สื่อสรางสรรค นําสังคม ลูกศิลปออนไลน
ปที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทรที่ 27 มกราคม 2563
ขึน ้ คาเรียนเหยียบแสน! 2ทศวรรษพุง เกินเงินเฟอ
22 ป มหาวิทยาลัยรัฐขึ้นคาเรียนทั้งหลักสูตรเหยียบแสน! จุฬาฯ อันดับ 1 วิศวะฯ ขึ้นจาก 3.2 หมื่นบาท เปน 1.6 แสนบาท พบบางแหงเพิ่มทวีคูณตอนเปลี่ยนเก็บ เหมาจาย-ออกนอกระบบอยางวิศวะฯ มศว. ป 41 จาก 3 หมืน ่ บาท เปน 1.2 แสนบาท สถิตช ิ ด ั ขึน ้ คาเทอมเหนือคาครองชีพ ดานผูป กครองตองวิง ่ กูเ งิน นักวิชาการ ชี้ปรับตามกันทําผูเรียนไมมีทางเลือก ผูบริหารอางพิจารณาดีแลว-ผานกรรมการหลายชุด อดีต ทปอ. แจงรัฐไมมีนโยบายคุมคาเรียนป.ตรี อานตอหนา 2
น.5
ถอดรื้อ ‘ทุ น นิ ย ม’ ใ น ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า
น.8
ธุรกิจ การศึกษา หรือ
กวาจะได 12 ม.
ลมหายใจสุ ด ท า ย
สกุลชาง
100 - 550%
ป62
ขอมูลคาเทอม
น.10
คาเทอมขึ้นโหด
ป40
สแกนเพื่อรับชม
โมชั น กราฟ ก
คาเทอมเฉลี่ย 129,750 บาท
คาเทอมเฉลี่ย 38,800 บาท
ที่มา: ระเบียบคาธรรมเนียมการศึกษาของแตละมหาวิทยาลัย
เมื อ งเพชรบุ รี
ตี-ตบหนา-เรียกประจาน
น.16
วิธีครูไทยลงโทษนักเรีย น
ทั้งลงไมและดุดา! สํารวจพบนักเรียนไทยรอยละ 95 ยังถูกครูลงโทษทั้งรางกาย จิตใจ ตีดวยไมเรียว ตบหัว ตบหนา ปาหนังสือ-แปรงลบกระดานใส เรียกโชวตัว ประจานหนาเสาธง ทําเด็กซึมซับความรุนแรง สถิติ 5 ป 114 กรณีแตพก ั ใบอนุญาต แค 8 ราย เผยมักไกลเกลีย ่ จบแคในโรงเรียน ส.ว.เตรียมเสนอครูตอ งเรียนวิชาลงโทษ สรางสรรค ศธ.ปลูกฝงจิตวิทยาใหครูหวังลดปญหา
ทะเลไทยเดือด
คลื่นแรง นํ้ า เ ป็ น ก ร ด
ไมเรียวทําโทษ: วัฒนธรรม ความรุนแรงของครูไทย
อานตอหนา 18
2
ข่าวเด่น
ลูกศิลป์
ตอจากหนา 1 ห นั ง สื อ พิ ม พ ์ ลู ก ศิ ล ป ์ ต ร ว จ ส อ บ ค่ า เล่ า เรี ย นมหาวิ ท ยาลั ย รั ฐ ของไทย 12 แห่ง จาก 5 ภาค ตั้งแต่ปีการศึกษา 25402562 มีคณะวิศวกรรมศาสตร์เป็นตัวแทน สายวิ ท ยาศาสตร์ เ นื่ อ งจากมี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยวิ ช า ภาคปฏิบตั ิ และคณะอักษรศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เป็นตัวแทนสายศิลปศาสตร์ ได้ข้อมูลครบ 22 ปี จ�ำนวน 5 แห่ง ปรากฏ ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ขึ้ น ค่ า เล่ า เรี ย นทั้ ง หลักสูตรสูงสุดเป็นอันดับ 1 คือ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จาก 32,000 บาท เป็น 168,000 บาท ต่อ หลักสูตร 4 ปี หรือปรับเพิ่ม 136,000 บาท ส่วนคณะอักษรศาสตร์ จาก 32,000 บาท เป็น 136,000 บาท ต่อหลักสูตร 4 ปี หรือปรับเพิ่ม 104,000 บาท ส่วนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขึ้นค่า เล่าเรียนทั้งหลักสูตรน้อยที่สุดในรอบ 22 ปี โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ จาก 47,000 บาท เป็น 138,000 บาท หรือปรับเพิม่ 91,000 บาท ส่วนคณะมนุษยศาสตร์ จาก 40,000 บาท เป็น 103,000 บาท หรือปรับเพิ่ม 63,000 บาท ผู ้ สื่ อ ข่ า วยั ง พบว่ า ช่ ว งมหาวิ ท ยาลั ย เปลี่ยนระบบจ่ายเงินจากเก็บตามหน่วยกิต ที่ ล งทะเบี ย นจริ ง (ระบบหน่ ว ยกิ ต ) มา เป็นเหมาจ่ายราคาเดียว (ระบบเหมาจ่าย) เป็ น ช่ ว งขึ้ น ราคาก้ า วกระโดด ที่ ม ากสุ ด คื อ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ ปีการศึกษา 2541 จาก 30,000 บาท เป็น 120,000 บาท ต่อหลักสูตร 4 ปี หรือปรับเพิ่ม 90,000 บาท รองลงมา คือ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2556 จาก 47,000 บาท เป็น 120,000 บาท ต่อหลักสูตร 4 ปี หรือปรับเพิ่ม 73,000 บาท นอกจากนี้ยังพบว่า ช่วงเปลี่ยนสถานะ เป็นมหาวิทยาลัยนอกระบบ บางแห่งปรับราคา ขึ้นอีกครั้ง คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี การศึ ก ษา 2558 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จาก 152,000 บาท เป็น 200,000 บาท ต่อ หลักสูตร 4 ปี หรือปรับเพิ่ม 48,000 บาท และคณะมนุษยศาสตร์จาก 96,000 บาท เป็น 120,000 บาท ต่อหลักสูตร 4 ปี หรือปรับเพิ่ม 24,000 บาท ล่าสุดปีการศึกษา 2563 จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ประกาศปรับขึ้นค่าเล่าเรียน ตลอดหลักสูตรในทุกสาขาวิชา โดยคณะอักษร ศาสตร์จาก 136,000 บาท เป็น 168,000 บาท หรือปรับเพิ่ม 32,000 บาท และคณะ วิศวกรรมศาสตร์จาก 168,000 บาท เป็น 204,000 บาท หรือปรับเพิ่ม 36,000 บาท
เคียงอัตราเงินเฟ้อ และค่าครองชีพที่สูงขึ้น พบว่า ดัชนีผู้บริโภคสูงขึ้นร้อยละ 77.2 หรือ ประมาณ 1 เท่าในรอบ 22 ปี เทียบง่าย ๆ คือ อาหาร 1 จาน ราคา 20 บาท ในปี 2540 ราคา ที่สมเหตุสมผลในปี 2562 จะอยู่ที่ 40 บาท แต่ปรากฏว่า หลายแห่งขึ้นค่าเรียนสูงไปกว่า นั้น เช่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ปรับขึ้นจาก 30,000 บาท เป็น 120,000 บาท ต่อหลักสูตร 4 ปี คิดเป็น ร้อยละ 566.7 หรือเกือบ 6 เท่าจากปี 2540 ส่วนที่ขึ้นค่าเล่าเรียนต�่ำสุด คือ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จาก 73,000 บาท เป็น 128,000 บาท ต่อหลักสูตร 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 75.3 ใกล้เคียงกับดัชนีผู้ บริโภคที่เพิ่มขึ้นในรอบ 22 ปีที่ผ่านมา (สแกน ดูจากคิวอาร์โค้ด) พ่อแม่หนี้หนักจากค่าเทอมแพง
นางพรพรรณ รอดข�ำ ข้าราชการของ สหกรณ์แห่งหนึ่งในจังหวัดพิจิตร กล่าวว่า มีลกู สาว 2 คน คนแรกเรียนคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ชั้นปีที่ 3 ค่าเรียนทั้ง หลักสูตร 4 ปี รวมราว 120,000 บาท หรือ เทอมละ 15,000 บาท อี ก คนเรี ย นคณะ เทคโนโลยี ก ารเกษตรเทคโนโลยี ร าชมงคล ล้านนา วิทยาเขตพิษณุโลก ชั้นปีที่ 2 ค่า เรียนทั้งหลักสูตร 4 ปี ราว 56,000 บาท หรือเทอมละ 7,000 บาท ขณะที่ตนมีรายได้ เดือนละ 19,000 บาท “เมื่อหักลบกับรายจ่ายจ�ำเป็นในบ้าน มีเงินใช้ต่อเดือนไม่ถึงหมื่นบาท ต้องท�ำงาน พิเศษหลังเลิกงานเกือบทุกวัน พอมีรายได้ เพิ่มขึ้นอีกประมาณ 3,000-4,000 บาท แต่ ยังไม่พอใช้จา่ ย สามีกต็ อ้ งกูส้ หกรณ์ออมทรัพย์ หลักล้าน และผ่อนจ่ายงวดละเป็นหมืน่ เจอค่า เทอมราคาแพงอีกเป็นหมื่นก็แทบไม่มีเงินมา จ่ายแล้ว” นางพรพรรณ กล่าว นายวิทวัส กาพย์เกิด หนึ่งในนักศึกษา ที่ท�ำงานพิเศษระหว่างเรียน กล่าวว่า ปกติ มี ร ายได้ จ ากการท� ำ งานพิ เ ศษทั้ ง เปิ ด เทอม และปิดเทอม และเงินจากครอบครัวรวมแล้ว ประมาณ 6,000 บาท แต่มีรายจ่ายประมาณ 10,000 บาท ต่ อ เดื อ น เมื่ อ แม่ ที่ เ ป็ น เสา หลั ก ของครอบครั ว ล้ ม ป่ ว ยหนั ก ตนต้ อ ง ท�ำงานพิเศษเพิ่มขึ้นจากเดิมอีก 2 วัน ตั้งแต่ 17.00 น. - 22.00 น. ถือว่า หนักแต่ก็อดทน ปรับตามกันท�ำนศ.ไม่มีทางเลือก
นายเดชรัต สุขก�ำเนิด อาจารย์ประจ�ำ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่ า วว่ า ค่ า เล่ า เรี ย นของมหาวิ ท ยาลั ย มี ราคาแพงมาจาก 3 ปัญหาที่สัมพันธ์กันคือ 1) มหาวิ ท ยาลั ย มี ร ายได้ ไ ม่ แ น่ น อนจึ ง เลื อ กหารายได้ ที่ ค ่ า เล่ า เรี ย นเป็ น หลั ก 2) มหาวิทยาลัยเลือกลงทุนสิ่งที่เป็นต้นทุน คงที่ ม ากไป เช่ น อาคารหรื อ สถานที่ เ รี ย น สถานการณ์ อ าจดี ขึ้ น หากลดการลงทุ น ใน ส่ ว นนี้ และเพิ่ ม สวั ส ดิ ก ารให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา สถิติชัดขึ้นค่าเทอมเหนือค่า ครองชีพ และ 3) การไม่มีเกณฑ์ในการก�ำหนดว่าการ ผู ้ สื่ อ ข่ า วสื บ ค้ น ดั ช นี ผู ้ บ ริ โ ภคจาก บริหารทีด่ เี ป็นอย่างไร ทัง้ เรือ่ งจ�ำนวนหน่วยกิต กระทรวงพาณิชย์ ระหว่างปี 2540–2562 และสวัสดิการที่นักศึกษาควรจะได้ เพื่ อ น� ำ อั ต ราการขึ้ น ค่ า เล่ า เรี ย นมาเที ย บ “พอมหาวิทยาลัยไม่ได้กำ� หนดสวัสดิการ
ที่พึงมีส�ำหรับนักศึกษา จึงกลายเป็นสิ่งที่ต้อง ไปต่อรองกันเอาเอง ทั้งที่จริงควรมีมาตรฐาน เอาง่าย ๆ สัญญาณอินเทอร์เน็ตต้องแรงระดับ ไหนหรือพื้นที่ส�ำหรับนักศึกษาต้องมีถึงระดับ ไหน ห้องสมุดหรือพื้นที่สีเขียวต้องมีกี่ตาราง เมตรต่อคน แต่เราไม่มีมาตรฐานในการให้ บริการ” นายเดชรัต กล่าว เมื่ อ ถามถึ ง การเปลี่ ย นสถานะเป็ น มหาวิทยาลัยในก�ำกับท�ำให้อ้างว่าต้องเก็บค่า เล่าเรียนเพิ่ม นายเดชรัต กล่าวว่า ในด้านของ เศรษฐศาสตร์อาจถูกแค่ส่วนหนึ่ง แต่อีกด้าน หนึ่งอาจเป็นเพราะนักศึกษาไม่มีทางเลือก เนื่องจากมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงนั้นปรับค่า เทอมให้สูงขึ้นก็ส่งผลให้มหาวิทยาลัยอื่น ๆ ต้องปรับค่าเทอมให้สูงขึ้นตาม ยังไม่รวมการ เปิดหลักสูตรพิเศษราคาสูงด้วย นายเกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว อาจารย์ ประจ� ำ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเปลี่ยนระบบการ จ่ายค่าเทอมจากหน่วยกิตเป็นเหมาจ่ายต้อง สื่ อ สารให้ ชั ด ว่ า เรี ย นได้ ไ ม่ เ กิ น กี่ ห น่ ว ยกิ ต ต่อเทอม เพราะปัจจุบนั ยังไม่มกี ารแก้ปญ ั หาใน ส่วนนี้ ซึ่งความจริงต้องชี้แจงก่อนที่นักศึกษา จะเข้าเรียน นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยต้อง ค�ำนึงด้วยว่า คุณภาพการศึกษาของผู้เรียนจะ ต้องดีขนึ้ จนท�ำให้พวกเขาสามารถสร้างรายได้ หลังเรียนจบได้มากขึน้ และต้องไม่เป็นการตัด โอกาสเด็กที่ไม่มีก�ำลังจ่าย สิ่งที่ใส่เพิ่มไปต้อง กลับมาที่นักศึกษาเป็นหลักในเรื่องคุณภาพ ไม่ใช่กลับไปที่ผู้บริหาร จุฬาฯปัดตอบขึ้นค่าเทอม
ผู ้ สื่ อ ข่ า วพยายามติ ด ต่ อ ไปยั ง นาย บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย แต่ อ ธิ ก ารบดี ม อบหมายให้ นพ.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล รองอธิการบดีก�ำกับ ดูแลด้านยุทธศาสตร์แผนและงบประมาณ ให้ สัมภาษณ์แทน ซึ่งเมื่อติดต่อและส่งจดหมาย ขอสัมภาษณ์ผ่านไปทางนางปุณณพร พ่วง ตระกูล เลขานุการรองอธิการบดี ได้รับแจ้ง ว่า ขณะนี้การขึ้นค่าเล่าเรียนของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยยังเป็นที่สนใจของสังคม รอง อธิการบดียังไม่สามารถให้สัมภาษณ์ได้ มศว.แจงปรับทีละน้อยเพือ ่ คุณภาพ
นายน� ำ คุ ณ ศรี ส นิ ท รองคณบดี ฝ ่ า ย วิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ชี้แจงว่า การปรับขึ้นราคา ค่าเรียนพิจารณาจาก 3 ปัจจัย คือ 1) ค่าครอง ชีพทีป่ รับขึน้ ร้อยละ 1-2 ต่อปี 2) การปรับปรุง คุณภาพของหลักสูตรที่ตอบโจทย์ผู้ประกอบ การรวมถึ ง ห้ อ งเรี ย น อาคารเรี ย น และ สวัสดิการต่าง ๆ และ 3) การที่มหาวิทยาลัย ออกนอกระบบท� ำ ให้ รั ฐ จั ด งบประมาณให้ น้อยลง ซึง่ ไม่ใช่แค่ทนี่ ี่ แต่ทกุ มหาวิทยาลัยล้วน เจอสถานการณ์แบบนี้ “ค่ า เทอมของคณะยั ง อยู ่ ใ นขั้ น ที่ ยั ง ดี เทียบกับทีอ่ นื่ ตอนนีส้ งู สุดอยูป่ ระมาณ 40,000 บาท ส่วนของเราไม่ได้ขึ้นค่าเรียนมานานจึง ปรับขึ้นทีละน้อย และได้เปรียบเทียบกับที่ อื่น ๆ แล้วจึงให้สภามหาวิทยาลัยพิจารณา ซึง่ ผ่านการตรวจสอบจากกรรมการหลายชุด”
นายน�ำคุณ กล่าว ส่วน นายชัยวัฒน์ นันทศรี รองคณบดี ฝ่ า ยแผนงานและนวั ต กรรม คณะมนุ ษ ย์ ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ชี้ แ จงว่ า เกณฑ์ประกอบการพิจารณาขึ้นค่าเล่าเรียน มหาวิทยาลัยเป็นผู้ตัดสินใจ “ส่วนตัวมองว่า เป็นเรื่องของค่าใช้จ่าย ที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะงบลงทุนพวกการสร้าง อาคารเรียนหรือการที่มหาวิทยาลัยอื่นขึ้นค่า เทอมจึงต้องขึ้นตาม รวมถึงค�ำนวณรายรับ จากนักศึกษาที่เข้ามาให้พอกับค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ คณะเราไม่ได้แพงอันดับต้น แต่ราคาอยูอ่ นั ดับ ล่าง ๆ” นายชัยวัฒน์ กล่าว เมื่ อ ถามว่ า การขึ้ น ราคาอาจจะโดด เกิ น จากเงิ น เฟ้ อ นายชั ย วั ฒ น์ กล่ า วว่ า มหาวิทยาลัยไม่ได้น�ำอัตราเงินเฟ้อ และค่า ครองชี พ มาประกอบการพิ จ ารณา แต่ ค ง พิจารณาตามความเป็นจริง ก.อุดมฯ-ทปอ.โยนเป็นอ�ำนาจ แต่ละม.พิจารณา
ผู ้ สื่ อ ข่ า วพยายามติ ด ต่ อ สั ม ภาษณ์ นายสุ วิ ท ย์ เมษิ น ทรี ย ์ รั ฐ มนตรี ก ระทรวง อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม แต่เขาปฏิเสธว่า กระทรวงฯ ไม่ได้มีอ�ำนาจ ในทางนี้โดยตรง พร้อมแนะน�ำให้สอบถาม นายสัมพันธ์ ฤทธิเดช เลขาธิการคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา (กกอ.) แต่ เ มื่ อ ติ ด ต่ อ ไป นายสัมพันธ์ ส่งให้พูดคุยผ่านเลขานุการ และ ได้รับค�ำตอบจากเลขานุการว่า กกอ. ไม่ได้ ดูแลเรื่องนี้ แต่เป็นอ�ำนาจพิจารณาของแต่ละ มหาวิทยาลัย ผู ้ สื่ อ ข ่ า ว โ ท ร ศั พ ท ์ ข อ สั ม ภ า ษ ณ ์ นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ประธานที่ประชุม อธิ ก ารบดี แ ห่ ง ประเทศไทย (ทปอ.) แต่ ได้รับค�ำตอบว่า ติดภารกิจอยู่ต่างจังหวัด และ เรือ่ งการขึน้ ค่าเล่าเรียนเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งพูดในที่ สาธารณะเท่านั้นจึงไม่สามารถให้สัมภาษณ์ได้ ขณะที่ นายพี ร ะพงศ์ ตริ ย เจริ ญ อดีตผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. กล่าวว่า ทปอ. ไม่มีนโยบาย กรอบหรือเกณฑ์ใด ๆ ในการ ควบคุมค่าเล่าเรียนของมหาวิทยาลัย โดยให้ เป็ น อ� ำ นาจหน้ า ที่ ข องสภามหาวิ ท ยาลั ย ใน การพิจารณา
ล
กิตติทัศน์ เรืองพัชรวงศ์ ณัฐธนีย์ ลิ้มวัฒนาพันธ์ ปริมาพร สุขนิพิฐพร
สแกนเพื่อรับชม
โฟโต้ อั ล บั ม
สิทธิการศึกษา
หยดน�้ำตาและหยาดเหงื่อ ความจริงนักศึกษากยศ. ส่วนเงื่อนไขการท�ำกิจกรรมให้มหาวิทยาลัยหลังจากกู้ ผ่านแล้ว เขาบอกว่าถ้าเข้าร่วมงานในมหาวิทยาลัย 1 วัน จะให้ ชั่วโมงกิจกรรม 3 ชั่วโมง ถ้าเป็นผู้รับผิดชอบโครงการจะได้ 6 ชั่วโมง แต่ถ้าท�ำนอกมหาวิทยาลัยก็จะมีเกณฑ์ที่แตกต่างกันไป “ช่วงปิดเทอมอาจจะไปช่วยงานวัด ไปสอนหนังสือเด็ก ในโรงเรียนหรือไปพัฒนาชุมชน ท�ำกิจกรรม 3 ชั่วโมง เราให้ 1 ชั่วโมง เช่น ไปมูลนิธิ 8.30-16.30 น. มันก็ไม่ได้ท�ำงานตลอด เวลา เราเปรียบเทียบการให้ชั่วโมงกับการท�ำงานพาร์ทไทม์ เพราะระยะเวลาในการท�ำงานของแต่ละคนไม่เท่ากัน” นิพนธ์ ชี้แจง ความน่ากังขาในการพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติเงินกู้ กยศ. ที่นักศึกษาผู้กู้สะท้อนออกมานั้น เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว อาจารย์ประจ�ำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เห็นว่า นี่เป็นระบบการคัดกรองผู้กู้ของ กยศ. ที่ยังบกพร่อง เกิดจากข้อมูลของ กยศ. กับข้อมูลของนักศึกษามีไม่เท่ากัน ท�ำให้พิสูจน์รายได้ยาก จึงต้องมีกระบวนการพิสูจน์ที่แน่นอน ด้วยการให้มีการรับรองรายได้จากคนในท้องถิ่น และต้องมี การลงพื้นที่เป็นประจ�ำ เนื่องจากปัจจุบันเจ้าหน้าที่จะลงพื้นที่ แค่ตอนขอกู้เท่านั้น “ปัญหาของ กยศ. คือ การจัดสรรเงินที่ลงไปไม่ถึงผู้ที่ ต้องการกู้จริง ๆ เพราะ กยศ. ยังคงต้องพึ่งมหาวิทยาลัยในการ ประเมินผู้กู้ ซึ่งจะแก้ปัญหาได้ด้วยการออกระเบียบเกณฑ์การ พิจารณาจากกองทุนฯ โดยตรง” นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ แนะน�ำ ส่วนข้อเท็จจริงเรื่องเงื่อนไขหลังกู้ผ่านที่ว่า เวลาการ ท�ำงานจริงให้มหาวิทยาลัยกับการได้ชั่วโมงการท�ำงานที่ไม่ เท่ากันนั้นเขาเห็นว่า ต่อไปมหาวิทยาลัยต้องก�ำหนดขอบเขต และแจ้งรายละเอียดให้กับนักศึกษาที่กู้อย่างชัดเจนเพื่อความ เป็นธรรม ในระดับนโยบายภาครัฐ วีรศักดิ์ ดวงดารา ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายกู้ยืม กยศ. ชี้แจงว่า หน่วยงานกลางมีหน้าที่ให้ความรู้เรื่อง การปฏิบัติงาน และระเบียบข้อบังคับให้มีความเข้าใจตรงกัน ส่วนที่มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง ก�ำหนดเงื่อนไขการท�ำ จิตอาสาหลังได้รับกู้ กยศ. แล้วนั้นเขาบอกว่า มีจุดประสงค์ เพือ่ สร้างจิตส�ำนึกให้ผกู้ นู้ กึ ถึงผูอ้ นื่ และมีจติ สาธารณะต่อสังคม เช่น การท�ำค่ายอาสาพัฒนาชนบท โดย กยศ. ก�ำหนดเกณฑ์ไว้ ปีการศึกษาละ 36 ชั่วโมง ส�ำหรับข้อสังเกตที่ว่า ผู้กู้ต้องท�ำงานพิเศษหารายได้ มาช่วยอีกทางหนึ่ง แต่ไปชนกับการเก็บชั่วโมงจิตอาสานั้น เขาเห็นว่า การเข้าร่วมกิจกรรมอาสาจะช่วยเสริมประสบการณ์ ด้านอื่น ๆ “เรือ่ งเมือ่ กูแ้ ล้วเรียนไม่ไหว มันเป็นเรือ่ งของนักศึกษาเอง กองทุนฯ ไม่ได้เข้าไปดูแลตรงนั้น เพราะการบริหารการเรียน นักศึกษาต้องดูแลตัวเอง ซึ่งเราก็ช่วยเหลือในด้านการเงินเพื่อ ให้ได้รับโอกาสก่อน” วีรศักดิ์ ให้เหตุผล
ล
กิตติทัศน์ เรืองพัชรวงศ์ ณัฐธนีย์ ลิ้มวัฒนาพันธ์ ปริมาพร สุขนิพิฐพร
จิตอาสา
36 ชั่วโมง/ปี
กรรม
งกิจ
ชั่วโม
¡กÂยÈศ. .
