็นสถาบันทีท่ ำ� ให้คนอ่านเชือ่ ถือ โดยใช้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องและน�ำไปใช้อา้ งอิงได้” บุญลาภ ภูสว ุ รรณ ThaiPublica

“คนทีจ่ ะท�ำงานวารสารได้ ต้องเข้าใจประเด็นอืน่ ๆ มากไปกว่าความรูด้ า้ นวารสารศาสตร์” ทีปกร วุฒพ ิ ท ิ ยามงคล The Matter

“ความเป็นกลางไม่ใช่ตราชัง่ น�ำ้ หนักทีเ่ รายืนเฉย ๆ ไม่เอียงเอนไปฝ่ายใด ส�ำคัญทีส่ ดุ คือให้พนื้ ทีแ่ ละน�ำเสนอมุมมองของทัง้ 2 ฝ่ายอย่างเท่าเทียมและไม่บดิ เบือนข้อมูล” นครินทร์ วนกิจไพบูลย์ The Momentum

“เปิดพืน้ ทีใ่ ห้ประเด็นทีส่ ำ� คัญหรือเรือ่ งราวทีไ่ ม่เป็นข่าว เพือ่ น�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง” ชูวส ั ฤกษ์ศริ ส ิ ข ุ ประชาไท

“ท�ำงานร่วมกับชุมชน โดยให้คนในพืน้ ทีเ่ รียนรูท้ กั ษะการเป็นนักข่าวด้วยตนเอง ชีใ้ ห้เห็นว่าการแก้ปญ ั หาไม่ได้เป็นหน้าทีข่ องภาครัฐเพียงผูเ้ ดียว” รอมฎอน ปันจอร์ Deep South Watch

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 5

21/1/2560 16:37:32


| ลูกศิลป์

¢Í§ãªŒ·Õè äÁ‹µŒÍ§ «×éÍ·Ø¡à´×͹

¡ÐÅÐÁѧÍÒº¹íéÒ, ¨Ø¡¹Á, ¼ŒÒ¢¹Ë¹Ùˋ͵ÑÇ, ¢Ç´¹Á, á»Ã§ÅŒÒ§¢Ç´¹Á, ໇ ÍØ Œ Á à´ç ¡ , öà¢ç ¹ à´ç ¡ 2,100 ºÒ·

¤‹Ò¢Í§ãªŒ

3,550 ºÒ·

¤‹ÒÍÒËÒÃ

¹Á¼§ ¹íéÒÂÒ«Ñ¡¼ŒÒà´ç¡, 2,000-3,000 àÊ×éͼŒÒ, ËÁÇ¡, ʺً, âŪÑè¹ ºÒ·¢Öé¹ä» ¶Ø§à·ŒÒ, á¾Áà¾ÔÊ, 600 ºÒ· ¼ŒÒÍŒÍÁ 930 ºÒ·

$$$$$$$$$$$$$$$$$

ÇѤ«Õ¹¾×é¹°Ò¹©Õ´Ã¾.ÃÑ° ¿ÃÕ ÇѤ«Õ¹·Ò§àÅ×Í¡ àËÁÒ¨‹Ò 2,000-3,000 ºÒ·¢Öé¹ä»

¤‹ÒàÊ×éͼŒÒ

¤‹Ò㪌¨‹ÒÂà ¡à¡Ô´ ã¹ 1 à´×͹㪌´çà§Ô¡¹áà »ÃÐÁÒ³

$$$$$$$$$$$

¤‹ÒÇѤ«Õ¹ 0-6 »‚

?

à´ç¡ááà¡Ô´

àÊÕàÊÕ¤‹¤‹ÒÒ㪌㪌¨¨‹Ò‹Òµ‹ µ‹ÍÍà´×à´×Í͹෋ ¹à·‹ÒÒäËË äË˺ºŒÒŒÒ§§

$$$$$$$$$

¤‹Ò¤ÅÍ´ºØµÃ ºÑµÃ·Í§ ¿ÃÕ µÑ§é ᵋ½Ò¡¤ÃÃÀ -¤ÅÍ´ »ÃСѹÊѧ¤Á àºÔ¡¤‹Ò¤ÅÍ´ºØµÃ àËÁÒ¨‹Ò 13,000 ºÒ· / 1 ¤Ãѧé

สิทธิเด็กและสตรี

$$$$$$

6

ข้อมูลจาก: สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (ทีดอี าร์ไอ)

นางทิพวรรณ แก้วพิทักษ์ แม่เลี้ยงเดี่ยว วัย 24 ปี อาศัยอยู่บ้านเช่าในจังหวัดนครปฐม มีอาชีพขายของออนไลน์ มีรายได้เดือนละ ประมาณ 8,000 บาท แต่หลังจากหักค่าเช่า บ้าน ค่าน�้ำ ค่าไฟ เหลือเงินไม่ถึง 3,000 บาท ส�ำหรับลูกน้อย วัย 10 เดือน ที่ก�ำลังโตขึ้น “ค่านมผง 5 กระป๋องต่อเดือน ยังไม่รวม ค่าผ้าอ้อม ก็เหลือเงินใช้แทบจะเดือนชนเดือน เคยไปติดต่ออบต. เพือ่ ขอเข้าร่วมโครงการเงิน อุดหนุนบุตรของรัฐบาล แต่เจ้าหน้าที่ปฏิเสธ อ้างว่า ดิฉันมีรายได้มากกว่าที่ก�ำหนดไว้” นางทิพวรรณ ระบุ ปี 2559 เป็นปีแรกของโครงการเงินอุดหนุน เพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดวงเงินงบประมาณ 657 ล้านบาท ทีร่ ฐั ได้ให้เงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด จนถึงอายุ 3 ปี จ�ำนวน 600 บาท ต่อคน แต่ต้องอยู่ในเกณฑ์ครัวเรือนยากจนและ ครั ว เรื อ นที่ เ สี่ ย งต่ อ ความยากจนที่ มี ร ายได้ เฉลีย่ ต�ำ่ กว่า 3,000 บาท ต่อคนต่อเดือน โดยน�ำ รายได้ ข องสมาชิ ก ทั้ ง หมดในครอบครั ว หารด้วยจ�ำนวนสมาชิกทั้งหมดในครอบครัว ซึง่ รวมเด็กแรกเกิดด้วย หมายความว่า นางทิพวรรณ รวมกับลูกสาว เมือ่ หารแล้วจะมีรายได้เฉลีย่ 4,000 บาท ต่อ คนต่อเดือน เท่ากับว่า ไม่เข้าเกณฑ์ขอรับเงิน อุดหนุนในโครงการดังกล่าว ศูนย์ปฏิบัติการโครงการเงินอุดหนุนเพื่อ การเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด กรมกิจการเด็กและ เยาวชน กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและ ความมั่นคงของมนุษย์ ให้ข้อมูลว่า เกณฑ์ ‘3,000 บาทต่อคนต่อเดือน’ นั้น อ้างอิงจาก ‘เส้นความยากจน’ ปี 2559 ของส�ำนักงาน คณะกรรมการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติ (สศช.) ที่ก�ำหนดตัวเลขครัวเรือน ยากจนและครัวเรือนเสีย่ งต่อความยากจนอยูท่ มี่ ี รายได้ตำ�่ กว่า 2,647 บาท ต่อเดือน ด้วยเกณฑ์นี้ ท�ำให้มเี ด็กแรกเกิดประมาณ 135,000 คน จากเด็ ก แรกเกิ ด ทั้ ง หมด 581,000 คน หรือคิดเป็นเพียง 1 ใน 5 คน จะได้รบั เงินอุดหนุน ส่วนอีกราว 4.4 แสนคน ไม่ว่าสมาชิก ในครอบครัวจะมีรายได้ต่อคนต่อเดือนเฉลี่ย แล้วเกิน 3,000 บาท ไปน้อยหรือมากแค่ไหน ก็จะไม่ได้รบั เงินอุดหนุน แม้ สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (ทีดอี าร์ไอ) จะเสนอผลวิจยั เรือ่ ง ‘เงินอุดหนุน เพื่ อ การเลี้ ย งดู บุ ต ร ช่ อ งว่ า งที่ ห ายไปของ ระบบสวัสดิการไทย’ ว่า รัฐควรจัดเงินอุดหนุน

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 6

ถ้วนหน้าในเบือ้ งต้นแก่ทกุ คน แล้วค่อยงดสิทธิ ให้กับกลุ่มที่สามารถดูแลตนเองได้ จะท�ำให้ เข้าถึงเด็กและมีฐานข้อมูลทีแ่ น่นอนมากกว่า หรื อ ที่ นายพิ ริ ย ะ ผลพิ รุ ฬ ห์ ผู ้ อ� ำ นวย การศูนย์ศึกษาพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ชี้ว่า การ ให้เงินอุดหนุนแบบก�ำหนดเฉพาะกลุ่มเจาะจง มักไม่ครอบคลุมถึงกลุ่มเป้าหมายที่แท้จริง ครอบครัวทีย่ ากจนทีส่ ดุ อาจไม่ได้รบั ความช่วยเหลือ และเสนอให้เปลีย่ นเป็นการให้เงินอุดหนุนแบบ ทัว่ ถึง ซึง่ จะใช้งบประมาณ 4.1 หมืน่ ล้านบาท หาได้จากการเก็บระบบภาษีอัตราก้าวหน้า ก็ เ ป็ น อี ก ทางหนึ่ ง ในการเพิ่ ม งบประมาณ มาด�ำเนินงาน แต่ นางศิรธิ นาพร ภูรหิ ริ ญ ั พัชร์ ผูอ้ ำ� นวยการ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารโครงการเงิ น อุ ด หนุ น เพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด กรมกิจการเด็ก และเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ ชี้ แ จงว่ า หากให้ ครอบคลุมเด็กแรกเกิดทุกคน ต้องใช้งบสูง ถึงหลักหมื่นล้านบาท แต่รัฐมีงบจ�ำกัด จึงมุ่ง ช่ ว ยเหลื อ ครอบครั ว ที่ ย ากจนตามเกณฑ์ เส้นความยากจนทีส่ ศช.ก�ำหนดก่อน “เคยเสนอให้โครงการนี้ อุดหนุนครอบครัว ยากจนไปจนถึงเด็กอายุ 6 ปี แต่ครม.ยังไม่อนุมตั ิ แต่ถ้าผลประเมินโครงการไปทางบวก อาจ ขยายเพิม่ ได้ตามทีเ่ คยเสนอ” ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ ปฏิบตั กิ ารโครงการเงินอุดหนุนฯ กล่าว และว่า จะพยายามผลักดันให้เด็กแรกเกิดทุกคนได้รบั เงินอุดหนุน ไม่เฉพาะครอบครัวยากจน แต่ ขณะนี้ ยั ง ไม่ ส ามารถก� ำ หนดได้ ว ่ า ต้ อ งดึ ง งบประมาณจากส่วนไหนมาบ้าง หรืออาจจะ ถ่ายโอนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.) เข้ามาด�ำเนินการ ขณะที่ นางสาวราณี หัสสรังสี คณะท�ำงาน วาระทางสังคม สถาบันวิจยั สังคม จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย กล่ า วว่ า การจั ด สวั ส ดิ ก าร ของสังคมในไทย มักเน้นค�ำถามตั้งต้นว่ามี งบประมาณหรือไม่ มากกว่ามองในเรือ่ งของการ พัฒนาคุณภาพชีวติ “เงินอุดหนุนเป็นสวัสดิการทางสังคมที่ รัฐ มีห น้ า ที่ ต ้ อ งให้ เ ด็ ก ทุ ก คน” นั ก วิ จั ย จาก สถาบันวิจยั สังคม ย�ำ้ พร้อมชีว้ า่ หากไม่มเี งิน ช่วยเหลือ เด็กอาจขาดสารอาหาร เพิม่ ปัจจัย เสีย่ งด้านการได้รบั ความรูอ้ ย่างมีคณ ุ ภาพ และ ปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งจะส่งผลต่อเด็กในระยะ ยาว ตลอดจนคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ของ ประเทศในอนาคต

เด็ ก ไทยขาดสารอาหาร หวัน ่ กระทบคุณภาพแรงงานในอนาคต แม้ ว ่ า รายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ ครั ว เรื อ น ในประเทศไทยในรอบ 17 ปี จะเพิ่มขึ้น จาก 12,492 บาท ต่ อ ปี ในปี 2541 เป็ น 26,915 บาท ต่ อ ปี ในปี 2558 ตามรายงานการส�ำรวจภาวเศรษฐกิจและ สังคมของครัวเรือน ส�ำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ ทว่า เด็กเล็กอายุ 0 - 5 ปี ของไทย ยังคงประสบปัญหาขาดสารอาหาร จากการ ทีพ่ อ่ แม่ไม่มเี วลาดูแลหรือครอบครัวยากจน งานศึ ก ษาเรื่ อ งความชุ ก ของปั ญ หา ทุพโภชนาการจากกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ปี 2558 - 2559 พบว่า เด็กเล็ก ของไทย เมื่ อ ค� ำ นวณจากสถิ ติ เ ด็ ก เล็ ก ของส� ำ นั ก บริ ห ารการทะเบี ย น กรมการ ปกครอง ทีเ่ ฉลีย่ รุน่ หนึง่ มีประมาณ 4.4 ล้านคน มีภาวะเตีย้ ร้อยละ 10.5 คิดเป็น 4.6 หมืน่ คน ผอมร้อยละ 5.4 คิดเป็น 2.3 หมืน่ คน อ้วนร้อยละ 8.2 คิดเป็น 3.6 หมืน่ คน เกินเกณฑ์ทอี่ งค์การอนามัยโลกก�ำหนดว่า ต้องมีภาวะเตีย้ ไม่เกินร้อยละ 10 ผอมไม่เกิน ร้อยละ 5 อ้วนไม่เกินร้อยละ 10 เจริ ญ นภาพงศ์ สุ ริ ย า กุ ม ารแพทย์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ อธิบายว่า เมื่อขาด สารอาหารทีจ่ ำ� เป็นต่อร่างกาย เช่น โปรตีน ที่ เ สริ ม สร้ า งกล้ า มเนื้ อ ท� ำ ให้ เ จริ ญ เติ บ โต พัฒนาการทางสมองจะช้าลง และส่งผลต่อ การเรียนและการท�ำงานในอนาคต มีข้อมูลจากระบบสถิติทางการทะเบียน ส�ำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ว่ า ปั จ จุ บั น ประเทศไทยมี อั ต ราการเพิ่ ม ประชากรลดลงต่อเนื่องจากปี 2556 ที่เกิด 7.8 หมืน่ คน เหลือ 7.3 หมืน่ คน ในปี 2558 อนาคตที่ประเทศจะมีวัยแรงงานลดลงจึง หลีกเลีย่ งไม่ได้ ฉะนั้ น การมี ป ระชากรที่ มี คุ ณ ภาพ ทดแทนวัยแรงงานที่ขาดไปจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ฝัง่ ภาครัฐ แม้จะเห็นความส�ำคัญในเรือ่ งนี้ โดยข้อมูลจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ซึ่งเก็บสถิติล่าสุด เมื่อเดือนตุลาคม 2558 ระบุวา่ ทัว่ ประเทศมีศนู ย์เด็กเล็ก 19,658 แห่ง เพือ่ ให้ผปู้ กครองทีม่ รี ายได้นอ้ ย หาเช้ากินค�ำ่ ไม่มเี วลาดูแลเด็กอ่อน น�ำลูกมาฝากเลีย้ ง แต่ในความเป็นจริง ศูนย์ฯ ดังกล่าว ก็ประสบปัญหาการขาดแคลนงบประมาณ โดยเฉพาะการจัดอาหารกลางวันทีม่ สี ารอาหาร ครบถ้วนให้เด็ก โดย ข้อมูลสมุดบันทึกแม่และเด็ก กรมอนามัย ระบุวา่ อาหารใน 1 มือ้ ทีเ่ ด็กเล็ก ควรจะได้รบั ประกอบด้วย ข้าว ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ และนม คิดเป็นเฉลีย่ มือ้ ละ 100 บาท ศุภวัฒน์ ทองกาญจนาคุณ ครูประจ�ำ ศู น ย์ เ ด็ ก เล็ ก ชุ มชนวั ฒ นา เขตคลองสาน กรุงเทพฯ ยอมรับว่า ปัจจุบันมีผู้ปกครอง พาเด็ ก เล็ ก มาฝากเลี้ ย ง เป็ น จ� ำ นวนมาก แต่ไม่สามารถให้อาหารกลางวันได้ครบ 5 หมู่ ตามที่ ก ระทรวงสาธารณสุ ข ได้ ก� ำ หนดไว้ โดยสาเหตุหลัก คือ งบประมาณไม่เพียงพอ

“ปัจจุบัน ได้รับเงินค่าอาหาร 7 บาท และนม 13 บาท ต่อคน ต่อวัน รวมเป็น 20 บาท แต่มื้อหนึ่ง ถ้าจะให้ครบ 5 หมู่ เฉลี่ยแล้ว ราคาก็หลักร้อยขึ้น มีทั้งค่าข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ นม แต่ละวันก็จะไม่ซอื้ ซ�ำ้ เด็กทัง้ ศูนย์ มีจ�ำนวน 40 คนต่อวัน ดังนั้น ทางศูนย์ จึ ง ใช้ อ าหารชนิ ด อื่ น ที่ ส ามารถแทนได้ เช่น แทนที่จะกินเนื้อสัตว์ ก็ให้กินไข่แทน เพราะมีโปรตีนเช่นกัน ยืนยันว่า มีสารอาหาร ครบเหมือนกัน” ขณะที่ สิริอาภรณ์ อุทัยกัน พยาบาล เวชศาสตร์ ปฏิบัติการ ศูนย์อนามัย 28 กรุงธนบุรี บอกว่า ผูป้ กครองทีพ่ าเด็กมาตรวจ ส่วนใหญ่ยากจน หาเช้ากินค�ำ่ ไม่มเี วลาดูแล อาหารของลูกอย่างใกล้ชิด ผลคือ เด็กเล็ก มีภาวะเตีย้ ผอม หรือบางคนก็กนิ แต่นำ�้ หวาน ขนมกรอบ จนมีภาวะน�ำ้ หนักเกิน “ศูนย์เปิด 2 วันต่อสัปดาห์เฉพาะช่วงบ่าย พยาบาลมีนอ้ ย แต่เด็กมาใช้บริการ 50-60 คน จึงไม่สามารถแนะน�ำอาหารการกินของเด็ก กับผูป้ กครองได้ทวั่ ถึง” ในเรื่ อ งนี้ ณรงค์ เพ็ ช รประเสริ ฐ รองศาสตราจารย์ประจ�ำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เห็นว่า เด็กคือ ทรัพยากรของสังคม รัฐจึงต้องให้การช่วยเหลือ อย่างทัว่ ถึง “สวีเดนสนับสนุนเด็กเล็กตัง้ แต่อยูใ่ นครรภ์ จนถึง 5 ปี เช่น ให้ความช่วยเหลือด้านโภชนาการ โดยการให้ ชุ ด อาหารแก่ ส ตรี มี ค รรภ์ แ ละ เด็กอายุไม่เกิน 5 ปี ที่ยากจน และเด็กที่มี ความเสีย่ งต่อสภาวะโภชนาการแย่ จะได้รบั ประโยชน์ 6 เดือน เพราะถือว่า การพัฒนาคน เป็นเรือ่ งส�ำคัญ” รองศาสตราจารย์ กล่าว ด้าน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้กำ� หนดแผนยุทธศาสตร์ ปี 2560 เรือ่ งสตรี และเด็กปฐมวัย ว่า จะจัดท�ำโครงการ เช่น การพัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก การส่งเสริม โภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย และให้เด็กไทย รุ ่ น ใหม่ แ ข็ ง แรง สมองดี พร้ อ มเรี ย นรู ้ ใช้งบประมาณ 42 ล้านบาท เพือ่ ลดปัญหา เด็กขาดสารอาหารและส่งเสริมเด็กให้สูงดี สมส่วน ขณะที่ ณั ฐ วรรณ เชาวน์ ลิ ลิ ต กุ ล นั ก โภชนาการช� ำ นาญการพิ เ ศษ ส� ำ นั ก โภชนาการ กรมอนามัย ยอมรับว่า เด็กเล็ก ของไทยทีก่ นิ อาหารสมบูรณ์ มีเพียงร้อยละ 48 ปีนี้มีการเปลี่ยนยุทธศาสตร์ เพื่อแก้ไขการ ให้บริการและลดปัญหาเด็กขาดสารอาหาร เพิ่มการกระจายข่าวสารความส�ำคัญของ โภชนาการผ่านทางสือ่ เพิม่ พืน้ ทีบ่ ริการคลินกิ สุขภาพเด็กให้ทวั่ ถึง เช่น ให้คำ� แนะน�ำติดตาม ผลตรวจดูอาการเด็กรายคนอย่างรอบคอบ “ตัง้ เป้าว่าอีก 20 ปีขา้ งหน้าจะวัดส่วนสูง ทีอ่ ายุ 19 ปี เฉลีย่ ผูช้ ายต้องสูง 183 เซนติเมตร ผูห้ ญิงต้องสูง 170 เซนติเมตร” นักโภชนาการ ช�ำนาญการพิเศษ ระบุ ศุภนิดา อินยะบุตร อริสรา นนศิริ

21/1/2560 16:37:34


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สิทธิเด็กและสตรี

สถานีตำรวจทั่วประเทศ

1,482

จำนวนพนักงานสอบสวนหญิง 2538

เด็ ก ไทยกว่ า ล้ า นครวญ

ขาดแคลนอาหารกลางวั น “กลางวันได้กนิ กับข้าวแค่ 2 อย่าง เติมอีก ไม่ได้เพราะครูบอกว่า ข้าวไม่พอ วันไหนกินไม่ อิม่ ก็ตอ้ งซือ้ ขนมกินเอง นาน ๆ ครัง้ ถึงจะได้ กินผลไม้” เด็ ก หญิ ง รั ช นี ก ร โสประดิ ษ ฐ์ นั ก เรี ย น ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดเมตารางค์ จังหวัดปทุมธานี เป็น 1 ในนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา จ�ำนวน 1,683,802 คน ที่ขาดแคลน อาหารกลางวัน ตามรายงานข้อมูลพื้นฐาน ทางการศึกษา ปีการศึกษา 2559 ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตัง้ แต่ปกี ารศึกษา 2557 เป็นต้นมา รัฐบาล ได้ปรับเพิม่ งบประมาณโครงการอาหารกลางวัน ของนักเรียนจาก 13 บาท ต่อคนต่อวัน เป็น 20 บาท เพือ่ แก้ไขปัญหาการขาดสารอาหารใน เด็กนักเรียน โดยให้กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิน่ เป็นผูจ้ า่ ยเงินให้โรงเรียนในสังกัดสพฐ. และสังกัดท้องถิน่ งบประมาณเฉลีย่ 2.4 หมืน่ ล้านบาท ต่ อ ปี แต่ ห ลายโรงเรี ย นในปริ ม ณฑลและ ต่างจังหวัด ยังไม่สามารถจัดอาหารกลางวัน

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 7

ให้นกั เรียนได้อย่างเพียงพอ นางศมานันท์ ทรัพย์หิรัญ ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนวัดเมตารางค์ จังหวัดปทุมธานี เผยว่า ปกติโรงเรียนต้องจัดกับข้าวให้นกั เรียน 2 อย่าง ต่อมือ้ แต่บางวันจัดได้เพียงอย่างเดียว เพราะ ต้องแบ่งเงินไปซื้อข้าวสาร และจ่ายค่าจ้าง แม่ครัวมาประกอบอาหาร อยูท่ วี่ นั ละ 250 บาท “โรงเรี ย นขนาดเล็ ก มี ง บประมาณรวม เพียง 1,120 บาท ต่อนักเรียน 56 คน จึงไม่พอ ต่อการประกอบอาหาร” นางศมานันท์ กล่าว ด้าน ค�ำสัง่ กรุงเทพมหานคร เรือ่ งแนวทาง ปฏิ บั ติ ก ารจั ด โครงการอาหารกลางวั น ใน โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ซึง่ เป็นระเบียบทีใ่ ช้เทียบเคียงในการจัดอาหาร กลางวันให้โรงเรียนประถมแห่งอื่น ๆ ระบุว่า สามารถด�ำเนินการได้ 2 แบบ คือ จัดอาหารจานเดียว และจัดอาหารเป็นชุด ประกอบด้วยกับข้าว 2 อย่าง และมีขนมหวานหรือผลไม้ตามฤดูกาล นางสาวพิมพ์พิชชา กลิ่นทองหลาง ครู ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย จังหวัดชลบุรี กล่าวว่า การจัดอาหารกลางวัน

356 113

อยูสถานีตำรวจ ในกทม.

ปญหาของพนง.สอบสวน งานหนัก เวลาจำกัด เงินนอย

ผูใหญ 4,296 เยาวชน 159 เด็ก 939

เธอระบุ และบอกว่า แม้ต�ำรวจคนดังกล่าว จะลงบันทึกประจ�ำวันและให้เธอไปตรวจร่างกาย พร้อมน�ำใบรับรองแพทย์มายื่นในวันรุ่งขึ้น แต่เธอหวาดกลัวว่า จะเจอค�ำพูดทีซ่ ำ�้ เติมจิตใจ แบบนัน้ อีกจึงไม่ดำ� เนินการต่อ พ.ต.อ.หญิง ปวีณา เอกฉัตร ผกก. (สอบสวน) สน.สมเด็จเจ้าพระยา เผยว่า โครงการน�ำร่อง ปีแรก มีตำ� รวจหญิงประจ�ำต�ำแหน่งเพียง 15 คน หลังจากนัน้ 8 ปีตอ่ มา ถึงมีรนุ่ ที่ 2 เพิม่ อีก 20 คน กระทัง่ ปี 2556 เพิง่ จะรับพนักงานสอบสวนหญิง ที่จบจากโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ แต่ก็เพียง รุน่ ละ 60 - 70 คนเท่านัน้ ท�ำให้บางสถานีตำ� รวจ มี พ นั ก งานสอบสวนหญิ ง หลายต� ำ แหน่ ง แต่บางสถานีไม่มเี ลย พ.ต.อ.วินยั ธงชัย หัวหน้าฝ่ายนักจิตวิทยา กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลต�ำรวจ กล่าวว่า ส่วนใหญ่แล้วพนักงานสอบสวนชายจะไม่มี ความรู้ด้านจิตวิทยา หากเวลากระชั้นและ อยากได้ขอ้ มูล ก็จะใช้คำ� ถามในลักษณะคุกคาม พูดข่มขู่ นางสาวอุษา เลิศศรีสันทัด ผู้อ�ำนวยการ มู ล นิ ธิ ผู ้ ห ญิ ง กลาววา การถู ก สอบสวน ในลักษณะนีค้ อื การละเมิดสิทธิ ทัง้ ยังมีผลกระทบ ทางด้านจิตใจ ท�ำให้รู้สึกหมดหวังและท้อแท้ มูลนิธจิ งึ ต้องผลักดันให้ผเู้ สียหายพยายามสูค้ ดี

2559

15

สถิติคดีเพศ ชีวิต และรางกาย (หญิง) พ.ย. 59

หนังสือพิมพ์ลูกศิลป์รายงานว่า โครงการ ผลิ ต พนั ก งานสอบสวนหญิ ง ของส� ำ นั ก งาน ต�ำรวจแห่งชาติ (สตช.) ที่เริ่มครั้งแรกเมื่อ ปี 2538 ปัจจุบนั ผ่านมาแล้ว 21 ปี ยังไม่คบื หน้า โดยรายงานสถิติอัตราก�ำลังพลของส�ำนักงาน ต�ำรวจแห่งชาติ เดือนตุลาคม 2559 เปิดเผยว่า ปั จ จุ บั น มี พ นั ก งานสอบสวนหญิ ง เพี ย ง 356 คน พนักงานสอบสวนชาย 9,493 คน มี ส ถานี ต� ำ รวจ 1,482 แห่ ง ทั่ ว ประเทศ ในจ� ำ นวนพนั ก งานสอบสวนหญิ ง ทั้ ง หมด มี 113 คน ประจ�ำการในสถานีตำ� รวจนครบาล ที่ เ หลื อ อี ก 243 คน กระจายอยู ่ ใ นสถานี ต�ำรวจภูธรทัว่ ประเทศ ทัง้ นี้ ประมวลกฎหมาย วิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา 133 บัญญัตวิ า่ คดีความผิดเกีย่ วกับเพศ ผูเ้ สียหายหญิงมีสทิ ธิ ได้รบั การสอบสวนโดยพนักงานสอบสวนหญิง นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย รั ฐ ชื่ อ ดั ง คนหนึ่ ง ทีถ่ กู ลวนลามและเกือบโดนข่มขืนระหว่างทาง กลั บ บ้ า น เมื่ อ 6 ปี ที่ แ ล้ ว ให้ ข ้ อ มู ล ว่ า เคยไปแจ้งความกลางดึกหลังจากประสบเหตุ ดังกล่าว แต่ต�ำรวจชายพูดท�ำนองว่า ที่เกือบ ถูกกระท�ำนัน้ เป็นความผิดของเธอเอง “ร้อยเวรพูดกับดิฉันว่า แต่งตัวโป๊แบบนี้ โรคจิตมันชอบ นีถ่ า้ ไปยืนใต้ตน้ ไม้มดื ๆ ขีร่ ถผ่าน คิดว่าให้ฟรี ท่าทางคล้ายพวกกะหรี่ขายตัว”

7

พนักงานสอบสวนหญิง ขาดแคลน ข้อขมูอลมูจาก: นักกงานต� ำรวจแห่งงชาติ ชาติ ลจาก:ส�ำสำนั งานตำรวจแห

“อย่างกรณีขม่ ขืนเป็นคดีทยี่ อมความกันได้ บางครั้ ง ผู ้ เ สี ย หายก็ รู ้ สึ ก ว่ า ควรยอมความ เสียดีกว่า จะได้ไม่ต้องมาเจอกระบวนการ ยุติธรรมที่ต้องมาตอบค�ำถามปกป้องตัวเอง ว่าถูกกระท�ำมา ต้องพิสจู น์วา่ ตัวเองถูกกระท�ำ อะไรบ้าง ด้วยการตัง้ ค�ำถามไม่ให้ความเคารพ” ผูอ้ ำ� นวยการมูลนิธผิ หู้ ญิง กล่าว ร.ต.ท.ภูวไนย อินจาด รองสารวัตร (สอบสวน) สภ.พระนครศรีอยุธยา รักษาราชการในต�ำแหน่ง รองสารวัตร (สอบสวน) สภ.บางปะอิน กล่าวว่า ต� ำ รวจชั้ น ผู ้ น ้ อ ยส่ ว นใหญ่ ยั ง ไม่ เ ชื่ อ มั่ น ในประสิทธิภาพของพนักงานสอบสวนหญิง ทั้ ง ยั ง มี ป ั ญ หาของพนั ก งานสอบสวน คื อ งานหนัก เงินน้อย เสียสุขภาพกาย สุขภาพจิต และเจ้านายกดดัน ร.ต.ท.หญิง เสาวลักษณ์ สุขสา รองสารวัตร (สอบสวน) สน.บางกอกใหญ่ เผยว่า ตนคิดว่า งานสอบสวนเป็ น งานที่ ห นั ก มาก มี ห น้ า ที่ รวบรวมพยานหลักฐาน ติดต่อประสานงาน กับหน่วยงานอื่น ติดตามผลคดี มีระยะเวลา

สรุ ป ส� ำ นวนจ� ำ กั ด เมื่ อ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น พนักงานสอบสวนหญิงได้ 2 ปี สามารถย้ายไป สายงานอื่นได้ บางคนจึงย้ายไปเป็นต�ำรวจ ท่องเทีย่ ว ต�ำรวจตรวจคนเข้าเมือง และต�ำรวจ จราจร พล.ต.ต.โสพรรณ ธนะโสธร รองผูบ้ ญ ั ชาการ ส�ำนักงานกฎหมายและคดี ส�ำนักงานต�ำรวจ แห่งชาติ (สตช.) กล่าวว่า สตช. ได้สงั่ การแล้ว ว่า หากพนักงานสอบสวนแต่ละคนมีสำ� นวนคดี มากเกินไป ก็จ�ำเป็นต้องให้ต�ำรวจชั้นผู้ก�ำกับ ร่วมท�ำด้วย เพือ่ แก้ปญ ั หา ขณะที่ พล.ต.ท.สุวริ ะ ทรงเมตตา ทีป่ รึกษา (สบ 10) (ด้านป้องกันปราบปรามอาชญากรรม) ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ (สตช.) ยอมรับว่า ปัจจุบันขาดแคลนพนักงานสอบสวนหญิงจริง ส่ ว นโรงเรี ย นนายร้ อ ยต� ำ รวจมี อั ต ราการ รับนักเรียนที่จ�ำกัด แต่จะเร่งเพิ่มพนักงาน สอบสวนหญิงให้ครบทุกสถานีในอนาคต

ส�ำหรับนักเรียน 100 คน ได้งบประมาณ 2,000 บาท ต่อวัน แต่วัตถุดิบประกอบอาหารมีราคาสูง เช่น ไข่พะโล้ตอ้ งใช้เงิน 1,300 บาท ผัดกะเพรา 1,200 บาท ขนมจีนน�ำ้ ยา 1,700 บาท ต่อมือ้ หากต้องท�ำอาหาร 2 อย่างตามระเบียบ จะเกิน งบประมาณ ขณะที่ นางประดิษฐ สอนดี ครูผู้ดูแล โครงการอาหาร โรงเรียนวัดแสนสุข ซึ่งเป็น โรงเรียนประถมขนาด 800 คน ในกรุงเทพฯ กล่าวว่า ในแต่ละวันมีตน้ ทุนค่าอาหารไม่เท่ากัน ราคาวัตถุดิบส�ำหรับนักเรียน 721 คน อยู่ที่ 13,350 บาทต่อวัน มีงบประมาณ 14,420 บาท ต่อวัน พอเฉพาะค่าวัตถุดิบ แต่ยังมีค่าแก๊ส ค่าจ้างแม่ครัว ฯลฯ คู่มือการจ�ำแนกอาหาร ขนม นม และ เครื่องดื่มตามมาตรฐานโภชนาการ ปี 2557 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ระบุถึง ปริมาณอาหารกลางวันของนักเรียนอายุ 6 – 12 ปี ที่ควรได้รับตามหลักโภชนาการว่า ต้องได้รับ ข้าว (แป้ง) 2 – 2.5 ทัพพี เนือ้ สัตว์ 2 ช้อนกินข้าว ผัก 4 ช้อนกินข้าว ผลไม้ 1 ส่วน น�ำ้ มัน 2 ช้อนชา นางสาวพรวิภา ดาวดวง นักโภชนาการ ช�ำนาญการ กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า หากไม่ได้รับอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ เพี ย งพอ จะส่ ง ผลให้ นั ก เรี ย นเสี่ ย งภาวะ ทุพโภชนาการ เรียนรูช้ า้ จึงจ�ำเป็นต้องมีเมนูที่ 2 มาเสริมให้มสี ารอาหารครบถ้วน นายบรรเจิด ท้าวแพทย์ ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนคลองมะขามเทศ กรุงเทพฯ กล่าวว่า แม้โรงเรียนขนาดใหญ่ จะได้งบอาหารกลางวัน 20 บาทต่ อ หั ว เท่ า กั บ โรงเรี ย นขนาดเล็ ก แต่มยี อดรวมเงินมากกว่า เวลาซือ้ วัตถุดบิ เยอะ ๆ

จึงได้ราคาถูกกว่า เมือ่ เทียบกัน “เงือ่ นไขเชิงพืน้ ทีก่ ม็ สี ว่ น โรงเรียนขนาดเล็ก ไม่มีร้านค้ารายรอบ บังคับให้นักเรียนต้องกิน อาหารกลางวันของโรงเรียน ขณะที่โรงเรียน ขนาดใหญ่ นักเรียนบางคนซือ้ อาหารกลางวัน กินเองรอบโรงเรียน โรงเรียนจึงค�ำนวณปริมาณ การท� ำ อาหารไว้ จ� ำ นวนหนึ่ ง และสามารถ จัดกับข้าว 2 อย่างได้ และตักอาหารให้นกั เรียน ไม่มาก ถ้าไม่อิ่มจึงค่อยมาตักอาหารเพิ่ม” นายบรรเจิด กล่าว ขณะที่ นางสาวสมรักษ์ กิง่ รุง้ เพชร์ ผูอ้ ำ� นวยการ กลุ่มงานยุท ธศาสตร์การพัฒ นาการจัดการ ศึกษาท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองส่วน ท้องถิน่ กระทรวงมหาดไทย ชีแ้ จงว่า โรงเรียน ขนาดเล็กมักประสบปัญหาไม่สามารถจัดอาหาร กลางวันให้นักเรียนอย่างเพียงพอหรือให้สาร อาหารครบ เพราะงบประมาณรวมได้นอ้ ยกว่า โรงเรียนขนาดใหญ่และขึน้ อยูก่ บั การบริหารงบ ของโรงเรียนเองด้วย เมื่อถามว่า รัฐมีแนวทางการแก้ไขปัญหา อย่างไร นางสาวสมรักษ์ กล่าวว่า ขณะนีโ้ รงเรียน ต้ อ งแก้ ป ั ญ หาการจั ด การงบประมาณเอง รัฐยังไม่มีแผนปรับเพิ่มงบค่าอาหารกลางวัน เพราะต้องท�ำวิจัยว่า เหตุใดถึงไม่เพียงพอ ก่ อ นเสนอรั ฐ บาลเห็ น ชอบ อย่ า งไรก็ ดี เดือนกันยายนที่ผ่านมา กระทรวงศึกษาธิการ มีโครงการโรงเรียนดีใกล้บ้าน โดยให้นักเรียน จากโรงเรียนขนาดเล็กย้ายไปเรียนที่โรงเรียน ขนาดใหญ่แทน เพือ่ แก้ไขปัญหาประสิทธิภาพ การจัดการในโรงเรียนขนาดเล็ก

เขมพัฏฐ์สร ธนปัทมนันท์

ศิรวิชญ์ บุญทน

21/1/2560 16:37:35


8

| ลูกศิลป์

ประชาคมเพชรบุรี

1

ปี 2552-2559 มีจำ� นวนขยะทีเ่ ก็บได้ 435,417 ชิน้

กระดานไม้เรียวยาว ตะกร้าสาน ใส่หอย เคียงข้างเรือประมงล�ำเล็ก พร้อมด้วยหลอดไฟที่สาดแสงนวล ตาบนเสากระโดงเรือ ชาวประมง ก� ำ ลั ง ไถลไม้ ก ระดานสี น�้ ำ ตาลไป ตามเลนโคลนบนพื้นที่ชายฝั่งทะเล เพื่ อ เก็ บ หอยธรรมชาติ จ ากแหล่ ง ท�ำกินในต�ำบลบางขุนไทร อ�ำเภอ บ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี นอกจากนี้ สิ่งส�ำคัญที่จะท�ำให้ ประมงพืน้ บ้านสมบูรณ์ คือ ‘มือ’ วิถีการท�ำประมงแบบนี้ ยังคง ด�ำรงอยูอ่ ย่างยาวนานเกือบ 100 ปี ชาวบางขุนไทรส่งต่อภูมิปัญญาและ มรดกทรัพยากรธรรมชาติจากรุน่ สูร่ นุ่ บนพื้ น ที่ ก ว่ า 8,000 ไร่ จาก ต�ำบลบ้านแหลม ต�ำบลบางขุนไทร จนกระทั่งถึงต�ำบลปากทะเล เป็น แหล่งพันธุ์หอยแครงธรรมชาติใหญ่ ที่สุดในประเทศ ทุกตารางเมตรมี ความส� ำ คั ญ ต่ อ ลมหายใจของ ชาวประมง เป็นทั้งแหล่งอาหารให้ อิม่ ท้องภายในครอบครัว และแหล่ ง ขุ ม ทรั พ ย์ ร ายได้ ใ ห้ อิม่ ใจ “สมัยก่อนเก็บหอยขายได้เงิน วันละหลายร้อย บางทีได้เป็นพันบาท อาชีพแบบนีต้ อ้ งขึน้ อยูก่ บั ความขยัน ขยันลงไปเก็บมากก็ได้มาก ใครขีเ้ กียจ ก็ได้นอ้ ย” สุ ริ ย า พึ่ ง แผน ชาวประมง พื้นบ้านบางขุนไทร เล่าถึงวิถีชีวิต เรียบง่ายในการท�ำประมงหอยแครง ทีผ่ า่ นมา การอาศั ย ธรรมชาติ เ พื่ อ เลี้ ย ง ครอบครัวเป็นวิชาชีพเพียงหนึง่ เดียว ทีช่ าวบ้านสามารถสัมผัสได้ จึงต้องให้ ความส�ำคัญกับการใช้ประโยชน์จาก ธรรมชาติควบคูไ่ ปกับความพยายาม ในการอนุรกั ษ์อย่างยัง่ ยืน แต่เมื่อหอยแครงสามารถเป็น แหล่งรายได้จงึ อาจเป็นปัจจัยทีน่ ำ� พา อุตสาหกรรมเข้ามาและก่อให้เกิด ความเปลีย่ นแปลง “ถ้ า ไม่ มี ค ราด ทะเลก็ พ อท� ำ กิน” แอบ กินน้อย ผูป้ ระกอบอาชีพ ประมงยาวนานกว่า 70 ปี เล่าถึงการ ประกอบอาชีพร่วมกับธรรมชาติและ ปัญหาการต่อสู้กับคนลักลอบคราด หอยแครง คราดหอย เป็นเครือ่ งมือทีเ่ ข้ามา สูป่ ระมงพืน้ บ้านบางขุนไทรเป็นระยะ เวลานาน วิธกี ารคือ ใช้เรือลากคราด กวาดหอยไปจนหมดหน้าดิน ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง อุ ป ก ร ณ ์ ที่ ชื่ อ ว่ า “คราด” เป็ น ตะแกรงเหล็ ก ทรงสี่เหลี่ยม มีเชือกไว้ให้จับ ซึ่งใช้ ทุ่นแรงคนเพื่อให้ได้หอยในปริมาณ มากแต่ใช้เวลาน้อย เรือจะอาศัยช่วง เวลาน�ำ้ ขึน้ ขณะทีช่ าวประมงพืน้ บ้าน ไม่ออกไปเก็บหอย เพราะวิถปี ระมง แบบพืน้ บ้านจะใช้มอื เปล่าเก็บ จึงต้อง

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 8

รอช่วงเวลาทีน่ ำ�้ ลงจนเห็นพืน้ เลนถึง จะลงไปเก็บได้ ขณะทีเ่ รือคราดหอย แครงต้องอาศัยน�ำ้ ในการเดินเรือเพือ่ น�ำคราดลากลงใต้ผืนน�้ำจากนั้นก็ดึง เอาหอยขึน้ มา ตั้ ง แต่ ป ี 2535 เป็ น ต้ น มา ชาวประมงต�ำบลบางขุนไทร ต้อง รั บ มื อ กั บ คราดหอยแครงมากขึ้ น จากเดิม “ชาวบ้านใช้มอื เก็บ 5 - 6 ชัว่ โมง ได้ 500 บาท พอคราดหอยมาชัว่ โมง เดี ย วได้ แ ล้ ว หมื่ น สองหมื่ น บาท ตัวเล็กตัวใหญ่เอาไปหมด ไม่เหลือ อะไรไว้เลย แล้วชาวบ้านจะสูอ้ ย่างไร” สาคร แก้ ว มณี รองหั ว หน้ า กลุ ่ ม อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล บางขุนไทรเล่าถึงความยากล�ำบาก ของชาวประมงพืน้ บ้าน เมื่อเรือคราดเข้ามาคราดหอย ไปจนไม่เหลือให้ชาวประมงพื้นบ้าน เก็บหอย เกิดเป็นวิกฤตจนต้องอพยพ ย้ายถิ่นฐานหางานเพื่อด�ำรงชีพให้ อยูร่ อด เป็นการเก็บหอยเหมือนเดิม แต่ไม่ได้ทำ� ทีบ่ า้ น “สมัยนัน้ เรือมาคราดกันไปหมด ต้องหนีไปเก็บหอย หาเงินที่ชุมพร ชลบุ รี นครศรี ธ รรมราช ได้ ก ลั บ บ้านเดือนละครั้ง หรือถ้าไม่ได้กลับ ก็จะส่งเงินกลับมาบ้านกับแม่ค้า” ไพรรัตน์ ชัยชาติคงนภัทร ชาวประมง บางขุ น ไทร ผู ้ อ าศั ย ทะเลในการ ด�ำรงชีพกว่า 50 ปี เล่าถึงความหลัง ช่วงวิกฤตของชีวิตตอนที่เรือคราด หอยเข้ามาลักลอบคราดหอย เรือคราดนอกจากจะท�ำให้ชาว ประมงต้องเดือดร้อน ยังส่งผลต่อสิง่ แวดล้อม เนื่องจากพื้นที่แห่งนี้เป็น พื้นที่ให้หอยเกิดเองตามธรรมชาติ จึงไม่มผี ใู้ ดเข้าไปเพาะเลีย้ งหอยแครง และหอยชนิดอืน่ ๆ เมือ่ เรือคราดหอย เข้ามา ท�ำให้หอยทีม่ อี ยูน่ นั้ ถูกเก็บไป จนหมด เมือ่ เกิดผูก้ อบโกยจากอุตสาหกรรม จึ ง เป็ น ที่ ม าของนั ก กอบกู ้ ป ระมง พื้ น บ้ า นบางขุ น ไทร ภายใต้ ชื่ อ กลุม่ อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติทาง ทะเลและชายฝั่ง เป็นการรวบรวม ชาวบ้านจากหลากหลายชีวติ ในพืน้ ที่ นั้ น มาปกป้ อ งรั ก ษาให้ ค งอยู ่ เ พื่ อ ลูกหลาน “กลุ่มนี้จัดตั้งเมื่อปลายปี 2535 ก่อนหน้านีก้ ม็ กี ารจัดตัง้ กลุม่ มาก่อน แต่ ก็ยงั ไม่สำ� เร็จ” จรรยง พิทกั ษ์ ผูใ้ หญ่บา้ น บ้านสามัคคี ต�ำบล บางขุนไทร ผูช้ กั ชวน ให้ชาวบ้านในพืน้ ทีช่ ว่ ยกันปราบปราม เรือคราดหอย เล่าถึงทีม่ า กลุม่ อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ทางทะเลและชายฝัง่ มีจดุ ประสงค์เพือ่ ปราบเรือคราดหอยให้ออกไปจากพืน้ ที่ ท�ำกิน และด้วยความเข้มแข็งของชาวบ้าน ในการออกไปลาดตระเวนจับกลุม่ เรือ คราดหอยแครงทุกวัน มีการแบ่งเวร

ยามกันภายในกลุม่ ท�ำให้สถานการณ์ เริม่ คลีค่ ลาย ในปี 2551 จังหวัดเพชรบุรี ออก ประกาศเรือ่ ง ก�ำหนดห้ามท�ำ การประมง หอย 2 ฝา ในเขตพืน้ ทีต่ ำ� บลบ้านแหลม ต�ำบลบางขุนไทร ต�ำบลปากทะเล โดย มีใจความส�ำคัญว่า ห้ามผูใ้ ดใช้เครือ่ งมือ ประมงทุกชนิดในการเก็บหอย 2 ฝา เว้นแต่วา่ จะเก็บด้วยมือเท่านัน้ แต่ข้อบังคับก็มิอาจขวางกั้นต่อ กลุ่มผู้ลักลอบได้ ยังคงมีเรือคราด หอยเข้ า มาเป็ น ระยะ ๆ เพราะ อุ ต สาหกรรมไม่ มี วั น ให้ พั ก ผ่ อ น โดยเฉพาะช่วงที่มีหอยเกิดขึ้นมาก กลุม่ อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติทาง ทะเลและชายฝัง่ ต้องออกลาดตระเวน ทุกวัน “ปราบปรามเรือคราดมาเยอะ มาก 60 - 70 ล�ำแต่ก็เปลี่ยนหน้า มาเรื่อย ๆ” จรรยง ผู้น�ำชาวบ้าน บางขุนไทรกล่าว แม้ ก ลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติ ท างทะเลและชายฝั ่ ง จะร่วมมือกับประมงอ�ำเภอบ้านแหลม เข้าตรวจสอบและลาดตระเวนผูท้ มี่ า ลักลอบคราดหอยแครง แต่ปัญหา การลั ก ลอบเข้ า มาใช้ เ ครื่ อ งมื อ ใน การเก็บหอยนั้นไม่ได้มีแค่เรือคราด อย่างเดียว บางกลุม่ ก็ใช้ชอ้ นสวิงในการ เก็บหอยอีกด้วย “ตราบใดทีย่ งั มีหอย คราดก็จะยัง เข้ามาเหมือนเดิม” สาคร รองหัวหน้า กลุม่ อนุรกั ษ์ฯ กล่าว ปัจจุบนั พืน้ ทีห่ อยแครงธรรมชาติ ได้รับผลกระทบจากน�้ำเสียที่มาตาม แม่นำ�้ ส่งผลให้หอยแครงไม่เกิดเป็น ระยะเวลา 2 ปี การเก็บหอยจึงเป็น ความยากล�ำบากมากขึน้ แก่ชาวบ้าน เ มื่ อ ห อ ย มี จ� ำ น ว น น ้ อ ย ล ง คนเก็บก็เริม่ หายไป คราดก็ไม่เข้ามา แต่ปัญหากลับเพิ่มเพราะชาวบ้าน ไม่มที ที่ ำ� กินจึงต้องอาศัยอาชีพอืน่ ท�ำ ประกอบด้วย “ใครมีเรือใหญ่กด็ ี ไปท�ำจับปลา จับกุ้งได้ ไม่ได้เก็บหอยอย่างเดียว แต่อย่างยายไม่มเี รือ ก็ได้แต่เก็บหอย บางวันเก็บหอยแครงได้ 2 โล ไม่เอา ไปขาย ท�ำกินเอง” แอบ เล่าถึงปัญหา โชคดีทธี่ รรมชาติยงั พอมีหอยชนิด อืน่ ๆ ให้พอเก็บยังชีพได้บา้ ง แม้ชาวบ้าน จะรูด้ วี า่ ไม่สามารถก�ำหนดธรรมชาติได้ แต่กย็ งั เชือ่ ว่าหอยแครงจะต้องเกิดขึน้ มาอีกตามระบบธรรมชาติอย่างแน่นอน ตอนนีเ้ สียงเรือคราดเบาลง เพราะ ไม่มอี ะไรให้ตกั ตวงอีกแล้ว น�ำ้ เสียได้ พัดพาให้หอยแครงหายไปจากผืนน�ำ้ แหล่งธรรมชาติแห่งนีไ้ ด้กลายเป็นพืน้ ที่ ไร้ประโยชน์สำ� หรับผูก้ อบโกยทันที

4

พืน ้ ทีป ่ า่ ชายเลน อดีต 30,000 ไร่ ปัจจุบน ั 18,000 ไร่ ¹Òà¡Å×Í

5

น�ำ้ ทะเลปนเปือ ้ น จาก ขยะ ท�ำให้สต ั ว์นำ�้ ในพืน ้ ทีล ่ ดน้อยลง

¹Ò¡ØŒ§

Á. 120

ปิดอ่าวตัว ก. ไม่สอดคล้องกับ วงจรปลาทู น�ำ้ จืดน้อย แร่ ธ าตุ น ้ อ ย อาหารขาดแคลน ท�ำให้ปลาวางไข่ชา้ » ´ÍèÒÇ ดัชนีคณ ุ ภาพน�ำ้ แหล่งน�ำ้ ผิวดิน

ดีมาก ดี พอใช้ เสือ ่ มโทรม เสือ ่ มโทรมมาก 2555 2556 2557 2558

ปี พ.ศ.