30
จิต 3 6 อาส ชม า .
รายงาน พิเศษ
“ได้กู้แล้วก็ต้องเก็บชั่วโมงจิตอาสาของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษาละ 36 ชั่วโมง อย่างไรก็ดี เราท�ำงานจริง 6 ชั่วโมง แต่ ก ลั บ มาคิ ด แค่ 3 ชั่ ว โมง ไม่ รู ้ ว ่ า ดู ที่ ค วามยากของงาน หรือเปล่า งานพวกนี้ยังจัดช่วงเปิดเทอมก็ต้องโดดเรียนไปท�ำ กว่าจะเก็บชั่วโมงครบ” หนึ่งในนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคกลางที่กู้เงินจาก กองทุนเพือ่ การศึกษา (กยศ.) บอกถึงเงือ่ นไขทีเ่ ขาต้องการหลัง จากได้กู้จาก กยศ. เขาบอกด้วยว่า หากเก็บชั่วโมงไม่ครบก็ต้องมาตามเก็บ ให้ครบช่วงปิดเทอม เช่น ช่วยนักศึกษาปี 1 ขนของเข้าหอพัก ของมหาวิทยาลัย แต่ก็ไม่ยากนักเพราะได้ชั่วโมงตามงาน ที่ท�ำจริง แต่สุดท้ายถ้าเก็บไม่ครบก็จะไม่สามารถท�ำเรื่องขอกู้ ได้ในภาคการศึกษาถัดไป ส่วนนักศึกษาอีกคนหนึง่ จากมหาวิทยาลัยในมหาวิทยาลัย ภาคกลางเช่นเดียวกัน เล่าย้อนไปอีกว่า กว่าจะได้กตู้ อ้ งท�ำตัวให้ น่าสงสารไว้กอ่ น เคยบอกว่า ท�ำงานพิเศษช่วงปิดเทอมช่วยแบ่ง เบาภาระการเงินของครอบครัวด้วย แต่กรรมการที่สัมภาษณ์ ซึ่งมี 10 คน คงเห็นว่าหาเงินได้เองจึงไม่อนุมัติ ตอนยื่นกู้ ปีถัดไปจึงบอกว่า ถ้าไม่อนุมัติอีกคงไม่ได้เรียนต่อ ขณะที่ นั ก ศึ ก ษาอี ก คนหนึ่ ง จากมหาวิ ท ยาลั ย เก่ า แก่ ของไทยบอกว่า มหาวิทยาลัยให้นักศึกษาผู้ช่วยสอนของคณะ เป็นผู้สัมภาษณ์ ใช้เวลาไม่ถึง 5 นาที และถามแค่ค�ำถามทั่วไป เช่น อาชีพผู้ปกครองและค่าขนมในแต่ละเดือน รวมไปถึงการ จัดการการเงินในครอบครัวเท่านั้น ศาสวัต บุญศรี หนึ่งในคณะกรรมการสัมภาษณ์นักศึกษา ที่กู้เงิน กยศ. ของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร เปิดเผยว่า ในการสัมภาษณ์จะคิดค�ำถาม สัมภาษณ์ด้วยตนเอง โดยดูจากความจ�ำเป็นในชีวิต อาชีพของ ผู้ปกครอง และจะพิจารณาผู้กู้ที่เรียนอยู่ในระดับชั้นสูงก่อน เนื่องจากจะต้องจบการศึกษา แต่ในตอนนี้ยกเลิกระบบโควตา ออกไป การสัมภาษณ์จึงพอเป็นพิธี ไม่ได้ลงรายละเอียดมาก “ในการสั ม ภาษณ์ ที่ เ คยเจอมา พ่ อ เป็ น ข้ า ราชการ ชั้ น ผู ้ ใ หญ่ มี บ ้ า นราคา 14 ล้ า นบาท แล้ ว พ่ อ มาเสี ย ชี วิ ต จะขายบ้านก็ขายไม่ได้ แม่เป็นแม่บ้านไม่มีรายได้ทางอื่น บางคนก็ร้องไห้ ถ้าไม่ได้กู้ก็ไม่มีที่เรียนแล้ว บางทีมันดูแค่ จ�ำนวนเงินอย่างเดียวไม่ได้ ต้องดูเงื่อนไขอย่างอื่นในชีวิต” ศาสวัต บอก ในเรื่องที่มีผู้กู้ฐานะดีแต่ท�ำเรื่องขอกู้ผ่าน เขาเห็นว่า การกู้ กยศ. ไม่เกี่ยวว่าจะรวยหรือจน แต่เป็นสิทธิที่ทุกคน สามารถกู้ได้ เพราะไม่ใช่ทุนให้เปล่า แต่เป็นเงินกู้ติดหนี้ที่ต้อง ใช้คืน เป็นภาระผูกพันของตัวผู้กู้ ส�ำหรับเกณฑ์การพิจารณาเงินกู้ กยศ. ระดับนโยบายของ มหาวิทยาลัยนั้น นิพนธ์ เรืองหิรัญวนิช เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการ นักศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี อธิบายว่า ภาพกว้างคือ รายได้ของครอบครัวผู้กู้จะต้องไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี ส่วนรายละเอียด มหาวิทยาลัยให้เป็น อ�ำนาจของแต่ละคณะจะพิจารณา เพราะใกล้ชิดกับนักศึกษา มากกว่า แต่ก�ำชับให้ตัดสินใจจากความจ�ำเป็นของบุคคลนั้น เป็นหลัก ส่วนการสัมภาษณ์โดยส่วนใหญ่แล้วมีทั้งอาจารย์ และเจ้าหน้าที่ของคณะ
3
ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563
@
รายได 2 แส ไมเกิน นบ าท
ท�ำงาน พิเศษ
4-6 ชั่วโมง/วัน
งาน ในวิชา
เรียน
7 วิชา/สัปดาห์
16ปีครัวเรือนหนี้เพิ่ม เด็กเรียนต่อน้อยลง สถานการณ์เศรษฐกิจส่งผลต่อการใช้จ่ายของครัว เรือนไทยซึ่งกระทบเป็นลูกโซ่ไปถึงค่าใช้จ่ายในการศึกษา ด้วย รายงานข้อมูลสถิติหนี้ครัวเรือนไทย ธนาคารแห่ง ประเทศไทยระบุว่า ตั้งแต่ปี 2546 ไตรมาสที่ 2 เป็นต้น มา สถาบันรับฝากเงินให้กู้ยืม และเงินลงทุนในลูกหนี้ครัว เรือน (บุคคลธรรมดา) จ�ำนวน 2,476,645 ล้านบาท และ เพิ่มขึ้นทุกปี โดยไตรมาสที่ 2 ปี 2562 สถาบันรับฝากเงิน ปล่อยเงินกู้ส่วนหนี้ครัวเรือน จ�ำนวน 11,354,790 ล้าน บาท และมีหนี้ครัวเรือนรวมประมาณ 13 ล้านล้านบาท ขณะเดียวกัน เมื่อตรวจสอบจ�ำนวนนักศึกษาใหม่จาก กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ปี การศึกษา 2547-2560 พบว่า นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีแนวโน้มเข้ามหาวิทยาลัยน้อยลงต่อรุ่น จากปี 2547 ที่มี จ�ำนวน 497,542 คน คิดเป็นร้อยละ 86.63 ของนักเรียนที่ จบมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรุน่ นัน้ ขณะทีป่ ี 2560 มีผเู้ ข้าเรียน มหาวิทยาลัยต่อ 403,537 คน คิดเป็นร้อยละ 80.94 ของ นักเรียนที่จบมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรุ่นนี้ นอกจากนีย้ งั พบข้อมูลจ�ำนวนผูก้ กู้ องทุนกูย้ มื เพือ่ การ ศึกษา (กยศ.) จากรายงานผลการจ่ายเงิน และผลการช�ำระ หนี้ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ปี 2558-2562 ว่า มี ผูก้ ตู้ อ่ รุน่ ในสัดส่วนเพิม่ ขึน้ โดยปีการศึกษา 2558 มีผกู้ รู้ าย ใหม่ในระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี จ�ำนวน 32,816 คน คิดเป็นร้อยละ 7 จากจ�ำนวนนักศึกษาใหม่ในปีนั้น ส่วนล่าสุดปี 2562 มีผู้กู้รายใหม่ในระดับอนุปริญญา และปริญญาตรีจ�ำนวน 42,172 คน คิดเป็นร้อยละ 12.74 จากจ�ำนวนนักศึกษาใหม่ในปีนี้
4
บทบรรณาธิการ
ลูกศิลป์
ธุรกิจในคราบการศึกษา รอบ 22 ปี ตั้งแต่ 2540-2560 มหาวิทยาลัยของรัฐหลาย แห่ง ขึ้นค่าเล่าเรียนทั้งหลักสูตรจากประมาณ 20,000 บาท เป็น 150,000 บาท หรือ 6-7 เท่า เมื่อเทียบกับดัชนีผู้บริโภคที่ มีอัตราสูงขึ้นร้อยละ 77 หรือพูดให้ง่ายว่า จากข้าวจานละ 20 บาท ในปี 2540 ควรจะขึ้นเป็น 40 บาท หรือประมาณ 1 เท่า นั่นหมายความว่า มหาวิทยาลัยขึ้นค่าเล่าเรียนไม่สมเหตุสมผล แนวทางแบบนี้น่าสงสัยว่า มหาวิทยาลัยมองนักศึกษา เปลี่ยนไป จากที่พลเมืองควรมีสิทธิเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ และราคาเหมาะสม กลับกลายเป็นลูกค้า ตัวสถานศึกษาเองมอง ว่าจะท�ำอย่างไรให้ตัวเองอยู่รอดในตลาดการขายความรู้ จึงไม่ แปลกใจทีม่ หาวิทยาลัยต่าง ๆ เปิดคณะ และสาขาต่าง ๆ มากขึน้ พร้อมกับค่าเล่าเรียนทีส่ งู ขึน้ ทัง้ หลักสูตรภาษาอังกฤษ ภาคพิเศษ ค่ า เล่ า เรี ย นที่ สู ง ขึ้ น ยั ง ก้ า วกระโดดตอนที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เปลีย่ นจากระบบหน่วยกิตเป็นเหมาจ่าย จนได้ยนิ เสียงนักศึกษา ตั้งค�ำถามถึงความคุ้มค่าระหว่างค่าเล่าเรียนที่พวกเขาจ่ายไป เพราะในความเป็นจริง ผู้เรียนไม่ได้ลงทะเบียนเรียนมากขนาด นั้น เรียน 6-7 วิชาก็หนักแล้ว จะลงทะเบียนเรียนให้คุ้ม 8 วิชา อาจจะหนักเกินไป การค�ำนวณแบบนี้ซึ่งคิดจากการลงทะเบียน จ�ำนวนวิชามากที่สุดจากทางฝั่งมหาวิทยาลัยจึงอาจจะเกินจริง มากไป ยังไม่นับภาคเรียนท้าย ๆ เรียน 3-4 วิชา 10 หน่วยกิต ก็ยังต้องจ่ายเต็ม รวมถึงสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ที่ไม่ร้อย เปอร์เซ็นต์ อาจดูเหมือนเป็นเรื่องเล็ก แต่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และการเรียนของนักศึกษา แม้ จ ะมี ก องทุ น กู ้ ยื ม เงิ น เพื่ อ การศึ ก ษา (กยศ.) แต่ ยั ง มี
นักศึกษาที่หลุดจากการขอกู้เพราะไม่สามารถกู้ได้ เนื่องจาก ทางกองทุนฯ ยกให้เป็นอ�ำนาจการตัดสินใจของสถานศึกษา ซึ่ง แต่ละมหาวิทยาลัยเองก็ได้ก�ำหนดเกณฑ์อื่น ๆ ในการพิจารณา เพิ่มเติม นอกเหนือจากสิ่งที่กองทุนฯ ก�ำหนดในการสัมภาษณ์ เพื่อขอกู้ อีกทั้งเมื่อท�ำเรื่องขอกู้ผ่านแล้ว ผู้กู้จะต้องท�ำชั่วโมง กิจกรรมบริการสาธารณะให้ครบตามที่ กยศ. ก�ำหนดอย่างน้อย 36 ชั่วโมง แต่บางมหาวิทยาลัยก็ไม่ได้จัดกิจกรรมที่เป็นการส่ง เสริมหรือมีการเขียนชั่วโมงกิจกรรมที่ไม่เป็นไปตามจริง รวมถึง ยังมีการปรับค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมที่กฎ และระเบียบของ กยศ. ไม่ได้ก�ำหนดไว้ นักเรียนที่ไม่สามารถหาเงินมาจ่ายค่าเล่าเรียนได้ก็ต้อง ท�ำงานควบคูไ่ ปกับการเรียนทีห่ นักอยูแ่ ล้ว และยังต้องเจียดเวลา มาท�ำกิจกรรมตามเงื่อนไข กยศ. จนอาจเรียนได้ไม่เต็มเม็ดเต็ม หน่วย แต่ก็ต้องจ�ำทนเพราะในโลกของการท�ำงานจริงของไทย ต้องมีใบปริญญาเบิกทางหลังเรียนจบ สุ ด ท้ า ยหลายรายต้ อ งเลื อ กที่ จ ะเปลี่ ย นคณะวิ ช า และ มหาวิทยาลัยที่ตนเองเข้าถึงได้ ทั้งที่มหาวิทยาลัยควรตอบสนอง สิทธิของผู้เรียนในการได้รับบริการทางความรู้ เพื่อพัฒนาทักษะ และคุณภาพชีวิตของตนเองอันน�ำไปสู่โอกาสในชีวิต แต่ในเวลา นีม้ หาวิทยาลัยทีป่ รับอัตราค่าเล่าเรียนทีส่ งู ขึน้ นัน้ ท�ำให้กลุม่ ของ นักศึกษาที่จะเข้าเรียนแคบลง เปิดพื้นที่ให้เด็กที่มีเงินจ่าย และ ผลักเด็กทีม่ ปี ญ ั หาทางการเงินไม่สามารถจ่ายค่าเล่าเรียนได้ออก ไปจนกลายเป็นความเหลือ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาน�ำไปสูค่ วามเหลือ่ ม ล�้ำทางเศรษฐกิจในอนาคต
แกรัฐธรรมนูญ
ส.ว.
ส.ส. รัฐบาล
เกี่ยวกับ
คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการ ณัฐธนีย์ ลิ้มวัฒนาพันธ์ บรรณาธิการศิลปกรรม กิตติทัศน์ เรืองพัชรวงศ์ ฝ่ายศิลปกรรม ชนินทร์ สกุลกานต์กีรติ ปรัชญา นาดี ฝ่ายพิสูจน์อักษร ปริมาพร สุขนิพิฐพร ผู้ประสานงานภาพข่าว ณัฐธนีย์ ลิ้มวัฒนาพันธ์ ปรัชญา นาดี ทีมข่าว กิตติทัศน์ เรืองพัชรวงศ์ ชนินทร์ สกุลกานต์กีรติ ธรรศ พงษ์ไทยวัฒน์ ปวีณา ชูรัตน์ ปริมาพร สุขนิพิฐพร ผู้สื่อข่าวพิเศษ นิษณาต นิลทองค�ำ วิภาภรณ์ สุภาพันธ์ นภสร ทองหล่อ ที่ปรึกษาบรรณาธิการ วุฒิพงษ์ วงษ์ชัยวัฒนกุล รชา เหลืองบริสุทธิ์ วิภาภรณ์ สุภาพันธ์ ศูนย์ข่าวเพชรบุรี กวิน สุวรรณณัฐวิกา กัญญาภัค ทิศศรี กานต์ชนก พรรัตนวิสัย คณิน นวลค�ำ จุลวรรณ เกิดเเย้ม ทัตตพันธุ์ สว่างจันทร์ ปารณีย์ สิงหเสนี พัชฤนาถ ตั้งใจมั่น ทวีโชค ผสม โรงพิมพ์ บริษัท ภัณธรินทร์ จ�ำกัด คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร เมืองทองธานี 80 ถนนป๊อปปูล่า ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 091-7659890 เว็บไซต์ : www.ict.su.ac.th www.ictsilpakorn.com/ictmedia Facebook Fanpage: looksilp Twitter: @looksilp
ศาล รธน.
ลูกศิลป์ สามารถตีความได้สองความหมาย หนึง่ คือ ลูกศิลปากร สองคือ ลูกศิษย์ ของอาจารย์ ศิลป์ พีระศรี ผูก้ อ่ ตัง้ มหาวิทยาลัยศิลปากร ทัง้ ยัง เป็นศิลปินผูม้ มุ านะในการสัง่ สอน และสร้างสรรค์ ผลงาน จนเป็นทีป่ ระจักษ์แจ้งแก่สายตาชาวไทย หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ เป็ น ชิ้ น งานของ คณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร จั ด ทำ�โดยนั ก ศึ ก ษา ชั้น ปี ท่ี 3 เอกการสื่อ สารมวลชน (ข่ า วและ สารคดี) เพือ่ ให้นกั ศึกษาแต่ละรุน่ มีประสบการณ์
ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐพร กาญจนภูมิ (คณบดี) ผู้ช่วยศาสตราจารย์อริน เจียจันทร์พงษ์ อาจารย์ ดร.กันย์พัชญ์ กะลัมพะเหติ อาจารย์ขจรพล หิรัญโชติไพศาล
ตรงในการจั ด ทำ�หนั ง สื อ พิ ม พ์ อ ย่ า งมื อ อาชี พ เตรี ย มพร้ อ มสำ�หรั บ การออกไปฝึ ก งานภาค สนามทุ ก รู ป แบบ ไม่ ว่ า จะเป็ น การฝึ ก งาน จุลนิพนธ์ หรือหลังจบสำ�เร็จการศึกษา โดยขัน้ ตอน การดำ�เนินการ นักศึกษาจะเลือกหัวข้อที่ตัว เองสนใจเพื่อ ลงพื้น ที่โ ดยอาศั ย ทั ก ษะที่ไ ด้ รับ การฝึกฝนมาใน 2 ปีแรก อาทิ การสัมภาษณ์ การถ่ายรูป และแบ่งหน้าที่ตามความถนัดของ แต่ละคน เพื่อจัดทำ�รูปเล่มหนังสือพิมพ์ ไม่ว่า จะเป็น ฝ่ายจัดหน้า ฝ่ายกราฟิก ฝ่ายตรวจทาน
รวมถึงกองบรรณาธิการ ด้านงบประมาณ ทาง คณะจะสนับสนุนงบประมาณ 50% ขณะทีส่ ว่ น ทีเ่ หลือนักศึกษาจะเป็นผูจ้ ดั หาด้วยตนเอง ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการทำ�งานครัง้ นีค้ อื นักศึกษา สามารถผลิ ต หนั ง สื อ พิ ม พ์ คุ ณ ภาพ และได้ มาตรฐานเทียบเท่าหรือมากกว่าทีว่ างขายในท้อง ตลาดรวมถึงนักศึกษาสามารถนำ�ประสบการณ์ท่ี ได้รบั ไปประยุกต์ใช้กบั การฝึกงาน และอาชีพการ งานในอนาคต
สัมภาษณ์พิเศษ
ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี ถอดรื้อ‘ทุนนิยม’ในระบบการศึกษา
“การศึกษาจะท�ำให้ชีวิตของเราดีขึ้น” สิ ท ธิ ก ารศึ ก ษาได้ รั บ การบรรจุ ไ ว้ ใ น ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 1948 ข้อ 26 เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนต้อง ได้รับ เพราะจะท�ำให้มนุษย์มีโอกาสพัฒนา ตัวเองให้ก้าวหน้าขึ้น สามารถท�ำมาหากิน เลีย้ งชีพและด�ำรงอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีศกั ดิศ์ รี สถาบันการศึกษามีหน้าทีท่ จี่ ะตอบสนอง สิ ท ธิ นี้ รั ฐ เองต้ อ งดู แ ลให้ ป ระชาชนเข้ า ถึ ง การศึกษานั้นได้อย่างเสมอภาคกัน และได้รับ การศึกษาอย่างมีคุณภาพ หมายความว่า ต้อง ท�ำให้ผู้เรียน ‘หาความรู้เองเป็น’ หมายความ ว่ า สภาพแวดล้ อ มในการท� ำ มาหากิ น จะ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรก็ตาม ก็สามารถที่จะ เรียนรู้ ปรับตัวให้ประกอบอาชีพนั้นได้อย่างดี เป็นไปตามจรรยาวิชาชีพได้ ทว่าความเป็นจริง อย่างสหรัฐอเมริกา มีข้อมูลจากวอลสตรีท เจอนัล ว่า ค่าเล่าเรียน ของมหาวิทยาลัยทั้งหลักสูตร 4 ปี ที่นั่นเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 1,375 จากปี 1978 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมากกว่า 4 เท่าของอัตราเงินเฟ้อ ขณะ ที่ในประเทศไทย พบว่า บางมหาวิทยาลัย ปรับอัตราค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตรสูงขึ้น ร้อยละ 200-600 ในรอบ 22 ปี คือตั้งแต่ พ.ศ. 2540-2562 ขณะที่เงินเฟ้อสูงขึ้นราว ร้อยละ 77 หรือปรับเพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่า ของอัตราเงินเฟ้อ อาจส่งผลให้นักเรียนที่มี ฐานะยากจน ไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาระดับ อุดมศึกษาได้ มหาวิทยาลัยยังคิดค่าเล่าเรียนในแบบ ‘เหมาจ่าย’ หมายความว่า ไม่ว่าจะเรียนมาก หรือเรียนน้อย ต้องจ่ายเงินก้อนใหญ่เท่ากัน ทุกเทอม ซึ่งเป็นการค�ำนวณบนฐานรายได้ สูงสุดที่ตนจะได้รับ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ไ ด้ รั บ โอกาส จาก ‘ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี’ อาจารย์ภาค วิ ช าเศรษฐศาสตร์ วิ ท ยาลั ย สหวิ ท ยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิเคราะห์ปญ ั หาการ จัดการศึกษาทีต่ ง้ั อยูบ่ นฐานการค�ำนึงถึงตลาด แรงงานในระบบทุนนิยม ที่อาจท�ำให้เรา ๆ ผู้เรียน กลายเป็นเพียง ‘อิฐก้อนหนึง่ บนก�ำแพง’ มหาวิทยาลัยไทยขึ้นค่าเล่าเรียน แพงเกินจริง การปรับค่าเทอม แบบนี้ มาจากฐานคิดอะไร
เกิ ด จากการน� ำ ความคิ ด เรื่ อ งทุ น นิ ย ม มาใช้ กล่ า วคื อ เริ่ ม ตั้ ง แต่ ป ี 2540 มี ก าร ให้ ป ระชาชนรั บ ผิ ด ชอบตนเองและรั ฐ ก็ ล ด สวั ส ดิ ก ารของประชาชนลง โดยในแง่ ข อง ระบบการศึกษาจะเห็นได้ว่า ช่วง 20 ปีที่ผ่าน มา ค่าเล่าเรียนของหลักสูตรภาคปกติไม่ได้แพง ขึน้ มากนัก แต่มหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรพิเศษ เพิ่ม และขึ้นค่าเทอมแบบก้าวกระโดด แต่ กลับใช้ทรัพยากรเท่าเดิม นั่นคือ จ้างอาจารย์ เหมือนเดิม ตึกก็เหมือนเดิม ซึ่งชี้ให้เห็นว่า
มหาวิทยาลัยมองนักศึกษาเป็นเอกชนมากขึ้น การน�ำทุนนิยมเป็นฐานคิดส่งผล ท�ำให้คา่ เทอมแพงขึน้ อ้างว่าการศึกษาคือการ ต่อระบบการศึกษาอย่างไร ลงทุน ซึ่งเป็นวาทะที่พยายามสร้างความชอบ ตรงนี้ยังคงเป็นข้อถกเถียงส�ำคัญในเรื่อง ธรรมให้การตั้งและการขึ้นอัตราค่าเล่าเรียน ปรัชญาการศึกษา เพราะมีคนบอกว่า การ ศึกษาที่ดีคือ จบมาแล้วมีงานท�ำ เพราะฉะนั้น เทียบกับค่าครองชีพ ถือว่าเข้าถึง ยากไหม จะจบมาแล้วมีงานท�ำได้ก็ต้องเอาทุนนิยมเข้า ค่าเทอมมหาวิทยาลัยไทยถือว่าแพงมาก มาเกี่ยว สุดท้ายแล้วในภาคการศึกษาคือการ เพราะคนไทยรายได้เฉลี่ย 11,000-12,000 ตอบโจทย์ในภาคธุรกิจซึง่ ก็ทำ� ให้เจ้าของธุรกิจ บาทต่อเดื อ น รายได้ ต ่ อ ครั ว เรื อ นเดื อ นละ รวยมากขึ้น พูดให้ง่ายคือ เหมือนมีระบบฝึก ประมาณ 26,000 บาท มี ส มาชิ ก 3 คน แรงงานเพื่อเข้ามาสู่ระบบให้ฟรี ๆ เพราะฉะนั้น 1 คน มีรายได้เฉลี่ย 8,500 บาท สิ่งต่อมาคือ มันส่งผลต่อล�ำดับชั้นของ ต่อเดือน แต่ถา้ ลองเทียบค่าเทอมทีเ่ ราต้องจ่าย การจินตนาการของคน ลองคิดดูว่าท�ำไมคน สมมติราว 16,000 บาท ต่อเทอม เทอมหนึ่ง ชนชั้นสูงถึงสามารถสร้างประวัติศาสตร์ สร้าง 4 เดือน หมายความว่า เราต้องจ่ายเฉลี่ยเดือน วัฒนธรรม หรือแม้กระทัง่ สร้างเทคโนโลยีหรือ ละ 4,000 บาท นี่แค่หลักสูตรธรรมดา รายได้ ของที่พวกเขาใช้ ก็ได้มาจากการศึกษาที่รับใช้ 1 เดือน เราต้องจ่ายครึ่งหนึ่งไปกับค่าเทอม พวกเขา แต่ถา้ ในประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว สิง่ ทีร่ บั ขณะทีส่ หรัฐอเมริกาทีถ่ อื ว่าเป็นประเทศ ใช้คนคือ เทคโนโลยี เป็นเทคโนโลยีที่ให้ความ ที่ค่าเทอมสูง แต่รายได้เฉลี่ยเมื่อเรียนจบก็ ส�ำคัญกับคน แต่วา่ เทคโนโลยีบา้ นเราไม่ได้เป็น ยังสูงกว่าไทยเยอะ เพราะฉะนั้นอเมริกาที่ค่า แบบนัน้ เพราะว่าชนชัน้ สูงเขาขังตัวเองไว้หลัง เทอมแพง แต่คนทั่วไปยังเข้าถึงได้มากกว่า ก�ำแพงสูง เขาก็สร้างมลพิษสร้างอะไรข้างนอก ไทย ส่วนประเทศในอังกฤษหรือแถบสแกน แต่ว่าสิ่งเหล่านี้ก็มาจากภาคการศึกษานะ แค่ ดิเนเวียส�ำหรับคนเจ้าของประเทศ ค่าเทอมก็ ว่าการศึกษาถูกออกแบบมาให้เป็นเรื่องของ ไม่ใช่ปัญหาใหญ่ เพราะสแกนดิเนเวียเรียนฟรี ทุกคน มันก็จะท�ำให้เรามีฐานความคิดอีกแบบ แต่รายได้เขาก็ถือว่าสูงมากอยู่แล้ว ค่าเทอม หนึ่งเท่านั้นเอง ตกลงด้วยระบบแบบนี้ การศึกษา จึงไม่ใช่ปัญหา วิธีคิดของต่างประเทศต่างกับบ้าน เราไหม
ในประเทศอั ง กฤษ ค่ า เทอมของ มหาวิทยาลัยแพงขึ้น แต่เนื่องจากประเทศ อั ง กฤษเป็ น ศู น ย์ ก ลางของการศึ ก ษาโลก ท�ำให้ได้รับรายได้ทางการศึกษาจากนักศึกษา ต่ า งชาติ ส่ ง ผลให้ ไ ม่ ต ้ อ งขึ้ น ค่ า เทอมแบบ ก้ า วกระโดด และยั ง มี อ งค์ ก รนั ก ศึ ก ษาที่ มี ประสิทธิภาพเพือ่ เรียกร้องสิทธิให้กบั นักศึกษา ส่ ว นสหรั ฐ อเมริ ก า ค่ า เรี ย นแพงมาก โดยมองเป็นความสัมพันธ์ของผู้ซื้อ และผู้ขาย ชัดเจน หากไม่ได้รับความเป็นธรรมสามารถ ฟ้องร้องกันได้ และการเรียนมหาวิทยาลัย ยั ง เป็ น การยื น ยั น สถานะของชนชั้ น ที่ คุ ณ มี ตัวอย่างเช่น มหาวิทยาลัยชัน้ น�ำ หากนักศึกษา มีฐานะทีด่ หี รือเป็นลูกของศิษย์เก่าทีม่ ชี อื่ เสียง คุณก็สามารถเข้าเรียนได้ ตรงนีก้ ค็ อื ฐานคิด คือ มองว่าการศึกษาเป็นสินค้า ส่ ว นกลุ ่ ม ประเทศยุ โ รปหรื อ แถบ สแกนดิเนเวีย ฟินแลนด์ เดนมาร์ก ประเทศ เหล่านี้พลเมืองเรียนฟรีตั้งแต่ภาคบังคับจนถึง ปริญญาเอก รวมถึงมีการระบุสวัสดิการชัดเจน เช่น นักศึกษาที่ตั้งครรภ์ระหว่างเรียนสามารถ ลาคลอดได้ 480 วัน ไม่ถูกตัดสิทธิ์การเป็น นักศึกษา ได้ขยายเวลาเรียน ไม่มีผลต่อการ พิจารณาเกียรตินิยม และตั้งครรภ์ก็สามารถ มาเรียนได้
จะท�ำให้ชีวิตดีขึ้นจริงไหม
มีงานวิจัยของนักศึกษาของผมที่ท�ำมา บอกว่าคนไทยเชือ่ ว่าการศึกษาคือ การเปลีย่ น สถานะ เมื่ อ จบปริ ญ ญาตรี แ ล้ ว จะได้ เ งิ น เดือนเพิ่มขึ้น แต่ว่าในงานวิจัยชิ้นนี้กลับระบุ ว่ า โครงสร้ า งชนชั้ น ของประเทศไทยไม่ มี อะไรเปลี่ยนไป พูดง่าย ๆ คือ คนที่ไปเรียน หลักสูตรนานาชาติ (อินเตอร์) หรือหลักสูตร ที่มีราคาแพง เรียนจบแล้วได้เงินเดือนสูงก็มา จากครอบครัวที่มีฐานะอยู่แล้ว ส่วนคนที่ไม่มี ก็ไม่มโี อกาสทีจ่ ะเรียนมหาวิทยาลัย จบมาก็ได้ เงินแค่ค่าจ้างขั้นต�่ำประทังชีวิต ความเหลื่อมล�้ำทางการศึกษา เกี่ยวกับทุนนิยมอย่างไร
ผมว่าเกี่ยวแน่นอน ถ้าเป็นการศึกษาที่ ใช้ระบบทุนนิยมแบบเต็มที่ คือ คุณจ่ายแพง คุณก็ได้แพง คุณจ่ายถูกคุณก็ได้คุณภาพอีก แบบหนึ่ง และสิ่งเหล่านี้ก็ไม่ได้เกี่ยวกับความ สามารถของคน กลายเป็นว่าคนที่มีเงินหรือ เกิดมาฐานะรวยจะเข้าถึงการศึกษาที่ดีกว่า เมือ่ เรียนจบก็จะรวยกว่าคนทีอ่ ยูอ่ กี ชนชัน้ หนึง่ ที่เข้าถึงการศึกษาคุณภาพที่ต่างกัน ธนาคารโลกท� ำ สถิ ติ อ อกมาว่ า ถ้าคุณเกิดในชนชั้นล่างของสังคมไทย ที่มีประมาณ 30 ล้านคน ใน 7 คน จะมีแค่ 1 คนที่จะมีโอกาสเข้าไปอยู่ ในคนชนชั้นกลาง ส่วนอีก 6 คนก็ อยู่ชนชั้นล่างเหมือนเดิม แค่คุณ เกิดมาก็ได้รับสถานะที่ถูกก�ำหนด
5
มาแล้ ว และถื อ เป็ น การให้ ค วามชอบธรรม ทางการศึกษาอีกด้านหนึ่ง แล้วควรจะตั้งอัตราค่าเล่าเรียน แบบไหน
ผมคิดว่าเป็นเรือ่ งเทคนิค และการจัดการ ศึกษา การพยายามปรับค่าเล่าเรียนจากระบบ จ่ายตามจริงที่เรียกระบบหน่วยกิต มาเป็น เหมาจ่ายต่อเทอม คือความพยายามทีจ่ ะท�ำให้ การขึ้นค่าเทอมท�ำได้ง่ายขึ้นในทางเทคนิค ผมคิ ด ว่ า ผู ้ บ ริ ห ารหรื อ นั ก เศรษฐศาสตร์ ที่ ออกแบบเรื่องผลประโยชน์มองว่า ถ้าเป็น ระบบหน่ ว ยกิ ต จะค� ำ นวณรายได้ ที่ ไ ด้ ม า ล�ำบาก แล้วอาจจะมีปัญหา เช่น นักศึกษา เทอมนี้ ล งทะเบี ย นเรี ย นน้ อ ย อี ก เทอมลง ทะเบียนเรียนมาก ถ้าเทอมนีน้ กั ศึกษามีปญ ั หา การเงินลงแค่ 3 วิชา สมมติ 9 หน่วยกิต ท�ำให้ การบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยล�ำบาก เอา เงินมาจ้างอาจารย์ไม่ได้ แต่ถ้าเป็นเหมาจ่าย แล้วมหาวิทยาลัยจะค�ำนวณได้เลยว่า จะได้ ค่าเล่าเรียนเท่าไหร่ แล้วจะบริหารอย่างไร ปัญหาจริงๆคือเข้าไม่ถึง การศึกษาตั้งแต่แรก?