21/1/2560 16:37:41


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

ประชาคมเพชรบุรี

2

จ�ำนวนนาเกลือ ปี 58 : 158,926 ไร่ ปี 55 : 21,024 ไร่ จ�ำนวนนากุง ้ ปี 58 : 33,516 ไร่ ปี 55 : 32,085 ไร่

น�ำ้ เสียจาก การท�ำนากุง ้ นาเกลือ ท�ำให้นำ�้ มีคา่ ความเค็ม มากกว่าปกติ ส่งผลให้สต ั ว์นำ�้ และเหล่าพรรณไม้ตาย

3

Í

¡ØŒ§

9

6

สร้างเขือ ่ นกันน�ำ้ ทะเล กัดเซาะ 15 เขือ ่ น ยาว 120 ม. เปลีย ่ นแปลงวงจรชีวต ิ ของสัตว์นำ�้ Á. 120

Á. 120

ระบบนิเวศเปลีย ่ น ปลาเก๋าเข้ามา กินสัตว์นำ�้ ขนาดเล็กทีเ่ คยอยูอ ่ าศัยเป็น อาหาร

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 9

7

บนพืน้ ทีก่ ว่า 8,000 ไร่ ครอบคลุม ต�ำบลบ้านแหลม ต�ำบลบางขุนไทร และต�ำบลปากทะเล อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เป็นแหล่งหอยแครง ตามธรรมชาติทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ของประเทศ แต่กว่า 2 ปีมาแล้ว ที่ชาวประมงที่ นีต่ อ้ งเปลีย่ นอาชีพ หลังจากอยูด่ ี ๆ หอยแครงตามธรรมชาติกลับไม่เกิด ทัง้ ทีป่ กติตอ้ งเกิดทุกปี ไม่ ไ กลกั น นั ก หอยแครงใน ฟาร์ ม เลี้ ย ง ต� ำ บลบางตะบู น รวมแล้วกว่า 9,000 ไร่ ในปีนี้ ยังตาย ครึง่ ต่อครึง่ นายเฉลิมเกียรติ ไกรจิตต์ ประมงอาสา กลุม่ เลีย้ งหอยแครงบาง ตะบูน บอกว่า “น่าจะเป็นน�ำ้ เสียจาก อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ไหลผ่าน คลองยีส่ ารมาลงทะเลทีน่ ี่ พอผสมกับ น�ำ้ เสียจากฝัง่ ปากอ่าวแม่นำ�้ แม่กลอง ซึง่ ห่างกับอ่าวบางตะบูน 12 กิโลเมตร ก็ยงิ่ ไปกันใหญ่” เขาบอกอีกว่า ปัญหานีม้ มี านาน กว่า 5 ปี จนท�ำให้ชาวประมงผูเ้ พาะ เลี้ยงหอยแครงลดลงต่อเนื่องจาก 420 ราย ปัจจุบนั เหลือเพียง 40 ราย เพราะแบกรับความเสีย่ งไม่ไหว น�้ำเสียชายฝั่งท�ำหอยแครง ไม่เกิดกว่า 2 ปี

เมื่อตรวจสอบรายงานผลตรวจ วิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพน�้ ำ ทะเลชายฝั ่ ง ประจ�ำวันที่ 6 ตุลาคม 2559 ของ ศูนย์วิจัยและพัฒนาเพาะเลี้ยงสัตว์ น�้ำชายฝั่ง จังหวัดเพชรบุรี พบว่า ค่ า ออกซิ เ จนละลายน�้ ำ (ดี โ อ) ในพื้ น ที่ ค ลองบางตะบู น อยู ่ ที่ 3.66 - 3.70 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่วนพืน้ ที่ บางขุนไทรอยูท่ ี่ 1.78 - 1.88 มิลลิกรัม ต่อลิตร ต�ำ่ กว่ามาตรฐานคุณภาพน�ำ้ ทะเลเพือ่ การเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ชายฝัง่ กรมควบคุมมลพิษ ทีร่ ะบุวา่ ค่าดีโอ ต้องมีปริมาณไม่นอ้ ยกว่า 4 มิลลิกรัม ต่อลิตร ขณะที่ งานวิ จั ย ชนิ ด ปริ ม าณ และการกระจายของสัตว์หน้าดิน เลน ของนางสาววงแข ยุ ติ ธ รรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2547 ชีว้ า่ ปริมาณออกซิเจนละลาย น�ำ้ เป็นปัจจัยส�ำคัญทีส่ ดุ ทีม่ ผี ลต่อการ เจริญเติบโตของสัตว์หน้าดินเลน เช่น หอย ส่วนปัจจัยอืน่ ๆ คือ อุณหภูมนิ ำ�้ ความเค็มของน�ำ้ และชนิดตะกอนดิน ด้ า น นายสมภพ รุ ่ ง สุ ภ า นักวิจัยสถาบันวิจัยทรัพยากรทาง น�ำ้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผย ว่า ได้ส�ำรวจพื้นที่เลี้ยงหอยแครง ต�ำบลบางตะบูน พบว่า น�ำ้ ทีล่ งมาจาก แม่นำ�้ แม่กลองและคลองบางตะบูน มี

ของเสียพวกอินทรียสารลงมาด้วย ส่งผลให้หอยแครงอ่อนแอ “ตอนนี้หอยแครงตายประมาณ ร้อยละ 50 หอยกระปุกและหอย แมลงภูป่ ระมาณร้อยละ 20 แต่ความเสีย หายไม่ได้สง่ ผลให้ตวั หอยมีพษิ ใด ๆ” นัก วิจยั สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางน�ำ้ กล่าว อ่ า วไทยชั้ น ใน ไร้ เ งาปลาทู

เลยจากชายฝั่งลงไปในอ่าวไทย ชัน้ ใน รูปตัว ‘ก’ ชาวประมงอ�ำเภอ ชะอ�ำ ก�ำลังกังวลถึงการออกเรือหา ปลาทู ทีป่ นี จี้ บั ไม่คอ่ ยได้ “ออกเรือแต่ละครั้งมีค่าใช้จ่าย ราว 1,500 บาท แต่ บ างครั้ ง จั บ ปลาทู ไ ม่ ไ ด้ เ ลย หากจั บ ได้ ก็ ไ ด้ ปลาทูสาวที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ขายได้ 2,000 – 3,000 บาท จาก เดิมที่เคยได้คราวละ 7,000 บาท” นายนิตย์ หอมคง หัวหน้ากลุ่มเรือ ประมงขนาดเล็ก ต�ำบลบ้านบางควาย อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ให้ขอ้ มูล แม้ ก รมประมง กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ประกาศปิ ด อ่าวไทยรูปตัว ก เพือ่ อนุรกั ษ์สตั ว์นำ�้ วัยอ่อน ครอบคลุมพื้นที่ 8 จังหวัด ได้ แ ก่ ประจวบคี รี ขั น ธ์ เพชรบุ รี ส มุ ท ร ส ง ค ร า ม ส มุ ท ร ส า ค ร กรุ ง เทพมหานคร สมุ ท รปราการ ฉะเชิงเทรา และชลบุรี รวมพื้นที่ ทั้ ง สิ้ น 4,940 ตารางกิ โ ลเมตร ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มิ ถุน ายน 2557 – 31 กรกฎาคม 2559 และงดจับปลา ฤดู ว างไข่ ทุ ก ปี แตกต่ า งกั น ไปใน แต่ละพืน้ ที่ แต่ นายคณิต เชือ้ พันธุ์ นั ก วิ ช าการประมง ศู น ย์ วิ จั ย และ พัฒนาประมงทะเลอ่าวไทยตอนกลาง กรมประมง เผยว่า ปี 2557 ทีป่ ดิ อ่าว เป็นปีแรก ปริมาณสัตว์น�้ำวัยอ่อน เพิ่มมากขึ้น แต่ปี 2558 - 2559 ปริมาณปลาทูกลับลดน้อยลง ธาตุอาหารน้อย-น�้ำร้อนขึ้น ท�ำอาหารปลาทูลดลง

ด้าน นายสรณัฐ ศิรสิ วย อาจารย์ ประจ�ำคณะประมง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ทีมวิจัยโครงการการ ศึกษาสถานภาพของทรัพยากรปลาทู ทีส่ มั พันธ์กบั สภาพ สิง่ แวดล้อมบริเวณ พืน้ ผิวทะเลในบริเวณอ่าวไทย เปิดเผย ผลวิจยั ว่า ช่วงเวลาทีเ่ ซลล์สบื พันธุข์ อง ปลาทูเจริญเติบโตสูงสุด เริม่ ขยับไป ช่วงท้ายของการปิดอ่าว ซึง่ ไม่สอดคล้อง กับวงจรปลาทูทเี่ ป็นมาในอดีต “สาเหตุนั้นคาดว่าน่าจะมาจาก สภาพแวดล้ อ มเปลี่ ย นไป ปั จ จั ย หนึ่งอาจเป็นเพราะธาตุไนโตรเจน

ในน�้ำจืดที่ไหลลงทะเลในปีนี้มีน้อย ท� ำ ให้ ส าหร่ า ยสี เ ขี ย วแกมน�้ ำ เงิ น เจริ ญ เติ บ โตได้ ดี ก ว่ า แพลงก์ ต อน ไดอะตอมที่เป็นอาหารของปลาทู การขาดแคลนอาหารท�ำให้ป ลาทู ชะลอการสืบพันธุ์ และย้ายถิ่นไปสู่ บริเวณน�ำ้ ลึก” นายสรณัฐ กล่าว นอกจากนี้ ยั ง มี ป ั จ จั ย เรื่ อ ง อุณหภูมิน�้ำทะเลที่สูงขึ้นด้วย โดย รายงานเรื่ อ งสารออกฤทธิ์ ท าง ชีวภาพจากไซยาโนแบคทีเรีย ของ น า ง ส า ว อิ น ทิ ร า ขู ด แ ก ้ ว คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตีพิมพ์ ในเว็ บ ไซต์ ส ถาบั น ส่ ง เสริ ม การ สอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (สสวท.) เมื่อเดือนมกราคม 2558 ชี้ ว ่ า อุ ณ หภู มิ น�้ ำ ทะเลที่ สู ง ขึ้ น มีผลให้สาหร่ายสีเขียวแกมน�้ำเงิน แพร่หลายมากขึน้ เมื่ อ ตรวจสอบข้ อ มู ล จากกรม อุตนุ ยิ มวิทยา ปี 2558 พบข้อมูลที่ สอดคล้องกันว่า อุณหภูมนิ ำ�้ ทะเลใน อ่าวไทยชั้นในนั้น สูงขึ้นเฉลี่ยปีละ 4 - 5 องศาเซลเซียส ปัจจุบนั อุณหภูมิ สูงสุดเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 34 องศา เซลเซียส ต้นไม้ชายฝัง ่ ตาย เหตุนำ�้ เสีย ขยะทะเลล้น

ด้านสภาพป่าชายเลน จังหวัด เพชรบุรี อันเป็นแหล่งซึมซับของเสีย และอนุบาลสัตว์นำ�้ มีขอ้ มูลจากสถานี พั ฒ นาทรั พ ยากรป่ า ชายเลนที่ 6 (ต�ำบลบางขุนไทร) จังหวัดเพชรบุรี ระบุว่า เพชรบุรีเคยเป็นจังหวัดที่มี พื้นที่ป่าชายเลนเป็นอันดับ 1 ของ ภาคกลาง โดยเมือ่ 20 ปีกอ่ น มีพน้ื ที่ ราว 30,000 ไร่ แต่ปจั จุบนั เหลือพืน้ ที่ เพียง 18,000 ไร่ ทั้งนี้ เมื่อลงพื้นที่ส�ำรวจป่าชาย เลนในอ� ำ เภอบ้ า นแหลม พบว่ า น�้ ำ บริ เ วณชายป่ า บางแห่ ง มี สี แ ดง กลิน่ เหม็น มีขยะอยูต่ ามหน้าพืน้ ดิน โดยเฉพาะบริเวณทีใ่ กล้กบั ร้านอาหาร มี โ ฟม พลาสติ ก และเศษอาหาร กองอยูจ่ ำ� นวนมาก ขณะที่ กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝัง่ เผยว่า ในปี 2552 - 2559 เพชรบุรี มีขยะทะเลที่เก็บได้ 435,417 ชิ้น น�้ำหนักรวม 75,906.17 กิโลกรัม เป็นถุงพลาสติกร้อยละ 16.14 ฝาขวด น�ำ้ ร้อยละ 9.43 และเชือกร้อยละ 8.41 ขยะส่วนใหญ่มาจากกิจกรรมชายฝัง่ และการพักผ่อน คิดเป็นร้อยละ 66.54 นายชั ช นริ น ทร์ ชั ช วงศุ ์ ว าล นักวิชาการป่าไม้ชำ� นาญการ หัวหน้า

สถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 6 (บางขุนไทร) จังหวัดเพชรบุรี กล่าว ว่า ขยะพลาสติก กล่องโฟม เชือก เศษ อวน ที่ซัดเข้ามาจากทะเล และจาก ชุมชนบนแผ่นดิน ไปติดอยูต่ ามซอก ของไม้แสมด�ำ แสมทะเล และโกงกาง เมื่อสะสมนานเข้า ท�ำให้น�้ำเสีย ส่ง ผลให้ต้นไม้ยืนต้นตาย อีกส่วนหนึ่ง น�ำ้ เสียจากนากุง้ นาเกลือ ปล่อยลง ป่ า ชายเลนโดยตรง ท� ำ ให้ น�้ ำ มี ค่าความเค็มมากกว่าปกติ ส่งผลให้ ต้นไม้ และสัตว์นำ�้ ตาย เช่นกัน ชีป ้ า่ ชายเลนลด เปลีย ่ นห่วงโซ่ อาหารทัง ้ ระบบ

นางพูลศรี วันธงไชย นักวิชาการ ป่าไม้ช�ำนาญการพิเศษ ผู้อ�ำนวย การส่วนแผนงานและยุทธศาสตร์ ส�ำนักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กล่าวว่า เมือ่ ป่าชายเลนลดลง ท�ำให้ ไร้ตวั ก�ำบังแสงแดดทีส่ อ่ งผิวน�ำ้ ท�ำให้ อุณหภูมนิ ำ�้ ชายฝัง่ สูงขึน้ กระทบต่อ สัตว์นำ�้ บางชนิดทีไ่ ม่สามารถอยูใ่ นน�ำ้ ทีม่ อี ณ ุ หภูมสิ งู ได้ “ป่าชายเลนยังมีทั้งแพลงก์ตอน พืช และอินทรียวัตถุทไี่ ด้จากการย่อย สลายของซากพืช ซึง่ เป็นแหล่งอาหาร ของสั ต ว์ น�้ ำ หากไม่ มี ป ่ า ชายเลน แหล่งอาหารส�ำคัญของสัตว์น�้ำก็จะ หมดไป” นางพูลศรี กล่าว ส่วน นางสาวสุวมิ ล ชินกังสดาร อาจารย์ประจ�ำคณะสัตวศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาพื้น ฐานสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กล่าวว่า ป่าชายเลนช่วยกรองของเสีย จากแผ่ น ดิ น ไม่ ใ ห้ ไ หลลงสู ่ ท ะเล โดยตรง เมื่อป่าชายเลนลดลงมาก จึงมีผลต่อการเปลีย่ นแปลงโครงสร้าง สัตว์นำ�้ ทัง้ ระบบ ขณะที่ นายไพรวัลย์ เดชเพชร เจ้ า หน้ า ที่ ดู แ ลป่ า ชายเลน สถานี พั ฒ นาทรั พ ยากรป่ า ชายเลนที่ 6 (บางขุ น ไทร) จั ง หวั ด เพชรบุ รี ยอมรับว่า ยังแก้ไขปัญหาขยะและ น�้ำเสียที่ส่งผลกระทบต่อป่าชายเลน ไม่ได้ เพราะมีเจ้าหน้าทีไ่ ม่เพียงพอต่อ การด�ำเนินการ ขณะนีท้ ำ� ได้แค่สำ� รวจ และให้ ค วามรู ้ ป ระชาชนเกี่ ย วกั บ ป่าชายเลน

ศูนย์ขา่ วเพชรบุรี นักศึกษาวารสารและหนังสือพิมพ์ ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559

21/1/2560 16:37:43


10

| ลูกศิลป์

“พ่อแม่รบั จ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ตามแต่จะมีคนจ้าง ดิฉันต้องช่วยที่บ้านท�ำงานหาเงินตั้งแต่เด็ก ไม่เคยเรียนหนังสือในโรงเรียน แต่กม็ คี วามฝัน ทีจ่ ะเรียนจบสูง ๆ หางานดี ๆ ท�ำเหมือนคนอืน่ ” นางสาวธนาภรณ์ มาสุ ข วั ย 22 ปี เป็น 1 ในกว่า 7 ล้านคน ที่ฝากความหวัง ไว้ กั บ การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษา ตามอัธยาศัย (กศน.) แหล่งสุดท้ายทีจ่ ะเติมเต็ม สิทธิการศึกษาของเด็กไทยที่ไม่ได้เข้าเรียน หรือต้องออกจากโรงเรียนกลางคัน เพราะยากจน หรือปัญหาส่วนตัว ทว่ า การเรี ย นของเธอในศู น ย์ ก ศน. แห่ ง หนึ่ ง ในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ไม่ราบรื่นนัก เพราะเรียนไม่เข้าใจ ครูอธิบาย ไม่ ชั ด เจน ข้ อ สอบออกไม่ ต รงกั บ ที่ เ รี ย น ท�ำให้เธอสอบตกอยูบ่ า้ ง ปัจจุบนั ก�ำลังสอบเทียบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังจากเรียนมาแล้ว กว่ า 5 ปี แต่ เ ธอกั ง วลว่ า จะไม่ ส ามารถ สอบเรียนต่อด้านบัญชีตามทีฝ่ นั ไว้ ไม่ตา่ งจาก นางสาววรางคณา พัฒศรีเรือง วัย 20 ปี ที่ต้องออกจากโรงเรียนกลางคัน ก่ อ นจบชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 เนื่ อ งจาก ปั ญ หาส่ ว นตั ว ปั จ จุ บั น ก� ำ ลั ง เรี ย นกศน. ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ป ล า ย พ ร ้ อ ม กั บ ท� ำ ง า น

รายงานพิเศษ หลังละครเรือ่ ง ‘วัยแสบ’ ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ช่องหนึ่งเมื่อปีที่แล้ว มีเนื้อหา สะท้อนปัญหาเด็กไทยทั้งด้านพฤติกรรมและ อารมณ์ แต่ สุ ด ท้ า ย นั ก จิ ต วิ ท ยาโรงเรี ย น ก็สามารถเข้าช่วยเหลือแก้ไขวิกฤตชีวิตให้ได้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จึงได้จัดโครงการน�ำร่องนักจิตวิทยา โรงเรี ย นจ� ำ นวน 20 คน ประจ� ำ เขตพื้ น ที่ การศึกษา 20 เขต งบประมาณ 1.8 ล้านบาท ส�ำหรับปีการศึกษา 2559 - 2560 นารี รั ต น์ คู ห าเรื อ งรอง ผู ้ อ� ำ นวยการ โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ จังหวัด ปทุ ม ธานี ซึ่ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ โ ครงการน� ำ ร่ อ ง นักจิตวิทยาโรงเรียน กล่าวว่า บางครัง้ เด็กทีม่ ี ปัญหา ครูทั่วไปในโรงเรียนอาจไม่สังเกตเห็น เช่น สมาธิสนั้ “แต่ พ อมี นั ก จิ ต วิ ท ยามาประจ� ำ ที่ เ ขต เพื่อสังเกตพฤติกรรม และส่งข้อมูลให้ศูนย์ การศึ ก ษาพิ เ ศษ ท� ำ ให้ เ ด็ ก ของเราได้ รั บ การช่วยเหลืออย่างตรงจุด ขณะที่โรงเรียน ก็ได้ปรับการเรียนการสอนใหม่ให้เข้ากับเด็ก” นี้เป็นกรณีตัวอย่างที่ประสบความส�ำเร็จ ท�ำให้หลายโรงเรียนเริม่ ประสานเสียง ให้สพฐ. ขยายโครงการนี้ ใ ห้ ค รอบคลุ ม ทุ ก โรงเรี ย น ทัว่ ประเทศ สุ เ มธ จงใจมั่ น รองผู ้ อ� ำ นวยการ โรงเรียนหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ กล่าวว่า

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 10

สิทธิการศึกษา

เป็ น เสมี ย นบริ ษั ท ก่ อ สร้ า งควบคู ่ ไ ปด้ ว ย แต่เธอวิตกว่า จะสอบแข่งขันเข้ามหาวิทยาลัย สูค้ นอืน่ ไม่ได้ ปี 2558 มี เ ด็ ก ไทยที่ เ กิ ด ในปี เ ดี ย วกั น ประมาณ 198,000 คน จากทั้ ง หมด 900,000 คน หรื อ ร้ อ ยละ 22 ต้ อ งออก กลางคันก่อนจบมัธยมศึกษาปีที่ 3 และเด็ก อีกประมาณ 225,000 คน หรือร้อยละ 25 ต้องออกกลางคันก่อนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามข้อมูลล่าสุดของส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่ง การเรียนรูแ้ ละพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขณะเดี ย วกั น รายงานข้ อ มู ล สรุ ป ผล การจัดกิจกรรมการศึกษา ส�ำนักงานส่งเสริม ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ตามอัธยาศัย (กศน.) ปี 2556 - 2558 ระบุวา่ มีผลู้ งทะเบียนเรียนทัง้ หมด 13,590,036 คน จบการศึกษาแล้ว ร้อยละ 54 หรือ 7,324,287 คน และยั ง ไม่ จ บการศึ ก ษาอี ก ร้ อ ยละ 46 หรือ 6,265,749 คน นอกจากนี้ รายงานฉบับดังกล่าว ยังระบุวา่ มีผลู้ งทะเบียนเรียนหลักสูตรประถม มัธยมต้น มัธยมปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทั้งหมด 5,182,462 คน จบการศึกษาแล้ว ร้อยละ 14 หรือ 715,816 คน และยังไม่จบการศึกษา

ร้อยละ 86 หรือ 4,466,646 คน นางปรีชาวรรณ กองสงฆ์ ครูอัตราจ้ า ง ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ก ศน. ต� ำ บลบางบาล จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เปิ ด เผยว่ า ทุ ก ต� ำ บลมี ค รู ป ระจ� ำ อยู ่ เ พี ย งคนเดี ย ว และต้องสอนทุกวิชา ยอมรับว่า ไม่ได้เข้าใจ ทุ ก วิ ช า จึ ง ไม่ ส ามารถสอนให้ เ ข้ า ใจได้ ทุ ก เรื่อง โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษระดับมัธยมปลาย จ�ำต้องให้ หัวข้อผูเ้ รียนไปศึกษาเอง “นอกจากงานสอนก็ ต ้ อ งจั ด กิ จ กรรม อย่ า งอื่ น ด้ ว ย เช่ น จั ด กลุ ่ ม ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะ ชี วิ ต เพื่ อ ชุ ม ชน สอนผู ้ สู ง วั ย ใช้ เ ทคโนโลยี ทีศ่ นู ย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน จัดศูนย์เศรษฐกิจพอเพี ย ง หรือช่วยรณรงค์ให้ชาวบ้านมาลงประชามติ ท�ำให้ครูผู้สอนไม่สามารถจดจ่อกับการสอน ได้อย่างเต็มที่” นางปรีชาวรรณ กล่าว ด้านกลุม่ ครูกศน. ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กว่า 10 คน เปิดเผยว่า กศน. แก้ปญ ั หาโดย ให้เรียนผ่านโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (อีทีวี) ตั้งแต่ปี 2558 แต่ผู้เรียนไม่สามารถรับชมได้ เนื่ อ งจากสั ญ ญาณเข้ า ไม่ ถึ ง นอกจากนี้ ไม่ มี ส ถานที่ ส อนประจ� ำ ต้ อ งสอนที่ วั ด โรงพยาบาล ศู น ย์ ชุ ม ชน หรื อ โรงเรี ย น รัฐบาลในวันสุดสัปดาห์ แม้จะยื่นเรื่องของบ สร้างอาคาร ภายในบริเวณดังกล่าวไปทางส�ำนักงานกศน. ส่วนกลางแล้ว แต่กไ็ ด้รบั การปฏิเสธ ว่า ไม่คุ้มค่า เพราะเจ้าของที่อาจไม่ให้ใช้พื้นที่ ในอนาคต รายงานงบประมาณประจ� ำ ปี 2560 ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ระบุว่า กระทรวงศึกษาธิการได้รับจัดสรรงบประมาณ 519,292.5 ล้านบาท จัดสรรให้ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ร้อยละ 61.49 หรือ 319,321 ล้านบาท ขณะที่ จัดสรรให้กศน.

ร้อยละ 2.31 หรือเป็นจ�ำนวน 12,000 ล้านบาท แบ่งเป็นงบอุดหนุนผูเ้ รียน จ�ำนวน 4,473 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 0.86 จากงบทีก่ ระทรวงศึกษาธิการ จัดสรรให้ทงั้ หมด นางสาวสุวิธิดา จรุงเกียรติกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิ ช าการศึ ก ษา และการเรี ย นรู ้ ต ลอดชี วิ ต คณะครุ ศ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า กศน. กับอาชีวะ เป็นสถานศึกษาที่สังกัดการศึกษานอกระบบ ซึ่งเป็นแหล่งผลิตแรงงานที่ต้องใช้งบประมาณ เยอะกว่า แต่ความจริงกระทรวงศึกษาธิการ กลั บ ให้ เ งิ น สนั บ สนุ น การศึ ก ษาในระบบ เยอะกว่า ดังนัน้ กระทรวงควรเกลีย่ งบใหม่ “กระทรวงยั ง ต้ อ งวางบทบาทกศน. ให้ ชั ด เจน ไม่ ใ ช่ ใ ห้ ค รู ก ศน. ไปท� ำ งาน ที่ไม่เกี่ยวข้องจนงานล้นมือ ทุ่มเทการสอน ไม่เต็มที”่ นักวิชาการด้านการศึกษา กล่าว ขณะที่ นายประเสริฐ หอมดี รองเลขาธิการ กศน. ชี้แจงว่า การเรียนการสอนของกศน. ไม่เป็นปัญหาอะไร กศน. เน้นเรียนเรือ่ งทักษะชีวติ การเอาตัวรอดในสังคม การประกอบอาชีพ และการพัฒนาคุณภาพชีวติ ไม่ได้เรียนเพือ่ เน้น เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา มาตรฐานความรู้ จึงไม่จำ� เป็นต้องเท่ากับสายสามัญ แต่ในอนาคต จะร่วมกับกับภาคีเครือข่ายเรียนร่วมกับวิทยาลัย อาชีวะ เพราะมีความพร้อมด้านอุปกรณ์มากกว่า จะท�ำให้ผเู้ รียนน�ำความรูไ้ ปประกอบอาชีพได้ เมื่อถามย�้ำถึงคุณภาพการสอนที่ผู้เรียน ไม่มนั่ ใจว่า จะน�ำไปสอบแข่งขันในระดับสูงได้ รองเลขาธิการกศน. กล่าวว่า “ไม่ ๆ ตอนนี้ ทุกอย่างดีอยูแ่ ล้ว เพียงแต่ทไี่ ปท�ำร่วมกับอาชีวะ เพือ่ ให้ผเู้ รียนมีศกั ยภาพมากขึน้ ” ศรีสท ิ ธิ์ วงศ์วรจรรย์

ย้ อ นรอย ปั จ จั ย ท� ำ โครงการ ‘นักจิตวิทยาโรงเรียน’ ล้มเหลว? ในโรงเรี ย นมี เ ด็ ก พิ เ ศษ แต่ ไ ม่ มี บุ ค ลากร ทีม่ คี วามรูด้ า้ นจิตวิทยา จึงอยากให้มนี กั จิตวิทยา เข้ามาประจ�ำทีโ่ รงเรียนบ้าง ขณะที่ กาญจน์ กั ลยา ยานแก้ ว อดีต นักจิตวิทยาประจ�ำโรงเรียนวัดทุ่งแย้ จังหวัด นครศรีธรรมราช กล่าวว่า โครงการน�ำร่องนี้ นักจิตวิทยาต้องรับผิดชอบโรงเรียนหลายแห่ง ที่ อ ยู ่ ใ นเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา จึ ง ดู แ ลเด็ ก ได้ไม่ทั่วถึง หากจะให้เห็นผลดี ควรมีประจ�ำ ทุกโรงเรียน มีผลวิจยั มูลนิธเิ พือ่ คนไทยเรือ่ ง ‘เสียงจาก เยาวชนไทย’ ปี 2557 ระบุวา่ มีเยาวชนไทย มากถึงร้อยละ 78 เครียดเกี่ยวกับเรื่องเรียน ทั้งคะแนนการสอบ กระทั่งกลัวว่าจะสอบเข้า มหาวิทยาลัยไม่ได้ และเมื่ อ ปี 2558 คณะครุ ศ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เผยผลส�ำรวจ ‘นิสยั การเรียน’ ของเด็กไทย โดยส�ำรวจนิสยั การเรียน 8 องค์ประกอบ อาทิ การบริหารเวลา ทักษะ การอ่านและเขียน เป็นต้น พบว่า ร้อยละ 30 มีปญ ั หานิสยั การเรียนทัง้ 8 ด้าน โดยมีปญ ั หา เรือ่ งความเร็วในการอ่านมากทีส่ ดุ และยังพบว่า นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษามีปญ ั หามากกว่า นักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษา อย่างไรก็ดี การจะผลักดันให้ทุกโรงเรียน มีนกั จิตวิทยาประจ�ำโรงเรียนอาจเกิดขึน้ ได้ยาก เนือ่ งจากประเทศไทยมีโรงเรียนกว่า 30,000 แห่ง

จากข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 ระบุวา่ ประเทศไทยมี นั ก จิ ต วิ ท ยาที่ มี ใ บประกอบ โรคศิลป์ เพียง 610 คนเท่านัน้ และที่ น ่ า ตกใจคื อ แต่ ล ะปี มี ผู ้ ที่ ส� ำ เร็ จ การศึกษาด้านจิตวิทยาน้อยมาก โดยส�ำนักงาน คณะกรรมการอุ ด มศึ ก ษา (สกอ.) ระบุ ว ่ า ในปี 2558 มีบณ ั ฑิตจบใหม่สาขาจิตวิทยา เพียง 1,216 คน ณั ฐ สุ ด า เต้ พั น ธ์ ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ประจ� ำ สาขาวิ ช าจิ ต วิ ท ยาการปรึ ก ษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ปัญหาคือ ไม่มีต�ำแหน่งนักจิตวิทยาโรงเรียน ในระบบราชการ “แม้ สพฐ. จะมีโครงการน�ำร่อง แต่มนั ไม่ ง่ายทีจ่ ะเปิดต�ำแหน่งใหม่นี้ แต่ถา้ ท�ำได้กจ็ ะเป็น สิง่ ทีด่ ตี อ่ สังคมมาก” ณัฐสุดา กล่าว อันที่จริง โครงการนักจิตวิทยาโรงเรียน เคยเกิดขึ้นแล้ว เมื่อปี 2554 - 2556 ในชื่อ ‘โครงการพัฒนาเครือข่ายในระบบการดูแล ช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย น’ โดย สพฐ. ร่ ว มกั บ กรมสุขภาพจิต น�ำร่อง 6 จังหวัด แต่หลังจากนัน้ โครงการก็เงียบหายไป ท�ำให้นกั จิตวิทยาโรงเรียน น�ำร่อง กระเซ็นกระสายย้ายสายงาน อังคณา แก้วเล็ก อดีตนักจิตวิทยาโรงเรียน ประจ�ำโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช บอกว่า โครงการนีด้ ี เพราะ สามารถเข้าถึงเด็กทีม่ ปี ญ ั หาซับซ้อนและเข้าไป

ช่วยเหลือได้ทันท่วงที เพราะเคยช่วยเหลือให้ เด็กนักเรียนหญิงชั้น ม.5 ที่ถูกพ่อลวนลาม ทางเพศให้กลับมามีสุขภาพจิตดี และเรียน จนจบได้ แต่พอจบโครงการก็ตอ้ งพ้นหน้าทีน่ ี้ เช่ น เดี ย วกั บ ที่ นาริ ต า คงตระกู ล นักจิตวิทยาโรงเรียนรุ่นแรก ประจ�ำโรงเรียน พุทธจักรวิทยา กรุงเทพฯ ยืนยันว่า โครงการ น� ำ ร่ อ งนั ก จิ ต วิ ท ยาดี มี ป ระโยชน์ กั บ เด็ ก กรมสุ ข ภาพจิ ต จึ ง ได้ พ ยามผลั ก ดั น ให้ ท� ำ โครงการนี้ ไ ปต่ อ แต่ ก็ ไ ม่ ส� ำ เร็ จ เพราะ กระทรวงศึกษาธิการไม่อนุมตั ิ ในเรื่องนี้ ธีร์ ภวังคนันท์ ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ยอมรับว่า ที่ไม่สามารถต่อยอดโครงการที่ท�ำ ไว้เมือ่ ปี 2556 ได้เพราะขาดแคลนงบประมาณ และขณะนีก้ ำ� ลังพยายามแก้ไขอยู่ “ส� ำ นั ก งานก� ำ ลั ง ต่ อ สู ้ ใ ห้ มี ต� ำ แหน่ ง นั ก จิ ต วิ ท ยา อยู ่ ใ นโครงสร้ า งของโรงเรี ย น หากเปิดอัตราใหม่ไม่ได้ อย่างน้อยก็ต้องเป็น พนักงานราชการ เพือ่ ให้คนท�ำงานมีความมัน่ คง แต่เรือ่ งนีเ้ กีย่ วพันกับงบประมาณ ก็ตอ้ งผลักดัน ต่อไป” ธีร์ กล่าว

วิสท ุ ธิภา เพียวริบต ุ ร

21/1/2560 16:37:44


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สิทธิการศึกษา

11

ไทยมีคนพิการทางสายตาเกือบ7แสน แต่ มี โ รงเรี ย นรั ฐ รองรั บ เพี ย ง2แห่ ง

8 ปี ไทยร่วมภาคีคนพิการ แต่มีโรงเรียนสอนคนตาบอดของรัฐแค่ 2 แห่ง ซ�้ำขาดหนังสืออักษร เบรลล์และสื่อการสอนท�ำเด็กเตรียมสอบไม่ทัน ผอ.โรงเรียนรับท�ำเอกสารช้าเพราะเด็กใช้หนังสือหลาย ส�ำนักพิมพ์ ศึกษาธิการฯ แจงยังไม่สร้างโรงเรียนเฉพาะเพิ่มเพราะสนับสนุนให้เรียนร่วมโรงเรียนทั่วไป

หนังสืออักษรเบรลล์: สภาพหนังสืออักษรเบรลล์ทนี่ กั เรียนพิการทางสายตาของโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้เป็นสือ่ การเรียนการสอน แ ท บ จ ะ ทุ ก อ� ำ เ ภ อ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เด็ก ๆ วัย 6 ขวบ ขึน้ ไป สามารถเดินทางไป เรียนหนังสือแบบไปเช้า - เย็นกลับ ได้อย่าง ไม่ยากนัก แต่สำ� หรับ นางสาวปฑิตา ไชยปาน วัย 30 ปี ชาวสงขลา ปัจจุบนั เป็นอาจารย์ประจ�ำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำ� ปาง เมือ่ 23 ปีทแี่ ล้ว เธอต้องจากบ้าน ร่วม 340 กิโลเมตร ไปอยู่โรงเรียนประจ�ำ สอนคนตาบอดภาคใต้ ทีจ่ งั หวัดสุราษฎร์ธานี “ดิฉนั เป็นโรคต้อกระจกตัง้ แต่ตอน 3 ขวบ จนมองเห็ น โลกเพี ย งเลื อ นราง 12 ปี ตั้งแต่ประถมจนจบมัธยม ไม่มีหนังสือหรือมี แต่ไม่เพียงพอ ทําให้เรียนตามเพื่อนไม่ทัน ต้ อ งขอความช่ ว ยเหลื อ จากเพื่ อ นหรื อ ให้ครูอ่านให้ฟัง ซึ่งต้องใช้เวลามากกว่าคนอื่น ถึง 7 ชัว่ โมงต่อรายวิชา จนคิดอยูห่ ลายครัง้ ว่า จะเลิกเรียนหนังสือ” ปร ะเ ท ศ ไ ท ย มี ป ระ ช า ก รคน พิ ก า ร ทางสายตา ไม่ น ้ อ ยกว่ า 680,000 คน ขณะเดี ย วกั น ประเทศไทยเข้ า ร่ ว มเป็ น ภาคีอนุสัญญาคนพิการตั้งแต่ปี 2551 เพื่อ ให้ ค นพิ ก ารได้ รั บ สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพอย่ า ง เท่าเทียมกัน และจะไม่ถกู กีดกันออกจากระบบ การศึกษาบนพื้นฐานที่เท่าเทียมกับบุคคลอื่น ตามตัวเลขของสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ คาดว่า มีเพียง 37,277 คน หรือ ร้ อ ยละ 20 ที่ ไ ด้ รั บ โอกาสทางการศึ ก ษา ในระดับหนึง่ ขณะที่ ข้ อ มู ล จากสํ า นั ก บริ ห ารงาน การศึกษาพิเศษ (สศศ.) กระทรวงศึกษาธิการ ระบุวา่ ประเทศไทยมีโรงเรียนสอนคนตาบอด ของรัฐ 2 แห่ง รับเด็กพิการทางสายตาเข้าเรียน ตัง้ แต่ป.1 – ม.6 อยูท่ จ่ี งั หวัดสุราษฎร์ธานี และ จังหวัดเชียงใหม่ โดยปี 2559 มีนกั เรียนพิการ