จริง ๆ แล้ว อาจจะมองตัวเลขเริ่มจาก ชั้นประถม คนเรียน ป.1 จ�ำนวน 100 คน จะ ได้เรียนมหาวิทยาลัยปี 1 แค่ 30 คน โดยเด็ก เหล่านีไ้ ม่ได้หลุดออกไปทีเดียวร้อยละ 70 แต่ จะค่อย ๆ หลุดออกไปในแต่ละปี ซึ่งเหตุผล ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ ค นหลุ ด ออกไปในระยะเวลา 12 ปี ตั้งแต่ ป.1-ม.6 ราวร้อยละ 70 คือเรื่อง เศรษฐกิจ ไม่ใช่เรือ่ งเด็กไม่เก่งหรือเด็กไม่พร้อม แต่เป็นเรื่องของเด็กจนที่ไม่ได้เรียนหนังสือต่อ จนมาถึงระดับมหาวิทยาลัย คนมีโอกาสเรียน ต่อแค่ร้อยละ 30 ฉะนั้นถ้าอยากให้คนได้เรียนต่อระดับสูง ต้องท�ำให้การศึกษาเข้าถึงทุกคน ท�ำให้ค่าจ้าง ของเด็กที่จะได้รับหลังเรียนจบ และค่าจ้างใน การท�ำงานของพ่อแม่เป็นธรรมมากขึ้น ท�ำให้ สวัสดิการต่าง ๆ มันดีขึ้น คนก็จะได้เรียนต่อ ในระดับมหาวิทยาลัยมากขึ้น
ล
กิตติทัศน์ เรืองพัชรวงศ์ ณัฐธนีย์ ลิ้มวัฒนาพันธ์ ปริมาพร สุขนิพิฐพร
6
สิทธิการเดินทาง
ลูกศิลป์
บทความวิเคราะห
ปลายปที่แลว เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 มี ข า วโครงการรถไฟฟ า สายสี เ ขี ย ว ผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการรัฐมนตรี ฝายเศรษฐกิจใหตออายุสัมปทาน 30 ป และ กําลังอยูในชวงสอบถามหนวยงานที่เกี่ยวของ สาระสํ า คั ญ อยู ที่ ภ าคเอกชนเสนอ การจัดเก็บคาโดยสารอัตราเพดานสูงสุดใน ราคาไมเกิน 65 บาท โดยคาโดยสารตลอดสาย จะขึ้นกับระยะทาง และจะมีการปรับราคาขึ้น ทุก 2 ป ซึง่ จะปรับขึน้ ลงตามอัตราเงินเฟอหรือ ตามภาวะเศรษฐกิจ มีการแจกแจงคาโดยสารตามเสนทาง ออกเปน 4 สวน คือ 1) คาโดยสารสายหลัก ของบีทีเอส 44 บาท 2) คาโดยสารสวนตอ ขยายขั้นที่ 1 ชวงออนนุช-แบริ่ง และชวง สะพานตากสิน-บางหวา 15 บาท 3) สวนตอ ขยายขั้นที่ 2 ชวงแบริ่ง-เคหะสมุทรปราการ 39 บาท และ 4) ส ว นต อ ขยายขั้ น ที่ 2 ชวงหมอชิต-คูคต 60 บาท
สัญญาบีทีเอส30ป
ไมวา ใครได แตเราเสีย!
เอกชนอ า งว า หากภาครั ฐ ไม ต อ อายุ สัมปทาน 30 ป ใหคุมราคาสูงสุดเปน 65 บาท ก็จะทําใหมอี ตั ราคาคาโดยสารตลอดสายสูงสุด มากถึง 158 บาท! และยั ง ชั ก แม นํ้ า ทั้ ง ห า ว า การต อ อายุ สั ม ปทานนี้ เอกชนพร อ มรั บ ภาระ และ คาใชจายของกรุงเทพมหานครรวม 64,000 ลานบาท ประกอบดวยคาใชจา ยดอกเบีย้ หนี้ งานโยธา สวนตอขยายที่ 2 วงเงิน 14,000 ลานบาท คาหนี้งานซอมบํารุงระบบไฟฟา และเครื่องกล (E&M) สวนตอขยายที่ 2 วงเงิน 22,000 ลานบาท และผลขาดทุนสวนตอขยาย ที่ 1-2 วงเงิน 28,000 ลานบาท ดู เ หมื อ นว า ข อ เสนอนี้ จ ะผ า นฉลุ ย เนื่องจากกรุงเทพมหานครในฐานะเจาของ สัมปทาน ไดขีดเสนตั้งแตแรกวาขออัตราคา โดยสารตลอดสายอยูที่ 65 บาท เพราะเห็นวา เปนราคาที่ประชาชนสามารถจายได และระบุวา หากจัดเก็บทีร่ าคา 158 บาท
จะสูงเกินกวาที่ประชาชนตาดํา ๆ จะรับได เหมือนจะปกปองผูบริโภค แตเอาเขา จริง ทุกวันนี้ราคาบีทีเอสสูงสุดอยูที่ 59 บาท เรี ย กว า แทบจะทุ บ กระปุ ก หมู จ นตู ด ทะลุ หมดแลว ถ า เพดานขึ้ น ไปถึ ง 65 บาท แถมจะ เพิ่มขึ้นทุก ๆ 2 ปตามอัตราเงินเฟออีก กวาจะ ครบสัญญา 30 ป ราคาที่ตองจายจะดันขึ้นไป สูงถึงขนาดไหนกัน อันที่จริง เมื่อตรวจสอบราคาคาโดยสาร ของบีทีเอสที่ผานมา มีการปรับราคาเพิ่มอยู เรื่อย ๆ เพราะสัญญากําหนดวา บีทีเอสจะ สามารถขึ้นราคาไดทุก ๆ 2 ป ตรวจสอบพบวา 3 ครั้งลาสุดที่บีทีเอส ประกาศขึ้ น ราคาคื อ ป 2558 ปรั บ ราคา ตั๋วเที่ยว 30 วัน เริ่มใชในวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 เปนการปรับขึน้ ทัง้ บัตรบุคคลทัว่ ไป และ บัตรนักเรียนนักศึกษา โดยบัตรบุคคลทั่วไป ปรับขึ้นเที่ยวละ 3 บาท สวนบัตรของนักเรียน
นักศึกษาปรับขึ้นเฉลี่ยเที่ยวละ 2 บาท อัตรานี้ยังเปนสวนลดที่มีมากกวาการ ซื้อตั๋วโดยสารแบบเที่ยวเดียว ที่คิดตามระยะ ทางป จ จุ บั น ตลอดสายทางสั ม ปทานเส น สุขุมวิทหมอชิต-ออนนุช สีลม-สนามกีฬาแหง ชาติ และสะพานตากสิน-บางหวา ที่จัดเก็บคา โดยสารอยูที่ 15-42 บาท ซึ่งเมื่อรวมกับสวน ขยายของกรุงเทพมหานครที่จัดเก็บ 10 บาท สายออนนุช-แบริ่ง และสะพานตากสิน-บาง หวา รวมตลอดสายก็จะมีคาโดยสารสูงสุด อยูที่ 52 บาท 2 ปถัดมา คือ ป 2560 กําหนดปรับ ราคาในวันที่ 1 ตุลาคม ซึ่งเพิ่มราคาเฉพาะ สายสุขุมวิท หมอชิต-ออนนุช และสายสีลม สนามกีฬาแหงชาติ-สะพานตากสิน โดยจะ เพิ่มขึ้นจากเดิมสถานีละ 1-3 บาท แ ล ะ ยั ง ป รั บ ร า ค า บั ต ร โ ด ย ส า ร ประเภทเที่ยว โดยของบุคคลทั่วไปเริ่มตนที่ 15 เทีย่ ว 465 บาท (เทีย่ วละ 31 บาท) ไปจนถึง
สถิติ BTS ขัดของ ประจำป พ.ศ. 2562
ขัดของ (ครั้ง)
ที ่ ม า: ศู น ย ฮ อตไลน BTS
15
15
รวมขัดของ
62 ครั้ง
12
9
6
8 5
3
5
5
6 4
2 ม.ค.
ก.พ.
7
1 มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
2
2
พ.ย.
ธ.ค.
สิทธิการเดินทาง
ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563
20 ปผานมา คาโดยสาร BTS เพิม ่ สูงขึน ้ ทีม ่ า: ศูนยฮอตไลน BTS
ป พ.ศ.
คาโดยสาร (บาท)
2562
16-59
2560
16-44
2556
15-42
2550
15-40
2542
10-40
7
ทํ า ทั ณ ฑ บ น หรื อ การขาดงาน และการ เขางานสายที่จะทําใหเสียเบี้ยขยันรายเดือน ซึ่งเปนจํานวนเงินที่ไมสามารถประเมินราคา ไดเปนจํานวนเดียว ยิ่งถานํามาเทียบกับราคาคารถไฟฟาใน ปจจุบนั ตีราคาวา เดินทางทุกวันก็เลยซือ้ แบบ เที่ยวเดินทางในราคาสมาชิก จะตกอยูที่เที่ยว ละ 26 บาท ทํางานไปกลับหนึ่งวันก็ 2 เที่ยว หรือ 52 บาท คิดเทียบกับอัตราจางแรงงาน ก็ถือวาราคาสูงไปอยูดี เพราะคาเดินทางสวน นี้คิดเปนรอยละ 16 ของรายไดตอวัน (รายได = 325 บาท) คนที่เสียรอยละ 16 ของคาจางรายวัน ใหกบั คาบริการขนสงสาธารณะ (ทีย่ งั ไมนบั คา รถเมลตอ รถไปหนาบาน คาวินมอเตอรไซตเขา ซอย ฯลฯ) ไมควรไดรบั บริการทีข่ ดั ของบอยถึง 68 ครั้งตอปหรือไม อยางไรก็ตาม ทายที่สุดแลวกําแพงราคา 65 บาท อาจเปนราคาที่สามารถยอมรับได ไมยากหากแลกกับการใหบริการที่ดี และได มาตรฐาน อยางนอยก็ไมขดั ของบอยจนเกินไป ค า บริ ก ารในส ว นต อ ขยายที่ จ ะเพิ่ ม ขึ้นในอนาคต รวมถึงการวางแผนจะขึ้นคา บริการทุก ๆ 2 ป ก็อาจไมใชสิ่งที่ “เกิน ไป” ในอนาคตเชนกัน หากราคาที่ประชาชน ตองควักกระเปากวาครึ่งรอยตอเที่ยวคุมคา สมราคาการขนสงมวลชนอันเปนสวัสดิการ และโครงสรางสังคมขั้นพื้นฐานที่ประชาชน ต อ งเข า ถึ ง ได ได ม าตรฐาน และมี ร าคาที่ ประชาชนทุกคนในประเทศสามารถใชงานได มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ เพราะตองไมลืมวา ดีลนี้ไมวาใครจะได ประโยชน แตผูบริโภคก็ยังคงตองรับภาระคา เดินทางบนระบบรางอยูวันยังคํ่าอยูดี
ล วิภาภรณ สุภาพันธ นภสร ทองหลอ
50 เที่ยว 1,300 บาท (เที่ยวละ 26 บาท) และ นักเรียนนักศึกษา 15 เที่ยว 360 บาท (เที่ยว ละ 24 บาท) ไปจนถึง 50 เที่ยว 950 บาท (เที่ยวละ 19 บาท) ลาสุด ปทแี่ ลว 16 เมษายน 2562 บีทเี อส ประกาศขึ้ น ราคา ในส ว นขยาย 6 บาท จากเดิม 15 บาท ตลอดสาย เปน 15-21 บาท ตลอดสาย ประกอบดวยสถานีสะพานตากสินบางหวา สถานีออนนุช-แบริ่ง และสถานีแบ ริ่ง-สมุทรปราการ ในขณะที่ สถานีออนนุชหมอชิต สถานีสนามกีฬาแหงชาติ-สะพาน ตากสิน ยังเปนราคาคงเดิมที่ 16-44 บาท จะเห็นไดวาที่ผานมา บีทีเอสก็ขึ้นราคา คาโดยสารประมาณ 2 ป ตอครั้งอยูแลว ถา คํานวณจาก 3 ครั้งสุดทายจะพบวา เฉลี่ยแลว ราคาจะขึ้นสูงสุด 4 บาท ตอการขึ้นแตละหน เพราะฉะนั้น หากมีการขึ้นคาโดยสาร ทุก 2 ป ตลอด 30 ปที่ตอสัมปทาน ก็เทากับ วา คาโดยสารจะเพิ่มขึ้นจากฐาน 65 บาท ใน ตอนนี้ พุงสูงขึ้นไปอีกประมาณ 60 บาท รวม
แลวก็ราว 125 บาท! อันที่จริงก็มีเสียงลือเสียงเลาอางมานาน แลววา ราคาคาบีทีเอสที่ประชาชนตองจาย ไมคุมกันกับการบริการที่ไดรับ ตลอดระยะเวลาที่ผานมา หากติดตาม ความเคลื่อนไหวรถไฟฟาผานชองทางการ สื่อสารกับประชาชนในทวิตเตอรจะเห็นวา ตลอดทั้งปมีรถไฟฟาขัดของอยูบอยครั้ง นั บ จากวั น ที่ 6 พฤศจิ ก ายน 25616 พฤศจิกายน 2562 จะพบวารถไฟฟาขัดของ มาเปนจํานวนทั้งสิ้น 68 ครั้ง คิดเปนรอยละ 18.6 ตอป ฟงดูเหมือนนอย แคครึ่งรอยตอป แตถา ลองคํานวณดูดี ๆ จะพบวาทุกครั้งที่รถไฟฟา ขัดของ จะมีการประกาศใหประชาชนเผือ่ เวลา เดินทางอยางตํ่า ๆ ก็ 10 นาที วันไหนอาการ หนักหนอยก็ลากยาวไปถึงครึ่งชั่วโมง คํานวณเลน ๆ พบวาการขัดของ 68 ครั้ง ใน 1 ปที่ผานมา เทากับวา เสียเวลาไปทั้งหมด 740 นาทีหรือราว ๆ 12.3 ชั่วโมงตลอดทั้งป
หรือคิดเปน 1 ชั่วโมงในทุกเดือนที่ตอง รอรถไฟฟาขัดของ ผูโดยสารหลายคนตองไปโรงเรียนสาย ไปทํางานสาย ไปประชุมสายหรือไปตามนัด อื่น ๆ ไมทัน ซึ่งมีคาเสียโอกาส หากนํ า มาคิ ด ตามค า แรงรายชั่ ว โมง คํานวณจากอัตราคาจางรายวันของกระทรวง แรงงาน จะแบ ง ได ว า ค า แรงของแรงงาน ในกรุงเทพมหานครวันละ 325 บาท หรือ ประมาณ 40 บาท ตอ 1 ชั่วโมง นั่นเทากับ เสียคาแรงไปฟรีเดือนละ 40 บาท แน น อนว า ไม มี บ ริ ษั ท ไหน หั ก เงิ น พนักงานที่มาสาย แตตองไมลืมวานายจาง ก็ มี สิ ท ธิ์ ใ นการไม จ า ยเงิ น ค า แรงพนั ก งาน ที่ ไ ม ม าทํ า งานตามเวลาหรื อ ที่ เ รี ย กว า No work No pay ยังไมรวมคาเสียโอกาสอื่น ๆ อีก อยาง เช น การตั ก เตื อ นตามสั ญ ญาจ า งระหว า ง เจ า นาย-ลู ก น อ ง ทํ า ให พ นั ก งานที่ ม าสาย เสี ย เครดิ ต พนั ก งานที่ ม าสายอาจถู ก
8
สิทธิข้อมูลข่าวสาร
ลูกศิลป์
@
รายงาน พิเศษ
อ้ า งเรื่ อ งลั บ -ไม่ เ ก็ บ ข้ อ มู ล เก่ า
กว่าจะได้ข้อมูลค่าเทอม12ม. “ต้ อ งท� ำ เอกสารมาให้ อ ธิ ก ารบดี พิจารณา” “เป็นข้อมูลลับไม่สามารถเปิดเผยได้” “ไม่ได้เก็บข้อมูลไว้” เป็นค�ำตอบจากบรรดาเจ้าหน้าที่ส�ำนัก ทะเบี ย นของ 12 มหาวิ ท ยาลั ย หลั ง จาก ที่ ที ม ข่ า วสื บ สวนสอบสวนหนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ติ ด ต่ อ เพื่ อ ขอข้ อ มู ล ค่ า เล่ า เรี ย นของ แต่ละมหาวิทยาลัยตั้งแต่ปีการศึกษา 25402562 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะ อักษรศาสตร์ มนุษยศาสตร์หรือศิลปะศาสตร์ ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างสายวิทยาศาสตร์ และ ศิลปศาสตร์ แม้ข้อมูลเหล่านี้ ประชาชนมีสิทธิท่ีจะ รู ้ และเข้ าถึ ง ได้ ต ามพระราชบัญ ญัติข้อมูล ข่าวสาร พ.ศ. 2540 บัญญัติว่า เป็นหน้าที่ ของหน่วยงานนั้นจะต้องจัดให้ ทว่ากลับมีขั้น ตอนมากมาย เจ้าหน้าที่ของส�ำนักทะเบียนฯ อ้างว่า จะต้องท�ำเอกสารเพื่อขออนุญาตจาก อธิการบดี หรือผู้อ�ำนวยการส�ำนักทะเบียน หรือเจ้าหน้าที่ภาระงานเยอะหรือไม่มีข้อมูล เก็บไว้ และยังโอนหน้าทีใ่ ห้กบั เจ้าหน้าทีท่ คี่ าด ว่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดเก็บข้อมูล ขั้ น ตอนทั้ ง หลายจึ ง งอกขึ้ น มาเป็ น เงา ตามตัว ตั้งแต่จะต้องส่งเอกสารให้กับส�ำนัก ทะเบี ย นของแต่ ล ะมหาวิ ท ยาลั ย ผ่ า นทาง จดหมายหรืออีเมล หลังจากนั้นมหาวิทยาลัย
จะส่งค�ำขอไปยังอธิการบดีหรือผู้อ�ำนวยการ ส� ำ นั ก ทะเบี ย นอนุ มั ติ ถึ ง จะมี ก ารรวบรวม ข้อมูลแล้วจัดส่งกลับมา ทั้งหมดนี้ใช้เวลาร่วม 2 เดือน ยังไม่รวมว่า บางแห่งขอเวลาในการจัด เตรียมข้อมูลอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ขณะทีบ่ างแห่งยังยืนยันว่า เป็นข้อมูลลับ ไม่เปิดสามารถเปิดเผยต่อสาธารณะได้ อย่างของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทีม ข่าวติดต่อขอข้อมูลค่าเล่าเรียนของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ตั้งแต่ปีการศึกษา 2540– 2562 เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2562 เจ้าหน้าที่ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และอักษรศาสตร์ แจ้งว่า จะต้องท�ำเอกสารขอมาเพื่ออนุมัติ จากอธิการบดี ทีมข่าวจึงได้ส่งเอกสารไปใน อีก 6 วันหลังจากนั้น พร้อมประสานผ่านทั้ง 2 คณะ แต่ทางคณะส่งให้พนักงานรับโทรศัพท์ ของมหาวิ ท ยาลั ย และพนั ก งานก็ ส ่ ง ต่ อ ให้ เจ้าหน้าที่งานสารบรรณเพื่อตรวจสอบเลขที่ หนังสือ ก่อนจะส่งให้เจ้าหน้าที่ส�ำนักทะเบียน จัดการอีกครัง้ แล้วส่งข้อมูลมาให้ครบทุกปีการ ศึกษาในวันที่ 25 ตุลาคม กินเวลา 3 สัปดาห์ แต่ก็ถือว่า ยังเร็วเมื่อเทียบกับที่อื่น ส่วนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทีมข่าว ติดต่อส�ำนักทะเบียนในวันที่ 3 ตุลาคม เช่น กัน เพือ่ ขอข้อมูลค่าเล่าเรียนตัง้ แต่ปกี ารศึกษา 2540–2549 ได้รับแจ้งว่าต้องส่งเอกสารเพื่อ
ให้ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก อนุ มั ติ ที ม ข่ า วจึ ง ส่ ง เอกสารไปวันที่ 11 ตุลาคม หลังจากนั้น ทีม ข่าวได้โทรศัพท์สอบถามความคืบหน้าจ�ำนวน 9 ครั้ง โดยเจ้าหน้าที่ที่เป็นผู้ประสานงาน ลากิจ 3 ครั้ง และโอนให้ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักศึกษาของมหาวิทยาลัย 2 ครัง้ และมีการ โอนกลับไปส�ำนักการศึกษาเช่นเดิม โดยผูช้ ว่ ย ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการศึกษาอ้างว่า เอกสาร ได้ส่งกลับไปแล้วในวันที่ 29 ตุลาคม เมื่อติดต่อส�ำนักการศึกษา ส�ำนักการ ศึกษาก็ได้โอนไปทีฝ่ า่ ยการเงิน เมือ่ สอบถามถึง การด�ำเนินการข้อมูล ทางฝ่ายการเงินบอกว่า ก�ำลังอยูใ่ นการจัดข้อมูลเพือ่ จัดส่ง และสุดท้าย ก็ได้ส่งข้อมูลมาให้ในวันที่ 15 พฤศจิกายน แต่ ข้อมูลที่ให้มามีเพียงข้อมูลค่าเล่าเรียนปีการ ศึกษา 2546-2549 พร้อมชี้แจงว่า ข้อมูลก่อน ปี 2546 อยู่กับเจ้าหน้าที่คนก่อนที่ลาออกไป แล้ว ดังนั้นวันที่ 20 พฤศจิกายน ทีมข่าวจึง เดินทางไปที่ส�ำนักการศึกษา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เจ้าหน้าทีจ่ งึ จัดข้อมูลให้จนครบ ขณะที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทีมข่าว ติดต่อเจ้าหน้าที่ส�ำนักทะเบียนเพื่อขอข้อมูล ค่าเล่าเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2540–2555 ได้ รับแจ้งว่า ต้องท�ำเอกสารส่งมาให้อธิการบดี แล้ ว ถึ ง จะมอบอ� ำ นาจให้ มี ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบใน เรื่องนี้อีกครั้งหนึ่ง ทีมข่าวจึงส่งเอกสารให้ กับทางมหาวิทยาลัยวันที่ 9 ตุลาคม แต่เมื่อ
ติดต่อเพื่อสอบถามถึงเรื่องเอกสารปรากฏว่า เจ้าหน้าทีท่ ดี่ แู ลข้อมูลไม่สบาย เข้าโรงพยาบาล และไม่มีเจ้าหน้าที่คนอื่นที่สามารถให้ข้อมูล นี้ได้ สุดท้ายทีมข่าวต้องโทรศัพท์เพื่อติดตาม ข้อมูลอีกครั้ง และได้รับข้อมูลในอีก 20 วัน หลังจากนั้น ส�ำหรับการขอข้อมูลค่าเล่าเรียนตั้งแต่ ปีการศึกษา 2540–2558 ของมหาวิทยาลัย นเรศวร ทีมข่าวส่งเอกสารไปในวันที่ 9 ตุลาคม พร้ อ มติ ด ต่ อ ผ่ า นพนั ก งานรั บ โทรศั พ ท์ ข อง มหาวิทยาลัย ซึ่งพนักงานรับโทรศัพท์ส่งต่อ ให้เจ้าหน้าที่งานสารบรรณเพื่อตรวจสอบเลข หนังสือ แล้วเจ้าหน้าทีจ่ งึ ให้ทมี ข่าวติดต่อไปยัง เจ้าหน้าทีส่ ว่ นกลาง ก่อนจะส่งต่อให้เลขานุการ อธิการบดีมหาวิทยาลัย จากนั้นเลขานุการ อธิการบดี ส่งเรื่องกลับมาที่เจ้าหน้าที่ส่วน กลาง สุดท้ายทีมข่าวได้รับข้อมูลที่สมบูรณ์ใน วันที่ 25 ตุลาคม ส่ ว นมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร ที ม ข่ า ว ติดต่อกองบริหารวิชาการ เพื่อขอข้อมูลค่า เล่าเรียนนักศึกษาระดับปริญญาตรีตั้งแต่ปี การศึกษา 2540–2557 วันที่ 3 ตุลาคม และ ส่งเอกสารให้กองบริหารวิชาการหลังจากนั้น 1 สัปดาห์ ขณะเดียวกันมีการติดต่อสอบถาม ความคืบหน้าในการด�ำเนินเอกสารจ�ำนวน 10 ครั้ ง เนื่ อ งจากเบอร์ โ ทรศั พ ท์ ข องกอง บริหารวิชาการไม่สามารถติดต่อได้ จนวันที่
ไดรับขอมูลจาก มน. และ จุฬาฯ ผานทางอีเมล
3 - 9 ต.ค. เริ่มติดตอขอขอมูล มหาวิทยาลัย
ตัวย่อ
11 ต.ค. สงเอกสารทางอีเมลให มก. และ มอบ.
มก. = มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มข. = มหาวิทยาลัยขอนแก่น มช. = มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มน. = มหาวิทยาลัยนเรศวร มบ. = มหาวิทยาลัยบูรพา
มอ. มอบ. มศก. มศว จุฬาฯ
15 ต.ค.
21-22 ต.ค.
ทำเรื่องขอหนังสือ มศก. สงเอกสารทางอีเมลถึง และติดตอสอบถาม มอบ. มบ. มศว และ มอบ. อีกครั้ง = มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ = มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี = มหาวิทยาลัยศิลปากร = มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ = จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
25 ต.ค.
ไดรับขอม เอกสา
29
มน. และ เมล
ต.ค.
สิทธิข้อมูลข่าวสาร
ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563
22 ตุลาคม เจ้าหน้าทีแ่ จ้งว่า เอกสารเพิง่ มีการ ด�ำเนินการแล้วเสร็จ และส่งให้กบั เจ้าหน้าทีจ่ ดั เตรียมข้อมูล ในวันที่ 29 ตุลาคม เจ้าหน้าทีต่ ดิ ต่อกลับ มา สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมว่าต้องการข้อมูล แบบใด และอยากให้ค�ำนวณแบบใด ทีมข่าว ก็ได้แจ้งไป วันรุ่งขึ้นกองบริหารวิชาการจึงส่ง ข้อมูลค่าเล่าเรียนคณะวิศวกรรมศาสตร์มา ส่วนค่าเล่าเรียนของคณะอักษรศาสตร์ ได้ส่ง กลับมาให้ผู้สื่อข่าวในวันที่ 4 พฤศจิกายน ด้านมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทีมข่าว ติดต่อเจ้าหน้าที่ส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เพื่ อ ขอข้ อ มู ล ค่ า เล่ า เรี ย นของคณะที่ เ ป็ น กลุ่มตัวอย่าง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2540–2553 เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน แต่ไม่สามารถติดต่อ ได้ และเมื่ อ ติ ด ต่ อ ไปที่ ส� ำ นั ก ทะเบี ย นของ มหาวิทยาลัย เจ้าหน้าที่อ้างว่ามีข้อมูลเหล่า นั้นอยู่บนเว็บไซต์ และหากต้องการข้อมูลให้ สอบถามคณะโดยตรง เมือ่ สอบถามไปยังคณะ วันที่ 20 พฤศจิกายน เจ้าหน้าที่กลับอ้างว่า ส�ำนักทะเบียนเป็นผู้จัดเก็บข้อมูล และเมื่อ ทีมข่าวติดต่อเพื่อสอบถามอีกครั้งในวันที่ 18 ธันวาคม แต่ทางมหาวิทยาลัยก็ให้ด�ำเนินการ และได้รับค�ำตอบเช่นเดิม ส่ ว นมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ที ม ข่ า ว ส่งเอกสารขอข้อมูลค่าเล่าเรียนปีการศึกษา
2540-2562 วั น ที่ 9 ตุ ล าคม เจ้ า หน้ า ที่ งานสารบรรณได้ตรวจสอบเลขหนังสือแล้ว ส่งต่อให้เลขานุ การอธิ การบดี โดยแนะน� ำ ให้โทรศัพ ท์ ไ ปยั ง เบอร์ ข องคนที่ ดู แลข้ อ มู ล โดยตรง แต่ปรากฏว่า ทีมข่าวไม่สามารถติดต่อ ได้ จึงติดต่อกลับไปหาพนักงานรับโทรศัพท์ ของมหาวิทยาลัย แต่เจ้าหน้าที่คนนั้นติดธุระ สุดท้ายเบอร์โทรศัพท์เชื่อมกับไลน์จึงติดต่อ ขอข้อมูล สุดท้ายเจ้าหน้าที่ส่งข้อมูลให้วันที่ 4 พฤศจิกายน เป็นข้อมูลค่าเล่าเรียนปีการศึกษา 2544-2562 ส� ำ หรั บ การขอข้ อ มู ล ค่ า เล่ า เรี ย น ปีการศึกษา 2540–2562 ของมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ทีมข่าวติดต่อเจ้าหน้าที่ส�ำนัก ทะเบียนเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ได้รับแจ้งว่า ต้อง ส่งเอกสารเพื่อให้อธิการบดีอนุมัติ จึงได้ส่ง เอกสารให้มหาวิทยาลัยวันที่ 11 ตุลาคม อีก 4 วันหลังจากนัน้ ได้โทรศัพท์ไปสอบถาม ความ คืบหน้า เขาแจ้งว่าก�ำลังกรอกข้อมูลเพือ่ เตรียม ส่ง หลังจากนัน้ ทีมข่าวติดต่อถามความคืบหน้า 7 ครั้ง แต่เจ้าหน้าที่บอกว่า ต้องไปคุมสอบ กลางภาคของมหาวิทยาลัย สุดท้ายส่งข้อมูล มาให้เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม แต่เป็นของปีการ ศึกษา 2545–2562 เช่นกัน ส่วนมหาวิทยาลัยบูรพา ทีมข่าวติดต่อ ส�ำนักทะเบียนเช่นกัน แต่มหาวิทยาลัยให้ส่ง
หนังสือเพือ่ ขอความเห็นจากอธิการบดี เมือ่ ส่ง เอกสารไปวันที่ 7 พฤศจิกายน มหาวิทยาลัย ไม่ มี ก ารติ ด ต่ อ กลั บ ที ม ข่ า วจึ ง ติ ด ต่ อ ไปที่ ส�ำนักทะเบียนอีกครั้งวันที่ 22 พฤศจิกายน แต่ เ จ้ า หน้ า ที่ แ นะน� ำ ให้ ดู ใ นเว็ บ ไซต์ ข อง มหาวิ ท ยาลั ย ปรากฏว่ า ในเว็ บ ไซต์ มี รายละเอียดไม่ครบทุกปีการศึกษา โดยไม่มี ช่วงปี 2540-2549 ซึ่งขณะนั้นเป็นการเก็บ ค่าเล่าเรียนในระบบหน่วยกิต เมื่อสอบถาม กลับไปอีกครั้ง เจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยตอบ ไม่ได้ และแจ้งว่า หนังสือพิมพ์ลูกศิลป์เป็น กิจการภายในท�ำให้ไม่สามารถส่งข้อมูลให้ได้ ส�ำหรับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทีม ข่าวติดต่อส�ำนักทะเบียนเพือ่ ขอข้อมูลเมือ่ วันที่ 3 ตุลาคม จากนั้นจึงโทรศัพท์ไปตามเรื่อง แต่ มหาวิทยาลัยอ้างว่าจะมีการย้ายส�ำนักงานต้อง รอเวลาประมาณ 2–3 สัปดาห์ ทีมข่าวจึงส่ง หนังสือไปอีกครั้งเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน เจ้า หน้าที่ส�ำนักทะเบียนส่งให้กับโปรแกรมเมอร์ เพื่ อ กรอกข้ อ มู ล ในวั น ที่ 19 พฤศจิ ก ายน สุดท้ายเจ้าหน้าทีก่ รอกข้อมูลติดต่อกลับมาแจ้ง ว่า งานเยอะและไม่มีฐานข้อมูลในช่วงปลาย เดือนพฤศจิกายน มหาวิทยาลัยแห่งสุดท้าย มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ หลังจากทีมข่าวส่งเอกสาร ให้ทางมหาวิทยาลัยวันที่ 7 พฤศจิกายน และ
โทรศัพท์ไปสอบถามถึงความคืบหน้า พนักงาน รับโทรศัพท์ของมหาวิทยาลัยส่งต่อให้ส�ำนัก งบประมาณ ก่อนโอนให้ส�ำนักทะเบียน และ ให้ติดต่องานสารบรรณเพื่อทราบเลขหนังสือ งานสารบรรณส่งให้ทีมข่าวติดต่อเลขานุการ ของอธิการบดี แต่เลขาฯ ไม่รับสายจนถึงวันที่ 19 พฤศจิกายน ทั้งหมดนี้ ใช้เวลาประมาณ 2 เดือน คือ ตลอดทั้งเดือนตุลาคม และพฤศจิกายน ต้อง โทรศัพท์ประสานไปมาไม่ต�่ำกว่า 110 ครั้ง มี ค่าใช้จา่ ยส�ำหรับการขอข้อมูลรวม 1,400 บาท แลกกับการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ไม่ครบถ้วน เนื่องจากมีเพียง 5 มหาวิทยาลัยที่ได้ข้อมูลค่า เล่าเรียนครบ 22 ปี และ มี 3 มหาวิทยาลัยที่ ได้ข้อมูล 15 ปี และ 4 มหาวิทยาลัยที่แจ้งว่า ไม่สามารถให้ข้อมูลค่าเล่าเรียนได้
ล กิตติทัศน์ เรืองพัชรวงศ์ ณัฐธนีย์ ลิ้มวัฒนาพันธ์ ปริมาพร สุขนิพิฐพร
สรุปการติดตอกับมหาวิทยาลัย ไดรับขอมูลป40-62
ไดรับขอมูลป44-62
จุฬาลงกรณ เกษตรศาสตร เชียงใหม นเรศวร ศรีนครินทรวิโรฒ
ขอนแกน ไดรับขอมูลป45-62
ศิลปากร อุบลราชธานี
ไดรับขอมูลป55-62
ธรรมศาสตร ไมไดรับขอมูล
บูรพา มหาสารคาม สงขลานครินทร
ไดรับขอมูลจาก มช. เปน ไดรับขอมูลจากมศก.และ เอกสารผานไปรษณีย มข. ผานทางอีเมล
29 ต.ค.
30 - 4 พ.ย.
เดินทางเพื่อไปขอขอมูล จาก มก.
7 พ.ย. สงเอกสารผานไปรษณีย ใหมศว มบ. และ มอ.
9
19 พ.ย. ติดตอสอบถาม มอ.
20 พ.ย.