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 11

ทางสายตาเรียนในโรงเรียนรวม 196 คน ผู้สื่อข่าวลงพื้นที่สังเกตการณ์การจัดการ ศึ ก ษาของโรงเรี ย นสอนคนตาบอดภาคใต้ จั ง หวั ด สุ ร าษฏร์ ธ านี พบว่ า โรงเรี ย นขาด หนังสืออักษรเบรลล์ในการเรียนการสอน เครือ่ ง เทอร์ โ มฟอร์ ม ที่ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ท� ำ ภาพนู น เพื่ อ เป็ น สื่ อ การเรี ย นรู ้ ใ ห้ กั บ เด็ ก พิ ก าร ทางสายตามีราคาเครือ่ งละประมาณ 1 แสนบาท งบประมาณส� ำ หรั บ ผลิ ต สื่ อ ด้ ว ยเครื่ อ งนี้ ที่การพิมพ์ตกแผ่นละ 70 บาท นอกจากนี้ มีคอมพิวเตอร์เพียง 16 เครื่อง แบ่งเป็นรัฐ จัดสรรให้ 6 เครือ่ ง อีก 10 เครือ่ งได้รบั บริจาค แต่ทงั้ หมดนีใ้ ช้งานได้จริงเพียง 5 - 6 เครือ่ ง นางจิตรา เรืองมณี รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรียน สอนคนตาบอดภาคใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เปิดเผยว่า โรงเรียนมีครู 18 คน เจ้าหน้าที่ 32 คน รวมเป็น 50 คน ดูแลนักเรียน 76 คน จัดการเรียนเหมือนโรงเรียนทั่วไป แต่ระดับ มั ธ ยมปลายจะเปิ ด สอนเฉพาะสายสั ง คม เน้นวิชาภาษาไทย สังคมศึกษา และสายอาชีพ นางจิตรา กล่าวต่อว่า เด็กคนใดทีม่ ศี กั ยภาพ เมื่อจบมัธยมต้นที่นี่และที่เชียงใหม่ โรงเรียน จะสนับสนุนให้ไปสอบเข้าโรงเรียนเรียนร่วมกับ นักเรียนทัว่ ไป ปีการศึกษา 2559 มีนกั เรียน 20 คน จาก 2 โรงเรียนนี้ ไปศึกษาต่อในโรงเรียนเรียนร่วม 2 แห่ง ทางโรงเรียนต้องจัดรถตูร้ บั - ส่งนักเรียนใน แต่ละวัน โดยมีครูผช้ ู ว่ ยเพียง 1 คน ต่อ 1 โรงเรียน รับผิดชอบดูแลนักเรียนกลุม่ นีท้ งั้ หมด “เมื่ อ ไปโรงเรี ย นเรี ย นร่ ว ม ครู ข องเรา ไม่สามารถจัดหนังสืออักษรเบรลล์ให้นักเรียน ได้เร็ว เพราะโรงเรียนนั้นใช้หนังสือจากหลาย ส�ำนักพิมพ์ และยังมีเอกสารอื่น ๆ มาแจก ให้นักเรียนสายตาปกติ ท�ำให้นักเรียนพิการ ทางสายตาเตรียมสอบไม่ทนั บางครัง้ ครูทนี่ นั่

ออกข้อสอบช้า ท�ำให้ครูของเราพิมพ์ข้อสอบ อักษรเบรลล์ไม่ทัน จึงต้องใช้วิธีอ่านข้อสอบ ให้นกั เรียนฟัง” นางจิตรา กล่าว ด้าน นางสุลัดดา เฟื่องธนภูมิ หัวหน้า ฝ่ายกิจการโรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินเี ธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี หนึ่งในโรงเรียนเรียนร่วม ที่รับคนพิการทางสายตาเข้าศึกษา ยอมรับว่า คอมพิวเตอร์ทมี่ โี ปรแกรมเฉพาะส�ำหรับนักเรียน พิ ก ารทางสายตามี ไ ม่ เ พี ย งพอกั บ นั ก เรี ย น 15 คน ตลอดจนเครื่องเทอร์โมฟอร์มและ เครือ่ งพิมพ์อกั ษรเบรลล์ทไี่ ม่สามารถจัดท�ำได้ทนั ตามความต้องการของนักเรียน เนือ่ งจากมีครู ผูช้ ว่ ยมา 3 คน เฉลีย่ สัดส่วนต่อนักเรียนเท่ากับ 5 : 1 คน รัฐสนับสนุนงบประมาณแค่บางส่วน ซึง่ ไม่เพียงพอ “ที่ นี่ แ ก้ ป ั ญ หาโดยมี เ ครื่ อ งอั ด เสี ย ง ให้ฟังทบทวนหากนักเรียนพิการทางสายตา เรียนไม่ทนั และพยายามจัดสรรงบซือ้ อุปกรณ์ ส�ำหรับนักเรียนเหล่านี้ให้เข้าถึงการเรียนได้ มากขึน้ ” นางสุลดั ดา กล่าว ส� ำ หรั บ การสนั บ สนุ น จากภาคเอกชน ต่อโรงเรียนสอนคนพิการทางสายตา คงเป็นเพียง ส่วนเสริมเท่านัน้ ปัจจัยหลักยังอยูท่ กี่ ารสนับสนุน และลงทุนของรัฐ โดย นางวิไล หาญสวัสดิ์ เลขานุ ก ารสโมสรโรตารี บ างเขน หนึ่ ง ใน ผู ้ บ ริ จ าคให้ กั บ โรงเรี ย นสอนคนตาบอด ภาคใต้ กล่าวว่า โรตารีไม่สามารถสนับสนุน โรงเรี ย นได้ เ ป็ น ประจ� ำ แต่ จ ะจั ด สรรเงิ น จากกองกลางมาให้เป็นครั้งคราวเพื่อเสริม ในสิง่ ทีร่ ฐั ให้ไม่เพียงพอ นางสาวนันทนุช สุวรรนาวุธ นักวิชาการ ศึกษาปฏิบัติการ สศศ. ชี้แจงว่า ที่มีโรงเรียน สอนคนพิการทางสายตาของรัฐเพียง 2 แห่ง

เพราะมีของเอกชนอยูด่ ว้ ยอีก 15 แห่ง อีกทัง้ รัฐสนับสนุนให้นักเรียนมาเรียนในโรงเรียน เรียนร่วม เพื่อให้ป รับ ตัวให้เข้า กับ ผู้อื่นได้ ก่อนจะเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาหรือประกอบ วิชาชีพต่อไป “มีโรงเรียนเรียนร่วม 77 แห่ง ทัว่ ประเทศ มี ก ารส่ ง ครู ผู ้ ช ่ ว ย เฉลี่ ย สั ป ดาห์ ล ะ 2 วั น ไปนําสือ่ มาแปล บางโรงเรียนจะมีหอ้ งสอนเสริม แต่ยอมรับว่า โรงเรียนเหล่านี้มีเครื่องพิมพ์ เอกสารอั ก ษรเบรลล์ น ้ อ ย อย่ า งไรก็ ดี ศูนย์บริการช่วยเหลือเด็กที่มีความต้องการ พิเศษทีอ่ ยูใ่ นโรงเรียนร่วม ทีต่ งั้ ขึน้ เมือ่ ปี 2555 ปัจจุบันมี 1,228 แห่ง จะช่วยในการผลิตสื่อ ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ ความพร้ อ มของบุ ค ลากร หากโรงเรี ย นที่ มี นั ก เรี ย นพิ ก ารทางสายตา แต่ ไ ม่ มี บุ ค ลากรที่ จั ด ท� ำ ก็ ไ ม่ ส ามารถให้ ความช่วยเหลือได้” นางสาวนันทนุช กล่าว ขณะที่ นายสามารถ รัตนสาคร นักวิชาการ ศึกษาชํานาญการพิเศษ สศศ. ชีแ้ จงเพิม่ เติมว่า รัฐมีโครงการค้นหาเด็กพิการทางสายตาที่ยัง ไม่ได้เรียนนํามาเข้าสูร่ ะบบ และมีกระบวนการ ป้องกันไม่ให้เด็กออกกลางคัน ซึง่ ผลการด�ำเนินงาน เป็นไปตามเป้าหมายในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ กํ า ลั ง เริ่ ม ทํ า หนั ง สื อ เสี ย งในระบบดิ จิ ทั ล (หนังสือเดซี่) นําร่องจ�ำนวน 40 เล่ม ผู้ฟัง สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับตัวหนังสือได้มากขึ้น โดยกระทรวงฯ ทําเป็นระบบที่ประกอบด้วย ทัง้ เสียงและตัวหนังสือหรือสิง่ พิมพ์เต็มรูปแบบ เพือ่ เด็กพิการด้านอืน่ ด้วย บุรยา อังประชา บุญญฤทธิ์ จรเสนาะ วิสท ุ ธิภา เพียวริบต ุ ร สิราวรรณ สกุลมาลัยทอง หทัยชนก โฉมมณี

21/1/2560 16:37:46


12

| ลูกศิลป์

ไม่วา่ จะเป็นรถเข็นข้างทาง ตลาดสด หรือ ห้างสรรพสินค้า ทั้งในเมืองเล็ก เมืองใหญ่ หากอยูใ่ นประเทศไทยแล้ว ก็สามารถหาซือ้ ผัก และผลไม้มารับประทานได้อย่างสะดวก มีราคา ให้เลือกหลากหลาย ทัง้ ทีป่ ลูกในประเทศและ น�ำเข้าจากต่างประเทศ จากสถิ ติ ก ารตรวจหาสารตกค้ า งในผั ก และผลไม้นำ� เข้า ของส�ำนักด่านอาหารและยา ระบุว่า ปี 2558 ยังคงพบสารตกค้างเกิน มาตรฐาน 40 ตัวอย่างจากทัง้ หมด 910 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 4.4 โดยพบสารตกค้างใน บรอกโคลี ส้ม และองุน่ ในระดับเกินมาตรฐาน อยูบ่ อ่ ยครัง้ และผักผลไม้จากประเทศทีพ่ บบ่อย ทีส่ ดุ คือ ประเทศจีน โดยปี 2558 ประเทศไทย น�ำเข้าผักและผลไม้จากจีนเป็นอันดับ 1 กว่า 14,287,470,936 กิโลกรัม หรือเกือบครึง่ หนึง่ ของปริมาณน�ำเข้าผักและผลไม้ทงั้ หมด นั ก วิ ช า ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร อ า ห า ร และยา ด่ า นศุ ล กากรเชี ย งของ จั ง หวั ด เ ชี ย ง ร า ย ซึ่ ง เ ป ็ น ด ่ า น ท า ง บ ก ที่ ผั ก และผลไม้จากประเทศจีนผ่านเข้ามามากที่สุด เปิดเผยว่า สินค้าตัวอย่างจะได้รบั การสุม่ ตรวจ ด้ ว ยชุ ด ทดสอบ ‘จี ที เ ทสต์ คิ ด ’ ตรวจสาร กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต กลุ่มคาร์บาเมต และ

เมือ่ 6 ปีทแี่ ล้ว นางยศวดี ศรสิรกิ ลุ วัย 38 ปี อาชีพท�ำธุรกิจส่วนตัว ตัดสินใจผ่าคลอดเนือ่ งจาก อายุที่มากขึ้น เธอต้องพักฟื้นราว 2 - 3 วัน ระยะแรกโรงพยาบาลจึงให้นมผงกับลูกกิน เมือ่ ไม่ได้กระตุน้ เต้านมตัง้ แต่แรก แม้ตอ่ มาจะ มีนำ�้ นม แต่กม็ นี อ้ ย ท�ำให้ลกู ของเธอร้องและ ไม่ยอมกินจากเต้านม เพราะเคยกินจากขวด ซึง่ น�ำ้ นมไหลได้มากกว่า “เมือ่ ไม่มนี ำ�้ นมให้ลกู ดิฉนั ก็เครียด ยิง่ เครียด น�ำ้ นมก็ยงิ่ ไม่ไหล จึงให้ ลูกกินนมแม่สลับกับนมผงอยู่ 1 เดือน กลายเป็น ลูกติดขวดนม” การศึกษาเรื่อง การคลอดบุตรโดยการ ผ่ า ตั ด คลอดทางหน้ า ท้ อ งของกรมอนามั ย กระทรวงสาธารณสุ ข ปี 2554 พบว่ า วิธีการคลอดมีผลต่ออัตราการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ แม่ที่ผ่าคลอดมีอัตราการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 39.6 ส่วน แม่ทคี่ ลอดแบบธรรมชาติ มีอตั ราการเลีย้ งลูก ด้วยนมแม่รอ้ ยละ 45.8 “แม่ทผี่ า่ คลอดจะเริม่ ให้ทารกดูดนมช้ากว่า แม่ที่คลอดแบบธรรมชาติเพราะจะมีอาการ ไม่สบายตัวและอ่อนเพลีย ไม่สามารถให้นม ลูกได้สะดวก ส่งผลให้นำ�้ นมไม่ไหลหรือไหลช้า เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้แม่ตัดสินใจหันมาให้ นมผงกับลูกแทน” รายงาน ระบุ นพ.ประวิช ชวชลาศัย ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข กล่าวว่า เด็กทีก่ นิ นมขวดมีโอกาส

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 12

สิทธิผบ ู้ ริโภค

‘จีพีโอ ทีเอ็มสอง’ ตรวจสารกลุ่มไพรีทรอยด์ กลุ ่ ม ออร์ ก าโนคลอรี น แต่ ชุ ด ทดสอบ ทีเอ็มสองมีราคาแพงและตรวจได้นอ้ ยครัง้ กว่า จึงมีการใช้งานน้อยกว่า “ปกติใช้จีทีเทสต์คิดตรวจ ยกเว้นผักและ ผลไม้ ข องบริ ษั ท ใดที่ เ คยตรวจพบสารกลุ ่ ม ไพรีทรอยด์ กลุ่มออร์กาโนคลอรีน จึงจะใช้ จีพโี อ ทีเอ็มสองตรวจ” นักวิชาการปฏิบตั กิ าร คนเดิม กล่าว นางสาวปรกชล อู๋ทรัพย์ ผู้ประสานงาน เครื อ ข่ า ยเตื อ นภั ย สารเคมี ก� ำ จั ด ศั ต รู พื ช (ไทยแพน) กล่าวว่า ผลการตรวจสารพิษตกค้าง ในผักและผลไม้ที่นิยมบริโภคปี 2559 รวม 158 ตัวอย่าง พบสารพิษตกค้างเกินมาตรฐาน 88 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 56 โดยผักทีพ่ บสารพิษ ตกค้างมากทีส่ ดุ คือ คะน้า 10 จาก 11 ตัวอย่าง ส่วนผลไม้คอื ส้มสายน�ำ้ ผึง้ 8 จาก 8 ตัวอย่าง “ชุดทดสอบเบื้องต้นจีทีเทสต์คิด ตรวจ สารตกค้างได้เพียง 1 - 2 กลุม่ เท่านัน้ แต่ใน ความเป็นจริง มีสารเคมีทใี่ ช้ในภาคการเกษตร 4 กลุม่ และมีมากถึงเกือบ 400 ตัว ท�ำให้ยงั พบสารตกค้างในผักและผลไม้ที่จ�ำหน่ายใน ประเทศไทย จากการสุม่ ตรวจทัง้ ตลาดทัว่ ไปและ ห้างสรรพสินค้า” นางสาวปรกชล กล่าว

ด้ า น ผลวิ จั ย โครงการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล การเฝ้าระวังผักและผลไม้ในประเทศ สถาบันวิจยั โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีเดียวกัน ยืนยันว่า การตรวจด้วยชุดทดสอบจีทเี ทสต์คดิ เพียงชุดเดียว ไม่สามารถพิสจู น์ความปลอดภัยได้อย่างแน่ชดั “เมื่อทดสอบผักและผลไม้จากตัวอย่าง เดียวกัน ด้วยชุดทดสอบ 2 ชุด พบว่า จาก 2,130 ตัวอย่าง จีทเี ทสต์คดิ พบสารตกค้างอันตราย ร้อยละ 1.8 ในขณะทีจ่ พี โี อ ทีเอ็มสอง พบสาร ตกค้างถึงร้อยละ 7.9” ผลวิจยั ระบุ นางสาวนิ ษ ากานต์ วารี ข จรเกี ย รติ นักวิชาการปฏิบัติการสาธารณสุข ส�ำนักโรค จากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม กล่าว ว่า ยาฆ่าแมลงกลุม่ ทีอ่ นั ตรายทีส่ ดุ คือ กลุม่ ออร์ กาโนคลอรีน เพราะคงทนในสภาวะแวดล้อมสูง ท�ำให้เกิดพิษตกค้างมากและนาน “หากสารสะสมในร่างกายจะท�ำให้เกิดโรค มะเร็ง เนือ้ งอก เสือ่ มสมรรถภาพทางเพศ และ การเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรมได้” นักวิชาการ ปฏิบตั กิ ารสาธารณสุข ระบุ ด้าน นางสาวจารุวรรณ ลิ้มสัจจะสกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักคุณภาพและความปลอดภัย อาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข กล่าวว่า ประเทศไทยมีจดุ อ่อนเรือ่ ง วิธกี ารตรวจสารเคมีกำ� จัดศัตรูพชื เพราะมีหอ้ ง ปฏิบตั กิ ารทีส่ มบูรณ์นอ้ ย ต้องส่งมายังส่วนกลาง ใช้เวลาตรวจนาน 7 วัน เมือ่ ผักและผลไม้เน่า เสียจึงตรวจไม่ทนั เพราะมีเจ้าหน้าทีเ่ พียง 8 คน ตรวจสินค้าทัง้ ประเทศ “อนาคตจะเพิม่ แล็บตรวจสารเคมี 4 กลุม่ ในผักผลไม้ กระจายไปยังจังหวัดใหญ่ เพื่อให้ ตรวจได้ครอบคลุมขึน้ ” นางสาวจารุวรรณ กล่าว ส่ ว น นางสาวทิ พ ย์ ว รรณ ปริ ญ ญาศิ ริ

ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักอาหาร ส�ำนักคณะกรรมการ อาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข ยอมรับว่า เห็นปัญหา อย.จึงปรับมาตรการ การตรวจให้เคร่งครัด โดยจะสุ่มตรวจที่ด่าน มากขึน้ ก�ำหนดให้บริษทั ผูน้ ำ� เข้าต้องมีใบรับรอง สินค้า และเพิ่มการตรวจติดตามที่ตลาดและ ห้างสรรพสินค้ามากขึน้ “ที่ผ่านมาส�ำนักอาหารมีหน่วยทดสอบ สารเคมี เ คลื่ อ นที่ ไ ปตามสถานที่ ต ่ า ง ๆ ทั่ ว ประเทศ หากพบว่ า สิ น ค้ า มี ป ริ ม าณ สารเคมีเกินค่ามาตรฐาน จึงแจ้งไปยังหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อออกใบแจ้งเตือน ยึดคืนสินค้า และท�ำลายเท่านั้น ไม่ได้มีการด�ำเนินคดีแต่ อย่างใด โดยปีนี้ปรับนโยบาย หากตรวจพบ จะด� ำ เนิ น คดี ต ามพ.ร.บ.คุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภค พ.ศ. 2522” นางสาวทิพย์วรรณ กล่าว ขณะที่ นางสาวอาภาภรณ์ ปิยะปราโมทย์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาระบบ ส�ำนักด่านอาหาร และยา กระทรวงสาธารณสุข ชี้แจงว่า ด่าน ตรวจจะใช้ผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นฐานในการ เลือกชุดทดสอบสาร หากผักและผลไม้ชนิดใด เคยตรวจพบสารตกค้าง 2 กลุม่ จะใช้เพียงชุด ทดสอบจีทเี ทสต์คดิ แต่ถา้ มีประวัตพิ บทัง้ 4 กลุม่ จึงจะให้ใช้ชดุ ทดสอบทีเอ็มสองคิดเพิม่ เมื่ อ ถามว่ า จะมี ก ารปรั บ ใช้ ชุ ด ตรวจ ที่ ค ร อ บ ค ลุ ม ส า ร ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท ห รื อ ไ ม ่ นางสาวอาภาภรณ์ กล่าวว่า ทีเ่ ลือกใช้จที เี ทสต์ คิดมาจากการลงความเห็นของเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ิ การว่า ใช้งานสะดวก ตรวจได้เร็ว และครอบคลุม พอ ไม่เกี่ยวกับเรื่องราคา แต่ยืนยันว่า หาก ตรวจพบสารเคมีในระดับทีอ่ นั ตราย การน�ำเข้า ครัง้ ถัดไปจะตรวจเข้มมากขึน้

สูงมากทีจ่ ะไม่กลับมากินนมแม่ หากเด็กได้รบั นม ขวดราว 3 - 7 วัน ก็มโี อกาสไม่กลับมากินนมแม่อกี ด้าน พญ.บุษกร สวัสดิ์แสน แพทย์สาขา สู ติ น รี เ วชกรรม โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ กล่ า วว่ า ความสมบู ร ณ์ ข องร่ า งกายและ กรรมพั น ธุ ์ ส ่ ง ผลถึ ง น�้ ำ นมแม่ เช่ น แม่ ที่ อายุมาก น�ำ้ นมจะลดลง หรือหากผ่าคลอด แม่จะ เสียโอกาสทีจ่ ะให้นมลูกได้ทนั ที ท�ำให้ตอ่ มน�ำ้ นม ไม่ได้รับการกระตุ้น บริษัทนมผงอาศัยช่องนี้ เข้ามาท�ำการตลาด “ยั ง มี ก ารโฆษณาวา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี สารอาหารทีช่ ว่ ยย่อยและเพิม่ จุลนิ ทรีย์ ลดการ ติดเชือ้ ในล�ำไส้ ท�ำให้เด็กมีภมู คิ มุ้ กัน ไม่ตา่ งจาก เด็ ก ที่ ค ลอดเองซึ่ ง จะกลื น โพรไบโอติ ค ส์ อั น เป็ น จุ ลิ น ทรี ย ์ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สุ ข ภาพ” พญ.บุษกร กล่าว สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่อการสื่อสารรณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2553 - 2556 ของนางสาวนิษฐา หรุน่ เกษม สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร ที่ พ บว่ า อุ ปสรรคต่ อ การสื่ อ สาร รณรงค์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนมแม่ โดยเฉพาะ กั บ แม่ ใ นสถานประกอบการที่ มี ร ่ า งกาย ไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถให้นมลูกได้ ท�ำให้บริษทั นมผงเข้ามาท�ำการตลาดแทน มีปจั จัยมาจาก แพทย์และพยาบาลไม่สนับสนุนการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ อีกทั้งการกดดันของคนรอบข้าง การเสนอข่าวสารในเรือ่ งนมแม่ทำ� ให้ผเู้ ป็นแม่เอง

เกิดความไม่แน่ใจในข้อมูล หรือการตลาดเชิงรุก ของบริษัทนมผงกับโรงพยาบาลและกลุ่มแม่ ซึง่ เริม่ จากการเข้าทางโรงพยาบาล ทางโรงงาน ทางสื่อมวลชน และทางแม่โดยตรง รวมถึง การผลักดันนโยบายของรัฐที่ไม่จริงจัง เช่น การใช้มาตรการทางกฎหมายไม่เข้มแข็งพอ เจ้าหน้าที่พยาบาลประจ�ำแผนกเด็กอ่อน โรงพยาบาลศิรริ าช เปิดเผยว่า มีบริษทั นมผง น�ำผลิตภัณฑ์มาให้หลายบริษทั โดยทีแ่ ม่ของเด็ก จะไม่รู้ว่านมผสมที่ลูกกินคือยี่ห้ออะไร เพราะ แผนกโภชนาการเด็กแรกเกิดจะชงมาให้ แต่ทาง โรงพยาบาลมีการรรณรงค์เรือ่ งคุณค่าของนมแม่ แต่ถ้าใครที่มีความจ�ำเป็นไม่สามารถให้น�้ำนม ลูกก็ต้องเลือกใช้นมผง อีกทั้ง ทางบริษัทยังมี ชุดของขวัญ เช่น ผ้าอ้อมและของใช้ของเด็กทีม่ ี โลโก้ตราของบริษทั นมเท่านัน้ เมื่อตรวจสอบข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหาร ส� ำ หรั บ ทารกและเด็ ก เล็ ก และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เกี่ยวข้อง (CODE Milk) ของต่างประเทศ พบว่า มีการบังคับใช้กฎหมายนี้ 38 ประเทศ ซึ่ ง ประเทศไทยอยู ่ ร ะหว่ า งจั ด ท� ำ กฎหมาย ล่ า สุ ด สภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ (สนช.) รับหลักการวาระ 1 ไปแล้ว ในการประชุมวันที่ 15 พฤศจิกายน ทีผ่ า่ นมา สาระส�ำคัญของร่าง คือ มีมาตรการควบคุมส่งเสริมการตลาดอาหาร ทารกและเด็กเล็ก ตัง้ แต่แรกเกิด ถึง 3 ปี และ มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการก�ำกับและเฝ้าระวัง ขณะเดียวกัน สมาคมผู้ผลิตอาหารทารก และเด็กเล็กได้ยื่นจดหมายถึงประธานสนช. ขอให้ พิ จ ารณาก� ำ หนดควบคุ ม การส่ ง เสริ ม การตลาดนมผง ส�ำหรับทารกแรกเกิดถึง 1 ปี เท่านัน้ และให้มกี ารยกเว้นกลุม่ อาหารทีจ่ ำ� เป็น ส�ำหรับทารกทีไ่ ม่สามารถใช้นมแม่ได้ เนือ่ งจาก กฎหมายใหม่จะส่งผลกระทบต่อยอดขายของ บริษัทนม ส่วนแพทยสภาซึ่งร่วมกับเครือข่าย

กุมารแพทย์ทวั่ ประเทศออกมาแสดงความเห็น เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม ทีผ่ า่ นมา อ้างว่า เด็กไทย ทีด่ มื่ นมแม่นานเกิน 1 ปี จะมีภาวะเตีย้ ร้อยละ 12.3 หากนานกว่านั้นก็จะมีภาวะเตี้ยเพิ่มขึ้น ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ พั ฒ นาการเจริ ญ เติ บ โต ของเด็ก ด ้ า น พ ญ . ช ม พู นุ ท โ ต โ พ ธิ์ ไ ท ย แพทย์ ช� ำ นาญการ ส� ำ นั ก ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข อ้างว่า “สาเหตุหนึง่ ทีร่ า่ งพ.ร.บ. ยังออกเป็นกฎหมาย ไม่ ไ ด้ เนื่ อ งจากบริ ษั ท นมและนั ก การเมื อ ง มีผลประโยชน์ซงึ่ กันและกัน” ขณะที่ นพ.เจตน์ ศิรธรานนท์ ประธาน ก ร ร ม า ธิ ก า ร ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ส น ช . ปฏิเสธทีจ่ ะให้ความเห็น ระบุวา่ “ตอนนีย้ งั ตอบ อะไรไม่ได้ สภาก�ำลังพิจารณาอยู่ ยังไม่รู้ว่า จะออกไปในทางไหน” ล่ า สุ ด องค์ ก ารยู นิ เ ซฟและองค์ ก าร อนามั ย โลก มี แ ถลงการณ์ ร ่ ว มยื น ยั น สนั บ สนุ น ร่ า งพ.ร.บ.ควบคุ ม การส่ ง เสริ ม การตลาดอาหารทารกและเด็ ก เล็ ก ใน ประเทศไทย โดยระบุ ว ่ า การควบคุ ม การ ตลาดอาหารส�ำหรับทารกและเด็กเล็ก ตั้งแต่ แรกเกิดถึง 3 ปี เป็นมาตรฐานทีส่ ากลยอมรับ และการเลีย้ งลูกด้วยนมแม่เป็นหนึง่ ในวิธสี ำ� คัญ ทีพ่ อ่ แม่จะป้องกันภาวะเตีย้ ในเด็กได้ อนึ่ง จากงานวิจัย การสื่อสารการตลาด อุตสาหกรรมนมผงกับการละเมิด CODE ของ นายบวรสรรค์ เจี่ยด�ำรง ปี 2557 ระบุว่า ในรอบ 5 ปีทผี่ า่ นมา บริษทั นมผงได้กำ� ไรเฉลีย่ กว่าพันล้านบาทต่อปี โดยมูลค่าการตลาดนมผง โดยรวมอยูท่ ปี่ ระมาณ 25,000 ล้านบาทต่อปี แบ่งเป็นตลาดแบบมาตรฐานทัว่ ไป 7,000 ล้าน บาท และแบบตลาดคุณภาพดี 18,000 ล้านบาท

รติมา เงินกร

อนาลา กุลรัตน์

21/1/2560 16:37:46


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สิทธิผบ ู้ ริโภค

ต่อจากหน้า 1 : เนือ ้ หมูไร้มาตรฐาน

ทุก ๆ เช้า ไม่ว่าจะเป็นตลาดสดบางซื่อ เขตบางซื่ อ หรื อ เลยออกไปอย่ า งตลาดสด สายเนตร เขตบึงกุ่ม หรือตลาดโพธิ์สุวรรณ เขตคันนายาว คลาคล�ำ่ ไปด้วยผูค้ นทีม่ าจับจ่าย ซือ้ เนือ้ หมูไปบริโภค ทว่าเขียงหมูทตี่ งั้ เรียงราย ในตลาดชานเมืองเหล่านี้ มักวางเนือ้ หมูบนโต๊ะ ทีม่ แี ผ่นพลาสติกรอง และไม่มตี คู้ วบคุมอุณหภูมิ เนือ้ หมูตามมาตรฐานทีก่ รมปศุสตั ว์กำ� หนดไว้ คนไทยบริโภคเนือ้ หมูเฉลีย่ 12.17 ล้านตัว คิดเป็นคนละ 15 กิโลกรัมต่อปี ตามสถิตจิ าก ศูนย์สารสนเทศ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2558 แต่อีกด้านหนึ่ง รายงานผลส�ำรวจ การปนเปื้อนสารเคมีจากตัวอย่างอาหารใน กรุงเทพฯ ปี 2559 ส�ำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา (อย.) เผยว่า พบเนือ้ หมูใส่สารเร่ง เนือ้ แดง 69 ตัวอย่าง จาก 233 ตัวอย่าง หรือราว 1 ใน 3 จากการส�ำรวจในตลาดสดกรุงเทพฯ 50 เขต จ�ำนวน 120 ตลาด มีเขตอันตราย ได้แก่ เขตบางซือ่ เขตบึงกุม่ และเขตคันนายาว ผูค้ า้ เนือ้ หมูในตลาดดังกล่าว 7 คน บอกว่า รับเนือ้ หมูจากฟาร์มและโรงเชือดทีไ่ ด้ใบรับรอง ส่วนอีก 6 คน ยอมรับว่า ไม่ทราบว่าเนือ้ หมูมา จากแหล่งใด อย่างไรก็ดี ทัง้ หมดบอกตรงกันว่า มี เจ้าหน้าทีจ่ าก อย. มาตรวจเพียง 1 - 2 ครัง้ ต่อปี เท่านัน้ และตรวจเฉพาะเนือ้ หมูบด นางสาวสุธญั ญา จงอุตส่าห์ เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ิ การหน่วยรถเคลือ่ นที่ อย. เผยว่า อย. ตรวจ ตลาดสดทั้ง 50 เขตในกรุงเทพฯ สัปดาห์ละ 2 วัน ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-พฤษภาคม ส่วนใหญ่พบสารเร่งเนือ้ แดงในเนือ้ หมูทรี่ บั ซือ้ มา จากโรงเชือดทีไ่ ม่ได้คณ ุ ภาพ จึงได้ยดึ เนือ้ หมูสง่ ให้ ต�ำรวจไปตรวจสอบว่า รับมาจากแหล่งใด พ.ต.ท.อภิชัย ไลออน รองผู้ก�ำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการกระท�ำความผิด เกี่ ย วกั บ การคุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภค เผยว่ า เดือนมิถนุ ายน ทีผ่ า่ นมา ลงพืน้ ทีต่ ลาดสีม่ มุ เมือง จังหวัดปทุมธานี ร่วมกับ อย. พบสารบอแรกซ์ ในเนือ้ หมูถงึ 10 แผง ซึง่ ผูค้ า้ อ้างว่า ใส่เพือ่ ให้ ขายได้กำ� ไร เพราะเนือ้ หมูอยูไ่ ด้นานขึน้ กว่าปกติ จึงด�ำเนินคดี และมีมาตรการออกตรวจเดือนละ 1 ครัง้ ทุกเดือน ด้ า น นพ.สุ ขุ ม กาญจนพิ ม าย อธิ บ ดี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เตือนว่า หากบริโภค เนื้อหมูที่มีสารเร่งเนื้อแดง ในปริมาณมาก ส่งผลให้กล้ามเนือ้ กระตุก มือสัน่

¨Ò¡¿ÒÃÁì ʼèÙºéÙÃâÔÀ¤

และมีอัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึ้นกว่าปกติ ส่วนสารบอแรกซ์ส่งผลให้มีอาการอ่อนเพลีย ระคายเคืองทางเดินอาหาร และหากเด็กได้รบั เพียง 5 กรัม สามารถอาเจียนเป็นเลือดจนถึง ขัน้ เสียชีวติ เมื่ อ ตรวจสอบจ� ำ นวนโรงเชื อ ดสุ ก ร ในประเทศไทย รายงานของกรมปศุ สั ต ว์ ปี 2559 ระบุว่า มีโรงเชือดที่ได้รับอนุญาต ทั้งหมด 1,318 แห่ง ส่วนที่ไม่ขอใบอนุญาต มีมากถึง 664 แห่ง นายพัฒน์พงศ์ โลหะอนุกลู นายสัตวแพทย์ ช�ำนาญการพิเศษ กรมปศุสตั ว์ กล่าวว่า ทีโ่ รงเชือด ไม่ขอใบอนุญาตเพราะมีคา่ ใช้จา่ ยในการจัดการ สถานทีส่ งู และจ�ำเป็นต้องจ้างสัตวแพทย์ประจ�ำ “กรมปศุสัตว์เข้าตรวจสอบโรงเชือดปีละ 2 ครัง้ ปี 2559 จับกุมและด�ำเนินคดีโรงเชือด เถือ่ นรวม 229 คดี เพิกถอนใบอนุญาตไปแล้ว 163 แห่ง”นายพัฒน์พงศ์ กล่าว ด้าน นายจิรภัทร อินทร์สขุ นายสัตวแพทย์ ช�ำนาญการ กรมปศุสัตว์ เผยว่า การขนส่ง เนื้ อ หมู โ ดยรถกระบะก็ มี ส ่ ว นท� ำ ให้ เ นื้ อ หมู ปนเปื ้ อ น เพราะซ้ อ นทั บ กั น ติ ด พื้ น รถ ตามมาตรฐานของส� ำ นั ก งานมาตรฐาน สินค้าเกษตรเเละอาหารแห่งชาติ ก�ำหนดว่า รถขนส่งต้องปิดมิดชิดเพือ่ ป้องกันสิง่ ปนเปือ้ นและ ควรเป็นรถห้องเย็นควบคุมอุณหภูมิ แต่ท�ำได้ แค่ขอความร่วมมือจากผู้ประกอบการเท่านั้น อย่างไรก็ดี กรมปศุสัตว์ก�ำลังเร่งจัดระเบียบ รถขนส่ง เพื่อบังคับให้ผู้ประกอบการปฏิบัติ ตาม อยู่ในขั้นร่างกฎกระทรวง มีผลบังคับใช้ ไม่เกินปี 2560 นางสาวทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักอาหาร อย. ชี้แจงว่า ปัจจุบันกฎหมาย ควบคุ ม ได้ เ พี ย งโรงเชื อ ดและฟาร์ ม ที่ ขึ้ น ทะเบียน จึงเป็นช่องโหว่ให้ผู้ประกอบการไม่ ปฏิบัติตามหลักที่ถูกต้อง แต่ อย. ร่วมมือกับ เกษตรกรให้ควบคุมตัง้ แต่ฟาร์ม คือ ห้ามฉีดยา ปฏิชวี นะในสัตว์กอ่ นน�ำเชือดเพือ่ ออกสูเ่ ขียงหมู อย่ า งปลอดภั ย หากสั ต วแพทย์ ต รวจพบ ยาปฏิชวี นะตกค้าง สัตว์จะถูกคัดแยกออกและ ไม่ได้เข้าเชือด หากยังกระท�ำผิดซ�้ำจะถูกพัก ใช้ไปจนถึงเพิกถอนใบรับรองมาตรฐานฟาร์ม ซึง่ ปี 2559 มีเนือ้ หมูสง่ ตรวจ 4,142 ตัวอย่าง พบยาปฏิชวี นะตกค้างเพียง 191 ตัวอย่างเท่านัน้ นางสาวทิพย์วรรณ กล่าวอีกว่า อย. ก�ำลัง เร่งพัฒนานโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร ทีม่ มี าตัง้ แต่ปี 2546 เพือ่ เฝ้าระวังและก�ำหนด มาตรฐานให้เนื้อสัตว์มาจากฟาร์มที่ได้ มาตรฐานเท่านัน้ ซึง่ ปัจจุบนั เป็น เพียงการสมัครใจเข้าร่วม

ขณะที่ นายสมชวน รั ต นมั ง คลานนท์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาระบบและรับรอง มาตรฐานสินค้า กรมปศุสตั ว์ กล่าวว่า การปรับ มาตรฐานความปลอดภั ย ของเนื้ อ สั ต ว์ ใ ห้ สูงขึน้ ทันที จะกระทบชาวบ้านผูเ้ ลีย้ งหมูรายย่อย

โรงเชือด ผู้ขาย และผู้บริโภคที่มีรายได้น้อย ที่จะมีต้นทุนสูงขึ้นทั้งกระบวนการผลิตและ บริโภค กรมปศุสตั ว์จงึ แก้ไขเฉพาะหน้าโดยท�ำ สัญลักษณ์ตวั คิว (Q) บนบรรจุภณ ั ฑ์ เพือ่ เป็น ทางเลือกให้ผู้บริโภคที่ต้องการเนื้อสัตว์ที่ผ่าน การรับรองมาตรฐาน

"µ¹Œ·¹Ø¡ÒüŵÔËÁÙ 1,300 ºÒ· ÃËŒÙÃÍ×äÁ?‹ ˹¡Ñ 15-20 ¡¡. àÅÂéÕ§ 8 à´Í×¹"

Step 1 ฟารม 

Step 2 ขนสง

Step 3 โรงเชอ ื ด

 มบ ู าดเจบ ็ หรอ ื มส ี ต ั วแพทยป  ระจำ ไมทำใหห ตรวจสขุภาพหมแูละ ฟารม  ฉด ี วค ั ซน ี และ ทรมานและทำความสะอาด คด ั แยกหมท ู ผ ่ี ด ิ ปกติ เพ่ือลดการปนเปอ  น ใหคำแนะนำทถ ่ี ก ู จากสง่ิสกปรก สขุลก ั ษณะ

ÊÒÃàç‹à¹Íé×á´§ ·íÒãËàŒ¹Íé×ËÁÁÙÊÕ áÕ´§à¢ÁŒ áÅÐÁ¹Ñ¹ÍŒÂŧ

ขอ  มล ู จากนายมนตรี นะมามะกะ ผจ ู ด ั การสหกรณผ  เูลย ้ี งสก ุ รฉะเชงิเทรา

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 13

ÊÒäÍõìÔ â¤ÊàµÂÕÃÍÂ´ì ·íÒãËàŒ¹Íé×ËÁ© Ù Òèí ¹Òéí áÅÐàÊÂÕ§Ò‹Â

13

ÊÒû¹à»Íœ„¹¨Ò¡¡ÒÃÇÒ§ «Ò¡ÊµÑǺ칾¹é× ·íÒãËÁéàÕªÍé×âä áÅоÂÒ¸ÍÔÂãèÙ¹à¹Íé×ËÁÙ

พัชรี พรกุลวัฒน์

Step 4 ตลาด เขย ี งหมท ู ด ่ี ค ี วรมต ี ค ู วบคม ุ อณ ุ หภม ู ิ เพอ ่ื ปอ  งกน ั การ เตบ ิ โตของจล ุ น ิ ทรย ี 

เขยีงทม่ีปีา้ยปศสุตัวโ์อเค ÊคÒอืÃเºนÍอ้ืáหÃม¡ไู«ดì·íม้าÒจãËากàé¹ฟÍé×ารËม์ÁÍÙÂèÙ ä´¹éÒ¹¢¹éÖ áµ¤è ¹¡¹Ô¨Ð ÍÒà¨ÂÕ¹ ˹ҌºÇÁËÃÍ× Ë¹§ÑµÒÍ¡Ñàʺ

ข้อมูลจาก: นายมนตรี นะมามะกะ ผูจ้ ดั การสหกรณ์ผเู้ ลีย้ งฉะเชิงเทรา

21/1/2560 16:37:52


14

| ลูกศิลป์

สิทธิการมีสว ่ นร่วม

ย้อนอดีตข้อพิพาทรัฐบาล-ปชช.โครงการสร้างเขือ่ น “แม่วงก์-แก่งเสือเต้น-ปากมูล” ย�ำ้ ปมปัญหามายาคติจดั การน�ำ้ บทเรียนประวัติศาสตร์การพัฒนาที่ผิดพลาด-ไม่เห็นหัวคนจนของรัฐไทย

ลอดศตวรรษที่ ผ ่ า นมา ประเทศไทยสร้ า งเขื่ อ น กว่า 48 เขือ่ นทัว่ ประเทศ โดยอ้างเหตุผลนานัปการ ไม่ว่าจะ เป็ น ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า แก้ ป ั ญ หา น�ำ้ ท่วม - น�ำ้ แล้ง ไปจนถึงเหตุผลทาง เศรษฐกิจและการท่องเทีย่ ว ยั ง ไม่ ร วมอ่ า งเก็ บ น�้ ำ ที่ มี ก ว่ า 447 แห่ง และยังมีโครงการสร้าง ฝายเล็กฝายน้อยที่บรรจุในแผนงาน ของคณะกรรมการบริหารจัดการน�ำ้ และอุทกภัย (กบอ.) อีกจ�ำนวนหนึง่ ย้ อ นดู โ ครงการสร้ า งเขื่ อ น ขนาดใหญ่ตา่ งพบปัญหาพิพาทอย่าง หนักระหว่างรัฐกับประชาชนในพืน้ ที่ ไม่ ว ่ า จะเป็ น เขื่ อ นปากมู ล จังหวัดอุบลราชธานี ที่สร้างไปแล้ว หรือ เขือ่ นแก่งเสือเต้น จังหวัดแพร่ และเขือ่ นแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ที่ รั ฐ บ า ล แ ท บ ทุ ก ชุ ด พ ย า ย า ม ผลั ก ดั น จะสร้ า งให้ ไ ด้ ใ นทุ ก ครั้ ง มาตลอด 30 ปี เมื่ อ เจาะเข้ า ไปพิ จ ารณาถึ ง วิธกี ารด�ำเนินโครงการ ก็พบรูปแบบ ที่รัฐพยายามสร้างความชอบธรรม และกดทับเสียงคัดค้านของชุมชน ในรู ป แบบคล้ า ย ๆ กั น ได้ แ ก่ ท�ำประชาพิจารณ์ปลอม ด้วยการ เกณฑ์กลุ่มคนที่ไม่ได้รับผลกระทบ หรือไม่อยู่ในพื้นที่ของโครงการมา ร่วมออกเสียง รวมทั้งการน�ำเฉพาะ ผู ้ ที่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ โครงการมาร่ ว ม ประชุม มีการลัดขั้นตอนการสร้าง โดย จัดหาผู้รับเหมาก่อนการท�ำรายงาน ศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อม (อีไอเอ) นอกจากนี้ ยั ง ปกปิ ด ข้ อ มู ล ผลได้ ผลเสี ย และทางเลื อ กอื่ น ในการแก้ปญ ั หาจัดสรรทรัพยากรน�ำ้

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 14

โดยเฉพาะเรือ่ งน�ำ้ ท่วมและน�ำ้ แล้ง ผลที่ตามมาคือ ชุมชนแตกแยก และสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ ห า ญ ณ ร ง เ ย า ว เ ลิ ศ ประธานมูลนิธิการจัดการน�้ำแบบ บูรณาการ กล่าวว่า หลายครัง้ ทีเ่ ขือ่ น ไม่สามารถแก้ปัญหาให้ท้องถิ่นและ ประเทศได้ แต่รัฐยังเสนอโครงการ สร้างเขือ่ นใหม่ ๆ ขึน้ มาเสมอ เท่ากับ ต้ อ งกู ้ เ งิ น มาใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า ง ไม่คุ้มค่า เขื่อนที่สร้างยังไม่เป็นไป ตามข้อตกลงที่ให้ไว้กับชาวบ้าน “รั ฐ กู ้ เ งิ น มาท� ำ เขื่ อ นปากมู ล 6,000 ล้ า นบาท คาดว่ า ไม่ เ กิ น 25 ปี จะคุ้มทุน ซึ่งจะขายไฟฟ้า ที่ ผ ลิ ต ได้ 100 - 200 ล้ า นบาท แ ต ่ ก ลั บ มี ป ั ญ ห า กั บ ช า ว บ ้ า น กว่า 3,000 ครอบครั ว ต้ อ งจ่ า ย ค่ า ชดเชยไป 2,000 ล้ า นบาท รวมค่ า ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละอื่ น ๆ ก็ใช้งบไปเกือบ 10,000 ล้านบาทแล้ว” หาญณรงค์ กล่าว เขือ ่ นปากมูล : ความล้มเหลว

ของเขือ ่ นเพือ ่ ผลิตไฟฟ้า

เขือ่ นปากมูลสร้างขึน้ ในปี 2532 แล้วเสร็จในปี 2535 ใช้งบประมาณ ในการก่อสร้า ง 6,507 ล้ า นบาท ระบุวัตถุประสงค์แรกเริ่มว่า เพื่อ ผลิตกระแสไฟฟ้า 136 เมกะวัตต์ แต่ตงั้ แต่กอ่ นการก่อสร้างจนถึงวันนี้ ชาวบ้านก็ยงั คงต่อต้าน ชาวบ้านทีป่ ระกอบอาชีพประมง เป็ น กลุ ่ ม แรกที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ โดยตรง เนื่องจากเขื่ อ นได้ ปิ ด กั้ น เส้น ทางการเดิ น ทางของปลากว่ า 200 สายพันธุ์ในแม่น�้ำโขง ซึ่งจะ เดินทางมาวางไข่ตามเกาะแก่งต่าง ๆ ในล�ำน�ำ้ มูลตามฤดูกาลผสมพันธุ์