10
สารคดีเชิงข่าว
ลูกศิลป์
นิยม ราชเจริญ ชางแกะสลักไมฝง ลายไมมก ู คนสุดทาย แหงสกุลชางเมืองเพชรบุรี กําลังแกะลายไมมก ู อยางขะมักเขมน บนโตะ ทํางานที่ผานการใชงานมาอยางยาวนานในสวนโจวยรีสอรท บาน และที่ทํางานของเขา ในจังหวัดเพชรบุรี
ลมหายใจสุดทาย สกุลชางเมืองเพชรบุรี “เดี๋ ย ว หยุ ด ๆ ถ า ตอกมั น ลงไปใน ไมสักที่ฉลุลายลึกเกินไป ที่ทํามาทั้งหมดจะ เสียหายนะ” “ขอโทษครับครู” เด็กหนุมวัย 16 ปเอย สีหนาตกใจเล็กนอย กอนรีบยกสิ่วขึ้น เมื่อปที่แลว สวนโจวยรีสอรท ในอําเภอ เมือง จังหวัดเพชรบุรี สถานที่สรางสรรคงาน ฝงลายไมมูก ยังพอมีชีวิตชีวาอยูบาง แตมา ปนี้เสียงสนทนาก็เงียบสนิท เหลือแตเสียงไส ไมครืดคราด บนโตะไมตัวเกาเปอนริ้วรอย แผลที่บงบอกถึงประสบการณการทํางานของ ชางอยางยาวนาน “เด็ ก มั น ไม เ อาหรอก ต อ งมาคอยนั่ ง ฉลุไมสักใหไดทรง และยังตองแกะไมมูกไป เรื่อย ๆ ใหขนาดพอดีกับรูที่ฉลุไว ทําเปน รอยเปนพันครั้งมันไมสนุก เทียบกับงานเขียน งานปน พลาดไปบางครั้งยังแกได แตนี่พลาด แมเพียงอยางเดียวถึงกับตองทําใหมทั้งชิ้นอีก เปนเดือน ๆ” นิ ย ม ราชเจริ ญ วั ย 44 ป ช า งแกะ สลักไมฝงลายไมมูกคนสุดทายของสกุลชาง
เมืองเพชรบุรี บอกกับเราขณะมืองวนอยูกับ การแกะแผนไมสีขาว สําหรับงานแกะสลักฝง ลายไมมูกบนตูไมสักหลังนี้ เขาทํามาแลว 7 เดือนกวา อีก 1 เดือนก็นาจะเสร็จ แลวนําไป ประกอบกับตัวโครงตูไมสักซึ่งใชเวลาทําราว 1-3 เดือน ปกติแลว ตูไมสักฝงลายไมมูกหลังหนึ่ง กวาจะทําเสร็จ ถาเรงหนอยก็ใชเวลาประมาณ 8 เดือน ขายได 100,000 บาท ดูเหมือนเปน รายไดที่มากโข ทวางานฝงลายไมมูกมีตนทุน วัต ถุดิบ สูง ร อ ยละ 70 เป น โครงตู ทํ า จาก ไมสกั ตองใชไมหนาใหญขนาด 8x12 นิว้ ราคา 6,000-7,000 บาท ถาเปนตูหลังใหญจะใช ประมาณ 10-11 แผน รวมเปนเงินประมาณ 60,000 บาท และอีกรอยละ 30 เปนลายฉลุ ไมมูก ใชขนาดกวาง 8 นิ้ว ยาว 2 เมตร ราคา 300-500 บาท จํานวนมากกวา 6 แผน รวม ตนทุนวัสดุทั้งหมดจะอยูราว ๆ 80,000 บาท ถาไมนับคาแรงของพวกเขาเอง 3 พี่นอง ครูชางก็จะไดกําไรเพียง 20,000 บาท เมื่อ เทียบกับระยะเวลาการทําจึงไมคุมคาเหนื่อย
ด ว ยเหตุ นี้ พวกเขาจึ ง ต อ งทํ า เครื่ อ งเรื อ น ตกแตงบานอื่น ๆ เปนอาชีพหลักเลี้ยงชีพ ยั ง ไม นั บ ว า ไม เ หล า นี้ ยั ง ต อ งสั่ ง จาก กรมปาไม ซึ่งเปนแหลงคาไมที่ถูกกฎหมาย แตปญหาคือสั่งจองนาน ทําใหชางไมสามารถ ผลิตงานออกมาไดรวดเร็วตามความตองการ ของลูกคา แมภายหลังพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ป า ไม พ.ศ. 2562 มาตรา 7 บั ญ ญั ติ ว า ไมหวงหามที่ขึ้นในที่ดินกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ ครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน ถือวา ไมเปนไมหวงหาม ทําใหซื้อหาวัตถุดิบไดงาย มากขึ้ น เพราะไม จํ า เป น ต อ งรอไม สั ก จาก กรมปาไมอยางเดียว แตกระนัน้ ราคาก็แพงกวา การสั่งจองจากกรมปาไม 2-3 เทาตัว “อยูไมไดหรอกครับถาทํางานนี้อยาง เดียว มันเปนงานฝมือใชเวลาทํานาน คนสั่ง ซื้อก็พอหาได แตเขาไมรอ ปหนึ่งถาเรงจริง ๆ ทําได 2-3 หลัง ไดเงินแสนกวาบาท เทียบเคียง แลวเปนรายไดเฉลีย่ วันละ 333 บาท พอ ๆ กับ อัตราคาแรงขัน้ ตํา่ ของประเทศไทย” นิยมบอก
งานประณีต-ทํานาน แตขายไมคุมทุน ไมตางจาก สิริลักษณ ศรีทองคํา ทายาท รุน 3 ของตระกูลปาฉิวหรือนางฉิว บุญศิริ ชาง ทองโบราณตระกูลสุดทายของเพชรบุรี บอกวา กรรมวิธกี ารทําทองโบราณมีขนั้ ตอนทีป่ ระณีต ชางจะตองหลอทอง รีดทอง จับดอก (คลาย กับการทําไขปลา) สลัก และดุน จากนั้นจึงนํา สวนประกอบตาง ๆ มาเชือ่ มเขาดวยกัน ทําให เกิดลายอันเปนเอกลักษณเฉพาะ ของงานทอง โบราณสกุลชางเมืองเพชรบุรี “ทองคําแทงแมเปนเพียงเศษผงก็มรี าคา หากชางขาดความรอบคอบก็อาจทําใหทอง สูญหาย สงผลใหชิ้นงานมีนํ้าหนักทองไมครบ ตามที่ตกลงไวกับลูกคา หรือหากชางทําไม ละเอียด จนเกิดความผิดพลาดระหวางการทํา ถางานนัน้ เสียหายจน ไมสามารถแกไข และทํา ตอไปได ชางก็จาํ ตองเอาไปหลอม และเริม่ งาน ใหมทั้งหมด” สิริลักษณ เลาถึงความพิถีพิถัน เธอบอกวา เคยมีลกู คามาสัง่ ทําชุดเข็มขัด ทองสําหรับงานแตงงาน ใชเวลาทําประมาณ 1 ป แตเงินที่ไดมาเพียงแค 100,000 บาท เมื่อ หักคาแรงลูกนอง และคาอุปกรณประกอบ ดวย แปนชักลวด คีมตัดทอง เครื่องเปาทอง และอุปกรณจิปาถะที่ใชในการทํา รวมแลว ประมาณ 70,000 บาท ทําใหขายไดไมคุมทุน “ยังไมนับราคาทองคําแทงที่แตละวัน ที่ไมคงที่ บางครั้งเปลี่ยนวัตถุดิบจากทองมา เปนเงินเพราะราคาตนทุนตํ่ากวา แตเมื่อหัก คาแรงลูกนองประมาณ 15,000 บาท รวม ไปถึงคาอุปกรณก็ไมเพียงพอตอการใชจาย” ทายาทชา งทองโบราณตระกูล สุดทา ยแหง เมืองเพชรบุรี ครวญ
ตูไมสักฝงลายไมมูกหลังหนึ่งกวาจะทําเสร็จ ใช เ วลาเกื อ บ 1 ป ขายได 100,000 บาท เฉพาะโครงตูไมสักใชเวลาทําราว 1-3 เดือน
ลายลูกสน แหงเมืองเพชรฯ
การตอกลายลูกสน เปนเอกลักษณของ สกุลชางทองโบราณเมืองเพชรบุรี ไดแนวคิด จากเมล็ดลูกสนนํามาเปนลวดลายทอง วิธกี าร ทําตองขึ้นรูปโครงลวดทองกอน แลวนําทอง เม็ดเทาไขปลามาวางเรียงตามโครงลวด ถาทํา เปนสรอยทอง 1 เสน ใชเวลาทําประมาณ 1 เดือน ถาทําแหวนทองใชเวลาทํา 3-4 อาทิตย
ตูหลังใหญแบบมาตรฐานใชไมมูกหนากวาง 8 นิ้ว ยาว 2 เมตร ประมาณ 3 แผน ใชเวลาฉลุลายประมาณ 8 เดือน
สารคดีเชิงข่าว
หนังใหญ-ปนหัวโขน-หัวสัตว คงเหลือแคชื่อ สกุ ล ช า งเมื อ งเพชรบุ รี เ ป น งานช า งที่ สืบทอดกันมานาน งานมีความโดดเดน เพราะ มีลายอันเปนเอกลักษณเฉพาะตัว ใชในงาน ตกแตง ประดับ และสรางผลิตภัณฑขาวของ เครือ่ งใช ประกอบไปดวยงานชาง 11 ประเภท คือ งานปูนปน งานลายรดนํ้า งานลงรักปด ทองประดับกระจก งานจิตรกรรม งานแทง หยวก งานตอกกระดาษ งานจําหลักหนังใหญ งานปน หัวโขนหัวละคร งานปน หัวสัตว งานฝง ลายไมมูก และงานทองโบราณ แตฐานขอมูลสถานการณการสืบทอด งานชางของสํานักวัฒนธรรม จังหวัดเพชรบุรี ฉบับลาสุดซึ่งจัดทําป 2556 ระบุวา งาน จําหลักหนังใหญ งานปน หัวโขนหัวละคร งาน ปนหัวสัตว งานฝงลายไมมูก และงานทอง โบราณ เปน 5 สกุลชางที่นาเปนหวงเพราะ ขาดทายาทสืบทอด หลังจากไมมตี ลาดรองรับ ปจจุบัน ในจํานวนนี้ 3 งาน คือ งาน จําหลักหนังใหญ งานปน หัวโขนหัวละคร และ งานปน หัวสัตว เหลือแคเสียงเลาขาน ไมมชี า ง สืบทอดงานตอไปอีกแลว ธานินทร ชื่นใจ ครูชางงานลายรดนํ้า แหงสกุลชางเมืองเพชรบุรี ชี้วา เมื่อคนเลิกดู หนังใหญหันไปเสพความบันเทิงทางสื่อสมัย ใหมทําใหครูชางประเภทนี้เลิกทํางานจําหลัก หนั ง ใหญ อ ย า งถาวร เช น เดี ย วกั บ งานป น หัวโขนหัวละครที่ตัวงานไมไดตองทําเพื่อใช แสดงโขนอีกตอไปเนือ่ งจากคนไทยนิยมดูโขน นอยลง ครู ชางประเภทนีใ้ นเพชรบุรจี งึ เลิกทํา ขณะที่ เฮือน เครือมา ภรรยาของ อรุณ ชื่นอารมณ ครูชางงานปนหัวสัตวคนสุดทาย แหงสกุลชางเมืองเพชรบุรี กลาววา ตัง้ แตสามี เสียชีวิตก็ไมไดทํางานปนหัวสัตวตอ เพราะ ดวยปญหาสุขภาพทําคนเดียวไมไหว “สมัยนี้สัตวที่จะนํามาปนมีจํานวนนอย ลง เชน กวาง กระทิง สัตวบางชนิดยังกลาย เปนสัตวสงวน ทําใหไมมีใครกลานํามาปน เพราะกลัวผิดกฎหมาย จึงทําใหงานประเภท นี้หายไปจากเพชรบุรีอยางถาวร” เธอบอก
ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563
ห ว ง ‘ ฝ ง ล า ย ไ ม มู ก - ท อ ง นี่ ทําใหยังสามารถสรางสรรคผลงานสูตลาด โบราณ’ไรทายาท อยางไมขาดสาย และยังมีชา งปูนปน อีกหลาย สําหรับอีก 2 งานสกุลชาง อยางงานฝง ครอบครัวที่ยังคงผลิตผลงานอยู ลายไมมูก และงานทองโบราณ ก็อยูในภาวะ “นายจ า งก็ คื อ วั ด ที่ จ า งให ไ ปป น ปู น นาเปนหวง บานครูนยิ ม ไมมลี กู หลานสืบทอด ประดั บ ตกแต ง โบสถ หรื อ วิ ห าร รวมทั้ ง แมจะมีคนมาเรียนรูงาน แตก็มาแค 3 เดือน ตกแตงบริเวณโดยรอบ ทําใหพวกเรามี ราย และกวาวัตถุดิบคือไมที่สั่งจากกรมปาไมก็ใช ได 50,000-100,000 บาท ตอหนึ่งงาน หัก เวลา 1-2 เดือน ทําใหการถายทอดวิชาตอง คาวัตถุดิบ อาทิ ปูนขาว กาว นํ้าตาล และ หยุดชะงัก อุปกรณจิปาถะ ราว 30,000 บาท ก็ยังเหลือ อีกทั้งงานฝงลายไมมูกไมใชแคมีความ เงินไวใชจายในแตละเดือน ทําใหยังคงยึด รูเรื่องศิลปะการแกะสลักไมและฝงลายเพียง อาชีพนี้อยู” ครูบุญเจือน บอก อยางเดียว แตตองรูเรื่องเนื้อไมดวย เพราะ ครูบอกอีกวา ยังมีการปรับปรุงงานให ตองตอกไม ขึ้นโครงเครื่องเรือน วากันวา ไม สอดคลองกับยุคสมัย เชน นําลวดลายงาน ตํ่ากวา 5 ป ถึงจะทําทั้งโครงตู และฝงลายได ปูนปน ไปผลิตเปนตางหู กิบ๊ หนีบผม กรอบรูป อยางชํานาญ และกรอบนาฬกา เพือ่ สรางรายไดอกี ทางหนึง่ ขณะที่งานชางทองโบราณ ก็ถายทอด เชนเดียวกับครูชางอีก 4 คน จาก 4 กันแคคนในครอบครัว หรือคนนอกตระกูลที่ สาขา ไดแก ธานินทร ชื่นใจ ชางลายรดนํ้า ครูชา งไววางใจสูงเทานัน้ เพราะทองคําแทงมี พิทยา ศิลปะศร ชางตอกกระดาษ พิพฒ ั น พึง่ มูลคามาก แมจะมีนกั เรียนจากกาญจนาภิเษก แตง ชางจิตรกรรม และวิเชียร เถาพันธ ชาง วิทยาลัย ชางทองหลวง จังหวัดนครปฐม มา ลงรักปดทองประดับกระจก ยืนยันเปนเสียง ขอฝกงานตามหลักสูตรของสถานศึกษา แต เดียวกันวา พวกเขายังสามารถผลิตงานออก ก็ใชเวลาแค 1 เดือน ไมสามารถ สูตลาดได แตก็ตองประยุกตงานให ฝกจนชํานาญนําไปประกอบ ตอบสนองกับความตองการ อาชีพได ซึ่งตองใชเวลา ของคนในปจจุบัน ราว 1-3 ป จ ะ อ ยู ใ ห ร อ ด ตองปรับตัว ทายาทรุ น 3 ของ มี คํ า อธิ บ ายจาก ตระกู ล ป า ฉิ ว หรื อ นางฉิ ว บุ ญ ศิ ริ ช า ง สิริลักษณ ศรีทองคํา ครูชางแขนงอื่น ๆ ถึง ท อ ง โ บ ร า ณ ต ร ะ กู ล สถานการณ ก ารสื บ ทอด สุดทายในเพชรบุรี งานสกุลชางเมืองเพชรบุรี อยาง บุญเจือน เอมโอษฐ ครูชางแขนง งานปูนปน วา งานปูนปน ชิ้นหนึ่งใชเวลาในการทํา เพียง 5-7 วัน กรรมวิธี ไมยุงยาก เพียงแคขึ้น โครงสร า งด ว ยเหล็ ก เส น ดั ด เป น รู ป ต า ง ค รู ช า ง แ ข น ง ง า น ๆ จากนั้ น ขึ้ น รู ป ด ว ย ปู น ป น ที่ มี ชื่ อ เสี ย งใน บุญเจือน เอมโอษฐ จังหวัดเพชรบุรี ในศูนย ปูนซีเมนตและปน ทับดวย ปูนปนเพชรบุรี ปู น โบราณสู ต รเฉพาะของที่
รูจักหนังใหญ
การแสดงหนังใหญ เปนการใชตัว หนังที่ทําจากแผนหนังวัวแหงมาแกะสลัก ฉลุลวดลายเปนตัวละครโดยใหเกิดเปน ชองที่แสงเงาลอดผานได จากนั้นตรึงแผน หนังดวยกานไม เวลาเลนใชการเชิดใหตัว ละครเคลื่อนไหวผานแสงจนเกิดเงาบนจอ ดําเนินเรื่องดวยการพากยและการเจรจา มี ห ลั ก ฐานว า การแสดงหนั ง ใหญ เกิดขึ้นในอาณาจักรอยุธยา เปนมหรสพ ของชนชั้ น สู ง ในสมั ย นั้ น เมื่ อ มี ก าร เกณฑไพรเพื่อใชในงานหลวง จึงมีชาง ฝมือแขนง ตาง ๆ มากมายเกิดขึ้นใน สมัยนั้นรวมถึงงานจําหลักหนังใหญดวย
หนังใหญมกี ารแสดงสืบตอมาถึงสมัย รัตนโกสินทร เรือ่ งทีน่ ยิ มนํามาถายทอดคือ รามเกียรติ์ ปจจุบันมีหนังใหญในประเทศไทย เหลือเพียง 3 คณะ คือ หนังใหญวัดขนอน จังหวัดราชบุรี หนังใหญวัดสวางอารมณ จังหวัดสิงหบุรี และหนังใหญวัดบานดอน จังหวัดระยอง จัดแสดงเฉพาะงานสําคัญ ไมไดจัดแสดงทั่วไป ทําใหชางจําหลักหนัง ใหญแทบจะไมเหลือ โดยเฉพาะที่เพชรบุรี เมื่อไมมีหนัง ใหญแลว ชางจําหลักหนังใหญสกุลชาง เมืองเพชรบุรีจึงหมดรุนสืบทอด
ภาพตุ ก ตาจํ า ลองการแสดงหนั ง ใหญ
11
งานฝ ง ลายไม มู ก กํ า ลั ง เลื อ นหายเพราะทํ า ยาก ตองแกะไมมูกไปเรื่อย ๆ ใหขนาดพอดีกับรูที่ฉลุไว เปนรอยเปนพันครั้งหากพลาดครั้งเดียวตองทํา ใหมทั้งชิ้น
วิธีจับจีบทองกอนนําไปรอยเปน ทองรูปพรรณ
การนํ า ส ว นประกอบต า ง ๆ มาเชื่ อ มเข า ด ว ยกั น หลังจากหลอทอง รีดทอง จับดอก (คลายกับการ ทําไขปลา) สลัก และดุน
ตางหู กิบ ๊ กรอบรูป รวมไปถึงกรอบนาฬกาลวดลาย แบบงานปูนปน เปนการปรับตัวตามความตองการ ของตลาด
12
สารคดีเชิงข่าว
ลูกศิลป์
ผุด‘เมืองชางแหงสยาม’ สืบทอดเอกลักษณ เกิ ด ความกั ง วลจากกลุ ม ช า ง สถาบั น วิ ช าการ ภาครั ฐ และภาคประชาชนว า สกุลชางเมืองเพชรบุรี จะคอย ๆ เลือนหายไป จากสังคมโดยเฉพาะงานไมฝงลายไมมูก และ งานทองโบราณ อาจไรผสู บื ทอดเหมือน 3 งาน กอนหนานี้ ทําใหจงั หวัดเพชรบุรบี รรจุนโยบาย สงเสริม และพัฒนางานชางในยุทธศาสตรการ พัฒนาจังหวัดป 2561-2564 โดยใหทําควบคู ไปกับการสงเสริม และพัฒนากิจกรรมการ ทองเที่ยวดวยการใหจัดกิจกรรมนําผลงาน ออกสูสาธารณะ ล า สุ ด จั ง หวั ด เพชรบุ รี ป ระชุ ม ร ว ม กับมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เมื่อเดือน พฤษภาคม 2562 จั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตร การขับเคลื่อนจังหวัดเพชรบุรีเปนเมืองชาง แหงสยาม ระยะเวลา 5 ป ตัง้ แตป 2563-2567 เพื่อสงเสริมภูมิปญญามรดกทาง วัฒนธรรม สาขางานช า งฝ มื อ ดั้ ง เดิ ม ของเพชรบุ รี ใ ห สามารถพัฒนาและตอยอดไดในอนาคต แสนประเสริ ฐ ปานเนี ย ม ผู อํ า นวย การสถาบันวิจัยและสงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี เผยวา กําลัง จัดตั้งศูนยการเรียนรูภูมิปญญางานชางเมือง เพชรบุรี และผลักดันมหกรรมศิลปหัตถกรรม ชางเมืองเพชรบุรีเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว รวมถึงใหมกี ารจางชางไปแสดงผลงานตามงาน
สําคัญตาง ๆ เชน งานพระนครคีร-ี เมืองเพชรฯ มีการจัดทําเสนทางทองเที่ยวเรียนรูงานชาง เมืองเพชรบุรี ที่ใหนักทองเที่ยวสามารถลงไป ในพื้นที่การทํางานชางมากขึ้น เขาบอกอีกวา ที่ผานมามีการหารืออยู ตลอด โดยเชิญครูชา งฝงลายไมมกู ครูชา งทอง โบราณ รวมไปถึงชางสกุลตาง ๆ อีก 9 สกุล มา พูดคุย ใหดแู ผนยุทธศาสตรการดําเนินงานเพือ่ ความโปรงใส และแตงตัง้ ชางในแตละงานเปน คณะกรรมการขับเคลื่อนจังหวัดเพชรบุรีเปน เมืองชางแหงสยามอีกดวย ขางฝงภาคประชาชน กลุม ‘ลูกหวา’ ซึ่งเปนเยาวชนลูกหลานคนเมืองเพชรบุรีจาก หลายโรงเรียน ก็ไดรวมตัวหวังพัฒนาสืบทอด อนุรักษงาน 2 ประเภทที่กําลังจะเลือนหาย ด ว ยการจั ด การสั ม มนาเชิ ญ ครู ช า งมาเป น วิทยากร และรวมกับภาครัฐในการอนุรักษ โดยใหมกี ารจัดรวบรวมองคความรูไ วทหี่ อศิลป สุวรรณาราม วัดใหญสุวรรณาราม จังหวัด เพชรบุ รี เพื่ อ เผยแพร ใ ห แ ก นั ก ท อ งเที่ ย ว และผูสนใจ ปญหาใหญรัฐไมชวยหาตลาด อยางไรก็ดี การไมมตี ลาดรองรับบางงาน ชางยังเปนปญหาใหญ แต ภูตะวัน อยูท อง ฝาย บริหารงานทั่วไป พาณิชยจังหวัดเพชรบุรี อาง วา งานฝงลายไมมูกและงานทองโบราณ ไม ไดไรตลาดรองรับ แตการหาตลาดเปนหนาที่ ของวัฒนธรรมจังหวัดทีจ่ ะตองเปนคนสงสินคา
และขอมูลของสินคานั้นใหกับพาณิชยจังหวัด เพื่อประชาสัมพันธ และสงสินคาไปขายตาม พื้นที่ตาง ๆ “ที่ผานมาทางวัฒนธรรมจังหวัดไมไดสง สินคาและขอมูลสินคาใหกบั เรา เราจึงไมทราบ และไมสามารถจัดหาตลาดใหเขากับงานทั้ง 2 ประเภทนี้ได มีเพียงแคโครงการเมืองชางแหง สยามทีเ่ ราทํารวมกับอุตสาหกรรมจังหวัด และ วัฒนธรรมจังหวัดเทานัน้ ” พาณิชยจงั หวัด ระบุ หวังนักออกแบบชวยผลิตงาน ตอบผูบริโภค อี ก ด า นหนึ่ ง วรรณภา บุ ต รเจี ย มใจ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ สํานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดเพชรบุรียืนยันวา หนวย งานได ทํ า งานร ว มกั บ อุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด และพาณิชยจังหวัดในการเพิ่มมูลคา และยก ระดับผลิตภัณฑงานฝงลายไมมูก และงาน ทองโบราณใหสามารถพัฒนาเปนผลิตภัณฑ วัฒนธรรมไทย (CPOT: Cultural Product of Thailand) ของจั ง หวั ด และยั ง ได เ ร ง จัดหานักออกแบบใหมาทํางานรวมกับชาง ทั้ง 2 ประเภท เพื่อใหเกิดการประยุกตงาน ใหเหมาะสมกับปจจุบัน เชน นําลวดลายเดิม ที่เปน เอกลักษณมาผลิตเปนสินคาที่เขาถึง ภาคครัวเรือน และสามารถวางขายไดตาม ทองตลาด “ทั้งงานฝงลายไมมูก และงานทําทอง โบราณเปนงานที่มีความประณีตสูง อีกทั้ง
ยั ง เ ป น ง า น ที่ สื บ ท อ ด ม า จ า ก โ บ ร า ณ ดั ง นั้ น เราต อ งหานั ก ออกแบบที่ ส ามารถมา ประยุ ก ต ล วดลายดั้ ง เดิ ม ให เ ข า กั บ ความ ตองการในปจจุบัน” นักวิชาการวัฒนธรรม ชํ า นาญการ ชี้ แ จงบทบาทภาครั ฐ ในการ ช ว ยสื บ สานทั้ ง 2 สกุ ล ช า งบ า นสุ ด ท า ย และวา ภายในป 2562 จะทําถนนสายชาง ใหเสร็จลุลวงตามที่วางแผนไว และจะจัดหา นั ก ออกแบบเพื่ อ มาทํ า งานร ว มกั บ ช า งตา มแผนที่ไดวางไวภายในป 2563 แตขณะนี้ ยังอยูในชวงของการพิจารณาจากรัฐบาลวา จะไดรับงบประมาณสนับสนุนเทาไหร
ล กัญญาภัค ทิศศรี คณิน นวลคํา ทัตตพันธุ สวางจันทร พัชฤนาถ ตั้งใจมั่น
ยอนรอยงานไมมูกในบริบทศาสนา งานฝ ง ลายไม มู ก สกุ ล ช า งเมื อ ง เพชรบุ รี มี ก ารสื บ ทอดมาอย า งยาวนาน ตั้งแต พ.ศ. 2400-2500 ชวงนั้นเปนยุคของ การสรางศิลปกรรม สํานักชางเพชรบุรี ซึง่ งาน ฝงลายไมมูกเปนงานที่พัฒนามาจากงานแกะ สลักไมทั่วไป การกอตัวของงานชางประเภท นี้ เกิดขึ้นจากวัด แตละสํานักจะมีทีมชางเปน ของตัวเอง มีวิธีการเรียนการสอนคลายกับ โรงเรียนฝกหัดชาง ครูชางคือพระในวัดนั้น เองทําหนาที่สรางงาน และฝกฝนพระลูกวัด รวมไปถึงฆราวาสที่เขามาศึกษาหาความรู ในงานชาง
สํ า นั ก ที่ โ ด ด เ ด น ม า ก ที่ สุ ด คื อ สํ า นั ก ช า งไม วั ด เกาะ มี พ ระครู ญ าณวิ จั ย (ยิด สุวัณโณ) เจาอาวาสวัดเกาะ เปนผูทํา ตูฝงลายไมมูกลูกแรกของวัด (ปจจุบันยังคง เก็บรักษาอยูภาย ในอุโบสถวัดเกาะ) กอน ถายทอดวิชาใหกับหมูพระสงฆ และลูกศิษย ในวัด จนมีคํากลาววา บวชเปนพระวัดเกาะ กอนสึกตองทําตูไดหนึ่งลูก ตูไมมูกเหลานี้ บางคนจึงเรียกวา ตูพระ เพราะยามวางพระ ตองตอตู เวลาบวชไมมีกิจนิมนตก็ตองตอตู นิยม ราชเจริญ
สํานักชางไมวัดเกาะ เปนสํานักชางไม ที่มีบทบาทสําคัญที่สุดในชวง พ.ศ. 2464 เป น ต น มา มี ลู ก ศิ ษ ย อ อกมาทํ า งานฝ ง ลาย ไมมูกเปนจํานวนมาก หนึ่งในนั้นคือ หลวงพ อ หลุ ย ที่ ทํ า ตู ฝ ง ลายไม มู ก และ ปจจุบันตัวตูนั้นยังคงตั้งอยูที่วัดเกาะ พระ บางรูป วั ด อื่ น ยั ง ต อ งมาแสวงหาวิ ช าที่ วั ด เกาะ เชน หลวงพอบุญรวมและนองชาย คือ พระอาจารยบุญมาก ที่วัดลานโพธิ์ เมื่อ ทานบวชแลวก็มาเลาเรียนวิชาอยูที่วัดเกาะ หลายพรรษา กอนจะกลับไปวัดลานโพธิ์ และไดสรางผลงานไวที่วัดลานโพธิ์ดวย ไม วาจะเปนงานฝงลายไมมูก และงานชางไม อื่น ๆ ที่สํานักชางไมวัดเกาะโดงดังเห็นจะ
เปนเพราะ พระที่ไปรํ่าเรียนวิชาที่วัดเกาะ จะมากลับมาสรางผลงานที่วัดของตัวเอง จนเชี่ ย วชาญในวิ ช าช า งสามารถรั บ งาน ชางไมทั่วไปได ยั ง มี สํ า นั ก ช า งไม วั ด พระทรง ที่ โดดเด น รองลงมา มี พ ระสงฆ องคสํา คัญ ในการสรางสรรคงานฝงลายไมมูกอยาง พระอาจารยเปา ญาณปญโญ พระอาจารย ชือ่ ดังของจังหวัด ชวง พ.ศ. 2461 ทานรอบรู เรื่องงานชางในหลากหลายประเภท ตลอด ชีวติ ทีบ่ วชอยูท วี่ ดั พระทรง พระอาจารยเปา มั ก จะสร า งสรรค ผ ลงานทางงานช า ง อยูตลอด ตั้งแตงานวาดเขียน ทําภาพลาย รดนํ้า ชางปนรูป แตผลงานที่โดดเดนที่สุด ก็ คงหนี ไม พ นตู ไ ม สั ก ทองแกะสลักในชุด
พระเวสสั น ดรชาดก (ป จ จุ บั น ตั้ ง อยู วั ด ชมพู พ น) นี่ จึ ง ถื อ เป น เครื่ อ งการั น ตี ว า พระอาจารย เ ป า มี ฝ มื อ ในงานด า นแกะ สลั ก ไม ฝ ง ลายไม มู ก เป น อย า งมาก ปจจุบนั ไมพบผูส บื ทอดในหมูพ ระสงฆ อีกแลว มีเพียงอดีตคือ รุงฟา ตาละลักษณ วัย 61 ป อดีตเคยเปนทหารจาก คายทหาร ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ เคยศึกษาเลา เรียนในวัด แลวนํามาสรางสรรคผลงานฝง ลายไมมูก แตปจจุบันชางรุงฟา วางมือแลว เพราะอายุที่เยอะขึ้น และปญหาสุขภาพ หลวงพอเกิน เจาอาวาสวัดเกาะ
สิทธิวัฒนธรรม
ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563
13
ชาวบานแลนเรือออกไปกูอวนตั้งแตเชาตรูดวยเรือคูใจ
มี ท ะเลเป น พื้ น บ า น มีทองฟาเปนหลังคา ชีวิตกับทองทะเล ใชเรือแทนรถ กินปลา แทนหมู อยูกันแบบฉันมิตร บานโนนก็พี่ บาน นีก้ น็ อ ง แมจะเหนือ่ ยกายแตไมทกุ ข-ใจ ใชแลว ทีน่ คี่ อื หมูบ า นไรแผนดิน ตําบลบางชัน อําเภอ ขลุง จังหวัดจันทบุรี ชุมชนที่ผูคนตางโหยหา อยากจะไปเยือนสักครั้ง ดวยรูปแบบการดําเนินชีวิตที่แตกตาง หากแตนาสนใจดวยประวัติศาสตร และวิถี การทํามาหากิน สถานที่ที่ผมประทับใจที่สุด เทาที่เคยไปมาคงจะไมพนชุมชนชื่อแปลก ๆ บนผืนนํ้าอายุกวารอยปแหงนี้ เมือ่ ลองคนควาทีม่ าทีไ่ ปของชือ่ หมูบ า นก็ พบวา ‘ไรแผนดิน’ ในที่นี้ ไมไดหมายความวา ไมมแี ผนดินจะอยู แตหมายความวา ไรแผนดิน ที่จะอยูอยางถูกตองตามกฎหมาย เพราะเวลานํ้าทะเลหนุนทวมผืนดินใต หมูบาน ที่นี่ก็อยูในความดูแลของกรมเจาทา แตพอนํ้าลด ก็อยูในความดูแลของกรมปาไม พอเป น แบบนี้ การจั ด ทํ า บริ ก าร สาธารณะใหชุมชน จึงไมรูวาเปนหนาที่ของ หนวยงานรัฐหนวยงานไหนกันแน ซึ่งนั่นเปน เรื่องที่ชาวบานตางคับของใจ เพราะเขาไมถึง สิทธิทรัพยากรตาง ๆ แตไมวาจะเปนเชนไร ชีวิตก็ตองตอสูตอ ไป และพวกเขาก็เริ่มตนวันตั้งแตไกยังไมขัน จักรกฤษณ เบญจพรมหรือพี่ไต ชาว ประมงวัย 42 ป ผูซึ่งเปนหัวหนาครอบครัว ดูแลมากกวา 10 ชีวิต บนที่ซึ่งไมมีผืนดินให อาศัย บอกวา เขาตองออกไปทํามาหากินตัง้ แต เชาตรู โดยดูตารางนํ้าขึ้นนํ้าลง “ตอนเชานํ้าจะลด เปนเวลาที่เหมาะสม ที่สุดในการกูอวน” เขาบอก ฟ า ไม ทั น สว า ง พี่ ไ ต แ ล น เรื อ ออกไป แลวทามกลางฝูงปลาที่นอนหลับ ตนไมยังไม ผลิใบมารับแสงแดด ชายหนุมชาวประมงเริ่ม งานของตน งานประมงเปนงานหนัก โดยเฉพาะใน ชวงฤดูหนาว พี่ไตตองตื่นตั้งแตตี 2 หลังจาก
ไปกูอวนเสร็จ ก็ตองกลับมาทําของแหง โดย เฉพาะกุงแหง แตละวันไดนอนเพียงแควันละ 3-4 ชั่วโมงเทานั้น ในหนึ่งเดือนพี่ไต จะวางอวนทําประมง เดือนละไมเกิน 20 วัน เนื่องดวยจุดประสงค ของหมูบานที่ตางลงมติกันวา ตองหยุดเพื่อให ปลาไดพักผอน ไดเติบโตบาง เขายอนอดีตใหฟงดวยวา นานมาแลว พื้นที่ตรงนี้แทบจะไมมีสัตวนํ้า เนื่องดวยมี คนบุกรุกปาชายเลนมาทําเปนนากุง ทําให พื้ น ที่ ป า ได ห ายไปเป น จํ า นวนมาก ต อ มา สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ไดมีโครงการ รณรงคการปลูกปาทดแทน ทําใหพื้นที่ตรงนี้ กลับมาเขียวขจีอีกครั้ง จึงทําใหคนในหมูบาน ไดตระหนักถึงความสําคัญของการอนุรักษสิ่ง แวดลอม “และเราจะไมทําการประมงแบบลาง ผลาญอีก!” พี่ไตบอกกับผม นอกจากรายไดจากทําประมง การทํา ของแหงอย า งกุ ง แห ง ก็ เ ป น รายได อีก ทาง กุงแหงมีราคาแพง (ขีดละประมาณรอยบาท) เพราะกวาจะไดกุงแหง 1 กิโลกรัม ตองใชกุง สดถึง 10 กิโลกรัม สิ่งที่นาสนใจของที่นี่อีกอยางคือ การใช ชีวิตของชุมชน ผมสงสัยวา เมื่อผืนดินอยูใต ผืนนํ้า แลวเขาจะกินกันแตปลาหรืออยางไร ก็ไดรับคําตอบจากพี่ไตวา ก็กินขาวเหมือน อยางเรา ๆ นี่แหละ แตสมัยกอน ตอนที่ความ เจริญยังไมไดรุกคืบเขามา ชาวบานจะนําปลา หรือสัตวนํ้าตาง ๆ ไปแลกขาว เปนการแลก เปลี่ยนกันในสมัยกอน ตอมาเมื่อมีการคาขาย ก็ทําใหชาวบานมีเงินใช ซึ่งจะมีหรือจะจนขึ้น อยูที่ความขยัน ใครขยันมากก็ไดเงินเยอะ ใคร ไมขยันก็ไมมีเงินใช ชายผูมีผืนนํ้าเปนผืนบาน บอกกับเราให ลองสังเกตวา คนที่นี่จะมีแขนที่แข็งแรง แต ขาไม ค อ ยแข็ ง แรง เพราะไม มี พื้ น ที่ ใ ห เ ดิ น
ออกกําลังกาย “เคยไปแขงฟุตบอลกับคนบนบก แต หมูบ า นเราไมมสี นาม มันอยูบ นผืนนํา้ กอนแขง ก็ตองไปเชาสนามซอมกันเพียงแค 2-3 ชั่วโมง ทําใหสุดทายแลวก็ไมเคยชนะ” เขาบอก อยางไรก็ดี คนที่นี่สวนมากจะถูกสอนให วายนํ้าเปนตั้งแตยังเด็ก เพราะบานทุกหลังตั้ง อยูบ นนํา้ ทะเล หากมีเด็กนอยตกลงไปและไมมี ใครเห็น ก็คงจะเหลือแตรางที่ไมมีลมหายใจ และนาเศราที่หนึ่งในนั้นก็คือพี่สาวของพี่ไต นอกจากประวัติศาสตรและวิถีชีวิตแลว หมู บ า นนี้ ยั ง มี วิ ว ชวนฝ น เป น ที่ ห มายปอง ของชางภาพหลาย ๆ คน และยังเปนสวรรค ของนักตกปลา ทามกลางผูคนที่ตอนรับการ มาเยือนของผูคนอยางอบอุน ผมไปเจอชายหญิงชรา 2 คน ซึ่งอยูขาง ที่พักของผม อายุรวมกันรวม 100 ป ถาจะให นิยามคําวาผูคนที่นารักและเปนมิตร ทั้งคูคง เหมาะสมที่สุด เพราะทั้งคูคอยถามไถ ดูแลกัน เสมอ ไมวาจะเรื่องเล็ก ๆ นอย เมื่อพบเจอกัน ตาจะคอยเลาเรื่องตาง ๆ ใหฟงตลอด ครั้ ง หนึ่ ง ตาได พ าขึ้ น เรื อ ลํ า เล็ ก เพื่ อ พาออกไปดู บ รรยากาศของชาวเล ออกไป ดูทะเลแหวก ออกไปดูเหยี่ยวแดง ออกไปดู ความงดงามของธรรชาติ ลิ้มรส สัมผัสผาน กาย รับรูผานใจ ผู ค นที่ น่ี อ ยู กั น ฉั น พี่ น อ ง ญาติ ส นิ ท มิตรสหาย สังเกตไดจากบานของคนที่นี่ลวน แลวไมมีประตูปดกั้น ชีวิตที่เรียบงายบนโลกที่วุนวาย คงหา ไดไมงายนัก วิถีชีวิตที่มีผืนนํ้าเปนพื้นบาน มี ทองฟาเปนหลังคา มีปลาเปนเพื่อน ชุมชนที่ กอตั้งมารวม 100 ป สืบทอดกันมารุนตอรุน อยางยาวนาน ทีน่ จี่ งึ เปนเสมือนบานทีค่ อยเติม เต็มพลังบวกในยามที่ทอแท ยามที่เหนื่อยลา “หมูบ า นไรแผนดิน ถิน่ เหยีย่ วแดง แหลง ปลาเสือ เหลือเชื่อทะเลแหวก แมกไมโกงกาง ฟาสางที่บางชัน”
ล
ทวีโชค ผสม นักศึกษานิเทศศาสตร ชั้นปที่ 1
บรรยากาศอันงดงาม ทามกลางอาทิตยอัสดง สัมผัสวิถีประมงกลางเกลียวคลื่น
ชุมชนชาวเล ต.บางชัน อ.ขลุง จ.จันทบุรี อยูอาศัยบนผืนนํ้าสืบตอกันรุนตอรุนกวา 100 ป
อาทิตยสีทองกอนลาขอบฟา ชวนใหนักทองเที่ยวทุกสารทิศแวะมาเยี่ยมเยือน
กิจวัตรประจําวันของคนที่นี่ คือนํากุงมาตากแดดเปนกุงแหง
ขอมูลการเดินทาง
หมูบานไรแผนดิน (บานโรงไม) จังหวัดจันทบุรี เดิ น ทางไปท า เรื อ ปลายจั น ท (เสียคาจอดรถ) เพื่อเชาเรือ ไป-กลับ ราคา 700 บาท นั่งไดไมเกิน 6 คน ติดตอโฮมสเตยไวลวงหนาเพื่อ ความสะดวกและงายตอการเดินทาง มีอาหารทะลรองรับ ข อ มู ล ท อ ง เ ที่ ย ว ส อ บ ถ า ม องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลบางชั น โทรศัพท 039-460-951