“มันไม่ได้กระทบแค่สตั ว์นำ�้ หรือ สัตว์บก แต่กระทบเรื่ององค์ความรู้ วัฒนธรรม วิถีชีวิตชาวบ้าน ชุมชน และครอบครัวแตกสลาย อาชีพหลัก ของชาวบ้านหายไป ลูกหลานต้องไป ท�ำงานไกลบ้าน ผัวไปทางเมียไปทาง” เ จ ริ ญ ก อ ง สุ ข แ ม เ ฒ า วัย 76 ปี แห่งบ้านหัวเห่ว ต�ำบล โขงเจียม อ�ำเภอโขงเจีย ม จั ง หวั ด อุบลราชธานี หนึง่ ในแกนน�ำสมัชชา คนจนผู้ต่อสู้เรียกร้องสิทธิของชาว บ้านผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากเขือ่ นปาก มูลมาตั้งแต่รุ่นแรก เล่าด้วยเสียง สัน่ เครือ ขณะที่ รายงานการศึกษาของ คณะกรรมาธิ ก ารเขื่ อ นโลก เมื่ อ ปี 2543 จั ด ท� ำ โดยสถาบั น วิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาแห่ ง ประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ชี้ว่า โครงการเขื่ อน ปากมู ล ไม่ คุ ้ ม ทุ น และล้ ม เหลว เพราะต้นทุนก่อสร้างบานปลายจาก 3,880 ล้านบาท ไปถึง 6,507 ล้านบาท และการผลิ ต ไฟฟ้ า ของเขื่ อ นก็ ไม่ เ ป็ น ไปตามแผน ผลิ ต ได้ เ พี ย ง 40 เมกะวัตต์ เท่านัน้ การรวมตั ว เพื่ อ คั ด ค้ า นของ ชาวบ้าน นับตั้งแต่มติคณะรัฐมนตรี รั ฐ บาล พ.ต.ท.ทั ก ษิ ณ ชิ น วั ต ร วันที่ 17 เมษายน 2544 เป็นต้น มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารเปิ ด ใช้ เ ขื่ อ นแบบเปิ ด 4 เดื อ นใน ช่วงฤดูฝนเพื่อให้ปลาขึ้นไปวางไข่ได้ และปิด 8 เดือนเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า และกักเก็บน�ำ้

เขื่ อ นแก่ ง เสื อ เต้ น : ไม่ คุ ้ ม ผลได้ ผลเสีย ทีก่ รมชลประทานประกาศ กับการแลกป่าสักทอง ออกมายังไม่ตรงตามความเป็นจริง

เขื่ อ นแกงเสื อ เต้ น รั ฐ บาล พ ล . อ . ช า ติ ช า ย ชุ ณ ห ะ วั ณ ปี 2532 เคยมีแผนจะสร้าง ใช้เวลา 7 ปี ประมาณการก่ อ สร้ า งไว้ ที่ 8,281 ล้านบาท ระบุวัตถุประสงค์ ว่า เพือ่ แก้ปญ ั หาน�ำ้ ท่วม น�ำ้ แล้งและ ผลิตกระแสไฟฟ้า แต่สุดท้ายต้อง ยกเลิก เพราะในปี 2537 ธนาคารโลก ไม่ ส นั บ สนุ น เงิ น กู ้ ให้ เ หตุ ผ ลว่ า ไ ม ่ มี ค ว า ม คุ ้ ม ค ่ า เ พ ร า ะ ต ้ อ ง สู ญ เสี ย ป่ า สั ก ทองที่ ส มบู ร ณ์ ที่ สุ ด ของประเทศไทยในพื้นที่ป่าแม่ยม จ� ำ นวน 24,000 ไร่ และท� ำ ลาย ความหลากหลายทางชี ว ภาพ สู ง ตลอดจนสัตว์ห ายากและใกล้ สูญพันธุ์หลายชนิด แต่งานวิจัยเรื่อง “การประเมิน ค่ า ทางเศรษฐศาสตร์ ข องป่ า ไม้ : ก ร ณี ศึ ก ษ า มู ล ค า ที่ ไ ม มี ก า ร ใ ช ้ ป ร ะ โ ย ช น ์ ข อ ง ป า ไ ม ้ สั ก ในอุ ท ยานแหงชาติ แ มยมจาก การสร้ า งเขื่ อ นแกงเสื อ เต้ น ” ของคุ ณ หญิ ง สุ ธ าวั ล ย์ เสถี ย รไทย สถาบันธรรมรัฐเพือ่ การพัฒนาสังคม และสิง่ แวดล้อม หัวหน้าโครงการวิจยั ปี 2537 พบความไม่คุ้มทุนในการ ก่อสร้างและความไม่ชอบมาพากล หลายประการ อาทิ เขือ่ นสามารถผลิต กระแสไฟฟ้าได้เพียง 48 เมกะวัตต์ เท่านัน้ อีกทัง้ ในฤดูแล้งยังแก้ปญ ั หา ภัยแล้งไม่ได้ เนื่องจากไม่สามารถ ป ล อ ย น�้ ำ เ พื่ อ ช ล ป ร ะ ท า น ไ ด ้ เพราะต้องเก็บไว้ผลิตไฟฟ้า ฤดูฝน ก็ ไ มสามารถป้ อ งกั น น�้ ำ ทวมได้ เพราะมีน�้ำอยู่แล้ว 2 ใน 3 ของ ความจุอ่าง และตัวเลขการประเมิน

ทั้ ง จ� ำ นวนครั ว เรื อ นชาวบ้ า นที่ ต้ อ งอพยพ และพื้ น ที่ ป ่ า ที่ ต ้ อ ง สูญเสียไป สายั ณ น์ ข้ า มหนึ่ ง ชาวบ้ า น ดอนชั ย สั ก ทอง ต� ำ บลสะเอี ย บ อ�ำเภอสอง จังหวัดแพร่ กล่าวว่า ชาวบ้ า นช่ ว ยกั น อนุ รั ก ษ์ ป ่ า สั ก ทองผื น สุ ด ท้ า ยแห่ ง นี้ ม านาน ที่ นี่ มีประวัตศิ าสตร์ดงั้ เดิม มีความผูกพัน กับชุมชนมากว่า 200 ปี จะให้ย้าย ก็เปลี่ยนวิถีชีวิต พื้นที่ที่รัฐอ้า งว่า จัดหาให้กม็ เี จ้าของอยูแ่ ล้ว แม้ท้ายที่สุด บทสรุปของการ ต่ อ สู ้ ยั บ ยั้ ง การก่ อ สร้ า งเขื่ อ น แก่ ง เสื อ เต้ น จะจบลงด้ ว ยการ ประกาศยุ ติ โ ครงการจากรั ฐ บาล พล.อ.ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา แ ต ่ ป ร ะ ช า ช น ใ น พื้ น ที่ ก็ ยั ง ค ง ไม่นง่ิ นอนใจ เขือ ่ นแม่วงก์ : การโต้แย้ง ทีย ่ ง ั ไม่สน ิ้ สุด

เขื่ อ นแม่ ว งก์ มี แ ผนก่ อ สร้ า ง ตั้ ง แต่ ป ี 2525 เพื่ อ แก้ ป ั ญ หา น�้ำท่วม น�้ำแล้ง แต่ในการประชา พิจารณ์ 3 ครัง้ ส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย กรมชลประทานได้วา่ จ้างมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ทำ� รายงานวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) และว่าจ้าง บริษทั ครีเอทีฟ เทคโนโลยี จ�ำกัด และ บริษัท พอลคอนซัลแตนท์ จ�ำกัด ท� ำ ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ์ ผ ล กระทบสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อชุมชน อย่ า งรุ น แรง (อี เ อชไอเอ) ของ โครงการเขื่อนแม่วงก์ เมื่อปี 2540 มีผลออกมาว่า เขือ่ นแม่วงก์จะสามารถ แก้ไขปัญหาอุทกภัยได้

21/1/2560 16:37:56


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สิทธิการมีสว ่ นร่วม

แต่ ผ ลส� ำ รวจและการศึ ก ษา ข อ ง ห น ว ย ง า น อื่ น เ ช น สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ กลับพบว่า เขื่อนแม่วงก์ ไม่ได้ชว่ ยแก้ปญ ั หาน�ำ้ ท่วม เนือ่ งจาก เขื่ อ นมี ลั ก ษณะเป็ น เขื่ อ นชนิ ด วั ส ดุ ถ ม (Embankment Dam) ความจุเพียง 258 ล้าน ลบ.ม. ซึง่ ปริมาณ น�้ำที่ท่วมกรุงเทพฯ ในปี 2554 มี มากถึ ง 40,000 ล้ า น ลบ.ม. จึ ง ไม่สามารถอ้างได้วา่ จะสร้างเขือ่ นเพือ่ แก้ปญั หาน�ำ้ ท่วม 10 เมษายน 2555 รั ฐ บาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้มีมติ เห็นชอบในหลักการการด�ำเนินงาน โครงการเขื่อนแม่วงก์อีกครั้ง โดย จะใช้งบประมาณ 13,280 ล้านบาท ใช้ ร ะยะเวลาด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า ง 8 ปี (ปีงบประมาณ 2555 - 2562) แต่ ก ่ อ นหน้ า ที่ ค ณะรั ฐ มนตรี จ ะมี มติเห็นชอบนัน้ กรมชลประทานเคย เสนองบประมาณการก่อสร้างเพียง 3,187 ล้านบาท ส�ำหรับความจุน�้ำ 380 ล้าน ลบ.ม. หลังจากนัน้ เดือนสิงหาคม 2554 รายงานของกรมชลประทานได้เพิ่ม งบประมาณเป็น 9,629 ล้านบาท ถัดมา 8 เดือน งบประมาณก็กลาย มาเป็ น 13,000 ล้ า นบาท แต่ ความจุเขื่อนกลับลดลงเหลือเพียง 258 ล้าน ลบ.ม. ชาวบ้าน มูลนิธิสืบนาคะเสถียร และองค์กรเครือข่ายอนุรักษ์ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ต่างยืน่ หนังสือขอคัดค้าน เพราะเห็น ว่า การค�ำนวณทางเศรษฐศาสตร์ของ โครงการไม่สมเหตุผล และยังมีปญั หาที่ จะเกิดขึน้ ด้านระบบนิเวศ เศรษฐกิจและ สังคม เกิดการท�ำลายป่าต้นน�ำ้ เร่งให้ สัตว์ปา่ สูญพันธุ์ “ผมไม่ได้คัดค้านการสร้างเขื่อน

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 15

แตผมอยากถามวา ท� ำ ไมต้ อ ง สร้างเขื่อนไว้ในป่า” เสรี มณีรัตน์ ชาวบ้ า น ต� ำ บลลาดยาว อ� ำ เภอ ลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งอยู่ ในพืน้ ทีน่ ำ�้ ท่วม ตัง้ ต�ำถาม เขาอธิ บ ายต่ อ ว่ า ตอนแรก ชาวบ้ า นมี ทั้ ง ฝ่ า ยที่ ส นั บ สนุ น และฝ่ายค้าน แต่ระยะหลังเริ่มพบ ความผิดปกติของน�ำ้ ท่วม จากเดิมทีน่ ำ�้ จะท่วมอยูป่ ระมาณ 1 วัน และแห้งไป แต่ 2 - 3 ปีหลัง ทีพ่ ดู กันเรือ่ งเขือ่ น น�ำ้ กลับท่วมขังอยูน่ านถึง 3 - 7 วัน จนชาวบ้ า นไปเจอคั น ดิ น ที่ อ บต. ลาดยาว สร้างกั้นทางน�้ำเดิมที่จะ ต้องไหลไปยังพืน้ ทีน่ าโล่ง ๆ และให้ น�ำ้ ไหลเข้าท่วมต�ำบลลาดยาวแทน แนวคิดการสร้างเขื่อนแม่วงก์ ก็ ยั ง มี เ รื่ อ ยมา ปั จ จุ บั น รั ฐ บาล พล.อ.ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา มีความเห็นว่า ต้องศึกษาโครงการนี้ ให้รอบคอบเสียก่อน ขณะที่ เมือ่ วันที่ 24 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา ศาลปกครองกลางสั่งรัฐ ท�ำกระบวนอีไอเอ - อีเอชไอเอให้ ครบขั้นตอน รวมทั้งรับฟังความคิด เห็นของประชาชนก่อนจึงให้ด�ำเนิน การได้ ทางออกบริหารที่เป็นธรรม บูรณาการน�้ำร่วมกับชุมชน

ขณะที่รัฐยังยืนยันว่า การสร้าง เขือ่ นจะแก้ปญ ั หาการบริหารจัดการ น�ำ้ ได้ นักวิชาการทีศ่ กึ ษาเรือ่ งนีก้ ลับ พบช่องโหว่สำ� คัญทีร่ ฐั ‘ฟัง แต่ไม่เคย ได้ยนิ ’ และทางออกทีย่ งั่ ยืนกว่าส�ำหรับ การบริหารจัดการน�ำ้ อย่างแท้จริง ศรัณย์ บุญประเสริฐ นักวิชาการ อิ ส ระด้ า นภู มิ ศ าสตร์ กล่ า วว่ า เมื่ อ รั ฐ ต้ อ งการพื้ น ที่ ข องชาวบ้ า น ก็ ไ ปหาพื้ น ที่ อื่ น ให้ ช าวบ้ า นอยู ่

แต่ เ ป็ น พื้ น ที่ แ ย่ ๆ ที่ ไ ม่ ส ามารถ ปลูกพืชหรือท�ำอะไรกินได้ เป็นเหตุให้ ชาวบ้านต้องกลับมาอยูท่ เี่ ดิมทีเ่ คยอยู่ ซึง่ กลายเป็นของรัฐไปแล้ว ขณะที่ อานันท์ กาญจนพันธุ์ ศาสตราจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิ ช า สั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ชี้ ว ่ า รั ฐ ผู ก ขาดอ� ำ นาจการจั ด การจาก ประชาชนในการแก้ ไ ขปั ญ หา น�ำมาสู่ความขัดแย้งและปัญหาการ ด� ำ เนิ น งานพั ฒ นาประเทศอย่ า ง ไม่ยั่งยืน ไม่เป็นธรรม ไม่มีเหตุผล รองรั บ เพี ย งพอ และไมสนใจ หน่วยงานทุกแห่งทีส่ รุปว่า ไม่คมุ้ ทุน มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต อ สิ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม และไม่ ส ามารถแก้ ป ั ญ หาภั ย แล้ ง หรือน�ำ้ ท่วมได้ดงั ทีก่ ล่าวอ้างไว้ “มี ห ลายวิ ธี ที่ จ ะกระจายน�้ ำ ได้เหมาะสม ไม่ใช่ให้ไปอยู่ในการ จัดการของกรมชลประทาน ซึง่ ใช้วธิ ี ที่ไม่สอดคล้องกับวิถีของเกษตรกร รายย่อยและวิถกี ารเกษตรเชิงซ้อน” อานันท์ กล่าว อานั น ท์ กล่ า วต่ อ ว่ า รั ฐ ต้ อ ง หยุ ด ผลประโยชน์ แ อบแฝง และ คืนการจัดการทรัพยากรให้ประชาชน ไม่ ใ ช่ ม องแค่ น�้ ำ ท่ ว มหรื อ ฝนแล้ ง แต่ ต ้ อ งมองมิ ติ ที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ สิ่ ง มีชวี ติ และระบบนิเวศ มองน�ำ้ ในมิติ ที่เป็นวิถีชีวิต เป็นวัฒนธรรม เป็น ความรู้ ไม่ใช่เพียงทรัพยากรทางการ เกษตร

15

2533 2534

กฟผ.เริม่ ลงมือสร้างเขือ่ นปากมูล

คณะรัฐมนตรีรฐั บาล พล.อ.ชาติชาย อนุมตั ใิ ห้กฟผ. ก่อสร้างเขือ่ นปากมูลได้ ทำ�ให้เกิดการคัดค้านของชาวบ้านแก่งสะพือ 2537

เขือ่ นปากมูลสร้างเสร็จ เปิดดำ�เนินการผลิตกระแสไฟฟ้า

2541

รัฐบาลชวน หลีกภัย ยกเลิกมติครม.เก่า เพราะไม่มนี โยบายจ่ายชดเชยย้อนหลัง ให้ โครงการเขือ่ นปากมูลทีส่ ร้างเสร็จแล้ว 2547

กรมชลประมานร่างแบบก่อสร้าง เขือ่ นแก่งเสือเต้นเสร็จ รอการอนุมตั จิ าคณะรัฐมนตรี

เครือข่ายลุม่ น�ำ้ ยมแถลงว่าการเสียพืน้ ทีส่ ร้าง เขือ่ นแก่งเสือเต้นยังคงทำ�ให้นำ�้ ท่วมชุมชน สะเอียบและป่าสักทองกว่า 40000 ไร่ 2556

2543

กรมชลประทานเสนอสร้างเขือ่ นแม่วงก์ เพือ่ ช่วยแก้ไขปัญหาอุทกภัย 2548

ชาวบ้านสะเอียบรวมตัวกันคัดค้านรัฐบาลหลัง ละเมิดสัญญาว่าจะไม่สร้างเขือ่ นแก่งเสือเต้น

2555

ครม. มีมติเห็นชอบโครงการเขือ่ นแม่วงก์

มูลนิธสืบนาคะเสถียร และองค์กรเครือข่าย ยืน่ หนังสือขอคัดค้านโครงการเขือ่ นแม่วงก์ พบว่าโครงการไม่สมเหตุสมผล 2559

รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา มีความเห็นว่าต้องศึกษาโครงการเขือ่ นแม่วงก์ ให้รอบคอบเสียก่อน

ฐิตพ ิ ร อินผวน ณัฐนันท์ แก้วบุญถึง บัณฑิตา สุขสมัย ภาศิณี สุนทรวินต ิ ศรีสท ิ ธิ์ วงศ์วรจรรย์

21/1/2560 16:37:58


16

| ลูกศิลป์

เกาะติดนโยบายรัฐ

นร.เมิ น กิ จ กรรม

โครงการเพิ่ ม เวลาเรี ย นฯเหลว ส่ อ งนโยบายลดเวลาเรี ย นเพิ่ ม เวลารู ้ หลายโรงเรี ย นส่ า ยหน้ า นั ก เรี ย น ไม่ ส นใจ ไม่ ช ่ ว ยให้ ผ ลการเรี ย นดี ขึ้ น ต้ อ งเสี ย เงิ น เรี ย นพิ เ ศษเพิ่ ม ด้ า นสวก. การั น ตี ค วามส� ำ เร็ จ เริ่ ม ใช้ แ ค่ เ ทอมเดี ย วดั น ค่ า เฉลี่ ย โอเน็ ต -เอ็ น ที สู ง กว่ า โ ร ง เ รี ย น ที่ ไ ม ่ เ ข ้ า ร ่ ว ม ส ่ ว น นั ก วิ ช า ก า ร ที ดี อ า ร ์ ไ อ แ น ะ ย ก เ ค รื่ อ ง ใ ห ม ่

รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศ นโยบายลดเวลาเรี ย นเพิ่ ม เวลารู ้ ให้ ส ถาน ศึกษาลดชั่วโมงเรียนในภาควิชาการตามกลุ่ม สาระถึงเวลา 14.00 น. เพื่อท�ำกิจกรรมนอก ห้องเรียนแบบบูรณาการ มีเป้าหมายเพือ่ ช่วยให้ เสริมสร้างทักษะทัง้ 4 ด้าน คือ ด้านสติปญ ั ญา ด้านทัศนคติ ด้านเรียนรูแ้ ละปฏิบตั จิ ริงและด้าน สุขภาพ โดยส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้จัดท�ำ 300 กิจกรรม ให้โรงเรียนน�ำไปปรับใช้ตามบริบทของแต่ละ โรงเรี ย น โดยเริ่ ม ด� ำ เนิ น การในโรงเรี ย น น�ำร่องกว่า 3,100 แห่ง ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ก่อนจะก�ำหนดให้ทกุ โรงเรียน เข้าร่วมในปีการศึกษา 2559 ผู ้ สื่ อ ข่ า วลงพื้ น ที่ สั ง เกตการณ์ โ รงเรี ย น ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ และปริมณฑล พบว่า เวลาประมาณ 14.30 น. นักเรียนส่วนใหญ่ออกมาวิง่ เล่น นัง่ จับกลุม่ คุย กันรอเวลาโรงเรียนเปิดประตู ขณะเดียวกันก็จะมี ครู น� ำ ท� ำ กิ จ กรรม ซึ่ ง มี นั ก เรี ย นเข้ า ร่ ว ม จ�ำนวนหนึง่ นายศิวกร สิรสิ วัสดิ์ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 6 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย กล่าวว่า จากเดิ ม เวลาเรี ย นในห้ อ งเรี ย นมี 50 นาที ซึง่ ก็ไม่เพียงพออยูแ่ ล้ว คิดว่านโยบายนีไ้ ม่ได้ชว่ ย ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย เช่นเดียวกับ เด็กหญิงเมธาวี กิจวิเชียร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดไผ่ล้อม จังหวัดนครปฐม ระบุว่า เมื่อเวลาเรียนลดลง อาจารย์จงึ สอนไม่ทนั ตามหลักสูตร ท�ำให้ตอ้ ง หาที่เรียนพิเศษเพิ่มเติม เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น

แม้รฐั บาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา มีมติ เมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 อนุมตั มิ าตรการ รองรับสังคมผู้สูงอายุ ในส่วนของการจ้างงาน ผู้สูงอายุ สาระส�ำคัญคือ ให้เอกชนสามารถ หักภาษีรายจ่ายการจ้างงานผูส้ งู อายุได้ 2 เท่า ก�ำหนดเพดานค่าจ้างไม่เกิน 15,000 บาทต่อ เดือน รับพนักงานสูงวัยได้ไม่เกิน ร้อยละ 10 ของ พนักงานทัง้ หมด อย่างไรก็ดี ผูส้ อื่ ข่าวได้สอบถามบริษทั เอกชน 7 แห่ง ซึง่ เจ้าของกิจการระบุตรงกันว่า ไม่สนใจรับ แรงงานสูงวัย เนือ่ งจากหวัน่ ผูส้ งู อายุทำ� งานไม่ได้ ไร้กำ� ลังกาย และขาดทักษะความสามารถ โดย นางสาวจุฑามาศ สังขกุล ผูด้ แู ล อิม่ อุน่ โฮมสเตย์ กล่าวว่า เอกชนส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยอยาก รับผูส้ งู อายุ เพราะไม่มกี ำ� ลังมากพอ อีกทัง้ ยัง ขาดทักษะ เช่น ความสามารถทางภาษาทีจ่ ะใช้

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 16

จาก 2,000 - 3,000 บาท เป็น 4,000 - 5,000 บาท ด้ า น นางสาววาสนา คงศรี หั ว หน้ า ฝ่ า ยวิ ช าการ โรงเรี ย นวี ร สตรี อ นุ ส รณ์ จังหวัดภูเก็ต กล่าวว่า โรงเรียนได้จดั กิจกรรม พัฒนาด้านการปฏิบัติ เช่น การงานอาชีพ การท�ำสบู่ การท�ำดอกไม้ประดิษฐ์ มีครูและ บุคลากรเพียงพอที่จะปฏิบัติตามนโยบายของ รัฐบาล แต่พบว่า นักเรียนไม่ให้ความสนใจ ในกิจกรรมทีจ่ ดั ให้ สอดคล้องกับความเห็นของผู้บริหารและ อาจารย์ในโรงเรียน 10 แห่งทัง้ กรุงเทพฯ และ ต่างจังหวัด ระบุตรงกันว่า นโยบายนี้ใช้ไม่ได้ ผลกับนักเรียน กิจกรรมไม่เป็นที่สนใจของ นักเรียน และยังส่งผลกระทบต่อเวลาเรียนที่ ไม่เพียงพออีกด้วย ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม บริ ห ารวิ ช าการ โรงเรียนชื่อ ดัง แห่ งหนึ่ง ติด 1 ใน 10 ใน พื้นที่กรุงเทพฯ กล่าวว่า โรงเรียนใช้นโยบาย นี้เพียง 1 ภาคการศึกษาก็ต้องเลิกไป เพราะ นักเรียนไม่ให้ความสนใจในกิจกรรมที่จัดให้ เมื่อมีการลดเวลาเรียนในแต่ละคาบเรียนลง นัก เรี ย นส่ ว นใหญ่ ก ลั ว จะสอบแข่ ง ขั น ไม่ ไ ด้ จึงมุง่ ให้ความส�ำคัญกับการเรียนพิเศษมากกว่า นายกุลชร เหลืองสุดใจชื้น ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนวัดไผ่ลอ้ ม จังหวัดนครปฐม ยอมรับว่า เมื่อถึงเวลาเลิกเรียน นักเรียนแต่ละชั้นเรียน ก็แยกย้ายกันกลับบ้านหรือไปเรียนพิเศษต่อ ด้าน นายอทิพงษ์ มหานิล ครูโรงเรียน สามเสนวิ ท ยาลั ย กล่ า วว่ า กิ จ กรรม ไม่ ไ ด้ มี ส ่ ว นในการพั ฒ นาด้ า นวิ ช าการ แต่ชว่ ยได้แค่สว่ นของการลงมือปฏิบตั ิ จึงท�ำให้

ผลการเรี ย นของนั ก เรี ย นไม่ ต ่ า งจากเทอม ทีผ่ า่ นมาก่อนทีจ่ ะเข้าร่วมโครงการ อย่างไรก็ตาม ส�ำนักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ยืนยันว่า นโยบายนี้ ไ ด้ รั บ ผลการตอบรั บ ที่ ดี พร้ อ ม จะเดิ น หน้ า โครงการอย่ า งเต็ ม รู ป แบบใน ปีการศึกษา 2560 โดย นางสุกญั ญา งามบรรจง ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก วิ ช าการและมาตรฐาน การศึ ก ษา กล่ า วว่ า ได้ ส ่ ง ที ม งานส� ำ รวจ ความคืบหน้าของโครงการนี้ พบว่า นักเรียน ต้ อ งการจะเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม ร้ อ ยละ 97 ขณะที่ นักเรียนกับครูมคี วามสุขในการท�ำกิจกรรม ร้อยละ 95.52 ทีส่ ำ� คัญคือ ค่าเฉลีย่ คะแนนผลการ ทดสอบประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือ เอ็นที และผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน หรือ โอเน็ต ปีการศึกษา 2558 ของนักเรียนจากโรงเรียนน�ำร่อง มีค่าเฉลี่ย คะแนนสูงกว่าโรงเรียนทีไ่ ม่ได้เข้าร่วมโครงการ “โรงเรี ย นที่ ใ ช้ น โยบายนี้ ไ ม่ ไ ด้ ผ ล อาจเป็นเพราะกิจกรรมที่ไม่เข้ากับนักเรียน เช่น บางโรงเรียนเป็นงานฝีมอื เยอะ ท�ำให้เด็ก เบือ่ โรงเรียนควรแก้ไขโดยปรับปรุงกิจกรรมให้ เข้ากับสภาพชุมชน หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน” นางสุกญั ญา กล่าว ขณะทีน่ กั เศรษฐศาสตร์มองว่า นโยบายดี แต่อาจจะยังไม่เหมาะสมกับบริบทการเรียน

การสอนของไทย โดย นายนิพนธ์ พัวพงศกร นั ก วิ ช าการด้ า นเศรษฐศาสตร์ ท รั พ ยากร มนุษย์ สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) กล่าวว่า การจัดการที่ดีต้องมี แผนทีช่ ดั เจน ในต่างประเทศ วิชาประวัตศิ าสตร์ นั ก เรี ย นจะไปเรี ย นรู ้ เ พิ่ ม เติ ม ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ และมีเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ ความรู ้ กั บ นั ก เรี ย น เมื่ อ จบกิ จ กรรมจะมี การประเมินความรูท้ ไี่ ด้ไปท�ำกิจกรรมมา “ไทยที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ห็ น ความส� ำ คั ญ ในจุ ด นี้ จึงควรน�ำหลักการของต่างประเทศมาดัดแปลง ทีส่ ำ� คัญต้องได้ความร่วมมือจากทัง้ ครู นักเรียน ผูบ้ ริหาร และผูก้ ำ� หนดนโยบาย เช่น วิธกี ารทีด่ ี ที่สุดคือให้โรงเรียนท�ำโครงงานขึ้นมาประกวด ว่าโรงเรียนไหนอยากจะท�ำกิจกรรมแบบไหน เพือ่ เป็นการท�ำงานร่วมกันอย่างดีทสี่ ดุ ” อนึง่ ค่าเฉลีย่ คะแนนผลการทดสอบประเมิน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน หรื อ เอ็ น ที พบว่า ปีการศึกษา 2558 สูงกว่าปีการศึกษา 2557 ที่ร้อยละ 4.56 และผลการทดสอบทางการ ศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน หรื อ โอเน็ ต ปีการศึกษา 2558 สูงกว่าปีการศึกษา 2557 ทีร่ อ้ ยละ 3.6

สือ่ สารกับลูกค้าต่างชาติ เช่นเดียวกับ นางสาวศิรินภา เอกสินชน ผู้จัดการปั๊มเกาะช้างไชยเชษฐ์ กล่าวว่า ภาษี เป็นผลพลอยได้ในการจ้างงานผูส้ งู อายุมากกว่า เป็นแรงจูงใจ โดยส่วนตัวมองว่าความสามารถ และประสิทธิภาพของแรงงานมีความส�ำคัญ มากกว่า ด้าน นางนภาพร พณิชพุฒวิ งศ์ อายุ 59 ปี พนักงานบริษทั เอ็น วาย เค ไลน์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ตัดสินใจต่อสัญญาจ้างงานอีก 5 ปี หลังอายุครบ เกษียณ 55 ปี ในต�ำแหน่งผูฝ้ กึ สอนแคชเชียร์ กล่าวว่า ตอนนัน้ มีภาระเรือ่ งค่าเล่าเรียนของลูก การท�ำงานท�ำให้มีรายได้ส�ำหรับครอบครัว แม้เงินเดือนจะลดไป ร้อยละ 30 แต่ยังได้รับ สวัสดิการพยาบาล ด้าน นายเดชรัต สุขก�ำเนิด อาจารย์ประจ�ำ

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า การที่เอกชนจะรับผู้สูงอายุหรือไม่ ส่ ว นส� ำ คั ญ อยู ่ ที่ ทั ก ษะความสามารถ ไม่ใช่การลดภาษี การจ้างงานผู้สูงอายุที่จะ เกิดขึน้ ได้ ต้องจัดตั้งเป็นลักษณะหน่วยธุรกิจ หรือศูนย์จา้ งงานผูส้ งู อายุ ไม่ใช่แค่คนสองคน รายงานของเดอะการ์เดียน รายงานว่า รัฐบาลสิงคโปร์ส่งเสริมให้เอกชนจ้างผู้สูงอายุ ท�ำงานทีไ่ ม่ใช้พละก�ำลังและความรูเ้ ฉพาะทาง เช่น งานท�ำความสะอาด และจ่ายเงินสนับสนุน ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ เงินค่าจ้างผูส้ งู อายุ เงินชดเชย กรณีลกู จ้างขาดงานไปฝึกอบรม เงินช่วยเหลือ ส�ำหรับปรับตัวต่อค่าใช้จา่ ยกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ด้าน เอกชนทีข่ านรับนโยบายดังกล่าวอย่าง นายชานั น ท์ วั ฒ นสุ น ทร ผู ้ ช ่ ว ยกรรมการ รองประธาน ฝ่ า ยจั ด การทรั พ ยากรบุ ค คล บริษทั โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่ า วว่ า บริ ษั ท เชื่ อ ว่ า ผู ้ สู ง อายุ มี ค วามรู ้ ดีกว่าคนรุน่ ใหม่ ซึง่ สามารถให้คำ� แนะน�ำลูกค้าได้ โดยพนักงานสูงวัยรายเก่าอาจให้ทำ� ต�ำแหน่งเดิม หรือเปลีย่ นเป็นทีป่ รึกษา และเปิดรับพนักงานสูงวัย รายใหม่ในต�ำแหน่งหน้าร้าน นายชานันท์ กล่าว ด้าน นายบุญเลิศ ธีระตระกูล นักวิชาการ แรงงานทรงคุณวุฒิ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ยอมรับว่า นโยบายลดภาษีไม่ได้มอี ทิ ธิพลให้เอกชน จ้ า งงานผู ้ สู ง อายุ และมาตรการจ้ า งงาน

ผู้สูงอายุไม่สามารถช่วยคนสูงวัยนอกเมืองได้ การช่วยในเรือ่ งของอาชีพอิสระ เช่น การรับจ้าง ก� ำ หนดค่ า จ้ า งขั้ น ต�่ำ รายชั่ ว โมง จะช่ ว ยให้ มีการจ้างงานมากขึน้ “สิ่งส�ำคัญที่สุดคือ ผู้สูงอายุไทยส่วนมาก อาศัยอยูต่ า่ งจังหวัด ร้อยละ 80 และมีวฒุ กิ ารศึกษา เพียงชัน้ ป. 4 นโยบายนีจ้ งึ ได้ผลแค่ในระดับหนึง่ เท่านั้น มาตรการต้องสอดรับกับสถานการณ์ เราคิดแบบต่างประเทศไม่ได้ ควรส่งเสริม ในเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียงจึงจะตอบโจทย์ ทีส่ ดุ ” นายบุญเลิศ กล่าว รายงานผลเบื้องต้นการส�ำรวจประชากร สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ส�ำนักงาน สถิตแิ ห่งชาติ คาดว่า ไทยจะมีประชากรผูส้ งู อายุ 20.5 ล้านคน ในปี 2583 จากในปี 2557 ทีม่ อี ยู่ 10 ล้านคน และในปี 2537 ทีม่ อี ยูเ่ พียง 4 ล้านคน ส่งผลให้ไทยจะเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุเต็มรูปแบบ ในปี 2564 ทัง้ นี้ เมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2559 กระทรวง แรงงานเปิดศูนย์บริการจัดหางานผู้สูงอายุ ทัว่ ประเทศ 87 แห่ง และเปิดเว็บไซต์ขนึ้ ทะเบียน หางานผูส้ งู อายุ เพือ่ ขยายโอกาสการจ้างงานและ เป็นฐานข้อมูลให้เอกชนพิจารณาจ้างเข้าท�ำงาน ซึง่ ในปี 2559 มีผส้ ู งู อายุขนึ้ ทะเบียนขอรับบริการ จัดหางาน 420 คน และสามารถบรรจุ ง าน ได้แล้ว 373 คน

หลังเลิกเรียน: บรรยากาศของโรงเรียนแห่งหนึง่ ทีเ่ ข้าร่วมโครงการลดเวลาเรียน

ปัญยภัสสร์ พรหมชัยวัฒนา

ฐิตพ ิ ร อินผวน

21/1/2560 16:38:03


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สิทธิสข ุ ภาพ

ร้ า นแว่ น ตั ด ตามเครื่ อ ง ท� ำ เด็ ก ไทยเสี่ ย งตาเสี ย “ตอนตัดแว่นใหม่จากร้านแว่นจะมึนหัว ตลอด แต่ไม่ได้เอะใจเพราะคิดว่ายังไม่ชนิ และ ทนใส่ไปทั้งที่ปวดหัว จนวันนี้สายตาเอียงเกิน 500 แล้ว” นายธนากร สุรีย์เหลืองขจร วัย 20 ปี นักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ตัดแว่นครั้งแรก เมื่ออายุ 5 ปี เพราะมอง กระดานไม่ชดั ปัจจุบนั เปลีย่ นแว่นมาแล้ว 9 ครัง้ ล ่ า สุ ด เ ข า ไ ป ตั ด แ ว ่ น ที่ ร ้ า น ใ น ห้ า งสรรพสิ น ค้ า แห่ ง หนึ่ ง รู ้ สึ ก ปวดขมั บ เช่นทีผ่ า่ นมา ต่อมาแพทย์วนิ จิ ฉัยว่า ตาซ้ายของ เขาสัน้ มากขึน้ ตาขวายาว และทัง้ 2 ข้างเอียง มากขึน้ เมือ่ ถอดแว่นจะเห็นเป็นภาพซ้อน ทุกวันนี้ มีเด็กไทยอายุ 3 - 12 ปี จ�ำนวน 330,000 คน ใส่แว่นไม่ตรงตามค่าสายตา และมีเพียง 20,000 คน ที่ใส่แว่นเหมาะสม ตามรายงานตรวจตาเด็ ก เพื่ อ อนาคตไทย โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้าน สุ ข ภาพ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับ ล่าสุด ปี 2555 ร า ย ง า น ฉ บั บ ดั ง ก ล ่ า ว ยั ง เ ตื อ น ว ่ า หากเด็กกลุ่มนี้ยังตัดแว่นไม่ถูกวิธี อาจท�ำให้ เกิดภาวะตาขีเ้ กียจและเสีย่ งตาบอดในอนาคต ขณะเดี ย วกั น ปั จ จุ บั น ประเทศไทย มี ร ้ า นวั ด สายตาประกอบแว่ น ประมาณ 7,000 ร้าน แบ่งเป็นร้านแว่นตารายใหญ่ ประมาณ 3,000 ร้าน และร้านแว่นตาทั่วไป อีกกว่า 3,000 ร้าน

กว่า 4 ปี ทีน่ างสุชาดา ด�ำเกลีย้ ง วัย 52 ปี ชาวจังหวัดพัทลุง ผูส้ ญ ู เสียขาข้างซ้ายเหนือเข่า ต้องนัง่ รอสามีอยูภ่ ายใต้ความมืดเพียงคนเดียว ภายในบ้ า นเช่ า ทุ ก ค�่ ำ คื น แม้ จ ะพยายาม ตะเกียกตะกาย ไถตัวไปเปิดสวิตซ์ไฟก่อนแสง อาทิตย์ลบั ขอบฟ้า แต่กท็ ำ� ไม่สำ� เร็จ “แม้ได้ขาเทียมฟรีหลังถูกตัดขา แต่กลับ ใส่เดินไม่ได้ เพราะไม่ได้ไปฝึกเดินกับแพทย์ ที่โรงพยาบาลตั้งแต่ในช่วง 3 - 4 เดือนแรก ที่แพทย์นัด เนื่องจากต้องเดินทางไกลและ ไม่มคี า่ รถ เมือ่ ปล่อยไว้นานท�ำให้กล้ามเนือ้ บวม ใส่ขาเทียมอันเดิมไม่ได้แล้ว” นางสุชาดา กล่าว ทุกวันนี้ ประเทศไทยมีผตู้ อ้ งการใช้ขาเทียม ราว 3,000 รายต่อปี ยังไม่รวมรายเก่าทีจ่ ำ� เป็น ต้องบ�ำรุงและซ่อมแซมอวัยวะเทียมทุก 3 ปี แต่ละปียงั มีผถู้ กู ตัดขารายใหม่กว่า 11,000 ราย คาดว่า จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากโรคเรื้อรัง และอุบัติเหตุ ตามรายงานของสถาบันสิรินธร เพือ่ การฟืน้ ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ ขณะเดียวกัน ตามรายงานของกรมส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวง พั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ ล่าสุด เมื่อเดือนกันยายน 2559 ระบุไว้ว่า

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 17

พญ.ขวั ญ ใจ วงศกิ ต ติ รั ก ษ์ หั ว หน้ า กลุ ่ ม งานจั ก ษุ วิ ท ยา สถาบั น สุ ข ภาพเด็ ก แห่ ง ชาติ ม หาราชิ นี กระทรวงสาธารณสุ ข กล่าวว่า ร้านตัดแว่นในประเทศไทยเน้นใช้ เครื่ อ งมื อ วั ด สายตาซึ่ ง ไม่ ส ามารถบอก รายละเอียด เช่น การท�ำงานกล้ามเนื้อตา ความสามารถในการเพ่งโฟกัส ประสาทตา ฯลฯ เมื่อวัดสายตาหรือตัดเลนส์ผิด ก็ท�ำให้สายตา มีปญ ั หาหนักขึน้ ผู้สื่อข่าวลงพื้นที่สังเกตการณ์ร้านแว่นตา ย่ า นใจกลางเมื อ งและชานเมื อ งกรุ ง เทพฯ พบว่า เมือ่ ลูกค้ามาใช้บริการ ช่างจะพาลูกค้า ไปวัดสายตาที่เครื่อง เมื่อได้ค่าตัวเลขจะน�ำ เลนส์ไปให้ลูกค้าลองใส่ ถามว่า พื้นเอียงหรือ มึนหัวหรือไม่ จนลูกค้าพอใจจึงจะน�ำค่าสายตา ไปตัดเลนส์ และนัดลูกค้ามารับแว่น ทัง้ นีภ้ ายใน ร้านไม่มผี เู้ ชีย่ วชาญด้านการตรวจวัดสายตา เมื่อสอบถามเจ้าของร้านตัดแว่น 4 แห่ง ยอมรั บ ตรงกั น ว่ า ไม่ มี ค วามรู ้ ด ้ า นสายตา แต่เปิดร้านได้เพราะรู้วิธีใช้เครื่องมือจากการ ไปเรียนที่สถาบันสอนตัดแว่น ใช้เวลาเรียน ประมาณ 5 เดือน ซึง่ เรียนจบแล้วไม่ได้มกี าร ให้ประกาศนียบัตร ด้าน นายณรงค์ ลีดาสวัสดิ์ นายกสมาคม นั ก ทั ศ นมาตรศาสตร์ ไ ทย เปิ ด เผยว่ า นักทัศนมาตรท�ำหน้าที่วินิจฉัยปัญหาสายตา และท�ำงานร่วมกับจักษุแพทย์ ล่าสุดเดือนกันยายน 2559 มีจำ� นวน 172 คน ทัว่ ประเทศ ขณะทีม่ ี

มีคนพิการทางการเคลือ่ นไหวกว่า 8 แสนคน นายมานะ โลกาวัฒนะ ช่างกายอุปกรณ์ ผู้ท�ำหน้าที่ผลิตอวัยวะเทียม ในโรงพยาบาล พระจอมเกล้ า เพชรบุ รี จั ง หวั ด เพชรบุ รี ยอมรับว่า ไม่สามารถเข้าไปบริการคนพิการ ถึงบ้านได้ทุกคน เนื่องจากช่างกายอุปกรณ์ ทัง้ โรงพยาบาลมีจำ� นวนแค่ 3 คน นายกฤชปภพ เรืองสุวรรณ นักกายอุปกรณ์ ผู ้ ท� ำ หน้ า ที่ ต รวจประเมิ น ความพิ ก าร ร่วมกับแพทย์ และควบคุมการผลิตอวัยวะเทียม ในโรงพยาบาลบุรรี มั ย์ เผยว่า ทัง้ ภาคตะวันออกเฉี ย งเหนื อ มี นั ก กายอุ ป กรณ์ เ พี ย ง 5 คน ประจ�ำในโรงพยาบาลใหญ่ “แม้ปีที่ผ่านมาผลิตขาเทียมได้ 128 ขา เกินเป้ากว่า 50 ขา ไม่รวมจ�ำนวนอุปกรณ์เสริมอืน่ แต่ พ วกเราต้ อ งเร่ ง ท� ำ งานอย่ า งหนั ก เพื่อไม่ให้เกิดความล่าช้า ท�ำให้ไม่ได้ขาเทียม ทีด่ ที สี่ ดุ ” นายกฤชปภพ กล่าว พญ.นิศารัตน์ โอภาสเกียรติกลุ ผูอ้ ำ� นวยการ โรงเรี ย นกายอุ ป กรณ์ สิ ริ น ธร เผยว่ า นักกายอุปกรณ์ทั่วประเทศมีเพียง 114 คน ต้องการอีก 236 คน ถึงจะเพียงพอต่อสัดส่วน คนพิการ แต่ต้องใช้เวลาผลิตนานถึง 5 ปี

จักษุแพทย์ประมาณ 1,300 คน นับว่าประเทศไทย ขาดแคลนบุคลากรด้านสายตาอยูม่ าก “ยิง่ ไม่มกี ฎหมายควบคุมมาตรฐานการเปิด ร้านแว่น ร้านแว่นจึงไม่รวู้ ธิ ที ถี่ กู ต้อง เดินเข้าร้าน ก็จบั ตรวจตา ไม่มกี ารซักประวัตหิ รือถามอาการ จึงส่งผลต่อผูท้ มี่ ปี ญั หาสายตา” ส่ ว น นายดนั ย ตั น เกิ ด มงคล คณบดี คณะทัศนมาตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กล่ า วว่ า เมื่ อ เที ย บเคี ย งระบบการตัดแว่น ของสหรัฐอเมริกา ต้องไปสถานพยาบาลที่มี ผูป้ ระกอบโรคศิลป์ตรวจวัดสายตา และน�ำใบสัง่ ไปให้รา้ นแว่น “ร้านแว่นตาที่นั่นจะไม่ตรวจวัดสายตา แต่ช่างที่ผ่านการอบรมทางอาชีพจะท�ำเลนส์ หรือแก้ไขปัญหาเลนส์เท่านัน้ ” นายดนัย กล่าว ขณะที่ นพ.ปานเนตร ปางพุฒพิ งศ์ รองอธิบดี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ยอมรับว่า

17

มีร้านแว่นวัดสายตาผิดวิธีหรือวัดไม่ตรงตาม สภาพจริงอยูบ่ า้ ง โดยเฉพาะผูท้ สี่ ายตาเอียงหรือ มี โ ร ค เ ย อ ะ แ ล ะ ไ ป ใ ส ่ แ ว ่ น ที่ วั ด จ า ก เครื่ อ งค่ า ที่ เ ครื่ อ งอ่ า นได้ อ าจไม่ เ หมาะกั บ ค่าสายตาจริง ท�ำให้ปวดหัวหรือมีปญ ั หาสายตา มากขึน้ “ขณะนี้ กฎหมายควบคุ ม ร้ า นแว่ น อยู ่ ในขั้นก�ำลังจะประกาศบังคับใช้ ร้านแว่นที่มี อยู่เดิมจะให้เวลาเปลี่ยนผ่านประมาณ 10 ปี เพือ่ ให้ชา่ งตัดแว่นเข้ามาอบรมการตรวจวัดสายตา ส่วนร้านเปิดใหม่ตอ้ งปฏิบตั ติ ามกฎหมายทันที เพือ่ ให้ประชาชนได้รบั บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพมากขึน้ ” รองอธิบดีกรมการแพทย์ กล่าว ทัง้ นี้ รัฐมีนโยบายเพิม่ จ�ำนวนบุคลากรควบคู่ ไปด้วย ปัจจุบนั มีมหาวิทยาลัย 3 แห่ง เปิดสอน ทัศนมาตรศาสตร์ และก�ำลังจะเปิดสอนมากขึน้ จารุกต ิ ติ์ ธีรตาพงศ์

นักทัศนมาตรคือใคร?

ผู้เชี่ยวชาญด้านสายตานอกจากจะ มีจักษุแพทย์ ยังมี ‘นักทัศนมาตร’ ซึ่งมี ความส�ำคัญไม่แพ้กนั นักทัศนมาตร (Optometrists) เป็น บุคลากรด้านสายตาแขนงทัศนมาตรศาสตร์ (Optometry) มีหน้าที่ตรวจวัด วินิจฉัย ดวงตา แก้ไขและฟื้นฟูความผิดปกติของ การมองเห็นโดยใช้แว่นตา เลนส์สัมผัส ฝึกบริหารกล้ามเนือ้ ดวงตา แต่ไม่รวมการใช้ ยา ผ่าตัด และเลเซอร์ต่าง ๆ แง่การท�ำงาน อาชีพนีจ้ ะให้บริการการ แพทย์ปฐมภูมเิ พือ่ ตรวจวินจิ ฉัยสายตาตาม โรงพยาบาลและกระทรวงสาธารณสุข หรือ ภาคเอกชน เช่น ร้านแว่นตา คลินกิ สายตา โรงงานอุตสาหกรรมเลนส์สายตา ฯลฯ ส่วนความแตกต่างระหว่าง ‘จักษุแพทย์’ กับ ‘นักทัศนมาตร’ นายดนัย ตันเกิดมงคล คณบดีคณะทัศนมาตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง บอกว่า นักทัศนมาตรจะดูวา่ สายตาผิดปกติอย่างไร ค่าสายตาเท่าไหร่

เพราะโรงเรียนสามารถรับนักศึกษาได้ไม่เกิน รุน่ ละ 30 คน ด้วยข้อจ�ำกัดเรือ่ งอุปกรณ์การสอน ส่วนช่างกายอุปกรณ์กม็ จี ำ� นวนน้อยและเริม่ เกษียณ คาดว่า ภายในปี 2570 จะมีเพียง 170 คน ทัง้ ประเทศ ต้องการอีก 530 คน พญ.นิศารัตน์ กล่าวอีกว่า รัฐได้เร่งสร้าง นักกายอุปกรณ์ มีสถาบันเปิดหลักสูตรปวส. และปี 2560 โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร จะเปิดหลักสูตรต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ชา่ งกายอุปกรณ์ มีวฒ ุ เิ ทียบเท่านักกายอุปกรณ์ พญ.ดารณี สุวพันธ์ ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์สริ นิ ธร เพื่ อ การฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพทางการแพทย์ แห่ ง ชาติ ชี้ แ จงว่ า ได้ ตั้ ง หน่ ว ยรถบริ ก าร ท�ำอวัยวะเทียมเคลื่อนที่ เพื่อเข้าช่วยเหลือ คนพิการในพืน้ ทีห่ า่ งไกลและรอรับบริการนาน รวมถึ ง จั ง หวั ด ที่ ไ ม่ มี ศู น ย์ ก ายอุ ป กรณ์ ในปี 2559 สามารถช่วยคนพิการทางการเดิน ได้มากถึง 552 คน ขณะที่ นพ.ภาสกร ชัยวานิชศิริ รองอธิบดี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า ในปี 2560 มีการจัดงบประมาณร่วม 10 ล้านบาท ส� ำ หรั บ หน่ ว ยรถบริ ก ารเคลื่ อ นที่ เ ข้ า ช่ ว ย เหลือคนพิการไปยังทุกภูมิภาค ทั่วประเทศ ในอนาคตจะพัฒนางานบริการและเร่งสร้าง บุ ค ลากรเพื่ อ ส่ ง เสริ ม คุณภาพชีวิตคนพิการ สนั บ สนุ น งานวิ จั ย นวั ต กรรมอวั ย วะเที ย ม เพือ่ ลดการน�ำเข้าจากต่างประเทศ

มีปญ ั หาไหมถ้าใช้คา่ สายตานีใ้ นชีวติ ประจ�ำวัน เน้นวินจิ ฉัยการใช้งาน ส่วนจักษุแพทย์เน้นเรือ่ ง การรักษาหรือการผ่าตัด องค์ ก ารอนามั ย โลก (WHO) ก� ำ หนด ให้ประชากร 6,000 คนต้องมีนักทัศนมาตร อย่างน้อย 1 คน ขณะทีป่ ี 2559 ประเทศไทย มีประชากร 65,729,098 ล้านคน เท่ากับว่าประเทศไทยควรมีนกั ทัศนมาตร โดยประมาณ 10,000 คน แต่ปจั จุบนั มีเพียง 172 คน นอกจากนี้ มี ม หาวิ ท ยาลั ย 3 แห่ ง เปิดสอนสาขานี้ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยรังสิตและมหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่จะเปิดหลักสูตรใน ปี 2559 ทั้ ง นี้ ป ระกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบั บ ที่ 2 (พ.ศ.2546) ยั ง ประกาศให้ นั ก ทั ศ นมาตรเป็ น บุ ค คลที่ ส ามารถท� ำ การ ประกอบโรคศิล ปะได้

รูจ ้ ก ั อาชีพ ท�ำอวัยวะเทียม

นั ก กายอุ ป กรณ์ คื อ ผู ้ ที่ ท� ำ หน้ า ที่ ตรวจประเมินความพิการ และวินจิ ฉัยอาการ อันน�ำไปสู่การออกแบบและผลิตอุปกรณ์ ภายนอกร่างกายประเภทต่าง ๆ เพือ่ ใช้แทน อวัยวะทีส่ ญู หายหรือบกพร่องให้เหมาะสมกับ คนพิการทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะแต่ละบุคคลมากทีส่ ดุ องค์การอนามัยโลก ระบุวา่ นักกายอุปกรณ์ 1 คน สามารถผลิ ต กายอุ ป กรณ์ เ สริ ม / เทียม ได้ 250 ชิน้ ต่อปี ส�ำหรับประเทศไทย ทีม่ คี นพิการทางการเคลือ่ นไหวกว่า 800,000 คน ต้องมีนักกายอุปกรณ์ประมาณ 350 คน ส่วนช่างกายอุปกรณ์ หรือลูกมือนักกายอุปกรณ์ ต้องมีประมาณ 700 คน อย่างไรก็ดี นับว่า โรงเรียนกายอุปกรณ์ สิรินธร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล แห่ ง ประเทศไทย เป็ น ที่ เ ดี ย วในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ที่เปิดหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อผลิต นักกายอุปกรณ์ (ปริญญาตรี) อี ก ทั้ ง ได้ รั บ การรั บ รองจากองค์ ก ร กายอุปกรณ์นานาชาติในระดับ ‘Category 1’ นอกจากนี้ หากบัณฑิตผ่านการประมวล ความรู ้ ด ้ า นกายอุ ป กรณ์ ในภาคทฤษฎี และปฏิบตั ิ จะสามารถเข้าท�ำงานได้ทวั่ โลก

รชนีกร ศรีฟา้ วัฒนา

21/1/2560 16:38:04


18

| ลูกศิลป์

สิทธิส ิ ข ุ ภาพ

มาลาเรี ย -เท้ า ช้ า งฟื ้ น คั ด กรองโรคพรมแดนหละหลวม

สถานการณ์ ก ารคั ด กรองโรคติ ด ต่ อ ข้ า มพรมแดนทางบกของประเทศไทย ยั ง น่ า เป็ น กั ง วล หลั ง จากเดื อ นตุ ล าคม ปี 2558 เกิ ด อหิ ว าตกโรคระบาดในพื้ น ที่ 10 จั ง หวั ด ชายฝั ่ ง ทะเลและชายแดนพม่ า โดยจั ง หวั ด ตาก มี ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต 3 คน อาการรุนแรงอีก 5 คน ต่อมาเดือนพฤศจิกายน ยังพบผูป้ ว่ ยอีก 16 คน รายงานอัตราก�ำลังเจ้าหน้าที่ปฏิบัติง าน กรมควบคุ ม โรค กระทรวงสาธารณสุ ข ล่ า สุ ด ปี 2558 ระบุ ว ่ า ประเทศไทย มี เ จ้ า หน้ า ที่ ป ฏิ บั ติงานด่านควบคุมโรคติดต่อ ระหว่ า งประเทศทางบกเพี ย ง 65 คน ขณะทีม่ ผี เู้ ดินทางเข้าประเทศผ่านด่านพรมแดน ทางบกทัง้ หมด 11,258,021 คน ผู้สื่อข่าวลงพื้นที่ส�ำรวจการคัดกรองโรค ติดต่อทีด่ า่ นพรมแดนแม่สาย จังหวัดเชียงราย ซึง่ เป็นทางเข้ า - ออกประเทศที่ ใ หญ่ ท่ี สุ ด ในภาคเหนือ เมื่อเดือนตุลาคม 2559 พบว่า มี เ จ้ า หน้ า ที่ ค วบคุ ม โรคติ ด ต่ อ ประจ� ำ ด่ า น เพียง 2 คน และตรวจเพียงครึง่ วันเช้า ส่วนช่วงบ่าย เจ้าหน้าทีต่ รวจคนเข้าเมืองและเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ จะตรวจโรคแทน ขณะที่ ปี 2558 มีผเู้ ดินทาง เข้าประเทศผ่านพรมแดนแม่สาย 1,376,095 คน เฉลีย่ วันละ 9,249 คน เท่ากับว่า เจ้าหน้าที่ 1 คน ต้องรับมือกับผูข้ า้ มแดนกว่า 4,624 คน ต่อวัน ผูส้ อื่ ข่าวรายงานอีกว่า ผูข้ า้ มแดนส่วนใหญ่ เดินทางด้วยยานพาหนะ จ�ำนวน 4 - 6 คน ต่อคัน

รายงานพิเศษ ประเทศไทยมี ผู ้ ป ่ ว ยวั ณ โรคประมาณ 120,000 คน หรือทุก 584 คน จะมีผู้เป็น วัณโรค 1 คน อยูใ่ นอันดับที่ 18 ของโลก ตาม การคาดการณ์ขององค์การอนามัยโลก ปี 2558 แต่ ค วามพยายามแก้ ป ั ญ หานี้ ข อง ภาครัฐ อาจยังไม่ประสบความส�ำเร็จมากนัก โดย ข้อมูลจากส�ำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ล่าสุดพบว่า ผู้เข้ารับ การรักษาวัณโรคของไทยลดลง จากปี 2557 ขึ้นทะเบียนไว้ 67,789 คน พอถึงปี 2558 ลดลงเหลือ 62,154 คน ทัง้ นี้ ผูท้ เี่ ข้ารักษาคิด เป็นเพียงร้อยละ 55.3 ของผูป้ ว่ ยวัณโรคทัง้ หมด ในประเทศ ชาลี ลอยสู ง ประธานคณะกรรมการ สมานฉันท์แรงงานไทย กล่าวว่า ลูกจ้างทีเ่ ป็นวัณโรค ต้องลางาน เพราะสถานพยาบาลเฉพาะทางเปิดใน เวลาราชการ นอกจากนี้ แม้พ.ร.บ.คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 57 จะให้ จ ่ า ยค่ า จ้ า ง ตามปกติ หากลางานเพราะเจ็บป่วยจากการ ท�ำงาน แต่ไม่เกิน 30 วัน แต่ลูกจ้างไม่ทราบ สิทธินี้ ท�ำให้กลัวว่า หากลางานไปรักษาจะ ไม่ได้รบั ค่าจ้าง

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 18

และมีเพียงคนขับรถหรือตัวแทนเพียง 1 คน ลงจากรถ เพื่อยื่นเอกสารต่อเจ้าหน้าที่ตรวจ คนเข้าเมือง โดยผู้เดินทางที่เหลืออยู่บนรถ และรอเวลาข้ามแดน เจ้าหน้าทีต่ รวจคนเข้าเมืองรายหนึง่ กล่าวว่า ผูเ้ ดินทางส่วนใหญ่เป็นชาวพม่า เข้ามารักษาตัว ในโรงพยาบาลและอนามัยแม่สาย โดยส่วนใหญ่

1

ยื่นเอกสาร ขอขา ้ มแดน

1

ยื่นเอกสาร ขอขา ้ มแดน

มักเป็นโรคทีต่ อ้ งใช้เวลารักษาต่อเนือ่ ง ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรค ส�ำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ระบุว่า ในจังหวัดเชียงราย มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี เช่น ปี 2550 มีผู้ป่วย เป็นไข้สมองอักเสบ 21 คน ขณะที่ปี 2557 และ 2558 เพิม่ เป็น 63 คน และ 88 คน ตามล�ำดับ นางเพรียวภูรนิ ทร์ มะโนเพียว หัวหน้าด่าน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศพรมแดน แม่ ส าย จั ง หวั ด เชี ย งราย ยอมรั บ ว่ า การเฝ้าระวังโรคติดต่อยังไม่สามารถปฏิบัติ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎอนามั ย ระหว่ า งประเทศ ข้อ 18 ทีก่ ำ� หนดว่า ต้องตรวจทางการแพทย์ และหลักฐานการได้รับวัคซีนและการป้องกัน อื่ น ๆ ก่ อ นอนุ ญ าตให้ บุ ค คลเข้ า ประเทศ เพราะมี เ จ้ า หน้ า ที่ จ� ำ กั ด และไม่ ส ามารถ ใช้เครือ่ งวัดอุณหภูมริ า่ งกายได้หากอากาศร้อน จึงท�ำได้เพียงสังเกตอาการภายนอก นพ.ศุ ภ เลิ ศ เนตรสุ ว รรณ รองผู้อ�ำนวย การด้ า นภารกิ จ ปฐมภู มิ โรงพยาบาล เชี ย งรายประชานุเคราะห์ จังหวัดเชียงราย

เปิดเผยว่า ในจังหวัดมีผปู้ ว่ ยเป็นวัณโรคเพิม่ ขึน้ ทั้ ง ยั ง พบโรคมาลาเรี ย และเท้ า ช้ า งอี ก ครั้ ง หลังไม่ได้พบเกือบ 10 ปี จึงควรเพิม่ เจ้าหน้าที่ คัดกรองโรคติดต่อทีพ่ รมแดน เพราะโรคติดต่อ หลายชนิดไม่สามารถตรวจสอบอาการจาก ภายนอกได้ ขณะที่ พญ.วราลั ก ษณ์ ตั ง คณะกุ ล รองผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก โรคติ ด ต่ อ ทั่ ว ไป กรมควบคุ ม โรค กระทรวงสาธารณสุ ข ชี้แจงว่า การเพิ่มจ�ำนวนเจ้าหน้าประจ�ำด่าน ท�ำได้ยาก เพราะไม่มีเจ้าหน้าที่ที่เชี่ยวชาญ พอ จึงท�ำได้เพียงสุ่มตรวจ ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด แต่ ห ากมี โ รคระบาดร้ า ยแรงวงกว้ า ง ส่ ว น กลางจะส่งทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ไปที่ด่านพรมแดนเพื่อตรวจจับคัดกรองโรค และจ�ำกัดวงการระบาด ตามแผนพัฒนางาน ด้านกฎอนามัยระหว่างประเทศ ปี 2560 - 2564 ทีเ่ น้นประสิทธิภาพการควบคุมการระบาด

2

เจา ่ี ด ั กรอง ้ หนา ้ ท่ค โรคประจำแค่ 2 คน

จ.เชียงราย

3

ปุญญิศา ค�ำนนสิงห์

คด ั กรองโรคตามจรง ิ ในปจ ั จบ ุ น ั

2

วด ั ไขด ้ ว ้ ย ปรอท

ขั้นตอน IHR 2005

3

สง ั ไปจด ุ คัดกรอง ่ ตว เมอ ื มไีข้

4

ซก ั ประวต ั ิ ตรวจ า ่ งกาย ประเมน ิ ความเสย ่ี ง

5

พยาบาล

ข้อมูลจาก: IHR 2005 กฎหมายอนามัยระหว่างประเทศ ประกาศโดยองค์การอนามัยโลก

“ยังมีการกดดันจากนายจ้างว่า ลางานไป พบแพทย์แล้วไม่มีใบรับรองแพทย์ จะไม่ให้ ค่าแรง รวมถึงลูกจ้างเองก็ไม่อยากลางาน เพราะ จะได้เบีย้ ขยันเพิม่ ซึง่ เงินจ�ำนวนนีส้ ำ� คัญกับชีวติ และครอบครัวของพวกเขา” ชาลี กล่าว ชาลี กล่ า วอี ก ว่ า ส่ ว นลู ก จ้ า งในระบบ ประกันสังคม ก็ไม่ทราบสิทธิวา่ หากจ�ำเป็นต้อง ลางานติดต่อกันมากกว่า 30 วันท�ำงานตามค�ำสัง่ แพทย์ จะสามารถรับเงินทดแทนการขาดรายได้ จากประกันสังคมได้รอ้ ยละ 50 ของค่าแรง ด้ า น คนงานก่ อ สร้ า งชาวกาฬสิ น ธุ ์ รายหนึง่ เปิดเผยว่า พอทราบว่าเป็นวัณโรคเมือ่ เดือนกันยายน ทีผ่ า่ นมา ต้องไปรักษาต่อเนือ่ ง ก็รู้สึกกังวล เนื่องจากได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน หากลางานจะท�ำให้ขาดรายได้ และไม่ทราบ สิทธิว่า สามารถลาได้โดยได้รับค่าตอบแทน แต่ยงั ดีทสี่ ถานพยาบาลเปิดให้รบั ยาได้กอ่ นและ หลังเวลาราชการ ส่ ว นระยะเวลาในการรั ก ษาวั ณ โรค ฐิติสันต์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา รักษาการ ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์บริการสาธารณสุข 36 กล่าว ว่า ใช้เวลาอย่างน้อย 6 เดือน โดยต้องมา

รับยาสัปดาห์ละ 1 ครัง้ ในวันและเวลาราชการ ถ้าดือ้ ยา ต้องใช้เวลารักษาอย่างน้อย 12 เดือน และต้องมาพบแพทย์เพือ่ ฉีดยาทุกวันอย่างน้อย 3 เดือน “ที่ต้องให้มารับยาสัปดาห์ละครั้ง เพื่อ ติ ด ตามอาการผู ้ ป ่ ว ย และดู ว ่ า กิ น ยาครบ หรือไม่ แต่ถา้ มาไม่ได้จริง ๆ ก็อนุโลมเป็นราย ๆ แต่ก็พยายามให้มาได้บ่อยที่สุด เพื่อติดตาม อาการได้ เพราะโรคนี้ต้องมีวินัยในการกินยา ต่อเนื่อง” รักษาการผู้อ�ำนวยการศูนย์บริการ สาธารณสุข กล่าว ส�ำหรับการปรับมาตรการจากภาครัฐนั้น เสาวคนธ์ ภั ท ระศิ ข ริ น พยาบาลวิ ช าชี พ ช�ำนาญการ ศูนย์บริการสาธารณสุข 28 เผยว่า ทีน่ ยี่ ดื หยุน่ ให้ผปู้ ว่ ยวัณโรคมารับยาได้ ไม่วา่ จะ มาก่อนหรือหลังเวลาราชการ แต่ถา้ ไม่สามารถ มารับยาได้จริง ๆ จะมีพยาบาลน�ำยาไปให้ทบี่ า้ น ภายในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ ท�ำให้คนไข้ทมี่ ารักษาที่ นีห่ ายป่วยแล้วหลายคน แต่ไม่ทราบการปฏิบตั ิ ของศูนย์ฯ อืน่ ส่ ว น ผลิ น กมลวั ท น์ ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ยอมรับว่า การไม่มสี ถานพยาบาลรักษาวัณโรค โดยเฉพาะ เปิดนอกเวลาราชการ เป็นเงือ่ นไข หนีง่ ทีไ่ ม่เอือ้ ให้ลกู จ้างเข้ารับการรักษา “กระทรวงฯ พยายามแก้ปัญหาโดยให้รถ ของส�ำนักวัณโรค ส�ำนักอนามัย องค์กรพัฒนา เอกชน และโรงพยาบาลเอกชน เคลื่ อ นที่ ตรวจเอ็กซเรย์ทงั้ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด โดยรถของส� ำ นั ก วั ณ โรคจะออกตรวจทุ ก 3 เดื อ น ในกรุ ง เทพฯ แต่ ย อมรั บ ว่ า ไม่ สามารถท�ำได้บ่อยกว่านี้ เพราะงบประมาณ และเจ้าหน้าที่มีน้อย อย่างไรก็ตาม กรมฯ ตั้งเป้าว่า จะลดจ�ำนวนผู้ป่วยจาก 171 คน ให้เหลือ 88 คน ต่อประชากร 100,000 คน ให้ได้ในปี 2564” ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวัณโรค กล่าว ขณะที่ สุเมธ มโหสถ อธิบดีกรมสวัสดิการ และคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ชีแ้ จง ว่า มีเรือ่ งร้องเรียนอยูเ่ พียงเล็กน้อย ซึง่ กรมฯ ได้ ด�ำเนินคดีนายจ้างเหล่านัน้ แล้ว ยืนยันว่า ไม่คอ่ ย มีกรณีแบบนี้ เพราะกฎหมายคุมเข้ม บัณฑิตา สุขสมัย

21/1/2560 16:38:06


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สิทธิสข ุ ภาพ

?

ÁÑè¹ã¨á¤‹ä˹ ¡Ñº ÃŒ Ò ¹¢ÒÂÂÒ ·Õè¤Ø³àÅ×Í¡?

19

ธุรกิจรานขายยามีมูลคาตลาด

การเติบโต

3.5 หมื่นลานบาท เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ

PHARMACY คาจาง เภสัชกร

10-20%

เภสัชแขวนปาย

7k-20k บาท/เดือน เภสัชอยูประจำรานตลอด

18k-40k บาท/เดือน

เวลาปฏิบัติการ

17.00-20.00 น.

ตรวจสอบ

ภัยเงียบ

คนไทย จากการ

เฉลี่ยวันละ

30 คน

5k ราน

กฎหมายใหม

เสียชีวิต

ติดเชื้อดื้อยา

จนท.กทม.ตรวจสอบรานขายยา 1 ครั้ง/ป (อยางนอย) ตอ ตรวจราน

100 คน

ÍÂÙ‹ã¹ÃÐËÇ‹Ò§¡ÒþԨÒÃ³Ò àº×éͧµŒ¹ºÑ§¤ÑºãËŒÁÕ àÀÊѪ¡ÃÍÂÙ‹µÅÍ´àÇÅÒà» ´ÃŒÒ¹ áÅеŒÍ§»ÃѺ»Ãا ʶҹ·Õè ÍØ»¡Ã³ ËÒ¡·Ó¼Ô´äÁ‹µ‹ÍãºÍ¹ØÞÒµãËŒ ข้อมูลจาก: ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา | ผูปุ้ ระกอบการร้านขายยา 19 ราย

ปี 2558 ร้ า นขายยามี จ� ำ นวนเพิ่ ม ขึ้ น ตามรายงานของศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย ประเมินว่า ธุ ร กิ จ ร้ า นขายยามี มู ล ค่ า ตลาดประมาณ 34,000 - 35,000 ล้านบาท มีการขยายตัวกว่า ร้อยละ 10 - 12 ขณะที่ สภาเภสัชกรรม ให้ขอ้ มูลว่า มี เ ภสั ช กรจบใหม่ เ ฉลี่ ย ปี ล ะ 1,200 คน ปั จ จุ บั น มี เ ภสั ช กรขึ้ น ทะเบี ย นตามเลข ใบประกอบวิชาชีพกว่า 33,000 คน แต่ ไ ม่ ว ่ า จะเป็ น ศู น ย์ ก ลางกรุ ง เทพฯ อย่างปทุมวัน บางรัก กระทัง่ ออกไปรอบนอก แถบกรุงเทพฯ ตอนเหนือไปจนถึงกรุงเทพฯ ตอนใต้ อย่างบางเขน คลองเตย ปิน่ เกล้า ลาดกระบัง ดินแดง ตลิ่งชัน และบางแค พบร้านขายยา ที่ไม่มีเภสัชกรประจ�ำการในเวลาท�ำการที่ระบุ ทั้ ง ร้ า นขายยาทั่ ว ไปและที่ เ ป็ น แฟรนไชส์ จ�ำนวน 19 ร้าน มีเพียง 11 ร้าน ทีม่ เี ภสัชกรประจ�ำ การ ทัง้ นี้ ตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 มาตรา 39 ระบุ ว ่ า ให้ ผู ้ มี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารอยู ่ ป ระจ� ำ ณ สถานทีข่ ายยาแผนปัจจุบนั ตลอดเวลา อดี ต ผู ้ ป ระกอบการร้ า นขายยาคนหนึ่ ง ยอมรับว่า เคยเปิดร้านขายยาแบบแขวนป้าย กล่าวคือ ไม่มีเภสัชกรประจ�ำการ โดยเช่าป้าย ในราคา 5,000 บาท ต่อเดือน และเมือ่ เป็นสมาชิก สมาคมร้านขายยา จะได้รบั การแจ้งล่วงหน้าก่อนที่

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 19

ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) จะมาตรวจสอบคุณภาพร้าน และบอกต่อกัน ภายในกลุม่ สมาชิก ภญ.ปิ ย ะมาศ บุ ญ เพ็ ง เจ้ า ของร้ า น คลังยาลาดกระบัง ให้ขอ้ มูลว่า การแขวนป้ า ย ยั ง มี อ ยู ่ จ ริ ง ซึ่ ง ในต่ า งจั ง หวั ด มี ร าคาป้ า ย สู ง ถึ ง 7,000 - 20,000 บาท ต่ อ เดื อ น อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารแจ้ ง ล่ ว งหน้ า ก่ อ นลงตรวจ จากเจ้ า หน้ า ที่ อ ย. หากเภสั ช กรไม่ อ ยู ่ จะให้เวลา 20 นาที เพือ่ เรียกกลับมาปฏิบตั หิ น้าที่ โดยสามารถอ้างได้วา่ ไปท�ำธุระ ภญ.นิ ย ดา เกี ย รติ ยิ่ ง อั ง ศุ ลี ผู ้ จั ด การ แผนกแผนงาน ศูนย์วชิ าการและเฝ้าระวังระบบยา เตื อ นว่ า หากไม่ มี เ ภสั ช กรประจ� ำ ร้ า นขาย ยา อาจได้ รั บ ยาไม่ ต รงตามอาการ อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารกระจายยาที่ ไ ม่ ไ ด้ คุ ณ ภาพไปตาม ร้านขายยาสะดวกซื้อ เป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ ผูบ้ ริโภคติดเชือ้ ดือ้ ยา ซึง่ แต่ละปีคนไทยเสียชีวติ จากเชือ้ ดือ้ ยาประมาณ 20,000 - 40,000 คน เฉลีย่ วันละ 100 คน ภก.วรวิ ท ย์ กิ ต ติ ว งศ์ สุ น ทร อุ ป นายก สภาเภสัชกรรม เผยว่า ร้านขายยาจ�ำเป็น ต้ อ งมี เ ภสั ช กรประจ� ำ การตลอดเวลา ในปี 2559 มี ก ารพั ก ใบอนุ ญ าตเภสั ช กร

40 - 50 ราย อย่างไรก็ดี นับตั้งแต่ปี 2537 จนถึงปัจจุบนั มีการพักใบอนุญาต 600 กว่าราย และยกเลิกใบประกอบวิชาชีพ 10 กว่ารายเท่านัน้ ด้ า น นายสงคราม อั จ ฉริ ย ะศาสตร์ นายกสมาคมร้านขายยา ชีแ้ จงว่า ทางสมาคมฯ ไม่สนับสนุนการหลบเลีย่ งการตรวจสอบจากอย. ดังที่มีการกล่าวหา ส่วนเรื่องการแจ้งล่วงหน้า ของอย. ปัจจุบนั ไม่มแี ล้วเพราะใช้การสุม่ ตรวจ หากร้านใดท�ำผิดจะตักเตือนและช่วยแจ้งอย. ให้เข้าตรวจสอบ ขณะที่ ภก.ทรงศักดิ์ วิมลกิตติพงศ์ เภสัชกร ช�ำนาญการ งานใบอนุญาต อย. ยืนยันว่า ในกรุงเทพฯ ไม่มีการแจ้งลงพื้นที่ตรวจสอบ ผู้ประกอบการล่วงหน้า เพราะใช้วิธีสุ่มตรวจ จาก 1 ใน 5,000 ร้าน ไม่มกี ารเอือ้ ผลประโยชน์ ให้สมาคมร้านขายยาแต่อย่างใด “แต่ ป ั ญ หาที่ พ บมากคื อ ร้ า นขายยา มักมีการบอกต่อกัน โดยผ่านการส่งข้อความ ท�ำให้การตรวจสอบไม่ได้คณ ุ ภาพ แต่ในปลายปีนี้ จะมีการลงตรวจจีพพี ี (วิธกี ารทีด่ ที างเภสัชกรรม) หากพบว่าท�ำไม่ได้ ร้านขายยาจะต้องถูกปิด” ภก.ทรงศักดิ์ กล่าว ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ปัจจุบัน ทาง อย. ได้ มี ก ารออกกฎกระทรวงการขออนุ ญ าต

และการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 บังคับใช้ เมือ่ วันที่ 25 มิถนุ ายน 2557 ก�ำหนดให้ผรู้ บั ใบอนุญาตร้านขายยาทีเ่ ปิดก่อน กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ ต้องปรับปรุงสถานที่ อุ ป กรณ์ และมี เ ภสั ช กรอยู ่ ป ระจ� ำ ร้ า น ตลอดเวลา ภายในระยะเวลาหนึ่ง แต่ต้อง ไม่เกิน 8 ปี หากมีการกระท�ำผิดจะไม่สามารถ ต่อใบอนุญาตได้ ขณะที่ ร่างพ.ร.บ.ยา ฉบับใหม่ ยังอยูใ่ นขัน้ การพิ จ ารณาของกระทรวงสาธารณสุ ข ท่ามกลางการโต้แย้งจากร้านขายยาขนาดเล็กว่า ร่างกฎหมายฉบับนี้ เอื้อประโยชน์ให้ธุรกิจ รายใหญ่ ที่ เ ปิ ด ขายยาตลอด 24 ชั่ ว โมง ท�ำให้ร้านขายยาที่มีอยู่แต่เดิมแข่งขันไม่ได้ เพราะมีต้นทุนเพิ่มขึ้น จากการจ้างเภสัชกร ประจ�ำการตลอดเวลา อย่างไรก็ดี ฝ่ายสมาคม เภสัชชุมชน โต้แย้งว่า ร้านเล็กไม่เสียเปรียบ เพราะทุ ก ร้ า นต่ า งต้ อ งจ่ า ยค่ า จ้ า งเภสั ช กร อยูป่ ระจ�ำร้านเช่นกัน เขมพัฏฐ์สร ธนปัทมนันท์ ธนกร ตันติสง่าวงศ์ พัชรี พรกุลวัฒน์ ศรัณยา ตัง ้ วรเชษฐ ศุภนิดา อินยะบุตร

21/1/2560 16:38:07


20

| ลูกศิลป์

ากค�ำบอกเล่าของคนงาน ใน ขณะนั้ น เป็ น เวลาราวหนึ่ ง ทุ ่ ม เมื่ อ เขาเริ่ ม สั ง เกตเห็ น ความผิดปกติทเี่ กิดขึน้ ผิวน�ำ้ ในกระชัง กระเพื่ อ มไหวแต่ ก ลั บ มองไม่ เ ห็ น ระลอกคลื่นเมื่อมันเต็มไปด้วยซาก ปลาตัวเขื่องหงายท้องลอยตายเต็ม ตาข่าย นัน่ เป็นสัญญาณทีเ่ ริม่ ปรากฏ ให้เห็นเค้าลางหายนะ แต่คงไม่มใี คร คาดคิดว่าหลังจากนั้นเพียงไม่กี่วัน ลุ่มน�้ำแม่กลองจะถูกเรียกขานเป็น สุสานปลากระเบนจากโศกนาฏกรรม การตายของสัตว์นำ�้ ครัง้ ใหญ่ เมืองสามน�ำ้

สายน�้ ำ แม่ ก ลองที่ ไ หลผ่ า น เมืองสามน�ำ้ มีตน้ ก�ำเนิดมาจากผืนป่า ตะวันตก เริม่ จากความชอุม่ สมบูรณ์ ของเทือกเขาตะนาวศรีไหลลงมาเป็น ล�ำน�้ำแควใหญ่ ก่อนบรรจบรวมกับ ล�ำน�้ำแควน้อยที่จังหวัดกาญจนบุรี เกิดเป็นแม่นำ�้ แม่กลองทีห่ ล่อเลีย้ งชีวติ ริ ม ฝั ่ ง ตลอดความยาวกว่ า 132 กิโลเมตร และน�ำพาความอุดมสมบูรณ์ ลงสู่ทะเลปากอ่าวบนพื้นที่จังหวัด สมุทรสงคราม ธรรมชาติของผืนดินปลายน�ำ้ แทบ ทุกแห่งจะถูกหล่อเลี้ยงโดยน�้ำเค็ม น�ำ้ กร่อย และน�ำ้ จืด ทว่าแม่กลองมี ลักษณะเฉพาะของสันดอนปากแม่นำ�้ บริ เ วณดอนหอยหลอดที่ แ ตกต่ า ง ออกไป เกิดจากการตกตะกอนของ ดินปนทรายหรือที่ชาวบ้านเรียกว่า ทรายขี้เป็ด ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกความ อุดมสมบูรณ์ของสารอาหาร เป็น แหล่งอาศัยของสัตว์นานาชนิด ถือเป็น แรมซ่าไซด์ หรือพืน้ ทีช่ มุ่ น�ำ้ ทีม่ คี วาม ส�ำคัญระหว่างประเทศแห่งส�ำคัญ

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 20

สารคดีเชิงข่าว

ย้ อ นรอยภาวะ ‘ป่ ว ยไข้ ’ จะเรียกไปไกล่เกลีย่ กับโรงงานแต่สง่ ในล�ำน�ำ้ แม่กลอง ข้อมูลไปก็เงียบมาสองเดือนจึงตัดสิน

ไม่มีใครรู้แน่ชัดว่ากระเบนราหู ตัวแรกที่สังเวยแด่มวลน�้ำพิษเกิดขึ้น เมือ่ ใด แต่หลักฐานการตายเริม่ ปรากฏ ให้เห็นชัดเจนในวันที่ 28 กันยายน 2559 เมือ่ มีคนพบซากปลากระเบนหลายตัว ในวันเดียวกัน กระทัง่ ภาพถูกโพสต์ลง ในโลกโซเชีย่ ล จนเกิดการตืน่ ตัวของ ประชาชนในพืน้ ที่ ซึง่ เหตุการณ์นเี้ กิด ขึน้ เพียงหนึง่ วันก่อนมวลน�ำ้ จะพัดพา ความเสียหายไปยังปลาในกระชังเป็น ล�ำดับถัดมา “ลูกน้องโทรมาบอกว่าปลาลอย ตาย เลยรูส้ กึ ผิดปกติ เพราะถ้าโดน น�ำ้ เสียหรือปลาขาดออกซิเจนปลาจะ โผล่ขนึ้ มาหายใจ แต่นอี่ ยูด่ ี ๆ ก็ชอ็ กตาย ตายต่อเนือ่ งประมาณสิบวัน เสียหาย 12 ล้านบาทเพราะเลีย้ งไว้สองปีแล้วยัง ไม่ทนั ขาย” วิคม สิทธิภพู นั ธ์ เจ้าของ กระชังเลี้ยงปลา ประสบการณ์กว่า 20 ปีเล่าถึงเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ วิคม บอกว่า ก่อนหน้านี้พบว่า ปลาที่เลี้ยงไม่กินเหยื่อเป็นเวลาหนึ่ง อาทิตย์ ซึ่งจะเกิดขึ้นในภาวะที่นำ�้ มี ปัญหาซึ่งปกติไม่เคยท�ำให้ปลาตาย แบบนีม้ าก่อน ซ�ำ้ ร้ายเมือ่ แจ้งหน่วยงานประมงว่า ปลาตายผิดปกติเมือ่ วันที่ 30 กันยายน ซึง่ เป็นวันศุกร์ แต่กว่าความช่วยเหลือ จะเดินทางมาถึงเวลาก็ล่วงเลยเข้าสู่ วันจันทร์ และไม่มเี จ้าหน้าทีล่ งมาเก็บ ตัวอย่างเนือ้ เยือ่ เพือ่ ตรวจสารพิษเลย จนเวลาผ่านไปสองสัปดาห์ให้หลัง หลังจากทีว่ คิ มสูญปลาไปกว่า 50 กระชัง เขาก็ยังไม่ได้รับการเยียวยา จากฝัง่ ของผูก้ อ่ มลพิษ จึงรวมตัวกับ ผูป้ ระกอบการรายอืน่ ยืน่ ฟ้องเรียกร้อง ค่าเสียหาย “เขาไม่ได้ลงมาช่วยอะไร เหมือน

ใจยืน่ ฟ้อง” คล้อยหลังการตายของปลากระชัง เพียงไม่ถงึ วัน กลุม่ รักษ์บา้ นโป่งได้เปิด เผยคลิปวีดีโอหลักฐานที่บันทึกภาพ ท่อน�ำ้ ทิง้ จากโรงงานราชบุรเี อทานอล จังหวัดราชบุรที ปี่ ล่อยน�ำ้ สีนำ�้ ตาลเข้ม ลงสูแ่ หล่งน�ำ้ และแจ้งไปยังหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องจนมีการสั่งปิดท่อระบาย น�ำ้ ดังกล่าว ทว่ากลับไร้ซงึ่ เสียงเตือนมายังคน ปลายน�้ำเพื่อรับมือกับมวลสารพิษ ระลอกใหม่ และการสังหารหมูส่ ตั ว์นำ�้ กลับทวีความรุนแรงขึน้ เพชฌฆาตเงียบไหลผ่านล�ำน�้ำ แม่กลองจนมาถึงผู้รับผลกระทบใน หน้าด่านสุดท้ายบริเวณปากอ่าว ซึง่ เป็นแหล่งประมงเลีย้ งหอยแหล่งใหญ่ วรเดช เขี ย วเจริ ญ เจ้าของคอก หอยแครงวัย 50 ปี ผูซ้ งึ่ ใช้ชวี ติ ผูกพัน กับทะเลและอาชีพเลี้ยงหอยมากว่า 30 ปี เล่าถึงความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ลุงวรเดช บอกว่า ความเสียหาย จากน�้ำเสียเกิดขึ้นทุกปี เมื่อกลางปี ที่ผ่านมาก็เพิ่งประสบปัญหาน�้ำเสีย แต่ครัง้ นีร้ นุ แรงและครึกโครมเพราะ ปลากระเบนตาย แม้ว่าต้องประสบปัญหาซ�้ำทุกปี แต่ลกั ษณะน�ำ้ เสียในปีนมี้ าจากสารพิษ ซึง่ สังเกตได้อย่างชัดเจน สังเกตได้จาก ลักษณะสีนำ�้ ทีไ่ ม่เข้าพวก ไม่เหมือน น�้ำสีเขียวในกรณีแพลงก์ตอนบลูม หรือน�ำ้ เสียธรรมดา เมือ่ ไหลเข้าสูพ่ นื้ ที่ ประมงจะท�ำให้ออกซิเจนในน�ำ้ บริเวณ นัน้ ต�ำ่ สัตว์นำ�้ จึงตาย การต้ อ งต่ อ สู ้ กั บปั ญหามลพิ ษ ซ�ำ้ แล้วซ�ำ้ เล่า ท�ำให้ลงุ วรเดชปรับตัว ด้วยการท�ำตารางน�ำ้ และเลีย้ งหอย แบบผสมผสานทั้งในแหล่งน�้ำและ

บ่อพัก หลังจากบทเรียนความเสียหาย สามปี ที่ ผ ่ า นมาท� ำ ให้ ต นพยายาม ปรับตัวให้เกิดความเสี่ยงน้อยที่สุด ครั้งนี้จึงไม่ได้รับผลกระทบมากนัก ทีเ่ สียหายในทะเลประมาณร้อยตันก็ นับว่าไม่มาก ลุงวรเดชบอกว่าทุกวันนีเ้ ทคโนโลยี ดีขนึ้ แต่กย็ งั ไม่มกี ารประกาศหรือแจ้ง ให้ฟาร์มเตรียมตัวรับมือล่วงหน้าเป็น กิจจะลักษณะ หน่วยงานอุตสาหกรรม มลพิษ และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ก็ยัง เกีย่ งกันท�ำหน้าที่ ทุกวันนีค้ นท�ำฟาร์ม เลีย้ งหอยต้องเสียค่าน�ำ้ หรือเงินค่าใช้ พืน้ ทีป่ ากอ่าวเพิม่ จากไร่ละ 80 บาท เป็นไร่ละ 400 บาท แต่ภาครัฐกลับ ไม่เคยให้ความเกือ้ หนุนด้านวิชาการ แก่ชาวบ้านเลย “อยากให้ มี ค นท� ำ เหมื อ นกั น (ฟ้องร้อง) แต่สว่ นตัวก็ไม่อยากเป็นอริ กับหน่วยราชการก็เลยใช้วธิ รี วมตัวกัน จัดการปัญหาของตนเองก่อน ถ้าเกิด เรามีแต่ไปฟ้องร้องแต่ไม่รวมกันแก้ไข ปัญหาแล้วใครจะมาช่วยเรา อาชีพ เกี่ยวกับปากท้องมันส�ำคัญอยู่แล้ว แต่เราจะประจานการท�ำงานของเขา อย่างไร การที่เราช่วยเหลือตัวเองก็ เหมือนการประจานเขานะ เราไม่ตอ้ ง ไปฟ้องร้องเขาหรอก ปล่อยให้สงั คม โทษเขาเอง” วิ ก ฤตครั้ ง นี้ ย ่ อ มไม่ ไ ด้ ก ระทบ เพียงแค่อาชีพเลี้ยงปลากระชังและ หอยแครงเท่านัน้ แต่ผลกระทบทีเ่ กิด กับชีวิตของคนริมน�้ำที่ไม่ได้ออกมา ส่งเสียงขอความช่วยเหลือยังมีอกี มาก ตัง้ แต่เรือตกกุง้ ประมงล�ำน�ำ้ ขนาดเล็ก อวน โพงพาง จากร่ อ งน�้ ำ ออก ปากอ่าวไปยังประมงพื้นบ้านชายฝั่ง ที่ ท� ำ อวนลอยปลาทู อวนลอยกุ ้ ง อวนลอยปูมา้ ซึง่ ใช้ชวี ติ ผูกพันกับน�ำ้ อีกไม่รมู้ ากน้อยเท่าใด

กอบศักดิ์ เกตุเหมือน ผูอ้ ำ� นวยการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง สมุทรสงคราม เปิดเผยว่าเป็นปกติ ของทุกปีในช่วงนีท้ ี่จะมีการตายของ สัตว์นำ�้ เนือ่ งจากเป็นช่วงทีม่ ปี ริมาณ น�ำ้ ไหลลงทะเลเยอะ แต่ในปีนเี้ นือ่ งจาก ท่ อ เก็ บ กากส่ า จากโรงงานแตก ตัวกากส่าจะมีมวลมากและลอยก้น ท�ำให้กระเบนได้รบั ผลกระทบรุนแรง กว่าสัตว์นำ�้ ชนิดอืน่ ฝันร้ายซ�ำ้ รอยเดิม

หลังพายุความเสียหายผ่านไป เหลือทิ้งเพียงซากร่า งของสัตว์น�้ำ และระบบนิ เ วศล� ำ น�้ ำ แม่ ก ลองที่ ปนเปือ้ น ในทีส่ ดุ กรมควบคุมมลพิษได้ ออกมาแถลงสาเหตุการตายเมือ่ วันที่ 21 ตุลาคม ว่าตัวการส�ำคัญของวิกฤต ลุ่มน�้ำแม่กลองครั้งนี้เกิดจากกากส่า ของบริษทั ราชบุรเี อทานอล เมือ่ ปล่อย ลงแม่น้�ำจะท�ำให้ความเข้มข้นของ แอมโมเนียอิสระสูง ซึ่งเป็นพิษต่อ ปลากระเบนราหูและสัตว์น�้ำชนิด อืน่ ๆ โรงงานต้นเหตุจงึ ได้รบั บทลงโทษ โดยถูกสัง่ ปรับเป็นเงิน 4 แสนบาท ซึง่ เป็นอัตราสูงสุดตาม พ.ร.บ.โรงงาน ปี 2535 และออกค�ำสั่งให้ปรับปรุง แก้ไขข้อผิดพลาดให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน เป็นเรื่องน่าเศร้าที่ชีวิตกระเบน หายากและเหล่าสัตว์น�้ำที่สูญเสียไป มีคา่ เพียงค่าปรับ 4 แสนบาท ทว่าเหตุการณ์ครัง้ นีไ้ ม่ใช่บทเรียน แรก บัณฑิต ป้านสวาท ผูก้ อ่ ตัง้ กลุม่ สมุทรสงครามจัดการตัวเองเล่าว่าใน ช่วงเดือนพฤษภาคมทีผ่ า่ นมาประมง เลีย้ งหอยเสียหายหนักจากผลกระทบ ของน�้ ำ ขี้ ห มู ที่ ป นเปื ้ อ นลงแม่ น�้ ำ ชาวบ้านจึงรวมตัวกันร้องเรียนไปที่

21/1/2560 16:38:14


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สารคดีเชิงข่าว

หน่วยราชการ และเมื่อสืบสาวขึ้น ไปถึงอ�ำเภอปากท่อจังหวัดราชบุรีก็ พบท่อซีเมนต์ยาวเกือบ 2 กิโลเมตร ลึก 2 เมตร พบว่าเป็นท่อทีต่ อ่ มาจาก ฟาร์มหมูลักลอบน�ำน�้ำเสียมาทิ้งใน พืน้ ทีร่ กร้าง และเมือ่ ขุดย้อนขึน้ ไปก็ ยิง่ พบท่อย่อยรัศมีกว่า 20 กิโลเมตร ซึง่ ปัจจุบนั ท่อเจ้าปัญหาดังกล่าวได้ถกู รือ้ ถอนออกไปแล้ว หากย้อนกลับไปในปี 2555 ก็ มี เ หตุ ก ารณ์ ใ นลั ก ษณะคล้ า ยกั น เกิดขึน้ เมือ่ วิกฤตจากน�ำ้ ก็เคยสร้าง ความเสี ย หายต่ อ คอกหอยแครง และหอยแมลงภู่อย่างหนักในพื้นที่ ต� ำ บลคลองโคนและบางส่ ว นใน จั ง หวั ด เพชรบุ รี จ นกลายเป็ น ปรากฎการณ์หอยตายยกอ่าว เหตุ ก ารณ์ ใ นครั้ ง นั้ น ได้ รั บ การสั น นิ ษ ฐานจากนั ก วิ ช าการ กรมประมงว่าเกิดจากภาวะน�้ำจืดที่ ไหลลงทะเลและมีการเจือปนของปุย๋ หมักหรือปุย๋ จุลนิ ทรียท์ ใี่ ช้ในการเกษตร ท�ำให้สาหร่ายและพืชทะเลเติบโตอย่าง รวดเร็ว เกิดเป็นภาวะแพลงก์ตอนบลูม ทว่าเสียงชาวบ้านนั้นดังขึ้นค้าน ข้ อ สั น นิ ษ ฐานนี้ เพราะช่ ว งที่ เ กิ ด เหตุการณ์ไม่ใช่ช่วงฤดูกาลที่มีน�้ำจืด ไหลลงทะเลตามธรรมชาติ ต้นตอของ ปรากฎการณ์แพลงก์ตอนบลูมจึงเป็น ทีถ่ กเถียง จนน�ำไปสูก่ ารเรียกร้องให้มี การตรวจสอบเพิม่ เติมในขณะนัน้ ต้นเหตุความเสือ ่ มโทรม

แม่กลองในอดีต เรือตกกุง้ ล�ำน้อย ยั ง ทอดเอื่ อ ยอยู ่ ก ลางล� ำ น�้ ำ เมื่ อ ลมทะเลพลิ้วผ่านมา ชาวประมงจุ่ม ขาข้างหนึง่ ลงในน�ำ้ แลดูเกียจคร้าน ทว่ากลับเป็นภูมิปัญญาลูกทะเลที่ ใช้ แ ทนเครื่ อ งวั ด อุ ณ หภู มิ แ ละ กระแสน�้ำ อย่างที่เครื่องมือโลกยุค ใหม่คงไม่อาจทดแทนได้ โป๊ะปลาทู อวนสีเกี๊ยะและอวนตังเกยังไม่ถูก อวนลากเข้ า มาแทนที่ สิ่ ง เหล่ า นี้ คือภาพของแม่กลองในวันวานเมื่อ สายน�้ำและชีวิตของชาวบ้านยังคง ผูกพันกันอย่างไม่อาจแยกจาก ทว่าในวันทีเ่ มืองขยาย อุตสาหกรรม ลงหลักปักฐาน สิง่ ทีเ่ จือมากับล�ำน�ำ้ ไม่ ได้มเี พียงแร่ธาตุตามธรรมชาติ แต่ยงั รวมถึงมลพิษทีเ่ พิม่ มากขึน้ จนปฏิเสธ

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 21

ไม่ได้วา่ แม่กลองก�ำลังเผชิญหน้าอยูก่ บั ปัญหาเดียวกับเจ้าพระยา ท่าจีน และ บางปะกง ปัญหาทีใ่ ครบางคนนิยามว่า เป็นภาวะป่วยไข้ของสายน�ำ้ “แม่กลองที่เรายังเห็นกายภาพ ภายนอกเหมื อ นกั บ แทบจะไม่ เปลีย่ นแปลง แต่ความจริงภายในมัน ก็เปลีย่ นแปลงไปแล้ว” สุรจิต ชิรเวทย์ หรือ ลุงเจีย๊ ว อดีตส.ว.เมืองแม่กลองพูด ด้วยน�ำ้ เสียงแผ่วเมือ่ ก�ำลังสนทนาถึง สิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ แ ม่ ก ลองตายลงจาก ความอุดมสมบูรณ์ในวันวาน ชีวติ ตลอดวัย 65 ปีบนผืนดินใน เมืองสามน�้ำแห่งนี้ท�ำให้ลุงเจี๊ยวรู้จัก ลีลาธรรมชาติและวิถีผู้คนในเมืองนี้ อย่างละเอียดลึกซึง้ ลุงเจี๊ยว บอกว่า การมีโรงงาน อุ ต สาหกรรมตั้ ง อยู ่ ก ลางเส้ น ทาง น�ำ้ ผ่านและการสร้างประตูนำ�้ ปิดกัน้ น�้ำเค็มในล�ำคลองสายต่าง ๆ คือ หน่อเชือ้ ทีเ่ ร่งให้แม่กลองเสือ่ มโทรม “โรงงานดันมาอยูก่ ลางล�ำน�ำ้ พอ เกิดมลพิษมลภาวะขึน้ มา มันก็ไม่เกีย่ ว กับฉัน เดีย๋ วมันก็ไหลต่อจากบ้านฉันไป เอง แล้วรัฐยังไปสร้างก�ำแพงปิดล้อม ท�ำสงครามป้อมค่ายสู้กับน�้ำโดยไม่ เข้าใจธรรมชาติ กลัวน�ำ้ จะเข้า มีประตู ไปกัน้ พอหน้าแล้งกัน้ น�ำ้ เค็มเท่ากับคุณ ท�ำให้คลองเหล่านัน้ ตายหมด น�ำ้ ไม่ไหล เวียนก็เน่า” ลุงเจีย๊ ว เสริมว่า แม้ในภาพรวม ผูใ้ ช้นำ้� หลักในลุม่ น�ำ้ แม่กลองจะมาจาก ภาคการเกษตรและครัวเรือนและยัง เป็นผูผ้ ลิตน�ำ้ เสียอันดับต้น แต่ผลทีจ่ ะ เกิดหากน�ำ้ เสียอุตสาหกรรมถูกปล่อย มาไม่ใช่สงิ่ อืน่ ใดเลยนอกจากหายนะ ของคนปลายน�้ำ ซึ่งแม่กลองก็เคย เผชิญหน้ากับวิกฤตถังเก็บน�ำ้ โรงงาน น�้ำตาลที่บ้านโป่งแตกเมื่อปี 2515 และเป็นเหตุการณ์ที่ลุงเจี๊ยวบอกว่า “ตายล้างแม่นำ�้ ” เช่นเดียวกับในครัง้ นี้ เมือ่ โรงงานรุกเข้ามาจับจองพืน้ ที่ ริมฝั่งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ลุงเจี๊ยว ชี้ว่าภาระในการบริหารจัดการจะ อยู ่ ที่ ห น่ ว ยงานรั ฐ ซึ่ ง จะเห็ น ถึ ง ความไม่พร้อมทัง้ การท�ำงานและกลไก การตรวจสอบ ไม่มกี ารประสานงานกัน ระหว่างหน่วยงานราชการ ท้ายทีส่ ดุ ความเสี ย หายทั้ ง ทางตั ว เลขเม็ ด เงินและทางระบบนิเวศที่ไม่อาจะ

21

ประเมินค่าได้จึงไร้หนทางเยียวยา อย่างเหมาะสม “ถ้าคุณท�ำน�้ำท่าให้ดีอย่างเดียว ประชาชนดูแลตัวเองได้ แต่ทีนี้ทุก องค์กรปกครองท้องถิ่นท�ำแต่ถนน สะพาน ไม่เห็นกายภาพของเมืองให้ มันครบถ้วน อาชีพขึ้นอยู่กับน�้ำกับ คลอง งบประมาณได้มาแต่ละปีกไ็ ม่ได้ น�ำมาสนับสนุน” ข้อเสนอจากประชาชน

แม้สถานการณ์ได้คลี่คลายเข้าสู่ ภาวะปกติแล้ว แต่การเคลือ่ นไหวจาก ภาคประชาชนยังไม่หยุดนิ่ง บัณฑิต เล่าว่า กลุม่ สมุทรสงครามจัดการตนเอง และประชาคมคนรักแม่กลองได้มี การท�ำข้อเสนอและล่ารายชื่อเพื่อ จัดตั้งคณะกรรมการชุดพิเศษดูแล ควบคุมและเสนอให้มีการร่างแผน บริหารจัดการน�ำ้ บัณฑิต เสริมอีกว่า เดิมแม่น�้ำ ใหญ่ แ ต่ ล ะสายในประเทศไทยจะ มีกรรมการลุ่มน�้ำอยู่แล้ว มีหน้าที่ ดูแลจัดการเกีย่ วกับลุม่ น�ำ้ ของตัวเอง แต่ ป ั ญ หาคื อ กรรมการที่ นี่ เ ป็ น กลุ่มเสือกระดาษ ภาคประชาชนจึง เสนอให้จัดตั้งกรรมการมาท�ำหน้าที่ เฝ้าระวังลุ่มน�้ำ สามารถสั่งการให้ หน่วยงานรัฐลงพืน้ ตรวจสอบได้ และ ออกแผนจัดการดูแล น�ำข้อมูลรายงาน ขึน้ ตรงต่อคณะรัฐมนตรี “ ตอนนี้ ค นที่ ดู แ ลสั่ ง การอะไร ไม่ได้ ผู้บริหารข้างบนไม่ได้มา รั บ รู ้ รั บ ทราบ ถามว่ า ผลใคร ซวยก็คนปลายน�ำ้ ”

วิ ก ฤตในครั้ ง นี้ เ ปรี ย บเสมื อ น ฝันร้ายทีไ่ ม่มใี ครอยากให้เกิด แต่คง จะดีหากบทเรียนความสูญเสียครัง้ นี้ ท� ำ ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงไปสู ่ ทิศทางที่ดีขึ้น เพราะท้ายที่สุดเมื่อ เสียงร้องขอความช่วยเหลือเบาลง สิง่ ทีห่ ลงเหลือก็มเี พียงคนแม่กลองและ ความเสือ่ มโทรมของแหล่งหล่อเลีย้ ง ชีวติ พวกเขา ณัชชา เชีย ่ วกล พาขวัญ ศักดิข ์ จรยศ

21/1/2560 16:38:28


22

| ลูกศิลป์

ไม่ว่าจะเป็นย่านธุรกิจใจกลางกรุ ง เทพฯ อย่ า งเขตบางรั ก หรื อ ข้ า มสะพานสมเด็ จ พระเจ้าตากสินไปยังฝัง่ ธนบุรี กระทัง่ เลยออกไป รอบนอกแถบถนนสุขสวัสดิ์ เขตราษฎร์บรู ณะ สามารถพบเศษวัสดุกอ่ สร้าง อิฐ หิน ดิน ทราย ตลอดจนเครื่ อ งสุ ข ภั ณ ฑ์ ที่ ห มดสภาพ วางกองริ ม ทางสาธารณะและพื้ น ที่ ร กร้ า ง ไม่นอ้ ยกว่า 20 จุด ปั จ จุ บั น กรุ ง เทพฯ มี โ รงงานก� ำ จั ด ขยะก่อสร้างเพียงแห่งเดียว ตัง้ อยูท่ เี่ ขตอ่อนนุช ขณะที่ ป ี ที่ ผ ่ า นมา ระบบข้ อ มู ล การใช้ จ ่ า ย ภาครั ฐ ส� ำ นั ก งานรั ฐ บาลอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เปิ ด เผยว่ า มี ก ารจ้ า งงานก่ อ สร้ า งภาครั ฐ ในกรุ ง เทพฯ จ� ำ นวน 4,492 โครงการ คิดเป็นมูลค่า 1.507 แสนล้านบาท ส่วนภาคเอกชน สายงานวิจยั ธนาคารเกียรตินาคิน ประเมินว่า ตลาดที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ขยายตัวร้อยละ 17 จากปี 2558 คิดเป็นมูลค่า ราว 2.74 แสนล้านบาท สะท้อนถึงความ ต้องการวัสดุกอ่ สร้างทีม่ ากขึน้ เจ้าหน้าทีส่ ำ� นักสิง่ แวดล้อม กรุงเทพมหานคร เปิ ด เผยว่ า มี ข ยะก่ อ สร้ า งเกิ ด ขึ้ น เฉลี่ ย วันละ 1,000 - 1,200 ตัน ขณะทีโ่ รงงานก�ำจัด ข ย ะ ก ่ อ ส ร ้ า ง ต ้ น แ บ บ ที่ ศู น ย ์ ก� ำ จั ด

“พี่สาวของดิฉันร้องไห้บ่อยตอนกลางคืน มีอารมณ์แปรปรวน พอชวนไปหาหมอเธอก็โกรธ ทีเ่ ห็นว่าเธอบ้า ดิฉนั ก็ไม่รจู้ ะปรึกษาใคร จะพาไป โรงพยาบาลเอกชนก็ไม่มเี งิน ถ้าไปโรงพยาบาลรัฐก็ ต้องรอหมอทัง้ วัน จะเอาเวลาทีไ่ หนไปท�ำมาหากิน” นางสาวนุ้ย (นามสมมุติ) ชาวกรุงเทพฯ อาชีพขายก๋วยเตี๋ยว เล่าถึงพี่สาวของเธอวัย 63 ปี ที่เป็นโรคซึมเศร้ามาแล้ว 1 ปี และยัง ไม่เข้ารับการรักษา ตามรายงานอัตราการเข้าถึงบริการของ ผู ้ ป ่ ว ยโรคซึ ม เศร้า ณ วัน ที่ 30 กัน ยายน 2559 ของกรุงเทพมหานคร พบว่า ผู้สูงอายุ ในกรุงเทพฯ เข้ารับการรักษาโรคซึมเศร้าน้อย ทีส่ ดุ ในประเทศ คือ 575 คน จากผูส้ งู อายุใน เมืองหลวงทีเ่ ป็นโรคซึมเศร้าทัง้ หมด 5,963 คน คิดเป็นร้อยละ 9.64 ประเทศไทยก� ำ ลั ง อยู ่ ใ นช่ ว งสั ง คม สูงวัย และในปี 2564 จะเข้าสู่สังคมสูงวัย อย่างสมบูรณ์ ตามการประมาณของส�ำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จะมีจำ� นวนประมาณ 13 ล้านคน จากประชากร ทัง้ หมด 68 ล้านคน ขณะเดียวกัน จากการ

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 22

สิทธิค ิ ณ ุ ภาพชีวต ิ

ขยะมู ล ฝอยอ่ อ นนุ ช ซึ่ ง สามารถรองรั บ วั ส ดุ เ หลื อ ใช้ เ หล่ า นี้ ไ ด้ 500 ตั น ต่ อ วั น หรือราว 1.8 แสนตันต่อปี กลับมีการน�ำเข้าก�ำจัด เพียง 800 ตัน ตลอด 2 ปีทผี่ า่ นมา ส�ำนักงานเขตได้ประกาศขอความช่วยเหลือ จากประชาชนให้แจ้งเบาะแส หากพบเห็น การลักลอบทิง้ ขยะก่อสร้าง และขอความร่วมมือ จากผู้รับเหมาไม่น�ำขยะไปทิ้งยังที่ว่างริมทาง ระหว่างที่ยังไม่มีกฎหมายก�ำจัดขยะก่อสร้าง เพื่ อ ให้ เ มื อ งหลวงแห่ ง นี้ เ ป็ น มหานคร แห่งสิง่ แวดล้อม ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 12 ปี (พ.ศ. 2552 - 2563) แต่ดูเหมือนว่า จะไม่ได้ผลนัก ข้อมูลสถิตจิ ากส�ำนักสิง่ แวดล้อม ล่าสุด เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2558 ระบุว่า มี ก ารลั ก ลอบทิ้ ง ขยะก่ อ สร้ า งในกรุ ง เทพฯ รวม 289 แห่ง ใน 46 เขต จากทัง้ หมด 50 เขต ผู ้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งรายหนึ่ ง ยอมรั บ ว่ า เคยลั ก ลอบทิ้ ง ขยะก่ อ สร้ า งตามพื้ น ที่ ว ่ า ง บ่อยครัง้ เพราะการรองรับจากกรุงเทพฯ ไม่ทวั่ ถึง “โรงงานก�ำจัดขยะก่อสร้างมีอยูเ่ พียงแห่งเดียว แถมออกไปทางชานเมื อ งฝั ่ ง ตะวั น ออก แม้จะเปิดให้ใช้บริการฟรี แต่ดว้ ยระยะทางไกล มี ค ่ า ขนส่ ง สู ง ท� ำ ให้ ผ มไม่ มี ท างเลื อ ก” ผูร้ บั เหมาก่อสร้างคนเดิม กล่าว

ขยะก่อสร้าง: กองขยะก่อสร้างเต็มบริเวณการปรับปรุงท่าเรือสาทร ด้าน นพ.อดุลย์ บัณฑุกลุ รองผูอ้ ำ� นวยการ และสุขภาพ กล่าวว่า การขยายจ�ำนวนโรงงาน ด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สงิ่ แวดล้อม ก� ำ จั ด ขยะก่ อ สร้ า งไปยั ง มุ ม เมื อ งโดยรอบ ก ลุ ่ ม ศู น ย ์ ก า ร แ พ ท ย ์ เ ฉ พ า ะ ท า ง ด ้ า น จะเป็นวิธแี ก้ปญ ั หาข้ออ้างเรือ่ งต้นทุนการขนส่ง อาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ของผูร้ บั เหมา โรงพยาบาลนพรั ต นราชธานี เตื อ นว่ า “รั ฐ ต้ อ งสร้ า งแรงจู ง ใจให้ ป ระชาชน สารจากขยะก่อสร้างจะแพร่กระจายทางอากาศ มาใช้โรงงาน และต้องออกกฎหมายบังคับ และใต้ ดิ น ก่ อ ให้ เ กิ ด โรคหลอดลมอั ก เสบ เพราะปัจจุบันไม่มีการจัดการขยะก่อสร้าง ปอดอักเสบจากสารเคมี และปลายประสาทอักเสบ อย่างจริงจัง” นางเรณู กล่าว เพราะเมื่ อ ลั ก ลอบทิ้ ง ขยะ ขยะก่ อ สร้ า ง ขณะที่ น ายสาโรจน์ พลฤทธิ์ หั ว หน้ า มี ทั้ ง ประเภทอั น ตรายและประเภททั่ ว ไป ฝ่ า ยวิ ศ วกรรม กองโรงงานก� ำ จั ด มู ล ฝอย จะปะปนกันจนจ�ำแนกประเภทไม่ได้ ส�ำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร ยอมรับว่า “รัฐควรออกนโยบายจ�ำแนกขยะอย่างจีน มีขยะก่อสร้างกว่าพันตันต่อวันจริ ง แต่ไม่มีการ แ ล ะ ญี่ ปุ ่ น ที่ ก� ำ ห น ด พื้ น ที่ ห ้ า ม ทิ้ ง ข ย ะ ก�ำจัดทีถ่ กู ต้อง และยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ รวมถึงพัฒนาแนวทางน�ำขยะกลับมาใช้ใหม่” เพราะมี ก ารลั ก ลอบทิ้ ง พร้ อ มขยะมู ล ฝอย นพ.อดุลย์ กล่าว ทางกรุงเทพฯ ก�ำลังศึกษาวิธกี ำ� จัดขยะก่อสร้าง ส่วน นางเรณู เวชรัชต์พมิ ล รองศาสตราจารย์ ภาคเอกชนและภาคครัวเรือนว่า จะต้องน�ำมาทิง้ ประจ�ำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ที่โรงงานก�ำจัดอย่างเดียว หรือสามารถน�ำไปใช้ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร ผู ้ ป ระสานงาน อย่างอืน่ ได้ แต่ยงั ระบุไม่ได้วา่ จะออกกฎหมาย เครือข่ายนักวิชาการอีเอชไอเอ เครือข่ายติดตาม ได้เมือ่ ใด ธนกร ตันติสง่าวงศ์ การจัดท�ำประเมินผลกระทบด้านสิง่ แวดล้ อ ม

คาดการณ์ขององค์การอนามัยโลก ระบุวา่ ปี 2563 โรคซึมเศร้าจะเป็นปัญหาสาธารณสุขในระดับ ต้ น ๆ ของประเทศไทย เฉพาะกรุ ง เทพฯ จะมีอัตราความชุกสูงถึงร้อยละ 5.1 ปัญหา โรคซึ ม เศร้ า ในผู ้ สู ง อายุ จึ ง อาจเพิ่ ม ขึ้ น จาก การเข้าสูส่ งั คมสูงวัย นพ.ดารุจ อนิวรรตนพงศ์ แพทย์ประจ�ำ ศูนย์ฝึกสมอง ฝ่ายจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ กล่าวว่า ประชากรของกรุงเทพฯ มีจำ� นวนมากและมีรปู แบบสังคมต่างคนต่างอยู่ จึงเข้าถึงบริการสุขภาพจิตน้อยกว่าต่างจังหวัด โดยเฉพาะผูส้ งู อายุเป็นกลุม่ ทีส่ งั เกตอาการยาก เนื่องจากกิจวัตรประจ�ำวันไม่ได้ท�ำอะไรมาก ต่างจากวัยอื่น และยังเป็นกลุ่มที่ต้องพึ่งพา ผู้อื่นท�ำให้ได้รับการรักษาช้า นางรั ช นี แมนเมธี กรรมการสมาคม สายใยครอบครัว กล่าวว่า ช่องว่างระหว่าง ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในกรุงเทพฯ กับบุคลากร ของสาธารณสุ ข มี ม ากเกิ น ไป สาธารณสุ ข ไม่ได้เข้ามาให้บริการในชุมชนทุกบ้าน ท�ำให้ เข้าไม่ถึงผู้ป่วย ด้ า น รายงานผลการปฏิ บั ติ ร าชการ

ต า ม ค� ำ รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร กรมสุขภาพจิต ประจ�ำปีงบประมาณ 2558 ระบุถึงปัญหาการให้บริการสุขภาพจิตด้าน โรคซึ ม เศร้ า ว่ า จั ง หวั ด ในเขตภาคกลาง มีการเข้าถึงบริการน้อยเนื่องจากแพทย์มีการ หมุนเวียนบ่อย นางสาวจุฑาทิพย์ วงษ์สุวรรณ หัวหน้า กลุ่มงานสุขภาพจิต กองสร้างเสริมสุขภาพ ส�ำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ยอมรับว่า คลินกิ ของสาธารณสุขขาดแคลนจิตแพทย์ อีกทั้งมี การจ้างจิตแพทย์แบบนอกเวลา จิตแพทย์สว่ น มากจึงเลือกท�ำงานในโรงพยาบาลทีไ่ ด้เงินมาก ท�ำให้มจี ติ แพทย์ไม่เพียงพอ เป็นปัญหาต่อการ ให้บริการด้วย นางสาวจุฑาทิพย์ กล่าวต่อว่า ศูนย์บริการ สาธารณสุขทัง้ 68 แห่ง มีหน้าทีใ่ ห้บริการทัง้ ในด้าน เชิงรุกและเชิงรับครอบคลุมทัว่ กรุงเทพฯ ปัญหา ของหน่วยงานคือ ไม่สามารถท�ำให้ประชาชนรูจ้ กั บริการของของสาธารณสุขได้ แต่ขณะนี้ มีบริการ ด้านการตรวจสุขภาพจิตประชาชนทัว่ กรุงเทพฯ ด้วยรถคลายเครียดเคลือ่ นที่ เพือ่ ให้ประชาชน เข้าถึงบริการมากขึน้ ขณะที่ พญ.เบ็ ญ จมาส พฤกษ์ ก านนท์ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ยุ ท ธศาสตร์ สุ ข ภาพจิ ต กรมสุขภาพจิต ชีแ้ จงว่า แผนงานหลักส�ำหรับ โรคซึมเศร้าไม่สามารถน�ำมาใช้กับกรุงเทพฯ ได้ เนื่องจากเป็นเขตปกครองพิเศษที่มีหลาย หน่วยงานดูแล แต่พยายามขอความร่วมมือจาก หลายหน่วยงาน เพือ่ ให้แผนงานทีว่ างไว้ใช้ได้ดี ยิง่ ขึน้ ในอนาคต เมื่อถามถึงแผนรับมือการเข้ารักษาโรค ซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่จะเพิ่มขึ้นจากการเข้า สู่สังคมผู้สูงอายุ พญ.เบ็ญจมาส ยอมรับว่า ยั ง ไ ม ่ ไ ด ้ เ ต รี ย ม มี เ พี ย ง ก า ร ล ง พื้ น ที่

เพื่ อ ตรวจสุ ข ภาพโดยให้ ท� ำ แบบคั ด กรอง โรคซึมเศร้าเท่านัน้ อย่างไรก็ดี กรมฯ ได้จดั ท�ำ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โครงการโรคซึม เศร้า เน้นการพัฒนาระบบคัดกรองให้มคี วามถูก ต้องและรวดเร็วยิง่ ขึน้ วางเป้าหมายว่า ผูส้ งู อายุ ในกรุงเทพฯ ต้องได้รบั การคัดกรองสุขภาพจิต ร้อย ละ 50 นอกจากนี้ กระทรวงฯ จัดท�ำหลักสูตร เวชศาสตร์ปอ้ งกัน สาขาจิตเวชศาสตร์ เพือ่ เพิม่ การ ผลิตจิตแพทย์มากขึน้ แก้ปญั หาจิตแพทย์ขาดแคลน กัลยกร ทองเต็ม

ไทยขาดแคลน จิตแพทย์ทว ั่ ประเทศ จิตแพทย์ทมี่ ยี งั กระจุกตัวในกรุงเทพฯ กว่า 309 คน ขณะที่มีสถานบริการด้าน สุขภาพจิต 18 แห่ง ทั่วประเทศ และมี 14 จังหวัด ไม่มีจิตแพทย์ประจ�ำพื้นที่ เฉพาะจิตแพทย์ในสังกัดกรมสุขภาพ จิ ต ยั ง ลดลงเฉลี่ ย 6.8 คนต่ อ ปี ตั้ ง แต่ ปี 2551-2556 ขณะที่รายงานจ�ำนวน ผู้ป่วยสุขภาพจิตในประเทศไทย ประจ�ำ ปี ง บประมาณ 2556 ของหน่ ว ยงาน เดี ย วกั น ระบุ ว ่ า มี ผู ้ เ ข้ า รั บ การรั ก ษา 925,911 คน เฉพาะโรคซึมเศร้า มีผู้ป่วย 92,597 คน เท่ากับว่า ในขณะนี้จิตแพทย์ 1 คน ต้ อ งดู แ ลผู ้ ป ่ ว ย 1,200 คน ขณะที่ ประเทศไทยมีก�ำลังผลิตจิตแพทย์เพียง ปีละ 50 - 80 คน เท่านั้น

21/1/2560 16:38:36


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สิทธิคณ ุ ภาพชีวต ิ

“เก็ บ เงิ น มาทั้ ง ชี วิ ต ซื้ อ บ้ า นราคาเกื อ บ นี่เป็น 1 ในลูกบ้านของหมู่บ้านจัดสรร 10 ล้านบาท หวังเป็นหลังสุดท้ายของชีวิต แห่ ง หนึ่ ง ใจกลางกรุ ง เทพฯ ที่ เ ขาและ แต่ผ่านไปปีกว่า ใต้บ้านเป็นโพรง บริเวณ เพื่อนบ้านอีก 330 ครัวเรือน ร้องเรียนให้ รอบบ้านทรุด” เจ้าของโครงการรับผิดชอบปัญหาบ้านทรุด

D O O F T S A F รือ? ห ิ ง ร ีจ

ด ถมดิน

ตนตอปั ญหาปวดใจ ้ 1 เดือนเสร็จ ไม่ปล่อยให้ดินอยู่ตัว ไมบดอั ด ่ ใช้ดินไม่มีคุณภาพ ไมทดสอบความแน น ่ ่

การถมดิน อยากถมดินทำอย่างไร

ถมดินเสียเงินเทาไหร ่ ่

1

* ในเขตกรุงเทพฯ ปริมณฑล ความสูง 1 เมตร พื้นที่ 10 ไร่

2 3 4

ศึกษาที่ดินที่ตองการถม ้ ระดับน้ำท่วม ระดับดินแวดล้อม ท่อระบาย น้ำสาธารณะ หากเป็นบึงบอ ่ ควรถมทิ้งไว้ 1-2 ปี เพื่อใหดิ ตตัว ้ นแนนและเซ็ ่ เคลียร์พื้นที่เตรียมถม ลอกหนาดิ อวัชพืช ้ น ไมให ่ มี ้ หญาหรื ้ บดอัดดินเดิมให้แน่น ถมดิน (ชนิดดินขึ้นอยู่กับการใช้งาน) ถมดินและบทอัดแน่นทีละชั้น ชั้นละ 30-40 ซม. ตรวจสอบความแน่นในแต่ละชั้น ถมจนได้ระดับที่ต้องการ จากนั้นปรับเกลี่ยหน้าดิน ถ้าเป็นถนนในหมู่บ้าน จะถมต่อด้วยลูกรังบทอัดแน่น 30 ซม. ถม 2 ชั้น จากนั้นถมดวย ้ หินคลุก บดอัดแน่นมาก ถมตอ ่ ด้วยดินทราย ประมาณ 5 ซม. สุดท้ายเทคอนกรีตสำเร็จ

ถมดิน 300,000 - 500,000 บาท / ไร่ ใช้เวลา 1 เดือน บดอัดดิน เพิ่ม 30,000-150,000 บาท บดอัด 1 รอบ / 20 วัน เพิ่มรอบบดอัน

รอบละ 200,000 บาท ค่าทดสอบความแน่น เพิ่ม 300,000 บาท

สถิติร้องเรียนสคบ. ปี 2556-2558

มีเรื่องรองเรี ยนหมูบ ดสรร ้ ่ านจั ้

1,142 เรื่อง

สวนใหญ เกี ่ ่ ่ยวกับความชำรุดหลัง

ปลูกสราง ้ เชน ่ ทรุด ราว ้ และชำรุด บกพรองอื ่น ๆ ่

ข้อมูลจาก: คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. | บริษทั รับเหมาถมดิน 5 ราย

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 23

แต่ได้รับการซ่อมแซมบางส่วน จนลูกบ้าน ต้ อ งร้ อ งเรี ย นส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ใช้เวลากว่า 2 ปี โครงการจึงยอมรับผิดชอบค่าซ่อมแซมทัง้ หมด 3 ป ี ที่ ผ ่ า น ม า ศู น ย ์ ข ้ อ มู ล วิ จั ย และประเมิ น ค่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ไ ทย บริ ษั ท จ� ำ กั ด เอเจนซี่ ฟอร์ เรี ย ลเอสเตท แอฟแฟร์ส ระบุวา่ ประเทศไทยมีการก่อสร้าง ทีอ่ ยูอ่ าศัยเพิม่ ขึน้ 324,142 หน่วย คิดเป็นมูลค่า กว่า 1.2 ล้านล้านบาท ผู ้ สื่ อ ข่ า วลงพื้ น ที่ ส อบถามผู ้ รั บ เหมา และคนงานก่ อ สร้ า งหมู ่ บ ้ า นจั ด สรรใน กรุ ง เทพฯ รั ง สิ ต ปทุ ม ธานี บางบั ว ทอง และบางใหญ่ ถึงวิธกี ารก่อสร้าง ได้รบั ค�ำตอบว่า มี ก ารถมดิ น และบดอั ด ในระยะสั้ น ไม่ ถึ ง 100 วัน ต่างจาก 10 ปีทแี่ ล้วทีถ่ มทิง้ นาน 1 - 2 ปี ผู ้ รั บ เ ห ม า ก ่ อ ส ร ้ า ง บ ้ า น จั ด ส ร ร ย่านปทุมธานีคนหนึ่ง เปิดเผยว่า ผู้รับเหมา มั ก ถู ก บี บ ให้ ส ร้ า งบ้ า นให้ เ สร็ จ โดยเร็ ว ด้ ว ยค่ า แรงขั้ น ต�่ ำ หากผู ้ รั บ เหมาสร้ า งช้ า ค่าแรงคนงาน และค่าวัตถุดิบจะบานปลาย ท� ำ ให้ ข าดทุ น จึ ง ต้ อ งเร่ ง ถมดิ น ให้ เ สร็ จ ภายใน 2 เดือน จากปกติใช้เวลา 3 เดือน ส่วนการสร้างบ้านต้องได้เฉลีย่ 15 หลัง ใน 1 เดือน เช่นเดียวกับ เจ้าของหมูบ่ า้ นจัดสรรคนหนึ่ง ย่านบางบัวทอง ยอมรับว่า ถมดินใช้เวลา ไม่เกิน 3 เดือน ส่วนตัวบ้านใช้โครงสร้างส�ำเร็จ เพื่ อ ขายให้ เ ร็ ว ที่ สุ ด แข่ ง กั บ โครงการอื่ น ดอกเบีย้ เงินกูจ้ ะได้ไม่พอกพูน ขณะที่ สถาปนิกออกแบบหมู่บ้านจัดสรร รายใหญ่คนหนึ่ง กล่าวว่า ปัจจุบันหมู่บ้าน จัดสรรใช้เวลาสร้างเฉลีย่ 3 เดือน เร็วขึน้ 6 เท่า จากอดี ต ถมดิ น ใช้ เ วลาไม่ เ กิ น 1 สั ป ดาห์ ตอกเสาเข็ ม แบบไม่ มี ฐ านราก ผู ้ รั บ เหมา ใส่สารเร่งปฏิกิริยาให้คอนกรีตแข็งตัวเร็วขึ้น ส่วนโครงสร้างบ้านเป็นแบบส�ำเร็จรูป เมื่ อ ตรวจสอบเรื่ อ งร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ กั บ สคบ. ได้ รั บ ค� ำ ตอบว่ า ในช่ ว ง 3 ปี ที่ ผ ่ า นมา มี เ รื่ อ งร้ อ งเรี ย น หมู ่ บ ้ า นจั ด สรร 1,142 เรื่ อ ง เกี่ ย วกั บ ความช� ำ รุ ด หลั ง ปลู ก สร้ า ง เช่ น ทรุ ด ร้ า ว และช�ำรุดบกพร่องอืน่ ๆ นายธี ร วั ฒ น์ เบ็ ญ จคาร ทนายความ ผูเ้ คยท�ำคดีหมูบ่ า้ นจัดสรร เผยว่า คดีทพี่ บบ่อย คือ การร้องเรียนว่าหมู่บ้านถมดินไม่ได้ระดับ และไม่มกี ารบดอัดแน่น ท�ำให้ดนิ ยุบตัว “แต่กฎหมายไม่มีข้อก�ำหนดระยะเวลา การถมดิน จึงเป็นช่องทางให้ผู้ประกอบการ ลั ด ขั้ น ตอน การตรวจสอบระดั บ ความสู ง แ ล ะ ค ว า ม แ น ่ น ข อ ง ดิ น ยั ง ท� ำ ไ ด ้ ย า ก เป็นเหตุให้เจ้าหน้าทีล่ ะเลยการตรวจทีถ่ กู ต้อง ตามหลักวิชาการ” นายธีรวัฒน์ กล่าว นายสิ ริ วั ฒ น์ ไชยชนะ เลขาธิ ก าร ผู ้ แ ทนวิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ (วสท.) กล่ า วว่ า การถมดิ น แบบบดอั ด ต้ อ งบดอั ด เป็ น ชั้ น ชั้นละไม่เกิน 20 - 30 เซนติเมตร ต้องใช้ ดิ น ดี จ� ำ นวนมาก และมี ก ารตรวจสอบ ความแน่นในแต่ละชัน้ ปล่อยทิง้ ไว้ 1 - 2 เดือน เพื่อตรวจการยุบตัวของดิน หากพื้นที่กว้าง จะใช้เวลานานขึ้น แต่ผู้ประกอบการมักใช้ รถสิ บ ล้ อ เหยี ย บดิ น แทนการใช้ ร ถบดอั ด เ พื่ อ ล ด ค ่ า ใ ช ้ จ ่ า ย ท� ำ ใ ห ้ ดิ น ท รุ ด ตั ว แต่ ไ ม่ ผิ ด กฎหมาย เพราะไม่ มี ข ้ อ บั ง คั บ ในการถมดิ น เพี ย งใช้ ห ลั ก วิ ศ วกรรม เข้ามาควบคุม “การถมดินภายใน 2 เดือน ท�ำได้ แต่ไม่ดี เพราะจะมี ป ั ญ หาการทรุ ด ตั ว ภายหลั ง ” นายสิรวิ ฒ ั น์ กล่าว นายสุพจน์ ศรีนลิ รองศาสตราจารย์ประจ�ำ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์

23

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบั ง กล่ า วว่ า หลั ง จากรั ฐ อนุ ญ าต ให้ ผู ้ ป ระกอบการสร้ า งได้ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ต รวจ และควบคุมการก่อสร้าง “จะสร้ า งบ้ า นให้ ป ลอดภั ย ต้ อ งถมดิ น ไว้ 1 - 2 ปี ปัจจุบันหลายโครงการถมดิน และรีบบดอัด เร่งท�ำภายในเวลาไม่ถงึ 6 เดือน บางโครงการใส่สารเร่งให้คอนกรีตแข็งตัวเร็ว ผลคื อ บ้ า นทรุ ด ตั ว หรื อ ร้ า วภายหลั ง ” นักวิชาการด้านวิศวกรรมโยธา กล่าว นายชนินทร์ ธรรมชูเชาวรัตน์ นายกเทศมนตรี ต� ำ บลเสาธงหิ น อ� ำ เภอบางใหญ่ จั ง หวั ด นนทบุรี ยอมรับว่า เทศบาลลงพืน้ ทีต่ รวจสอบ การก่อสร้างเฉลีย่ เดือนละครัง้ แต่ไม่ละเอียดนัก เนือ่ งจากมีโครงการจ�ำนวนมาก และส่วนกลาง ยังไม่มีมาตรการให้ท้องถิ่นยึดเป็นแนวทาง ตรวจสอบบ้านจัดสรร แต่หากเกิดปัญหาขึ้น ผูป้ ระกอบการต้องรับผิดชอบเอง ด้าน นายสุวทิ ย์ วิจติ รโสภา ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักแผนและการพัฒนาการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค สคบ. กล่าวว่า ก�ำลังศึกษาแนวทางปรับปรุง กฎหมายอสังหาริมทรัพย์ ร่วมกับกรมที่ดิน กรมโยธาธิการและผังเมือง วิศวกรรมสถานฯ และประสานความร่ ว มมื อ ในการลงตรวจ โครงการ ทั้ ง ผู ้ ป ระกอบการกั บ เจ้ า หน้ า ที่ ต้องร่วมมือกันให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค คาดว่าจะเสร็จภายในปี 2560 ขณะที่ นายชูศกั ดิ์ ศรีอนุชติ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักส่งเสริมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ กรมทีด่ นิ ชี้ แ จงว่ า กรมที่ ดิ น ไม่ มี ห น้ า ที่ ต รวจสอบ การก่ อ สร้ า งตั ว บ้ า นและบริ เ วณรอบบ้ า น แต่เป็นหน้าทีข่ องท้องถิน่ ทัง้ นี้ การแก้ปญั หาการ ก่อสร้างบ้านจัดสรรไม่ได้คณ ุ ภาพ ต้องร่วมมือ กับกรมโยธาธิการและผังเมือง ท้องถิน่ หรือเขต มาช่ ว ย เพราะกรมที่ ดิ น ไม่ ส ามารถดู แ ล ได้ทงั้ หมด

7

สิง ่ ต้องดู

ก่อนซือ ้ บ้านจัดสรร 1.ตรวจสอบว่ า ที่ ดิ น แปลงนี้ ใ คร เป็นผูค้ รอบครอง มีภาระผูกพันใด ๆ หรือไม่ 2.ตรวจสอบหลั ก ฐานทางกฎหมาย เช่น โฉนดทีด่ นิ เป็นสิทธิของผูข้ ายโดยสมบูรณ์ ราชการมีโครงการที่จะด�ำเนินการใด ๆ ในบริเวณที่ดินหรือไม่ อยู่ในพื้นที่สีอะไร เริม่ ก่อสร้างและเสร็จเมือ่ ไหร่ 3.ชื่ อ ที่ อ ยู ่ ผู ้ จั ด สรร ทุ น จดทะเบี ย น ชื่ อ กรรมการผู ้ จั ด การในโครงการ ฐานะทางการเงินมั่นคงหรือไม่ โครงการ ทีผ่ า่ นมาเป็นอย่างไร เคยถูกร้องเรียนหรือไม่ โอนทีด่ นิ ตรงตามก�ำหนดหรือไม่ 4.มีใบอนุญาตการจัดสรรที่ดินหรือไม่ มี ภ า ร ะ ผู ก พั น กั บ ธ น า ค า ร ห รื อ ไ ม ่ สอบประวัตวิ า่ ทีด่ นิ ตรงนีเ้ คยเป็นแบบไหน เ ป ็ น ส ร ะ น�้ ำ ห รื อ ผื น ดิ น ธ ร ร ม ด า เพราะมีผลต่อการถมดินใหม่ลงทับหน้า ดิน ซึง่ ถ้าเป็นลักษณะดังกล่าวต้องใช้เวลา ในการถมดินเป็นปี 5.มี เ ส้ น ทางเข้ า -ออกสะดวก มี ร ะ บ บ ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค ที่ ค ร บ ค รั น ไม่อ ยู ่ ใ นย่ า นเสื่ อ มโทรม 6.การตรวจรับมอบบ้าน อาจจ้างผูต้ รวจ ที่ มี ค วามรู ้ ค วามช� ำ นาญมาตรวจดู เ อง เพื่ อ ความถู ก ต้ อ งและแม่ น ย� ำ มากขึ้ น มีคา่ ใช้จา่ ยประมาณ 3,000-5,000 บาท 7 . เ ก็ บ ห ลั ก ฐ า น ก า ร เ ซ็ น สั ญ ญ า การโอนเงิ น และการโฆษณาให้ ค รบ เพื่อเวลามีปัญหาสามารถฟ้องร้องได้ ศรัณยา ตัง ้ วรเชษฐ

21/1/2560 16:38:38


24

| ลูกศิลป์

สิทธิก ิ ารสัญจร

ออนไลน์และกล้องวงจรปิดเข้ามาก�ำกับการตรวจ สภาพเพื่อป้องกันไม่ให้มีการเลี่ยงขั้นตอนการ ตรวจสภาพจริง แต่ในอนาคตตรอ. ทุกแห่งจะ ต้องมีอปุ กรณ์เชือ่ มต่อข้อมูลจากเครือ่ งมือตรวจ สภาพโดยตรงเพื่อบันทึกข้อมูลส่งมายังกรมฯ ทันที และช่วยประหยัดเวลาเจ้าของรถยนต์เก่าให้ สามารถต่อภาษีได้ทนั ทีหลังผ่านการตรวจ และ ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ใบรับรองการตรวจอีกต่อไป” นายสนิท กล่าว ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมีรถยนต์บนถนน กว่า 37 ล้านคัน ในจ�ำนวนนีม้ ี 18 ล้านคันหรือ กว่าครึง่ หนึง่ ของรถยนต์ทงั้ ประเทศทีเ่ ป็นรถยนต์ เก่าอายุการใช้งานเกิน 7 ปี ซึง่ ตามพ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ. 2522 รถยนต์เก่าเหล่านีต้ อ้ งผ่านการตรวจ สภาพและการปล่อยมลพิษจากสถานตรวจ สภาพรถเอกชน (ตรอ.) ก่อนต่อภาษีรถยนต์ ทว่า มีการเลีย่ งขัน้ ตอนการตรวจสภาพโดยการ จ่ายเงินใต้โต๊ะ เมือ่ สอบถามกับนายช่างตรอ. หลายคนต่าง ยอมรับว่า ไม่ได้นำ� รถขึน้ ตรวจสภาพจริง แต่ใช้ วิธนี ำ� กระดาษแก้วขูดเลขตัวถัง เพือ่ ยืนยันการ ตรวจสภาพแทน เพราะไม่ตอ้ งการเสียค่าซ่อม บ�ำรุงเครือ่ งมือทดสอบทีม่ รี าคาเกือบล้านบาท วิธีนี้ท�ำให้เจ้าของรถยนต์เก่าสามารถต่อภาษี รถได้เช่นกัน มีคา่ ใช้จา่ ยเพียง 200 - 300 บาท ใช้เวลาเพียง 15 นาที จากการตรวจจริงที่ใช้ เวลาเกือบ 2 ชัว่ โมง “อู่ส่วนใหญ่ยังไม่มีระบบเชื่อมโยงข้อมูล ผลการตรวจสอบไปยังกรมการขนส่งทางบก บ้างอ้างว่าสัญญาณเครือข่ายมีปญ ั หาจึงส่งข้อมูล ให้ไม่ได้ จนสามารถเลีย่ งการตรวจซ�ำ้ จากกรมฯ ได้” นายช่างตรอ. คนหนึง่ ระบุ ด ้ า น น า ย พ ร ห ม มิ น ท ร ์ กั ณ ธิ ย ะ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ กระทรวงสาธารณสุข ตัง้ ข้อสังเกตว่า มีชอ่ งโหว่ ในการก�ำกับการตรวจสภาพรถยนต์ของตรอ. กล่าวคือ ไม่มรี ะบบเชือ่ มโยงผลการตรวจสอบให้ กรมขนส่งทางบกตรวจสอบข้อมูลซ�ำ้ เครือข่ายฯ พบว่า มีรถยนต์ถงึ 4 ใน 10 คัน ทีเ่ ลีย่ งขัน้ ตอน การตรวจสภาพ ขณะเดี ย วกั น งานวิ จั ย การสื บ สวน อุ บั ติ เ หตุ ท่ี มี เ หตุ จ ากสภาพรถ ปี 2558

เมื่ อ ต้ น เดื อ นเมษายนที่ ผ ่ า นมา ผู ้ ใ ช้ รถจักรยานยนต์กว่า 57,000 คน รวมตัวกัน ตัง้ กลุม่ ‘ปลดแอกชาวสองล้อ’ ขึน้ บนเฟซบุก๊ เพือ่ ส่งเสียงถึงฝ่ายรัฐให้ทราบปัญหาของกลุม่ ผูใ้ ช้รถ จักรยานยนต์ ตลอดจนมีแนวทางแก้ไขทีค่ ำ� นึงถึง สิทธิการเดินทางอย่างสะดวกและปลอดภัย ในฐานะทีเ่ ป็นผูใ้ ช้ทางสาธารณะ เช่นเดียวกับ ผู ้ ขั บ ขี่ พ าหนะประเภทอื่น ๆ ไม่ว ่าจะเป็น การแก้ไขพ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 หรือ การก�ำหนดเกณฑ์การใช้ถนนหรือสะพาน ทีร่ ฐั ปิดกัน้ ไม่ให้ใช้งาน ปีทผี่ า่ นมา ตามสถิตขิ องกรมการขนส่งทางบก ประเทศไทยมีผใู้ ช้จกั รยานยนต์ 20,296,939 คัน คิดเป็น ร้อยละ 56 ของจ�ำนวนรถทัง้ ประเทศ ที่มีจ�ำนวน 35,925,759 คัน ขณะเดียวกัน มีข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุ ว่า ปี 2558 รถจักรยานยนต์เป็นพาหนะทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุ อันดับ 1 จ� ำ นวน 302,980 ราย หรื อ ร้ อ ยละ 97 ของอุบตั เิ หตุทางถนนทัง้ หมด นายภีรสิทธิ์ จิระวงศ์ไพศาล หัวหน้ากลุ่ม ปลดแอกชาวสองล้อ กล่าวว่า ทุกวันนีก้ ฎหมาย

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 24

ศู น ย์ วิ จั ย อุ บั ติ เ หตุ แ ห่ ง ประเทศไทย พบว่ า รถทีม่ อี ายุมากมีความเสีย่ งในการเกิดอุบตั เิ หตุ มากกว่าแม้ผขู้ บั ช�ำนาญ เนือ่ งจากโครงสร้างตัว ถังเก่าและขึ้นสนิมจึงไม่สามารถควบคุมได้ใน ภาวะฉุกเฉิน เช่นเดียวกับ รายงานสาเหตุอบุ ตั เิ หตุจราจร ทางบก ปี 2558 ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ระบุวา่ อุบตั เิ หตุ 82,019 ครัง้ ล้วนมีสาเหตุจาก อุปกรณ์ในรถขัดข้องเป็นอันดับ 1 ถึง 9,925 ครัง้ หรือร้อยละ 12 นายณั ฐ พงศ์ บุ ญ ตอบ นั ก วิ จั ย อาวุ โ ส มู ล นิ ธิ ไ ทยโรดส์ กล่ า วว่ า ประเทศไทย ไม่ มี ก ฎหมายจ� ำ กั ด อายุ ร ถยนต์ ยิ่ ง รถเก่ า ยิ่งเสียภาษีถูก ขณะที่ต่างประเทศ ยิ่งรถเก่า ยิง่ เสียภาษีแพงเพือ่ จูงใจให้เลิกใช้ และรัฐก็เน้น แก้ ป ั ญ หาจราจรติ ด ขั ด มากกว่ า มี น โยบาย ลดจ�ำนวนรถยนต์ ผูส้ อื่ ข่าวตรวจสอบแผนอนุรกั ษ์พลังงาน 20 ปี (พ.ศ. 2554 - 2573) กระทรวงพลังงาน พบว่า ได้ ระบุถงึ การสนับสนุนกระทรวงการคลังปรับภาษี ให้ประชาชนเลือกใช้รถประหยัดพลังงาน แต่ไม่มี การกล่าวถึงแนวทางเพือ่ ลดจ�ำนวนหรือจัดการ รถยนต์เก่าแต่อย่างใด นายสนิท พรหมวงษ์ อธิบดีกรมการขนส่ง ทางบก กระทรวงคมนาคม ชีแ้ จงว่า กรมฯ มีมาตรการ ก�ำกับตรอ. อย่างเข้มงวด หากพบตรอ. กระท�ำผิดจะ ยกเลิกใบอนุญาตทันที ในเดือนธันวาคมยกเลิกไปแล้ว 3 ราย และรอพิ จ ารณาความผิ ด อี ก กว่ า 234 ราย ด้านเจ้าของรถที่ผ่านมามีการน�ำ ใบรับรองการตรวจปลอมมาต่อภาษีอยู่บ้าง ซึง่ หากพบจะไม่สามารถต่อได้และมีความผิดฐานใช้ เอกสารปลอม “เดือนกรกฎาคม ทีผ่ า่ นมา กรมฯ น�ำระบบ

ก�ำหนดให้จักรยานยนต์ต้องขี่ช่องทางซ้ายสุด ซึ่ ง มี ทั้ ง รถสาธารณะ รถสิ บ ล้ อ รถพ่ ว ง ฝาท่อระบายน�ำ้ และหลุมบ่อ ท�ำให้รถเล็กอย่าง จักรยานยนต์เสีย่ งอุบตั เิ หตุ นายสรวิศ นฤปิติ รองศาสตราจารย์ประจ�ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า แม้ประเทศไทยจะออกแบบถนน ตามมาตรฐานสากล แต่ ใ นต่ า งประเทศ ไม่มรี ถจักรยานยนต์มากเท่าประเทศไทย ผลคือ เกิดปัญหาในการใช้งานจริง เช่น จักรยานยนต์ ต้องหยุดรอไฟแดงระหว่างตัวรถหรือโดนเบียด ไปอยู ่ ข อบทาง หรื อ การขั บ ขี่ ต ้ อ งลั ด เลาะ ไปตามตัวรถ เพราะรถยนต์เต็มถนน จึงก่อให้เกิด อุบตั เิ หตุขนึ้ “จักรยานยนต์มีสิทธิใช้ถนนเท่ากับคนอื่น แต่การออกแบบกลับไม่ได้คำ� นึงถึงเขาเท่าไหร่” นายสรวิศ กล่าว ขณะที่ นายณัฐพงศ์ บุญตอบ นักวิจยั อาวุโส ของมูลนิธิไทยโรดส์ อธิบายว่า การออกแบบ ถนนในประเทศไทยท�ำแบบเดิมมาเกือบ 30 ปี ไม่พฒ ั นาให้รองรับกับผูใ้ ช้ถนนทีม่ จี ำ� นวนมากขึน้

อนึง่ กระทรวงคมนาคมก�ำลังอยูร่ ะหว่างการร่าง ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ซึง่ เป็นแผนแม่บท ภาคยานยนต์ฉบับใหม่มสี าระส�ำคัญคือ เพิม่ สัดส่วน ผูใ้ ช้ระบบขนส่งสาธารณะในการเดินทางภายในปี 2579 ให้ได้รอ้ ยละ 50 จากร้อยละ 31 ในปี 2558 เพือ่ ลดการใช้รถยนต์สว่ นบุคคล และก�ำกับให้ตรวจ สภาพอย่างเข้มงวด โดยชีว้ ดั ด้วยรายงานอุบตั เิ หตุที่ มีเหตุจากสภาพรถ

พัฒนามุ่งเน้นการขนส่ง พลิกวิกฤตรถล้นประเทศ แนวคิดการพัฒนามุง่ เน้นการขนส่ง หรือ Transit Oriented Development (TOD) คือ กระบวนการส่งเสริมวาง ระบบขนส่งมวลชน พืน้ ทีส่ าธารณะรอบสถานีขนส่งมวลชน และ ผังเมืองรวมให้มสี ภาพแวดล้อมทีด่ ี ปรับปรุง สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกและทางเดิ น ให้ มี คุณภาพสูง ทีส่ ำ� คัญคือ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและ ระบบขนส่งมวลชนที่มีอยู่เพื่อผลักดันให้มี ผูใ้ ช้บริการมากขึน้ ทั้งหมดนี้เพื่อลดความแออัดของเมือง จากการใช้รถ ตัวอย่างเมืองที่นานาประเทศยอมรับว่า ประสบความส�ำเร็จในการลดจ�ำนวนรถยนต์มาก ทีส่ ดุ คือ ‘คูรติ า’ ประเทศบราซิล ในปี 2517 ได้เริ่มโครงการพัฒนาระบบรถโดยสารด่วน พิเศษเป็นครัง้ แรกของโลก โดยออกแบบระบบ ขนส่งมวลชนใหม่เพื่อเชื่อมโยงทุกส่วนของ เมือง ก่อนออกเทศบัญญัตขิ นึ้ ภาษีรถยนต์เก่า เป็นขัน้ บันได ผลคือ สามารถลดการใช้รถได้ 27 ล้าน เทีย่ วต่อปี มากกว่าเมืองอืน่ ๆ ทีม่ ขี นาดใกล้ เคียงกันในบราซิลถึงร้อยละ 30 และมีคนเดิน เท้าไม่นอ้ ยกว่า 150 นาที ต่อสัปดาห์ ในย่าน ทีเ่ อือ้ ต่อการเดิน ย้อนดูประเทศไทย มีรถยนต์บนท้องถนน กว่า 37 ล้านคัน ในจ�ำนวนนีม้ ี 18 ล้านคัน เป็นรถยนต์เก่าอายุการใช้งานเกิน 7 ปี ไม่มี มาตรการภาษีรถยนต์เก่า

แม้จะมีพ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 เพือ่ ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจาก ซากรถยนต์หลังการใช้ แต่มีโทษปรับแค่ 2,000 บาท และไม่ก�ำหนดให้ต้องจัดการ ซากรถยนต์ต่ออย่างไร อดิศักดิ์ กันทะเมืองลี้ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวย การศู น ย์ อ อกแบบและพั ฒ นาเมื อ ง ชี้ ว ่ า หากโครงสร้ า งพื้ น ฐานไม่ เ อื้ อ ให้ ล ดการ ใช้รถยนต์ แม้จะมีนโยบายใด ๆ ออกมา ก็จะไม่เป็นผล จึงจ�ำเป็นต้องพัฒนาระบบ ขนส่ ง มวลชนให้ เ ชื่ อ มโยง และควบคุ ม ค่าโดยสารไม่ให้สูงเกินไป ก่อนใช้มาตรการ ทางภาษี เช่น ในต่างประเทศ “ญี่ปุ่นสามารถลดการใช้รถส่วนตัวได้ เพราะมีระบบขนส่งมวลชนที่ดี และกดดัน ผู้ใช้ด้วยการก�ำหนดค่าจอดรถให้มีราคาสูง และหากไม่มที จี่ อดจะไม่สามารถซือ้ รถได้” ข ณ ะ ที่ ชั ย วั ฒ น ์ ท อ ง ค� ำ คู ณ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานนโยบายและแผนการ ขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม บอกว่า ขณะนี้ก�ำหนดอัตราภาษีใหม่ตามการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และการออกฉลาก รถยนต์ประหยัดพลังงาน ไปแล้ว “ส่วนเรื่องการก�ำหนดมาตรการเพื่อ น�ำไปสูเ่ ป้าหมายการขนส่งทีย่ งั่ ยืน (ลดการใช้ รถส่วนตัว) และการลดการใช้พลังงานยัง เป็นความท้าทายอยู่มากเพราะสวนทางกับ การเดินทางทีเ่ พิม่ มากขึน้ ทุกปี” วุฒพ ิ งษ์ วงษ์ชย ั วัฒนกุล

และไม่ได้คำ� นึงถึงผูใ้ ช้รถประเภทอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่ รถยนต์ ไม่เหมือนกับต่างประเทศที่ค�ำนึงถึง ทุกกลุม่ รวมไปถึงคนเดินเท้า ผลคือเกิดอุบตั เิ หตุ กับรถจักรยานยนต์อยูบ่ อ่ ยครัง้ นายณั ฐ พงศ์ เสนอว่ า ประเทศไทย ควรใส่ใจกับการออกแบบถนนมากขึ้น เช่น ตรวจสอบบริเวณก่อสร้างว่ามีรถประเภทใดบ้าง ที่ วิ่ ง มี จ� ำ นวนเท่ า ไร มี ก ารใช้ ง านอย่ า งไร เพื่อให้ปลอดภัยกับผู้ใช้ถนนทุกกลุ่ม ทราบว่า ขณะนี้รัฐเพิ่งน�ำหลักออกแบบถนนที่ค�ำนึงถึง ความปลอดภัยของรถทุกประเภทไปพิจารณา นายอดิ ศั ก ดิ์ กั น ทะเมื อ งลี้ ผู ้ ช ่ ว ย ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ออกแบบและพัฒนาผังเมือง กล่าวว่า ควรปรับปรุงผังเมืองและวางระบบ ขนส่ ง สาธารณะให้ เ ชื่ อ มโยงกั น เป็ น ระบบ เพื่อลดการใช้รถยนต์ส่วนตัวลง ซึ่งจะช่วย ลดอุ บั ติ เ หตุ ไ ด้ ส ่ ว นหนึ่ ง พร้ อ มกั บ เข้ ม งวด เรือ่ งความปลอดภัยในการขับขีด่ ว้ ย ด้าน นายสฤษฏ์พงศ์ บริบรู ณ์สขุ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักแผนความปลอดภัย ส�ำนักงานนโยบาย และแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ยอมรับว่า

สภาพแวดล้ อ มของถนนมี ส ่ ว นก่ อ ให้ เ กิ ด อุบตั เิ หตุ เช่น ไฟทางไม่สว่างพอ ต้นไม้ขา้ งทาง ซึง่ ต้องทยอยปรับปรุง ส่วนการออกแบบถนน ยอมรั บ ว่ า บางแห่ ง มี ข ้ อ จ� ำ กั ด เชิ ง พื้ น ที่ เช่น ลาดชัน ทางโค้ง หรือทางแคบ แต่ก็ติด ป้ายเตือนเพิ่มขึ้น และได้ขยายความกว้าง ของขอบทางบางจุ ด เพื่ อ ให้ จั ก รยานยนต์ ไม่ซกิ แซกออกมาช่องทางอืน่ “เคยเสนอให้มีช่องทางรถจักรยานยนต์ โดยเฉพาะในเขตเมื อ งหรื อ เขตชุ ม ชนแล้ ว แต่ผู้รับผิดชอบปฏิเสธว่า ยังไม่ส�ำคัญ วันนี้ มีจักรยานยนต์ 20 ล้านคันจากรถทั้งหมด 35 ล้านคัน จะบอกว่าไม่ใช่เรือ่ งส�ำคัญไม่ได้” นายสฤษฏ์พงศ์ กล่าว อย่ า งไรก็ ต าม นายสั น ติ ภ าพ ศิ ริ ย งศ์ ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม พั ฒ นาวิ ศ วกรรมจราจร ส�ำนักอ�ำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท ชีแ้ จงว่า ได้แก้ไขจุดอันตรายอยูต่ ลอด ทัง้ จาก การสังเกตจากบริเวณทีม่ สี ถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุ มาก และรับรายงานบริเวณทีเ่ สีย่ งเกิดอุบตั เิ หตุ และก�ำลังจะน�ำรถติดกล้องวิง่ ส�ำรวจทัว่ ประเทศ เพื่อเก็บข้อมูลสภาพถนน และใช้โปรแกรม วิเคราะห์ความเสีย่ งต่าง ๆ ในการเกิดอุบตั เิ หตุ ก่อนจะแก้ไขให้ถนนปลอดภัยขึน้ บุญญฤทธิ์ จรเสนาะ

21/1/2560 16:38:41


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

สิทธิทางเศรษฐกิจ

25

เปิดวงจรอุบาทว์ กองทุนเงินล้านท�ำพิษ

นักเศรษฐศาสตร์จวกรัฐไร้นโยบายสร้างรายได้ควบคู่ “ไปกูเ้ งินกองทุนฯ มา 30,000 บาท ถึงเวลา ไม่มใี ห้ จนมีเรือ่ งมีราว กรรมการมัดมือไปเอา เงินนอกระบบมาจ่ายให้ แต่เจ้าหนีใ้ หม่กลับทวง จะเอาเดีย๋ วนี้ สุดท้ายสามีกค็ ดิ ว่าตายแล้วลูกเมีย จะสบาย” นางพร (นามสมมติ) อายุ 40 ปี ผูเ้ ผชิญ ชะตากรรมรั บ หน้ า ที่ ช� ำ ระหนี้ แ ทนสามี ที่ปลิดชีพตนเอง โดยหวังน�ำเงินประกันจาก กองทุนหมูบ่ า้ น (กองทุนฯ) มาจ่ายหนีน้ อกระบบ ทีก่ มู้ าคืนกองทุนฯ อีกทอดหนึง่ เพราะงานรับ เหมาขาดทุน ไม่มเี งินจ่ายคืน ก่อนหน้านี้ สามีของนางพร ขอผ่อนผัน จากกรรมการกองทุนฯ แต่เกิดมีปากเสียงกัน อย่างรุนแรง ต่อมาได้นดั ไกล่เกลีย่ ทีบ่ า้ นผูใ้ หญ่ บ้านหนึง่ ในกรรมการกูเ้ งินนอกระบบมาช�ำระให้ จนเป็นหนีน้ อกระบบและถูกทวงเงินอย่างหนัก เมือ่ ถูกกดดันหลายทาง เขาซึมเศร้าไม่พดู ไม่จา 3 - 4 วัน ก่อนจะฆ่าตัวตาย เป็นเวลามากกว่า 10 ปี ตั้งแต่รัฐบาล นายทั ก ษิ ณ ชิ น วั ต ร ปี 2544 ถึ ง รั ฐ บาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่นโยบายการ ให้ สิ น เชื่ อ กองทุ น หมู ่ บ ้ า นและชุ ม ชนเมื อ ง (กองทุนหมู่บ้านฯ) สนับสนุนให้ชุมชนเข้าถึง แหล่งเงินทุน โดยวัตถุประสงค์ตามพ.ร.บ.กองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ระบุวา่ เพือ่ ให้มเี งินหมุนเวียนส�ำหรับสร้างงาน และอาชีพ บรรเทาความเดือดร้อน สร้างความ เข้มแข็งให้เศรษฐกิจของหมูบ่ า้ นและชุมชนเมือง ล่าสุด วันที่ 1 กันยายน 2558 ทีป่ ระชุม คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบมาตรการส่งเสริม ความเป็ น อยู ่ ข องประชาชนผู ้ มี ร ายได้ น ้ อ ย หนึ่งในนั้นคือ มาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ ระดับหมูบ่ า้ น โดยให้สนิ เชือ่ กับกองทุนฯ กองทุน ละไม่เกิน 1 ล้านบาท ภายใต้เงือ่ นไขไม่ให้กอง ทุนฯ กูห้ นีใ้ หม่เพือ่ น�ำไปช�ำระหนีเ้ ดิม และให้ ธนาคารออมสินและธนาคารเพือ่ การเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เป็นผูด้ ำ� เนินการ รายงานการศึ ก ษากองทุ น หมู ่ บ ้ า นและ ชุมชนเมืองแห่งชาติ ของส�ำนักงบประมาณ ของรัฐสภา ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทน ราษฎร ปี 2558 ระบุว่า หนึ่งในปัญหาของ กองทุนฯ คือ กระบวนการกู้ยืม ผู้กู้ยืมใช้เงิน ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ หากกอง ทุนฯ ที่บริหารจัดการไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มี ระบบการติดตามควบคุมดูแลโครงการอย่างต่อ เนือ่ ง จะท�ำให้วงจรหนีพ้ อกพูนเพิม่ ขึน้ เกิดปัญหา การกู ้ ห นี้ น อกระบบ เพื่ อ น� ำ มาช� ำ ระหนี้ กองทุนฯ เกิดหนีซ้ ำ�้ ซ้อนและต่อเนือ่ งเป็นวงจร นายพงศกร มงคลหมู่ นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบางจระเข้ จ.พระนครศรีอยุธยา และ อดีตกรรมการกองทุนฯ ยืนยันว่า ทุกกองทุนฯ มีปัญหากู้นอกระบบมาจ่ายหนี้กองทุนฯ จริง ต�ำบลของตนก็เช่นกัน แต่ไม่ประสบปัญหาเรือ่ ง ดอกเบีย้ โหด กระทัง่ ตนเองก็เคยเป็นนายทุนแต่ ไม่คดิ ดอกเบีย้ เพือ่ ช่วยเหลือผูก้ รู้ ายเก่าสามารถ กูเ้ งินในปีถดั ไปและปิดบัญชีในปีนนั้ นายพงศกร กล่าวต่อว่า ปัญหาดังกล่าว มี ม าตั้ ง แต่ ป ี แ รกและเป็ น มาตลอด รั ฐ บาล ก็ ท ราบ แต่ ถ ้ า ไม่ มี เ งิ น กู ้ น อกระบบมาพยุ ง กองทุนฯ จะล้ม รัฐให้มา 1 ล้านบาท โดย

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 25

ไม่ดขู นาดหมูบ่ า้ น ขนาดเล็กก็ได้ 1 ล้านบาท เมื่ อ ไม่ มี ม าตรการอะไรมารองรั บ แม้ ว ่ า ส� ำ นั ก งานกองทุ น หมู ่ บ ้ า นและชุ ม ชนเมื อ ง แห่งชาติ (สทบ.) ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย จะส่งนิติกรอ�ำเภอมาให้ความรู้กับชาวบ้าน แต่สดุ ท้ายไม่มเี งินคืน ทุนก็สญ ู เปล่า เช่ น เดี ย วกั บ นางกนกวรรณ ยิ่ ง มานะ ประธานกองทุนฯ หมูท่ ี่ 1 อ.เสนา ยอมรับว่า กองทุนฯ ที่ล้มคือกองทุนฯ ที่ไม่มีการกู้เงิน นอกระบบเข้ามาช่วย เช่น กองทุนฯ ละแวก ใกล้เคียงกับตนล้มไปแล้ว 3 แห่ง และบางแห่งที่ ไม่มนี ายทุนช่วย ผูก้ บู้ างรายไม่สามารถหาเงินมา จ่าย ธนาคารจะไม่ออกเงินก้อนใหม่ให้ ปัญหาที่ ตามมาคือการรวมหัวกันไม่สง่ เงินคืน ด้าน นางสุกานดา เหลืองอ่อน ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ป ระจ� ำ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า วงจรทีว่ า่ นี้ เรียกว่า ผลัดผ้าขาวม้า เมือ่ มีเงินมาให้กเ็ อาไป แต่เมือ่ ถึงก�ำหนดช�ำระกลับตัง้ กฎว่า หากไม่มเี งิน มาคืนจะไม่มสี ทิ ธิก์ อู้ กี ดังนัน้ ชาวบ้านจะพยายาม หาเงินทุกทางเพือ่ ไปช�ำระ ทัง้ จากนายทุนคนใน หมูบ่ า้ น จึงเกิดเป็นวงจรการหมุนหนี้ นางสุกานดา กล่าวต่อว่า นโยบายนีม้ ขี อ้ ดี คือ สามารถเข้าถึงคนจ�ำนวนมากได้ แต่ขอ้ ด้อยก็ มีมาก เนือ่ งจากการเก็บเงินแบบปีละครัง้ ท�ำให้ ต้องมีวนิ ยั ทางการเงินค่อนข้างสูง จึงใช้ไม่ได้กบั คนหาเช้ากินค�่ำที่ไม่มีเงินเดือน ทั้งยังมีภาระ รัดตัว ซึง่ สะท้อนว่า วิธกี ารบริหารจัดการไม่ได้ คิดถึงเรือ่ งก�ำไรขาดทุน และรัฐให้เงินอย่างเดียว ไม่มีนโยบายอื่นที่ช่วยส่งเสริมการสร้างรายได้ หรือท�ำให้เงินงอกเงย และยังไม่บริหารจัดการ ช่วยให้หนีส้ นิ น้อยลง “เป็นเรื่องใหญ่มากที่จะจัดการระบบให้ ดี บางหมูบ่ า้ นอาจจะต้องท�ำเป็นสถาบันชุมชน ดึงระบบออมทรัพย์มาอยูด่ ว้ ยกัน โดยให้มคี นที่ จะบริหารจัดการ มีผลตอบแทนพอสมควร และ ต้องให้คนหัดออมด้วย เพราะส�ำหรับคนทีไ่ ม่มี เงินเดือนแบบนีถ้ า้ มีแต่ให้กอู้ ย่างเดียวก็ตาย การ สร้างองค์กรเพือ่ ออมทรัพย์กอ่ น แล้วรัฐค่อยให้ เงินจากภายนอกจะสามารถสร้างวินยั ทางการเงิน ในชุมชนทีเ่ ข้มแข็งขึน้ และนีค่ อื โมเดลทีป่ ระสบ ความส�ำเร็จ” นางสุกานดา แนะ นางสุกานดา กล่าวด้วยว่า “เราพยายาม ท�ำงานร่วมกับรัฐมานานมาก แต่ไม่ได้อะไร เลย ขนาดนัดคุยก็คุยไม่ได้ มันอยู่ที่ฝ่ายเขา ด้วย กลายเป็นนโยบายผลักภาระให้ประชาชน ถ้าเป็นแบบนี้ยิ่งมีก็ยิ่งเดือดร้อน” นายนที ขลิบทอง ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (สทบ.) เปิด เผยว่า เป้าหมายหลักของกองทุนฯ คือการ สร้างแหล่งทุนให้อยูป่ ระจ�ำหมูบ่ า้ น โดยมีคณะ กรรมการกองทุนฯ เป็นผูด้ ำ� เนินการบริหารและ รับผิดชอบทุกอย่างเองทัง้ หมด ภายใต้ระเบียบ ทีไ่ ม่ผดิ กับกฎหมาย “กองทุนฯ เป็นของหมูบ่ า้ น ฉะนัน้ เป็นเรือ่ ง ทีค่ นในหมูบ่ า้ น ต้องดูแลแก้ไขปัญหาและรักษา มันไว้ดว้ ยตนเอง” นายนที กล่าว ส่วนของกองทุนฯ ทีล่ ม้ นายนที ปฏิเสธว่า ยังไม่มกี องทุนฯ ถูกยุบแม้แต่กองทุนเดียวจาก กองทุนฯ 79,567 แห่ง ในปี 2559 เพราะยัง

มีเงินหมุนเวียนในบัญชีรัฐ และส่วนที่ไม่ช�ำระ คืนอยู่ในกระบวนการฟ้องร้องด�ำเนินคดีเพียง ร้อยละ 4 - 5 จากกองทุนฯ ทัง้ หมด นายนที ชี้ แ จงอี ก ว่ า การหมุ น หนี้ คื อ วิธีแก้ปัญหาของชาวบ้านอย่างหนึ่ง เพราะ ต้องการให้เงินทุนอยูก่ บั หมูบ่ า้ น หมายความว่า ชาวบ้านให้คณ ุ ค่ากับหนีก้ องทุนฯ มาก แต่ใน อีกแง่เป็นการแก้ไขปัญหาที่ไม่ถูกต้อง ท�ำให้ ไม่พน้ กับดักของความเป็นหนี้ ซึง่ การจะท�ำให้ ชาวบ้านหลุดจากวงจรนีไ้ ด้ ต้องส่งเสริมให้เกิด รายได้ เช่น โครงการส่งเสริมอาชีพ ส�ำหรับการแก้ไขปัญหาด้านการบริหาร นายนที กล่ า วว่ า ในเชิ ง นโยบายได้ ใ ห้ ความรูด้ า้ นการเงินกับสมาชิกโครงการอย่างต่อ เนือ่ ง ให้สามารถน�ำความรูไ้ ปแก้ไขปัญหา เช่น การท�ำบัญชี กฎหมาย การจัดการการเงินหรือ การประกอบอาชีพ สิ่งเหล่านี้คือ หัวใจหลัก ที่ต้องให้กับชาวบ้าน ในเชิงปฏิบัติเจ้าหน้าที่

ทุกจังหวัดลงพื้นที่ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ เป็น ผูไ้ กล่เกลีย่ ประนีประนอม ประชุม ประสานงาน และให้ความรูต้ ามความต้องการของชุมชน “ถ้ากองทุนฯ ไม่ดี กองทุนฯ คงไม่อยู่ ถึง 15 ปี ปัจจุบนั เราพอใจกับการบริหารงาน กองทุนฯ ในระดับหนึ่ง คนทั่วประเทศถาม ว่าเงินกองทุนฯ หายไปเท่าไหร่ด้วยความรู้สึก ดูถกู ชาวบ้านทีใ่ ช้เงินไม่เป็น แต่ความจริงแล้ว หนีเ้ สียน้อยกว่าพวกเศรษฐี นายทุนอีก ฉะนัน้ ต้องเคารพสิทธิทเี่ ขารับผิดชอบ พวกเขาเพียง แต่ขาดการบริหารเงินให้เกิดประสิทธิภาพ บทบาทของเราคือท�ำให้ทุนงอกเงยมากขึ้น เพือ่ ทุกกองทุนฯ ทัว่ ประเทศยังคงอยูใ่ นอนาคต มี ก องทุ น ฯ ทุ ก ต� ำ บล ทุ ก จั ง หวั ด เกิ ด ขึ้ น มีกรรมการกลางกองทุนฯ ดูแล รวมเป็นธนาคาร กลางของประชาชนเป็นครัง้ แรก” นายนที กล่าว สิราวรรณ สกุลมาลัยทอง

บ้านดอนพัฒนา สุพรรณฯ โมเดลตัวอย่างกองทุนหมูบ ่ า้ น “เรียกว่าประสบความส�ำเร็จก็ไม่ใช่ เพราะ ความส�ำเร็จมันหยุดอยูแ่ ค่หนึง่ แต่เราอยากท�ำ ไปเรือ่ ย ๆ” เอกลักษณ์ วงษ์นามใหญ่ ผูใ้ หญ่บา้ นและ ประธานกองทุนฯ หมู่บ้านดอนแจงพัฒนา ต�ำบลหนองบ่อ อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัด สุพรรณบุรี เล่าว่า เริม่ โครงการตัง้ แต่นโยบาย ของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ปี 2544 จนถึ ง ปั จ จุ บั น มี ค ณะกรรมการกองทุ น ฯ ทัง้ หมด 12 คน และสมาชิกกองทุนฯ ทัง้ หมด 208 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ท�ำไร่ออ้ ย ตามด้วยงานก่อสร้าง และค้าขาย ระบบบริ ห ารงานของกองทุ น ฯ เริ่ ม จากการคั ด เลื อ กคณะกรรมการโดยจั ด ประชุมประชาคมคนในหมู่บ้าน ซึ่งแบ่งเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายอ�ำนวยการ ประกอบด้วย ประธานและรองประธาน ฝ่ายเงินกู้ จัดท�ำ ระบบทะเบี ย นและระบบบั ญ ชี ก องทุ น ฯ ฝ่ายตรวจสอบ ท�ำการตรวจสอบสมาชิกกองทุนฯ ทุกระยะ และการจัดเก็บเอกสารให้เป็นระบบ เพือ่ ให้สามารถตรวจสอบได้ และฝ่ายส่งเสริม (สวัสดิการ) เอกลักษณ์ เล่าว่า ขั้นตอนการพิจารณา กู ้ ยื ม ส่ ว นใหญ่ กู ้ เ พื่ อ เป็ น แหล่ ง เงิ น ทุ น ใน การประกอบอาชีพ ซึ่งสมาชิกต้องยื่นแบบ ค� ำ ขอกู ้ แต่ ถึ ง อย่ า งไรกรรมการเองรู ้ อ ยู ่ แล้วว่าใครท�ำอาชีพอะไร เพราะเป็นคนใน พื้นที่เอง ท�ำให้การพิจารณาเงินมีความต่าง กัน โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ความจ�ำเป็น ที่ต้องใช้ทุน จุดประสงค์ และอุปสงค์อุปทาน ในช่ ว งแรกที่ เ ริ่ ม ท� ำ โครงการมี ป ั ญ หา เรื่ อ งการไม่ มี เ งิ น ส่ ง คื น ซึ่ ง เดิ ม ที ส มาชิ ก ในกองทุ น ฯ ใช้ ลั ก ษณะการกู ้ น อกระบบ มาช� ำ ระ และเกิ ด เป็ น วงจรปัญ หาตามมา ท� ำ ให้ ห ลั ง จากนั้ น หมู ่ บ ้ า นดอนแจงพั ฒ นา ได้ เ ปิ ด สถาบั น การเงิ น ของหมู่บ ้า นขึ้น “ถ้ า เปรี ย บกองทุ น ฯ เป็ น บริ ษั ท แม่

สถาบั น การเงิ น หมู ่ บ ้ า นก็ เ ป็ น บริ ษั ท ลู ก เป็นการรับฝากเงินเหมือนกับระบบธนาคาร ทุกอย่าง โดยคนในหมู่บ้านท�ำกันเอง เพื่อ ให้ ส มาชิ ก เอาเงิ น มาฝาก ฝากแล้ ว ได้ ผ ล ตอบแทน มีอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าธนาคาร ด้วยซ�้ำ เพราะมีต้นทุนที่ต�่ำกว่า เป็นการ บรรเทาปั ญ หาได้ ว ่ า ทางสถาบั น จะดู แ ล สมาชิกได้รบั ประโยชน์ รับปันผล หากหาเงิน คืนไม่ได้ ขอรับการช่วยเหลือ สถาบันเอาเงิน ให้สมาชิกยืมจ่าย แต่สมาชิกต้องหาดอกเบี้ย มาคืน” เอกลักษณ์ กล่าว เอกลักษณ์ กล่าวต่อว่า นอกเหนือจาก การช่ ว ยเหลื อ ปั ญ หาไม่ มี เ งิ น ส่ ง กองทุ น ฯ แล้ว สถาบันการเงินหมู่บ้านดังกล่าวยังเป็น แหล่งเงินทุนให้กับคนในหมู่บ้านในรูปแบบ ของสวัสดิการได้อีก โดยการน�ำดอกเบี้ยที่ เกิดจากการปล่อยเงินหรือธุรกรรมใด ๆ ที่ เกิดจากชุมชน ไม่ว่าจะเป็นปั๊มน�้ำมันชุมชน ร้านค้าชุมชน ศูนย์สง่ เสริมการประกอบอาชีพ มาปันผลและรวมไว้ในกองทุนสวัสดิการ สวัสดิการส�ำหรับคนทีเ่ ป็นสมาชิกกลุม่ ใด กลุ่มหนึ่งในชุมชนจะได้รับครอบคลุมตั้งแต่ เกิดจนตาย ไม่วา่ จะเป็นสวัสดิการรับขวัญเด็ก แรกเกิด ทุนการศึกษาต่อปี โครงการท�ำบุญ ทัศนศึกษาแก่ผู้สูงอายุและเด็ก การเบิกค่า รักษาพยาบาลและค่าพาหนะในการเดินทาง ไปรักษา และค่าฌาปนกิจ ปัจจัยของความส�ำเร็จในกองทุนฯ คือ “สมาชิกให้ความร่วมมือ ถ้าไม่สามารถให้ สมาชิกร่วมมือได้ตอ่ ให้นกั บริหารกองทุนเก่ง ขนาดไหนก็แล้วแต่ก็ไม่สามารถพากองทุนฯ ไปได้รอด เพราะสมาชิกต้องมีส่วนร่วมด้วย วิธกี ารทีจ่ ะท�ำให้สมาชิกมีสว่ นร่วมก็ตอ้ งท�ำให้ สมาชิกทุกคนเป็นเจ้าของเงินทีท่ ำ� เป็นเจ้าของ หมูบ่ า้ น เป็นเจ้าของกองทุนฯ เป็นเจ้าของเงิน ทุก ๆ อย่างทีเ่ กิดขึน้ ในหมูบ่ า้ น” เอกลักษณ์ กล่าวทิง้ ท้าย

21/1/2560 16:38:42


26

| ลูกศิลป์

ข่าวเด่น

ต ่ อ จ า ก ห น ้ า 1 : ค รู อ า ชี ว ะ ท�ำให้วทิ ยาลัยต้องหาคนมาทดแทน จึงเกิดปัญหา ไม่ ไ ด้ รั บ การบรรจุ ข องครู อั ต ราจ้ า ง สอศ. การตั ด สิ น ใจจ้ า งพนั ก งานส่ ว นหนึ่ ง จะดู

แต่ ถู ก สอศ.เมิ น บรรจุ รั บ กั ง วลกระทบ คุ ณ ภาพการสอน ด้ า นสอศ.แจงส่ ง เรื่ อ ง ขออั ต ราเพิ่ ม มาตลอดแต่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ แม้รฐั บาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา จะมี แผนพัฒนาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 และยุทธศาสตร์ การศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2560 - 2574 เพื่ อ พั ฒ นาหลั ก สู ต รและกระบวนการสอน ร ว ม ถึ ง ก า ร ผ ลิ ต ค รู แ ล ะ เ พิ่ ม ป ริ ม า ณ ผูเ้ ข้าเรียนสายอาชีพ แต่อาจไม่สามารถท�ำตาม แผนที่ ว างไว้ ไ ด้ ต ามกรอบเวลาที่ ก� ำ หนด หนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์ตรวจสอบสถานการณ์ การขาดแคลนครู ใ นระดั บ อาชี ว ศึ ก ษา พบรายงานกลุ ่ ม งานจั ด การงานบุ ค คล ส�ำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) ระบุว่า วงการอาชีวศึกษาก�ำลังประสบปัญหา ขาดแคลนครูสะสมอย่างต่อเนื่อง จากที่ควรมี 33,423 คน แต่มีอยู่จริงเพียง 15,206 คน ผู้สื่อข่าวสอบถามผู้บริหารและอาจารย์ ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาหลายแห่งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ต่างระบุตรงกันว่า ขาดแคลนครู ช่างและส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนจริง นางภาวดี บัวศรี อาจารย์ประจ�ำวิทยาลัย เทคนิคดอนเมือง กรุงเทพฯ เผยว่า ในระบบ มีการบรรจุครูเป็นข้าราชการน้อยมาก ส่วนใหญ่ เป็ น ครู อั ต ราจ้ า ง ทั้ ง ที่ มี ก ารเปิ ด สอบทุ ก ปี แต่กลับเรียกเข้าบรรจุเป็นจ�ำนวนน้อยกว่า คนทีไ่ ปสอบ หรือน้อยกว่าจ�ำนวนครูทรี่ ะบบต้องการ นายด�ำรงเดช สุรยิ า ผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลัย สารพัดช่างสกลนคร จังหวัดสกลนคร ยอมรับว่า จ�ำเป็นต้องจ้างบุคลากรที่จบตามสาขานั้น ๆ มาสอนวิชาพื้นฐาน แต่ครูอัตราจ้างไม่ มั่ น คง เหมือนข้าราชการ สอนเพียงไม่กี่ปีก็ลาออก

รายงานพิเศษ เมื่ อ 30 ปี ก ่ อ น ยิ น แสงเงิ น ยั ง เป็ น ชายหนุ ่ ม ที่ เ ต็ ม เปี ่ ย มไปด้ ว ยพละก� ำ ลั ง และ ความทะเยอทะยาน เดินทางออกจากบ้านเกิด ในจังหวัดสระบุรี เพื่อหางานท�ำ ได้งานเป็น คนขุดเจาะในพืน้ ทีก่ อ่ สร้าง รายได้พออยูพ่ อกิน แลกกับความเสี่ยงจากการท�ำงานที่มีเสียงดัง ทุกวัน จนกระทั่งถึงวันที่สาธารณสุขมาตรวจ เมื่ อ 10 ปี ที่ แ ล้ ว จึ ง ทราบว่ า ตนเองเป็ น โรคประสาทหูเสือ่ ม “สาธารณสุขเตือนว่า เสีย่ งประสาทหูเสือ่ ม ผมไม่สนใจ แค่หอู อื้ ฟังเพือ่ นพูดไม่คอ่ ยได้ยนิ แถมเครือ่ งป้องกันทีห่ วั หน้าแจกก็ครอบไม่สนิท เลือ่ นหลุด เกะกะมาก แต่กย็ งั ท�ำงานขุดเจาะวาง เสาเข็มเหมือนเดิม จนปวดหูและไม่ได้ยนิ มาก ขึน้ เรือ่ ย ๆ” ยิน เล่า ตอนนี้ ยิ น ในวั ย 57 ปี ใกล้ สู ญ เสี ย การได้ยนิ ถาวร จ�ำต้องลาออกจากงาน และใช้ เครือ่ งช่วยฟังในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน พร้อม ความกังวลเรื่องรายได้ของครอบครัวซึ่งก�ำลัง ขาดแคลนจนใกล้ถงึ ขัน้ วิกฤต นี่ เ ป็ น หนึ่ ง ในแรงงานที่ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ และเป็ น โรคเรื้ อ รั ง จากการประกอบอาชี พ โดยข้ อ มู ล จากกองทุ น เงิ น ทดแทน ระบุ ว ่ า ในจ�ำนวนผู้ประกอบอาชีพด้านอุตสาหกรรม การผลิ ต และการก่ อ สร้ า งราว 8 ล้ า นคน จะมีผปู้ ระสบอุบตั เิ หตุหรือเจ็บป่วย เนือ่ งจาก การท�ำงานเฉลีย่ 100,000 คนต่อปี ณัฐธิวรรณ พันธ์มุง หัวหน้ากลุ่มโรคไม่ ติดต่อเรือ้ รัง ส�ำนักโรคไม่ตดิ ต่อ กรมควบคุมโรค

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 26

การสอนไม่ตอ่ เนือ่ ง ด้านนางสาวนงค์นชุ สีสะใบ ครูอตั ราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ กล่าวว่า เป็นครูอตั ราจ้างมา 14 ปี แต่ยงั ไม่ได้รบั การบรรจุ รู ้ สึ ก ว่ า ไม่ มี ค วามมั่ น คงของอาชี พ เพราะ ไม่ มี ส วั ส ดิ ก าร และเงิ น เดื อ นที่ เ พี ย งพอ นางปัทมา วีระวานิช ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก นโยบายและแผนการศึกษา สอศ. ชี้แจงว่า ปี 2559 สอศ. ยื่นขอก�ำลังคนเป็นพนักงาน ราชการกว่า 15,000 คน แต่ได้รบั จัดสรรกลับมา เพียง 990 คนเท่านั้น เนื่องจากปัญหาด้าน งบประมาณ ท� ำ ให้ ต ้ อ งแก้ ป ั ญ หาด้ ว ย การรับครูอตั ราจ้างแทน ทัง้ นีใ้ นปี 2560 สอศ. จะเสนอโครงการแก้ปญั หาขาดแคลนครู เพือ่ เพิม่ และคืนครูเข้าสูร่ ะบบ คิดเป็นงบประมาณกว่า 170 ล้านบาท นางปั ท มา กลาว อวา สวนปั ญ หา

มีการแก้ปญ ั หาโดยเปิดสอบบรรจุทงั้ รอบเฉพาะ ของครู อั ต ราจ้ า ง และรอบบุ ค คลภายนอก ซึ่ ง ครู อั ต ราจ้ า งสามารถสอบได้ ทั้ ง 2 รอบ “สอศ.พยายามช่ ว ยครู อั ต ราจ้ า งอย่ า ง เต็ ม ที่ เพราะบางคนอยู ่ เ ป็ น 10 - 20 ปี รูร้ ะบบอาชีวะเป็นอย่างดี เมือ่ มีอตั ราใหม่เข้ามา ทดแทน ครูอตั ราจ้างบางคนอาจหลุดออกจาก ระบบ แต่ เ ราก็ พ ยายามรั ก ษาพวกเขาไว้ อย่างเต็มก�ำลัง” นางปัทมา กล่าว ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากปั ญ หา ครูอตั ราจ้างอย่าง นางสาวกนกวรรณ ชัยมุงคุณ นักศึกษาปวช. วิทยาลัยสารพัดช่างสกลนคร เปิดเผยว่า ทีว่ ทิ ยาลัยเปลีย่ นครูผส้ ู อนค่อนข้างบ่อย เมื่อเปลี่ยนครู รูปแบบการสอนของแต่ละคน ก็ไม่เหมือนกัน ท�ำให้บางครั้งเรียนไม่เข้าใจ ขณะที่ นายก่อพงษ์ วงศ์ตระกูล เจ้าของ สถานประกอบการธุรกิจยานยนต์ กล่าวว่า

ชือ่ เสียงของสถาบันและคุณภาพของนักศึกษา ที่ จ บมาก่ อ นเป็ น หลั ก ซึ่ ง ก่ อ นท� ำ งาน ร้อยละ 50 ต้องฝึกฝนทักษะในแต่ละด้านเพิม่ “เด็กรุ่นใหม่เรียนแค่ผิวเผินไม่ลงเชิงลึก ไม่คอ่ ยมีความอดทนและเข้าใจในหน้าทีก่ ารงาน ซึ่งผมมองว่าส�ำคัญมากกว่าวิชาชีพด้วยซ�้ำ” นายก่อพงษ์ กล่าว ข้อมูลกองวิจัยตลาดแรงงาน กระทรวง แรงงาน ระบุวา่ กลุม่ แรงงานระดับกลางหรือ ผู้จบมัธยมศึกษาตอนปลายและอาชีวศึกษา เข้าสู่ตลาดแรงงานรวมกันกว่า 70,000 คน ในขณะที่ข้อมูลจากส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งเก็บ สถิติล ่า สุดปี 2556 เผยว่า จ�ำนวน ความต้องการและขาดแคลนแรงงาน มีถึง 88,000 คน เท่ากับว่าขณะนี้ประเทศไทย อยู ่ ใ นสภาพผลิ ต บุ ค ลากรระดั บ กลางได้ ไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาดแรงงาน

ระบบการศึกษาอาชีวะแบบคู่ขนานของ ประเทศเยอรมัน ได้รับการสนับสนุนด้าน การเงิ น จากรั ฐ บาลกลาง รั ฐ บาลท้ อ งถิ่ น และบริษทั อุตสาหกรรมต่าง ๆ นักเรียนทีจ่ บ จากโรงเรียนมัธยมสามัญสามารถเข้าเรียน ต่อในระบบการศึกษาสายอาชีวะดังกล่าว ที่ใช้เวลา 3 - 4 ปี ครึ่งหนึ่งของเวลาเรียน ในสั ป ดาห์ จะฝึ ก งานกั บ บริ ษั ท และอี ก ครึ่งหนึ่งเรียนในโรงเรียน การฝึกงานกับ บริษทั ต่าง ๆ ท�ำให้นกั เรียนอาชีวะของเยอรมัน ได้เรียนรูง้ านเฉพาะด้าน ระบบนีเ้ ป็นรูปแบบการเรียนรูเ้ ฉพาะทาง

ในบริษัท โรงปฏิบัติงานจริง และภาคทฤษฎี ในโรงเรียนฝึกอาชีพ ซึง่ การเรียนรูจ้ ากการลงมือ ท�ำจริง (learning by doing) ท�ำให้นกั เรียน ได้รบั ประโยชน์ การฝึกอาชีพใช้เวลาประมาณ 3 - 4 ปี ขึ้นอยู่กับแต่ละสาขา ดังนั้นผู้จบการศึกษา จึงมีอายุมากกว่า 18 ปี ซึง่ พ้นการศึกษาภาคบังคับ และสามารถท� ำ งานประกอบอาชี พ ใน สถานประกอบการได้ตามปกติ บ ร ร เ ล ง ศ ร นิ ล ที่ ป รึ ก ษ า ค ณ บ ดี วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย - เยอรมั น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ เล่าว่า ประเทศไทย ก� ำ ลั ง พยายามเปลี่ ย นเป็ น ระบบทวิ ภ าคี ส่งนักเรียนไปฝึกงานกับเจ้าของสถานประกอบการ แต่ยงั ไม่ได้เต็มร้อย เพราะอุตสาหกรรมของไทย

ยังไม่แข็งแรง อีกทั้งรัฐแบกภาระค่าใช้จ่าย จั ด หาอุ ป กรณ์ ก ารสอนให้ ไ ม่ ไ ด้ ทั้ ง หมด ระบบการสอนภายในโรงเรียนจึงไม่เป็นไป ตามทีค่ วรเป็น เขากล่าวอีกว่า ไทยก�ำลังน�ำระบบของ เยอรมันมาปรับประยุกต์ให้เข้ากับอาชีวะไทย ส่งนักเรียนเข้าไปฝึกงาน แต่ต้องมีหลักสูตร รองรับอย่างชัดเจนว่าฝึกอะไร ฝึกนานเท่าไหร่ “สิ่งที่รัฐก�ำลังเร่งพัฒนาและเพิ่มเติมให้ ตั้ ง แต่ ค รู โดยครู ต ้ อ งมี ค วามเชี่ ย วชาญ ต้องมีประสบการณ์ ส่งครูไปฝึกในโรงงาน ก่อนจะมาสอน รวมถึงเครือ่ งมือและวัสดุฝกึ ภายในวิทยาลัยและจัดหาสถานประกอบการ ทีม่ คี ณ ุ ภาพและรองรับนักเรียนได้” บรรเลง กล่าวเพิม่ เติม

กล่ า วว่ า เจ้ า ของสถานประกอบการ อย่ า งโรงงานและพื้ น ที่ ก ่ อ สร้ า งมองไม่ เ ห็ น ความส� ำ คั ญของการเฝ้ า ระวั ง อุ บัติ เ หตุ และ โรคจากการท�ำงานอย่างจริงจังซึ่งหลายโรค มักแสดงผลระยะยาว เช่น โรคประสาทหูเสือ่ ม ผิวหนังหรือมะเร็งปอด “โรคจากการประกอบอาชี พ เหล่ า นี้ มี ผู้เจ็บป่วยเพิ่มทุกปี แต่ที่ผ่านมากว่า 10 ปี กลั บ ไม่ ไ ด้ รั บ การเฝ้ า ระวั ง หรื อ แก้ ไ ขอย่ า ง จริงจัง” ณัฐธิวรรณ ระบุ ข้ อ มู ล จาก สมบุ ญ ศรี ค� ำ ดอกแค ประธานสภาเครื อ ข่ า ยกลุ ่ ม ผู ้ ป ่ ว ยจากการ ท� ำ งานและสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ประเทศไทย ด้วยว่า ผู้ประกอบการจะพยายามบังคับให้ ลูกจ้างไปตรวจกับโรงพยาบาลที่เป็นคู่สัญญา เพื่อลดสถิติการเกิดโรคหรืออุบัติเหตุจากการ ท�ำงานให้เป็นศูนย์ตามนโยบายกระทรวงแรงงาน บริษทั หลายแห่งจึงปกปิดข้อมูลด้านสุขภาพหรือ เลิกจ้างคนงานทันทีหากพบโรค แม้ประเทศไทยจะมีพ.ร.บ.คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และพ.ร.บ.ความปลอดภัยอาชีว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการท� ำ งาน พ.ศ. 2554 เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพแรงงาน แต่ นพคุณ พุม่ ทองตรู นักกฎหมายด้านแรงงาน สภาทนายความ ชีว้ า่ ยังมีชอ่ งโหว่ดา้ นข้อบังคับ เรือ่ งอุปกรณ์ปอ้ งกันในการท�ำงาน ทีบ่ งั คับให้ใช้ เฉพาะสถานประกอบการในกลุม่ เสีย่ ง เช่น โรค ทีเ่ กิดจากแร่ใยหิน ในโรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ ส� ำ หรั บ การก� ำ กั บ ดู แ ลความปลอดภั ย

สถานประกอบการ ข้อมูลจากเว็บไซต์กรม สวั ส ดิ ก ารและคุ ้ ม ครองแรงงาน ณ วั น ที่ 25 กรกฎาคม 2559 เผยว่า ภาคอุตสาหกรรม มีสถานประกอบกิจการถึง 356,659 แห่ง มี ลู ก จ้ า งรวม 8,602,840 คน อย่ า งไรก็ ดี พนักงานตรวจแรงงานสังกัดกรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน คนหนึ่ง ให้ขอ้ มูลว่า ไม่สามารถตรวจสอบความปลอดภัย ในสถานประกอบการทั้งหมด เพราะโรงงาน มีจำ� นวนเพิม่ มากขึน้ ทุกปี “เฉลีย่ แล้วเจ้าหน้าที่ 1 คน ต้องตรวจโรงงาน 2,000 โรงต่อปี ตามวาระการตรวจ ซึง่ เป็นไป ไม่ได้ในทางปฏิบตั ”ิ พนักงานตรวจแรงงาน ระบุ ด้าน สิตา โชคสมศิลป์ นักวิชาการแรงงาน ช�ำนาญการ กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ยอมรับว่า ปัจจุบนั มีพนักงาน ตรวจแรงงาน 1,245 คน และพนักงานตรวจ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน เพียง 156 คน จึงไม่สามารถตรวจ สถานประกอบการได้ครบทุกแห่ง แต่กระทรวงฯ มีนโยบายแก้ปัญหาเฉพาะหน้าโดยให้โรงงาน ตรวจเองและท�ำรายงานมา จากนัน้ กระทรวงฯ จะสุม่ ตรวจย้อนหลัง “กว่า 1 ปีทผี่ า่ นมากระทรวงฯ ยืน่ เรือ่ งขอ อัตราพนักงานเพิม่ จากส�ำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) แต่กย็ งั ไม่ได้จำ� นวน พนั ก งานมากขึ้ น ตามที่ ต ้ อ งการ เนื่ อ งจาก ติดปัญหาด้านงบประมาณ” สิตา ระบุ นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการรายเดิม

ยังเผยว่า องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ไอแอลโอ) เคยทักท้วงสถานการณ์ด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการท� ำ งานของประเทศไทยว่ า จ� ำ นวน เจ้าหน้าทีไ่ ม่เพียงพอเมือ่ เทียบกับความรับผิดชอบ และเตือนให้เร่งแก้ไขมานานแล้ว ขณะที่ หม่ อ มหลวงปุ ณ ฑริ ก สมิ ติ ปลัดกระทรวงแรงงาน ยอมรับว่า กระทรวงฯ พยายามแก้ไขปัญหาโรคเรือ้ รังจากการประกอบ อาชี พ มาโดยตลอด แต่ ไ ม่ ส ามารถแก้ ไ ข ได้สมบูรณ์ เพราะมีหลายปัจจัยและหลาย หน่วยงานเกี่ยวข้อง การขาดบุคลากรท�ำให้ แก้ปญ ั หาต่าง ๆ ได้ลำ� บาก ปัจจุบนั จึงขอความ ร่วมมือจากเครือข่ายคุม้ ครองแรงงานในการช่วย ดูแลสวัสดิการและความปลอดภัยของแรงงาน เมือ่ พบเบาะแสสามารถแจ้งกระทรวงฯ ได้ทนั ที เขาระบุอกี ว่า กระทรวงฯ ก�ำลังเร่งศึกษา แผนรับมือใหม่ และยกเป็น 1 ในประเด็น ส�ำคัญในการยกร่างแผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน แห่งชาติทกี่ ำ� ลังแก้ไข ให้รบั กับการให้สตั ยาบัน อนุสญ ั ญาแรงงานระหว่างประเทศ ฉ.187 ว่า ด้วยกรอบเชิงส่งเสริมการด�ำเนินงานความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย พ.ศ. 2549 ซึ่ง ประเทศไทยให้ไว้เมื่อเดือนมีนาคม และจะ มีผลบังคับใช้ในปี 2560 คาดว่าสถานการณ์ ความปลอดภัยแรงงานไทยจะต้องดีขนึ้

ส่องกล้อง..อาชีวะเยอรมัน เป้าหมายอาชีวะไทย

“ระบบคูข ่ นาน”

หทัยชนก โฉมมณี

ณัฐนันท์ แก้วบุญถึง

21/1/2560 16:38:45


ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 |

ข่าวเด่น

รอดำเนินการ ยายสิทธิ 15 วัน

27

มี ค นไข้ ม ากท� ำ ให้ ศั ก ยภาพการท� ำ งานของ โรงพยาบาลลดลง ดังนัน้ จึงต้องมีการจ�ำกัดสิทธิ เพือ่ ไม่ให้คนไข้เลือกกระจุกตัวแต่โรงพยาบาลใหญ่

หากมีผูลงทะเบียนครบที่กำหนด คนไขใหมใชสิทธิไมได

ชดเชยตาย-พิการกว่า 200 ล้านบาท เต็เต็ ม!ม!

ไมคุมครอง โรคบางชนิด

64.7 62.7

62.6

62.3

57.6 55.9 37.7

ยายสถานบริการไดแค 4 ครั้ง ตอป

ตองใชสิทธิ ตามที่ที่ ลงทะเบียน หรือใกลภูมิลำเนา

2553

37.4

2554

37.3

2555

42.6

2556

สัดสวนระหวางแรงงานนอก-ในระบบ

44.1

35.7

2557

2558

แรงงานนอกระบบ แรงงานในระบบ (หนวย: รอยละ)

มูลจาก: ส�ำนักกงานสถิ งานสถิตติแห่แิ งห่ชาติ งชาติ ข้อมูข้อลจาก : สำนั

ต่อจากหน้า 1 : แรงงาน

“ตาบอดไปข้างหนึ่งเพราะไม่มีเงินไปหา หมอ ถึงไปก็เสียเวลาท�ำมาหากินวันละร้อย สองร้อยบาท คนหาเช้ากินค�ำ่ อย่างเรามองเห็น ข้างเดียวก็พอแล้ว ยังพอท�ำงานได้” นายสมชาย แซ่ เ ท่ น อายุ 62 ปี ชาวกรุงเทพฯ มีอาชีพค้าขายในตลาดส�ำเพ็ง เป็นโรคต้อกระจกเมื่อปี 2557 แม้จะมีสิทธิ รักษาพยาบาลจากหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) แต่ไม่สามารถเข้ารับการรักษาได้ อย่างสม�ำ่ เสมอเนือ่ งจากต้องท�ำงานหาเงินเลีย้ ง พีน่ อ้ ง 3 คน ในครอบครัว นอกจากนี้ บัตรทองยัง ไม่ครอบคลุมการเปลี่ยนกระจกตา สุดท้าย ตาขวาต้ องบอดสนิทเพราะไม่มีเงินจ่ายค่า กระจกตา นีเ่ ป็น 1 ในแรงงานนอกระบบ 21.4 ล้านคน หรือร้อยละ 55.9 ของแรงงานไทยทีม่ ปี ระมาณ 38.3 ล้านคน ทีไ่ ม่ได้อยูใ่ นระบบประกันสังคม และประสบปัญหาการเข้าถึงสิทธิการรักษา พยาบาล โดยข้อมูลการส�ำรวจแรงงานนอก ระบบ ปี 2558 ของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ระบุวา่ ในจ�ำนวนแรงงานนอกระบบทีบ่ าดเจ็บ จากการท�ำงานจ�ำนวน 3.5 ล้านคน มีเพียง 1.1 แสนคน ที่ใช้สิทธิบัตรทอง คิดเป็นเพียง ร้อยละ 3.14 เท่านัน้ นางสุจิน รุ่งสว่าง ประธานศูนย์ประสาน

ใครคือ แรงงานนอกระบบ กว่าครึ่งของแรงงานในประเทศไทยคือ ประชากรทีเ่ รียกว่า ‘แรงงานนอกระบบ’ ศยามล เจริญรัตน์ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายถึงความ ส�ำคัญของแรงงานกลุม่ นีว้ า่ ถ้าออกจากบ้าน แล้วไม่มวี นิ มอเตอร์ไซค์จะเป็นอย่างไร หาบเร่ แผงลอย กรรมกร แท็กซี่ เกษตรกร ดารา ฟรีแลนซ์ ฯลฯ ล้วนเป็นแรงงานนอกระบบ ทีไ่ ม่ได้รบั การคุม้ ครองทางสังคม “รัฐมองไม่เห็นว่าเขาเป็นประชากรร่วม สังคม ทัง้ ทีม่ หี น้าทีเ่ ติมเต็ม ทางแก้คอื ให้เงิน หรือสวัสดิการ หรือปัจจัย 4 แต่ตอนนีม้ หี ลัก ประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพียงอย่างเดียว” ส่วนประกันสังคมมาตรา 40 (ผู้ประกัน ตนนอกระบบสามารถจ่ า ยเงิ น เพื่ อ รั บ

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 27

งานแรงงานนอกระบบ กล่าวว่า โครงการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไม่สอดคล้องกับ สภาพการท�ำงานจริงของแรงงานนอกระบบ ที่ท�ำงานโดยไม่มีวันหยุด ย้ายสถานที่ท�ำงาน บ่อยครั้ง ฯลฯ แรงงานนอกระบบจึงไม่ได้รับ สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลเพียงพอ

สิทธิ โรงพยาบาลต�ำรวจ ให้ข้อมูลว่า ถ้าท�ำ เรือ่ งย้ายวันที่ 1 ต้องรอถึงวันที่ 16 จึงจะเข้า ใช้บริการที่ใหม่ได้ ทั้งนี้ช่วงที่รอหากต้องการ รักษาพยาบาลก็ตอ้ งใช้สทิ ธิท์ สี่ ถานบริการเดิม หากเข้ารักษาที่โรงพยาบาลเดิมไม่ได้เพราะ มาท�ำงานต่างจังหวัด ก็ไม่สามารถเข้ารักษา ทีอ่ นื่ ได้ เว้นแต่จะเจ็บป่วยฉุกเฉิน ผูกสถานบริการใกล้ภูมิล�ำเนา-ย้าย ได้แค่ 4 ครัง ้ ต่อปี

นางพรทิพย์ จิตต์ดี อายุ 23 ปี กรรมกร ก่อสร้างย้ายไปตามไซต์งานก่อสร้างตลอดเวลา” นางพรทิพย์ กล่าว ส่วน นายกตัญญู เมตตาไพจิตร อายุ 35 ปี กรรมกรชาวปราจีนบุรี จ�ำต้องย้ายไซต์งานทุก 20 วัน แม้มสี ทิ ธิในการย้ายโรงพยาบาลได้ปลี ะ 4 ครัง้ แต่เธอเลือกทีจ่ ะไม่ยา้ ยเพราะไม่สะดวก และเสียเวลารอนาน “ให้ทำ� เรือ่ งแจ้งย้ายตลอดคงไม่ไหว เพราะ ไม่ ไ ด้ ท� ำ กั น ง่ า ย ๆ ต้ อ งรออนุ มั ติ ก ารย้ า ย โรงพยาบาลนานถึง 15 วัน แค่วนั เดียวก็ไม่มี ใครรอแล้ ว ไม่ รู ้ จ ะเจ็ บป่ ว ยระหว่ า งนั้ น อี ก หรือเปล่า” นายกตัญญู กล่าว ไม่ ต ่ า งจาก นายประกอบ สมบู ร ณ์ พั น อายุ 36 ปี พ่อค้าหาบเร่ ไม่พอใจสถานรักษา พยาบาลแห่งหนึง่ ในจังหวัดอยุธยา จึงย้ายจาก ทีเ่ ดิมไปอีกทีห่ นึง่ แต่ไม่สามารถเข้ารับบริการ ทีส่ ถานรักษาพยาบาลใหม่ได้ทนั ที นางสาวมัสยา สุดตา เจ้าหน้าทีต่ รวจสอบ ความคุ้มครอง เช่น เงินทดแทนเมื่อเจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวติ และเงินบ�ำเหน็จชราภาพ) ในทางปฏิบตั มิ แี ค่บางกลุม่ ทีเ่ ข้าถึงได้ “ประกันสังคมจ่าย 3 ขา คือ รัฐ นายจ้าง ลูกจ้าง แต่มาตรา 40 ต้องจ่าย 2 ขา ถามว่า ยังหาเช้ากินค�ำ่ อยู่ จะจ่ายไหวไหม รัฐเปิดโอกาส ให้ แต่ในความเป็นจริงท�ำได้ยาก” ศยามล ชีอ้ กี ว่า โครงสร้างเศรษฐกิจไทยเป็น นอกระบบเยอะ หากเปลี่ยนเป็นจ้างในระบบ ต้องจ่ายค่าแรงขั้นต�่ำ มีต้นทุนสูงขึ้น เจ้าของ กิจการจึงไม่จ้างในระบบ แถมแรงงานนอก ระบบยังมีอำ� นาจต่อรองต�ำ่ กว่า รายงานการส� ำ รวจแรงงานนอกระบบ ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ระบุว่า ปี 2558 มี แรงงานนอกระบบ 21.4 ล้านคน เรียนระดับชัน้ ประถมหรือต�ำ่ กว่าจ�ำนวน 13.4 ล้านคน มัธยม 6.1 ล้านคน อุดมศึกษา 1.8 ล้านคน และการ ศึกษาอืน่ ๆ 6.4 หมืน่ คน

ปั ด คนไข้ ไ ปที่ ใ กล้ เ คี ย งหากรพ.มี ฐานข้อมูลคนไข้เต็ม

นพ.กุ ล วั ฒ น์ พรหมชั ย วั ฒ นา แพทย์ อายุรกรรม โรงพยาบาลต�ำรวจ กล่าวว่า เมือ่ คนไข้ท�ำเรื่องย้ายมา สถานรักษาพยาบาลจะ จ�ำกัดจ�ำนวนคนไข้วา่ ใช้สทิ ธิได้กคี่ น ซึง่ โควตา ของการใช้สิทธิแต่ละแห่งก็ไม่เท่ากัน ส�ำหรับ โรงพยาบาลต�ำรวจรับได้วนั ละประมาณ 250 คน ถ้าเกินจากทีก่ ำ� หนดจะต้องย้ายไปยังสถานบริการ ใกล้เคียง “ที่ ผ ่ า นมา มี ค นย้ า ยเข้ า มาใช้ สิ ท ธิ์ ที่ โรงพยาบาลในกรุ ง เทพฯ เป็ น จ� ำ นวนมาก ซึ่ ง บางแห่ ง มี ค นไข้ เ ยอะกว่ า ขี ด จ� ำ กั ด ที่ โรงพยาบาล รองรับได้” นพ.กุลวัฒน์ กล่าว ส่ ว น นพ.บุ ญ ชู สุ น ทรโอภาส แพทย์ อายุรกรรม โรงพยาบาลกลาง กล่าวว่า รัฐ จะกระจายค่ารักษาพยาบาลรายหัวไปตาม สถานพยาบาลทีใ่ กล้ทะเบียนบ้าน เพือ่ ใช้สทิ ธิ ที่สถานพยาบาลใกล้บ้าน แต่คนส่วนใหญ่มัก เลือกโรงพยาบาลขนาดใหญ่ในตัวเมือง ซึง่ การ “อายุของแรงงานกลุ่มล่าง อยู่ประมาณ 40 - 60 ปี ส่วนใหญ่มกี ารศึกษาต�ำ่ กลุม่ นีต้ อ้ ง ให้ความรูท้ เี่ ป็นทักษะต่อการท�ำงานเท่านัน้ ” ค� ำ ถามคื อ จะท� ำ อย่ า งไรกั บ แรงงาน ไร้ทกั ษะ? “รัฐต้องเลือกว่าจะสงเคราะห์กลุม่ ไหน เช่น คุณยายอายุ 65 ปี คุณจะสร้างอะไรให้เขา ต้อง เป็นเงินสงเคราะห์อยูแ่ ล้ว หรือถ้าจะเพิม่ ทักษะ ต้องคิดอีกว่า อายุ 50 ปี จะท�ำงานได้นานแค่ไหน เขาอยากได้ทกั ษะไหม แล้วนายจ้างยังยินดีจา่ ย ค่าทักษะทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือไม่” ปัจจุบันประเทศไทยใช้ค่าจ้างขั้นต�่ำ 300 305 308 และ 310 บาท แต่เมื่อเทียบกับ ค่าครองชีพที่ปรับตัวตลอดเวลา รายได้ของ แรงงานก็ไม่พอใช้จา่ ย “ต้องสร้างมาตรฐานว่าค่าจ้างเท่าไหร่ทจี่ ะ พอกับการมีชวี ติ ในสังคม รัฐมีหน้าทีท่ จี่ ะสร้าง มาตรฐานมาเติมเต็มในช่องโหว่อนื่ ๆ ”

ด้าน รายงาน 10 เรือ่ งควรรูส้ ทิ ธิหลักประกัน สุขภาพ โดยส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ ยังระบุอกี ว่า บริการทีไ่ ม่คมุ้ ครองการ รักษาด้วยบัตรทอง ได้แก่ ประสบภัยจากรถ การกระท�ำที่ไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ไม่ว่า จะเป็น ภาวะมีบตุ รยาก ผสมเทียม การเปลีย่ น เพศ การรักษาทีอ่ ยูร่ ะหว่างทดลอง การบ�ำบัด รักษาและฟืน้ ฟูผตู้ ดิ สารเสพติด โรคทีผ่ ปู้ ว่ ยในใช้ เวลารักษาตัวเกิน 180 วัน ตลอดจนการเปลีย่ น ถ่ายอวัยวะที่ไม่ใช่หัวใจ ตับวายในเด็กและไต เพือ่ รักษาโรคไตวายเรือ้ รังระยะสุดท้าย ขณะเดียวกัน รายงานการสร้างหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติประจ�ำปี 2558 ยังชี้ให้เห็น ว่า คนทีม่ สี ทิ ธิบตั รทอง ประมาณ 48 ล้านคน มี 824 คน ทีไ่ ด้รบั การชดเชยเยียวยาจากการ ใช้บตั รทอง แบ่งเป็นผูเ้ สียชีวติ หรือทุพพลภาพ ถาวร 442 คน พิการ 105 คน และบาดเจ็บ ต่อเนือ่ งจากการรักษา 241 คน รัฐได้จา่ ยเงิน ชดเชยไปแล้วกว่า 200 ล้านบาท สปสช.รับมีช่องโหว่จริง เตรียมให้ ประชาชนจ่ายร่วม

นางวราภร สุวรรณเวลา ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนัก พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ชีแ้ จงว่า ระบบ บัตรทองยังมีช่องโหว่ ท�ำให้ไม่สามารถเข้ารับ การรักษาได้ต่อเนื่องทันที เพราะโรงพยาบาล ต้องรับจ�ำนวนคนไข้ให้เหมาะสมต่อศักยภาพ โรงพยาบาล และสปสช.ต้องใช้เวลาโยกงบ ประมาณจัดสรรไปให้ส ถานรักษาพยาบาล แห่งใหม่ การจัดงบประมาณจึงไม่สามารถท�ำได้ ทันที ผูอ้ ำ� นวยการสปสช. กล่าวต่อว่า ในอนาคต มีแนวโน้มที่จะให้ประชาชนร่วมจ่าย เพื่อให้ คุณภาพการรักษาดีขนึ้ เนือ่ งจากเงินจะไม่ได้มา จากรัฐบาลเพียงฝัง่ เดียว แต่หากให้ประชาชน บางกลุ่มร่วมจ่าย จะท�ำให้เกิดความเท่าเทียม เพราะโรงพยาบาลจะไม่สามารถเลือกปฏิบัติ ต่อคนไข้กลุ่มใดได้ ดังนั้นต้องศึกษากันว่า การร่วมจ่ายแบบใดจะเหมาะสมกับประเทศไทย มากทีส่ ดุ

จารุกต ิ ติ์ ธีรตาพงศ์ ปัญยภัสสร์ พรหมชัยวัฒนา รชนีกร ศรีฟา้ วัฒนา ศิรวิชญ์ บุญทน อนาลา กุลรัตน์

แรงงานนอกระบบบางคนยอมเดินมา ท�ำงานในระยะ 5 - 10 กิโลเมตร ดีกว่าจ่าย เงินค่ารถเมล์ 8 - 9 บาท เพราะเก็บเงิน 2 วัน กินข้าวได้ 1 มือ้ ค่ารถไฟฟ้ายังแพงกว่า เพราะโครงสร้างพืน้ ฐานในระบบขนส่งมวลชน ไม่เอือ้ ให้กบั เขา การพั ฒ นาเมื อ งก็ ไ ม่ เ อื้ อ ให้ แ รงงาน ระดับล่างสามารถเป็นเจ้าของที่พักอาศัยได้ หากเช่าบ้านอยูห่ า่ งจากทีท่ ำ� งาน ค่าเดินทาง ก็เพิม่ ขึน้ มีเวลาพักผ่อนน้อยลง หากย้ายมา อยูใ่ กล้ทที่ ำ� งาน ค่าเช่าก็เพิม่ แต่คา่ จ้างไม่เพิม่ ยิง่ ต้องเพิม่ ชัว่ โมงการท�ำงานมากขึน้ ” เช่นเดียวกับการพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกก็ไม่ได้ชว่ ยเขาให้มรี ายได้ความเป็นอยู่ ทีด่ กี ว่าเดิม เช่น แม้จะสร้างสวนสาธารณะเพือ่ สันทนาการ แต่ไม่ชว่ ยเรือ่ งรายรับ - รายจ่าย ซึ่งเป็นเรื่องส�ำคัญที่สุดส�ำหรับแรงงานนอก ระบบซึง่ อิงอยูก่ บั ค่าจ้างรายวันเป็นส่วนใหญ่

21/1/2560 16:38:47


28

| ลูกศิลป์

ก่อน

สิทธิส ิ ง ิ่ แวดล้อม

‘เกาะล้าน’ หาย

กลายเป็นเพียงชือ ่ ...

น ส า ย ต า นั ก อ ง เ ที่ ย ว หาดตาแหวนเป็นหาดทีส่ วยทีส่ ดุ แต่สำ� หรับชาวบ้าน ทีน่ เี่ ป็นหาด ทีเ่ ละเทะทีส่ ดุ เช่นกัน น�้ำทะเลใส หาดทรายขาว ห่าง เพียง 150 กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ เป็ น จุ ด ดึ ง ดู ด ให้ นั ก องเที่ ย วกวา 2 ล้ า นคน เดิ น ทางมาพั ก ผอนที่ เกาะล้าน จังหวัดชลบุรี ในแต่ละปี ข้ อ มู ล ลาสุ ด ปี 2558 ตั ว เลข นักท่องเทีย่ วพุง่ สูงขึน้ เป็น 5.5 ล้านคน สร้างเม็ดเงินสะพัดกว่า 1,000 ล้านบาท แตการไมจ� ำ กั ด นั ก ทองเที่ ย ว สงผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ทั้ ง ป่ า ไม้ ล ดลงกวาร้ อ ยละ 30 ขยะตกค้างนับหมืน่ ตัน คุณภาพน�ำ้ ทะเล ทีเ่ หลืออยูแ่ ค่ระดับพอใช้ และปะการัง เหลืออยูเ่ พียงร้อยละ 20 เท่านัน้ งานวิ จั ย เรื่ อ งการมี ส วนรวม ของผู ้ ป ระกอบการที่ พั ก ในการ จั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มตามมาตรฐาน ที่พักเพื่อการท่องเที่ยว กรณีศกึ ษา เกาะล้าน ปี 2556 โดย อมราวดี วิจติ ร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พบว่า ตามที่พักมีการฝึกอบรมเพื่อ จัดการสิ่งแวดล้อมในระดับต�่ำ และ ส่วนใหญ่เห็นว่า การปฏิบตั งิ านของ หน่ ว ยงานเกาะล้ า นมี ป ั ญ หาและ ควรปรับปรุง

ปั จ จุ บั น มี จ� ำ นวนผู ้ ป ระกอบการ บ้ า นพั ก รายวั น อ ที่ 140 ราย รวม 1,300 ห้อง และมีร้านอาหาร 47 ร้าน “จากปี 2550 จนถึ ง ตอนนี้ ป่าไม้หายไปประมาณ ร้อยละ 30 ส่วนใหญ่เป็นพืน้ ทีร่ าบ มีแค่ไม่กรี่ าย ที่รุกล�้ำพื้นที่บนเขาซึ่งอยู่ในระหว่าง การตรวจสอบ” สมชาย มณี โ ชติ นั ก จั ด การงานเทศกิ จ ปฏิ บั ติ ก าร เกาะล้าน กล่าว ขีดจ�ำกัดก�ำจัดขยะ

ของเกาะ ชาวบ้ า นได้ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง การสร้ า งรี ส อร์ ท และร้ า นอาหาร เลยเข้ า ไปในพื้ น ที่ ท ะเลไม่ ต�่ ำ กว่ า 20 แห่ง รวมถึงปล่อยน�ำ้ เสียลงในน�ำ้ น�ำ้ ทะเลเริม่ ส่งกลิน่ เหม็นในบางจุด วรวัฒน์ แก้วผลึก นักวิเคราะห์ นโยบายและแผนเมื อ งพั ท ยา ยอมรับว่า มีรีสอร์ทและร้านอาหาร รุ ก ทะเลอยู ่ ห ลายแห่ ง จริ ง ตอนนี้ อยู ร ะหวางการด� ำ เนิ น การตาม กฎหมายอยู่ ขณะที่ เอกสารควบคุมคุณภาพ น�้ำทะเลชายฝั่ง สํานักงานจัดการ คุณภาพน�ำ้ กรมควบคุมมลพิษ ระบุวา่ คุณภาพน�ำ้ ทีห่ าดตาแหวน ชายหาด ที่ นั ก ทองเที่ ย วนิ ย มไปมากที่ สุ ด บนเกาะ ตัง้ แต่ตน้ ปี 2552 - 2559 คุณภาพน�้ำที่เคยอยู่ในระดับดีมาก วันนีเ้ หลืออยูใ่ นระดับพอใช้เท่านัน้ รายงานฉบับเดียวกันยังระบุว่า ช่ ว งต้ น ปี 2558 คาแบคที เ รี ย กลุ ม ฟี ค อลโคลิ ฟ อร์ ม ที่ มั ก พบใน อุจจาระอยูท่ ี่ 325 ซีเอฟยู/100 มล. (ไม่ควรเกิน 100 ซีเอฟยู) และกลุม่ เอ็นเทอโรคอกไค ที่เกิดจากน�้ำเสีย ในครัวเรือน อยูท่ ี่ 445 ซีเอฟยู/100 มล. (ไม่ควรเกิน 35 ซีเอฟยู) เช่นเดียวกับปีล่าสุด ยังพบค่า แบคทีเรียทัง้ 2 กลุม่ เกินมาตรฐาน คือ ร้อยละ 17 และ ร้อยละ 38 ตามล�ำดับ ทัง้ หมดบ่งชีว้ า่ แหล่งน�ำ้ มีโอกาส ปนเปื ้ อ นหรื อ มี ก ารแพร่ ก ระจาย ของเชื้อที่อาจทําให้เกิดโรคในระบบ ทางเดินอาหาร

เมือ่ คนมากขึน้ สิง่ ปฏิกลู ก็เพิม่ ตาม ขยะที่ เ คยมี วั น ละ 15 ตั น เมื่ อ 5 ปีที่แล้ว ตอนนี้เพิ่มขึ้นเป็นวันละ 30 - 40 ตัน แต่มเี รือขนขยะเพียง 1 ล�ำ เท่านัน้ โดยปกติจะมีการขนขยะกลับไป ทิง้ ทีฝ่ ง่ั วันละ 2 ครัง้ ครัง้ ละ 12 ตัน รวมวันละ 24 ตัน ทีเ่ หลือทิง้ ไว้ทพี่ กั ขยะบริเวณไหล่เขาทางไปหาดแสม ซึง่ มีขยะสะสมอยูน่ บั หมืน่ ตัน ช่วงไหน ที่เรือขนขยะช�ำรุด ขยะก็จะตกค้าง เพิม่ เป็นทวีคณ ู “เมือ่ ก่อนเมืองพัทยาเคยจะสร้าง เตาเผาขยะบนเกาะ แตพวกเรา กลัวกลิน่ ควันจึงอยากสร้างโรงอัดขยะ แทน ทีแรกนึกว่าจะสร้าง เพราะเห็น มี ก ารขุ ด เตรี ย มพื้ น ที่ แตตอนนี้ จากป่าไม้สค ู่ อนกรีต กลายเป็ น ที่ ทิ้ ง ขยะ จนมี ป ั ญ หา เมื่อนักท่องเที่ยวมาก รีสอร์ท เรือ่ งแมลงวัน ขยะล้นเกาะเป็นปัญหา เพิม่ ขึน้ จ�ำนวนป่าไม้บนเกาะก็ลดลง ใหญ่ของเรา” กิจ ชาวบ้านที่อาศัย ภาพถ่ า ยดาวเที ย มบริ เ วณท่ า เรื อ บนเกาะล้าน ระบุ ทัง้ 2 แห่ง บนเกาะ เป็นข้อยืนยัน ยั ง มี ข ้ อ มู ล จ า ก ส� ำ นั ก ง า น ทะเลใสเพียงตาเปล่า เมื่อเดินส�ำรวจตามแนวท่าเรือ จุดวิกฤตปะการัง เมื อ งพั ท ยา สาขาเกาะล้ า น วา เมือ่ นักท่องเทีย่ วเพิม่ ขึน้ การควบคุม ดูแลก็เป็นไปได้ยาก ส่งผลให้ปะการัง ทั้งน�้ำตื้นและน�้ำลึกหัก แม้ชาวบ้าน ได้แจ้งไปยังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง แต่กลับถูกเมินเฉย สุวิทย์ หัสบัวเนียม ชาวบ้าน บนเกาะล้าน เล่าว่า นักท่องเที่ยว นิ ย มด� ำ น� ำ แบบสน็ อ กเกิ้ ล และ ซี ว อร์ ค เกอร์ ท� ำ ให้ เ ท้ า ลงไปแตะ พื้ น สมุ ท ร เมื่ อ การดู แ ลเป็ น ไป ล�ำ้ ทะเล?: รีสอร์ทสร้างยืน่ ลงไปในทะเล บริเวณท่าเรือหน้าบ้าน

LOOKSILP-PRINT-200160.indd 28

อย่างหละหลวม ท�ำให้ปะการังหัก และตายไปเป็นจ�ำนวนมาก ขณะที่ ส า น ชาวประมง บนเกาะล้าน เล่าว่า ตอนที่ออกไป หาปลามักพบบริษัททัวร์บางบริษัท ลั ก ลอบย้ า ยปะการั ง น�้ ำ ลึ ก จาก จุดที่สมบูรณ์ไปตกแต่งบริเวณจุดที่ เปิดให้นกั ท่องเทีย่ วด�ำน�ำ้ “บริ ษั ท ทั ว ร์ เ หล่ า นี้ ห มุ น เวี ย น หาจุดที่มีปะการังสภาพดีไปเรื่อย ๆ แต่เมือ่ แจ้งเจ้าหน้าทีแ่ ล้วกลับไม่ได้รบั ความสนใจ ผมก็ไม่รวู้ า่ จะท�ำอย่างไร” ชาวประมงบนเกาะล้าน กล่าว ธรณ์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์ รองคณบดี ค ณ ะ ป ร ะ ม ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย เกษตรศาสตร์ ให้ขอ้ มูลว่า ปะการัง บริเวณเกาะล้านที่เคยสมบูรณ์เมื่อ 40 ปีก่อน ตายลงเรื่อย ๆ ปัจจุบัน เหลือเพียงร้อยละ 20 - 30 เท่านัน้ ช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา ตายเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5 เพราะนักท่องเทีย่ วเข้ามามากขึน้ แนะคุมจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ขึน ้ เกาะ

ธรณ์ อธิบายอีกว่า การฟืน้ ฟูระบบ นิเวศของเกาะล้านเป็นไปได้ยาก เพราะ ไม่มีการควบคุมเรื่องเรือและจ�ำนวน นักท่องเทีย่ ว ตนไม่เชือ่ ว่า จะจ�ำกัด จ�ำนวนคนขึ้นเกาะได้ และไม่เชื่อว่า จะมีนกั ท่องเทีย่ วมาเทีย่ วทีน่ เี่ พียงแค่ 5.5 ล้ า นคน ตามที่ ส� ำ นั ก งาน เมืองพัทยา สาขาเกาะล้าน อ้าง “ ถึ ง จะฟื ้ น ฟู ไ ปก็ แ ก้ ไ ม่ ไ ด้ ต้ อ ง ควบคุมจ�ำนวนนักท่องเที่ยวให้ ได้นอ ้ ยลงกว่านีก ้ อ ่ น ”

ด้าน บุญเสริม ขันแก้ว ผูอ้ ำ� นวยการ กองพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว กรมการ ท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา ชี้แจงว่า การท่องเที่ยว ไทยยังมุง่ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ดึงคนมาเยอะโดยทีไ่ ม่มองถึงศักยภาพ การรองรั บ ท� ำ ให้ ส ่ ง ผลกระทบ กับสิง่ แวดล้อม แต่การจ�ำกัดจ�ำนวน นั ก ท่ อ งเที่ ย วตามสถานที่ ต ่ า ง ๆ

ของประเทศคงท�ำได้ยาก “กรณี เ กาะล้ า นอาจให้ ชุ ม ชน ท� ำ แผนผั ง ความเชื่ อ มโยงของ แหล่งท่องเที่ยวทั้งเกาะ เพื่อไม่ให้ มากระจุ ก อยู ่ ที่ เ ดี ย ว แต่ ยั ง ติ ด ขั ด ด้านการประสานความร่วมมือจาก ทั้ ง ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร บ น เ ก า ะ บริษทั ท่องเทีย่ ว และชาวบ้านในพืน้ ที่ ตอนนี้จึงเป็นเรื่องท้องถิ่นที่จะต้อง เข้ า ไปแก้ ป ั ญ หาอย่ า งเร่ ง ด่ ว น” ผู้อ�ำนวยการกองพัฒนาแหล่งท่อง เทีย่ ว กล่าว เมืองพัทยารับเกาะโทรมจริง แต่กำ� ลังเร่งแก้

ขณะที่ ชวลิต ประดิษฐพฤกษ์ รั ก ษาการผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งาน เมืองพัทยา สาขาเกาะล้าน ยอมรับว่า จ�ำนวนนักท่องเทีย่ วอาจจะมีมากกว่า ปีละ 5.5 ล้านคน เพราะใช้วิธีการ ให้บริษทั ท่องเทีย่ วมาแจ้งจ�ำนวน “ถ้าจะให้คมุ จ�ำนวนนักท่องเทีย่ ว คงท�ำไม่ได้ เพราะต่างชาติซื้อทัวร์ เป็นแพ็คเกจ มาพันคน จะให้เขา ขึน้ เกาะแค่ 500 คน มันเป็นไปไม่ได้” ชวลิต กล่าว เขาบอกอี ก ว่ า การแก้ ป ั ญ หา สภาพแวดล้อมบนเกาะทรุดโทรม ก�ำลังศึกษาโครงการก่อสร้างเตาเผา ขยะไร้ควันบนเกาะ เพื่อแก้ปัญหา ขยะตกค้ า ง แต่ ร ะยะเฉพาะหน้ า ใช้การฉีดพ่นจุลินทรีย์เพื่อแก้ปัญหา เรือ่ งกลิน่ และแมลงวัน ส่ ว นเรื่ อ งการรุ ก พื้ น ที่ ชวลิ ต ยอมรั บ ว่ า มี รี ส อร์ ท มากกว่ า 50 ราย เข้าข่ายรุกล�ำ้ พืน้ ทีท่ งั้ ทะเลและ บนภูเขา หากกระบวนการตรวจสอบ เสร็จสิ้นพบว่า มีความผิดจริงก็จะ ด�ำเนินการรือ้ ถอนต่อไป “ขณะที่ การฟืน้ ฟูปะการัง พบว่า มี ก ารขนย้ า ยปะการั ง เกิ ด ขึ้ น จริ ง ซึ่งได้ด�ำเนินคดีตามกฎหมายไปแล้ว หลายรายและอยู่ในระหว่างฟื้นฟู ตอนนี้ปะการังในส่วนที่ไม่ฟอกขาว ฟืน้ ตัวกว่าร้อยละ 80 และมีแนวโน้ม ดีขนึ้ เรือ่ ย ๆ” เขาระบุ บุรยา อังประชา

21/1/2560 16:38:58


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.