14
ลูกศิลป์
Whitewash
สิทธิวัฒนธรรม
ภาพถายแหงการชําระลาง
“ประเทศที่ เ สื อ ดํ า หน า คะมํ า เพราะไรเฟล พล า มแต ศี ล ธรรม แต อ าชญากรรมสู ง กว า ไอเฟล” ‘ประเทศกู มี ’ เพลงดั ง เมื่ อ 2 ป ที่ แ ล ว ของ ‘Rap Against Dictatorship’ กลายเปนคําสบถติดปาก ผูคนถึงทุกวันนี้ ยอดวิวลาสุด เมื่อปลายปที่ผานมาอยูที่ 73 ลานวิว หมายความวา มันผานการเปดซํ้าแลวซํ้าแลวเลา ตอกยํ้า บรรดาเหตุการณอันไมปกติในสังคมไทย ที่หลายประเด็น ยังไมมีวี่แววจะไดรับการพิสูจนสิ้นถึงขอสงสัย 5 ปที่ผานมาภายใตรัฐบาลทหาร คนรุนราวคราว เดียวกับเราเติบโตขึ้นทามกลางเสียงเบา ๆ คลายการ กระซิบที่ขางหู ในบรรยากาศที่พูดตรง ๆ ไมได พวกเขาเลือกใช ทักษะที่มี สรางสรรคผลงานสะทอนสิ่งที่อยูในใจ ไมวาจะ ผานการเปรียบเปรยทีแ่ ยบยล ผานบทเพลง ผานภาพถาย บางแผน หรือผานสัญลักษณตามผนังขางทาง มันอาจไมไดสรางการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญอะไร แตมันก็สรางแรงสั่นสะเทือนในใจไดบางเหมือนกัน หฤษฎ ศรี ข าวหรื อ เพิ ร ธ วั ย 24 ป เป น คน หนุ ม คนหนึ่ ง ที่ เ ติ บ โตมาในบรรยากาศความขั ด แย ง ทางการเมือง และรัฐประหาร 2 ครั้งลาสุดจนมองเห็น ความผิดปกติในสังคม ไมวาจะเปน การเพิกเฉยเย็นชาของผูคนตอผูชุมนุม เรียกรองสิทธิเสรีภาพ และการปกครองตนเอง ไปจนถึง ทาทีสะใจตอการตายของพวกเขา จนเขาเลือกสื่อสาร ทัศนะของตนผานศิลปะภาพถาย นิทรรศการ ‘Whitewash’ หรือ ‘ไรมลทิน’ ที่เขา ใชเทคนิคคอลลาจ (Collage) อันเปนการซอนทับ และ ตัดแปะภาพดวยวัสดุอื่น ๆ จนทําใหภาพเกิดเปนความ หมายใหม กลายเปนงานศิลปะภาพถายอันโดงดัง หลังจาก จัดแสดงเมื่อเดือนมิถุนายน 2560 ที่แกลลอรี่เวอร (Ver Gallery) ยานสาทร แลวถูกทหาร ตํารวจบุกปลดผลงาน ผลงานชุดนีย้ งั ไดรับรางวัล Winner of Jurors prize ในนิทรรศการ ‘Power and Politic’ จาก Filter Photo Festival ประเทศสหรัฐอเมริกา รางวัล Second Prize Winner Gomma Grant 2016 และรางวัล Special mention by the jury ที่ Dusseldolf Portfolio Review
แสงเทียนสองไสวในมือเด็กชายไรดวงตาและริมฝปาก แมความสวางจะกระจางชัดในใจเพียงใด แตสายตาที่ มืดมิดและริมฝปากที่ปดสนิท ก็ไมอาจสะทอนความ ตองการภายในออกมาได
2017 ประเทศเยอรมนี เรามีโอกาสพูดคุยกันผานโทรศัพทขามประเทศ หลังจากเขาบินไปศึกษาตอดานการถายภาพที่อิตาลีเมื่อ ตนปที่แลว “งานศิลปะดีตรงที่มันสามารถพูดในสิ่งที่คนอื่นพูด ไมไดดวยความสามารถของตัวงานเอง มันมีความลื่นไหล ในตัวมันเอง แลวแตวาใครจะตีความอยางไร บางอยางที่ มันดูรุนแรงมาก ๆ แตพอพูดดวยภาพถายหรืองานศิลปะ มันมีเรื่องความงามเขามาเกี่ยวของ มันก็จะดูออนโยน ขึ้น” เขาเริ่มเรื่อง 11 ป ที่ แ ล ว เพิ ร ธ ในวั ย 13 ป เริ่ ม สนใจการ ถายภาพ แตเปนการบันทึกภาพเพื่อน ๆ สภาพแวดลอม ความทรงจําของตนเองในชวงชีวติ การเรียนมัธยมทีใ่ ชชวี ติ สนุกสนานไมตางจากวัยรุนทั่วไป กอนที่เหตุการณสลายการชุมนุม ‘เมษา-พฤษภา’ ป 2553 จะตามหลอกหลอนเปนฝนรายที่ไมสามารถลบ ออกไปจากใจของเขาได คํ่าวันหนึ่งในปลายเดือนเมษายน ปนั้น เขาอยู ม.3 กําลังเรียนพิเศษอยูใ นสถาบันแหงหนึง่ ยานรังสิต โทรทัศน ฉายภาพทหารปะทะผูชุมนุม ความวุนวายที่เกิดขึ้นทําให คลาสเรียนในวันนัน้ ยกเลิกกะทันหัน และเขามุง หนากลับ บานอยางรีบเรง “ม็อบมันตีกันแลว หลบเร็ว!” เสียงดังขึ้นระหวางที่ เพิรธ เดินทางกลับบานพรอม กับเพื่อน ผูคนวิ่งเขาปะทะกันบริเวณหนาอนุสรณสถาน แหงชาติ เสียงพลุ เสียงประทัด เสียงดังคลายปนกึกกอง เปนระยะ สรางความตกใจใหแกผูสัญจรไปมา สถานการณเริ่มแยลง เพิรธตัดสินใจเปลี่ยนเสนทาง ไปหลบที่บานเพื่อนแทน กลุ ม คนที่ กํ า ลั ง ก อ การจลาจล และชาวบ า นที่ ตื่นตระหนก ทําใหเขาและเพื่อนพลัดหลงกันบอยครั้ง เหตุการณตรงหนาสรางความหวาดกลัวใหพวกเขาเปน อยางมาก โชคดีที่ เพิรธ และเพื่อนสามารถหลบออกจาก เหตุการณนั้นไดอยางปลอดภัย โดยไมมีใครเปนอันตราย โดยเขาเก็บตัวอยูบานเพื่อนระยะหนึ่งเฝาดูจอโทรทัศนที่ รายงานความรุนแรงหลายจุดในกรุงเทพฯ โดยมีทัศนคติ ที่เปนลบตอผูชุมนุมโดยเฉพาะคนเสื้อแดง
3 ปถัดมา เพิรธเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา ด า นการถ า ยภาพจากภาควิ ช านิ เ ทศศิ ล ป คณะ สถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง ที่นั่นทําใหเขาเริ่มตั้งคําถามกับ สิ่งที่เกิดขึ้นในสังคม “ผมตัดสินใจพาตัวเองกลับไปเผชิญความกลัวใน วันเกา ดวยการยอนรอยเสนทางที่เกิดเหตุการณความ ไมสงบในครั้งนั้น ดวยภาพถาย landscape ยานเซียร รังสิต เพื่อถายทอดความรูสึกกลัว สับสนในจิตใจ” เขา พาเรายอนอดีต และผลงานครั้งนี้ ก็กลายเปนนิทรรศการภาพถาย ครั้งแรกในชีวิตของเขาที่ชื่อ ‘Red Dream’ จัดแสดงที่ คัดมันดู โฟโต แกลลอรี่ (Kathmandu Photo Gallery) ยานสีลม กระทั่งป 2557 เกิดรัฐประหารอีกครั้ง “ทําไมประเทศไทยถึงมีการยึดอํานาจบอยเหลือเกิน มันตองมีอะไรผิดปกติแน” เขาบอกถึงจุดเริ่มตนในการ ทํางานศิลปะแหงการตอตาน (Resistance Art) และเมื่อกลับไปตั้งหลักศึกษาประวัติศาสตรและ เหตุการณที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะคืนหลอนที่ตนเองแทบ จะเอาชี วิ ต ไม ร อดเมื่ อ ป 2553 เขาก็ เ พิ่ ง ตระหนั ก ว า ชวงเวลานั้นสื่อหลักตางรายงานสถานการณในลักษณะ สร า งและผลิ ต ซํ้ า ความหมายไปในทางโจมตี ผู ชุ ม นุ ม คนเสื้อแดง ทั้งภาพหางสรรพสินคาเซ็นทรัลเวิลดถูกเผา กับวาทกรรมเผาบานเผาเมือง การปดทางจราจร การ ปะทะกันของผูคน ตอกยํ้าใหผูคนรูสึกเกลียดชัง มีอคติ กับกลุมผูชุมนุมเปนอยางมาก “คุณดูสิ แมตอนนี้ศาลฎีกาจะตัดสินคดีนี้วา ไมใช การลงมือของกลุม แนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการ แหงชาติ (นปช.) ที่เรียกรองใหรัฐบาล ณ ขณะนั้นจัดการ เลือกตั้งใหม แตเปนการลงมือของกลุมผูไมประสงคดี อื่น ๆ แตยังคงมีสื่อหลายแหงผลิตซํ้าคติความเชื่อวากลุม เสื้อแดงเปนผูที่สรางความเสียหายอยู” เขายอนระลึกอีกวา หลายเหตุการณอยางการยิง สไนเปอรเด็ดหัว พล.ต.ขัตติยะ สวัสดิผล หรือ ‘เสธ.แดง’ การยิงปนเขาไปใสผูคนในวัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร ซึ่งเปนเขตอภัยทานหลังการชุมนุมยุติแลว ลวนขัดกับ
ขณะที่ชายผูไรซึ่งแสงไฟในใจ กลับพบแสงสีที่ชวย สองสวางใหเสนทางชีวิตของเขาไมมืดดับอีกตอไป
หฤษฎ ศรีขาว หรือ เพิรธ วัย 24 ป เปนคนหนุมคน หนึ่งที่เติบโตมาในบรรยากาศความขัดแยงทางการ เมือง และรัฐประหาร 2 ครั้งลาสุดจนมองเห็นความ ผิดปกติในสังคม
สิทธิวัฒนธรรม
ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563
ผิด ถูก ชัว ่ ดี ใครเปนผูก าํ หนด? เพิรธ ตัง ้ คําถามถึงระบอบการปกครองในประเทศไทย ซึง ่ มีขา ราชการเปนผูม อ ี าํ นาจในการชีแ้ จง ปกปด และตัง ้ กฎเกณฑ ขณะที่ The Head ภาพประติมากรรมของศิลปนชาวอินเดีย ราวินเดอร เรดดี้ ถูกสวมใสปดบังใบหนาของขาราชการเหลานั้น และเปนตัวแทนเชิงสัญลักษณของการจอง การสะกดจิตผูคน
ความเป น เมื อ งพุ ท ธที่ ต นเองเคยถู ก พรํ่ า สอนมาตลอด ยิง่ เหตุการณทที่ าํ ใหเขา ‘อึง้ ’ ทีส่ ดุ คือ ‘Big Cleaning Day’ ที่ราชประสงค จัดขึ้นหลังผูคนตายเกลื่อนเพียง 2 วัน ภาพเหลาดารา และคนรูจ กั มากมายทีอ่ อกมาเก็บกวาด ทองถนนใหขาวสะอาด ในวัยเด็กเขาเคยรูสึกวา เปนภาพที่ นาจดจํา ชวยกันคนละไมคนละมือ แตปจ จุบนั ไมใชอกี ตอไป “มันปวดราวมากเลยนะ ไมกี่วันกอนหนานั้นมีการ สลายการชุมนุม หลังจากนั้นก็มีผูคนมายิ้มแยมแลวก็มา เช็ดอะไรออกไปสักอยางหนึ่ง” ปลายสายไดยินเสียงของ เขาอยางแผวเบา และเหตุการณนี้ ก็กลายมาเปนแรงบันดาลใจในการจัด นิทรรศการภาพถายเต็มรูปแบบที่ชื่อ ‘Whitewash’ หรือ ‘ไรมลทิน’ เพื่อยอนเวลากลับไปทบทวนสิ่งที่เคยเกิดขึ้นใน ชวงที่เขายังเรียนมัธยมอยู นั่นเอง “เปนเหมือน coming of age ของผมเอง ทั้งเรื่อง ความเชื่อ ความคิดของผมตอเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น รอบตัว” เขาบอก คําวา ‘ไรมลทิน’ มาจากการที่เพิรธ ลอคําไปกับชีวิต ของผูคนที่มักจะบอกเลาเรื่องราวในสวนที่ดูดีออกมา ซึ่งคํา พูดเหลานั้นมักถูกตัดแตงกอนเสมอ และการใชเทคนิคคอ ลลาจ ก็เพื่อสะทอนใหผูคนเห็นวา รูปสวย ๆ ลวนเกิดจาก การตัดแตงดวยกันทั้งสิ้น “บางทีเราก็ตัดแตงมันเสียจนลืมไปเองเหมือนกันวา อันไหนคือเรื่องจริง อันไหนคือเรื่องเท็จกันแน” เม็ดแสงทีล่ อยลองอยูต ามรูปตาง ๆ ภายในนิทรรศการ เปรี ย บเสมื อ นความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ห รื อ เวทมนตร บ างอย า งที่ ปกคลุมอยูทั่วบริเวณกวาง ๆ คลายกับพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ เพื่อชําระลางสิ่งสกปรกหรือบางอยางที่ใครหลายคนอาจ มองวาสกปรก โดยมีแมชีเปนตัวแทนของการชําระลางสิ่ง ไมดีเหลานั้นออกไป
“มันสะทอนความเชื่อเรื่องความดีความเลวในศาสนา เหมือนตอนมัธยม ที่ทุกคนจะถูกพาไปเขาคายธรรมะ ซึ่ง กระบวนการเหลานี้ผมรูสึกวา มันเปนการกลอมเพื่อใหเรา มีมุมมองตอโลกในแบบที่ผูมีอํานาจตองการ” แตชดุ ภาพถายทีถ่ กู พูดถึงมากทีส่ ดุ เห็นจะเปนชุดภาพ ที่เกี่ยวของกับระบบการเมืองการปกครองในประเทศไทย ไมวาจะเปน ‘Heaven Gate’ ภาพขาราชการเขาแถว เรียงหนากระดานเพื่อถายรูปหนาประตูสวรรค ที่ไดรับแรง บันดาลมาจาก ปรัชญาทีเ่ พิรธ ในวัยเด็กถูกสอนเรือ่ ง ความ เชื่อเกี่ยวกับนรกสวรรค ความเปนคนดีคนเลว หรือ ‘The Head’ ภาพประติมากรรมของศิลปน ชาวอินเดีย ราวินเดอร เรดดี้ ที่เปนภาพจําของเพิรธ เมื่อ ครัง้ เซ็นทรัลเวิลดถกู เผาทําลาย เขาสมมติใหมนั เปนหนากาก ปดบังใบหนาของขาราชการเหลานั้น และเปนตัวแทนเชิง สัญลักษณของการจอง การสะกดจิต เพื่อใหเด็ก ๆ หรือ ประชาชนมองเห็นแคสิ่งที่เขาตองการใหเห็น “ถาคุณเปนเด็กที่ดีที่เชื่อฟงผูอาวุโส คุณก็จะไดขึ้น สวรรค แตถา คุณไมเชือ่ กับสิง่ ทีถ่ กู เลา คุณก็จะไปนรก แตใน ความจริงแลว เด็กหรือประชาชนแบบเรามีพลังงานมากมาย ในการทําสิง่ ตาง ๆ เราสามารถคนควาและสรางชุดความเชือ่ ของตัวเองไดจากสิง่ ทีเ่ ราเห็น ไมใชแคตอ งรับฟงเรือ่ งราวจาก ใครสักคนเพียงอยางเดียว” ยังมีภาพชุดที่เขาคูกันอยาง ภาพชายที่พันตัวดวยไฟ ดวงเล็ก ๆ จํานวนมาก ที่เขาบังเอิญถายภาพไดขณะที่ไป ในงานการชุมนุมครั้งหนึ่ง และภาพนักเรียนในชุดลูกเสือ ถื อ เที ย นในขณะที่ ต ากั บ ปากของเขานั้ น ถู ก ตั ด ออกด ว ย คัตเตอรจนเปนสีดํา สะทอนวา คนสองคนอยูในบริบทที่ แตกตาง ใครคนหนึ่งมีแสงไฟในตัวเอง กลับมองไมเห็นและ ไมสามารถถายทอดสิ่งเหลานั้นออกมาได ในขณะที่อีกฝาย ไมมีแสงในตัวเอง แตกลับคนหาแสงไฟที่ตนตองการเจอ
อย า งไรก็ ดี นิ ท รรศการของเขาเป น หนึ่ ง ในหลาย นิทรรศการที่ทหาร ตํารวจบุกยึดงานศิลปะ สําหรับของเขา เองถูกปลดงานศิลปะและบันทึกออกทั้งหมด 7 ชิ้น รวมถึง ภาพที่แสดงถึงยูนิฟอรมของรัฐ ภาพนักเรียนเตรียมทหาร ซ อ มยิ ง ป น ภาพข า ราชการใส ชุ ด สี ข าวยื น เรี ย งถ า ยรู ป และสมุดโนตที่บันทึกความทรงจําของเขาตอเหตุการณ ทางการเมือง เขามองวา การที่ภาครัฐเขามาเซนเซอรกลายเปนจุด กระแสใหสนใจเกีย่ วกับประเด็นการเมืองภายในงานมากกวา เกา ผูคนเริ่มไมเห็นดวยกับสิ่งที่ภาครัฐทํามากขึ้นเรื่อย ๆ ก็ ยิ่งทําใหพวกเขาใหความสนใจ และวิจารณรัฐมากขึ้น แต อีกดานหนึ่งก็เปนการลดทอนมิติของงานทิ้ง ทําใหผูคนมอง ขามเรือ่ งราวในชีวติ ทัง้ ความรัก ความสัมพันธอนื่ ๆ ทีต่ นเอง ถายทอดลงไปในงาน “การเปลี่ ย นแปลงในสั ง คมไม ไ ด เ กิ ด จากการที่ ค น มี จิ ต ใจที่ จ ะทํ า เพื่ อ สั ง คม แต เ กิ ด จากการที่ ค นเหล า นั้ น ตองการปกปองคนทีเ่ ขารัก ดังนัน้ สิง่ ทีค่ นควรใหความสําคัญ นอกจากสถานการณที่เกิดขึ้นแลวก็ คือความเห็นอกเห็นใจ กันและกันมากกวา” เขายืนยันในความเชื่อ และวา งานศิลปะถือเปนสวนหนึ่งในการขับเคลื่อนสังคม ไมเพียงแตศิลปะในแกลลอรี่ แตงานศิลปะที่อยูในชีวิต ประจําวัน ทั้งแฟชั่น สินคา หรือคานิยมตาง ๆ ลวนเปน จุดที่ขับเคลื่อนอะไรบางอยางในใจมนุษยเสมอ
ล นิษณาต นิลทองคํา เรียบเรียงจาก ‘ศิลปะทะ อารยะขัดขืน’
15
16
สิทธิสิ่งแวดล้อม
ลูกศิลป์
ทะเลไทยเดือด-คลื่นแรง-นํ้าเปนกรด โลกรอนทํานิเวศอาวเมืองเพชรฯพัง โลกรอนสะเทือนอาวไทยชัน ้ ใน! พบอุณหภูมน ิ าํ้ ทะเลเพชรบุรพ ี ง ุ 32 องศาเซลเซียส สูงกวาคาเฉลีย ่ 6 องศาฯ แถมทําคลืน ่ ลมแปรปรวน กัดเซาะหาดไปแลว 5.6 กม.รอบ 10 ปหลัง ซํ้านํ้าทะเลเปนกรด ‘เตาทะเล-วาฬ-โลมา’ สัตวชี้วัดนิเวศสมดุลหาย รัฐผุดแผนลดกาซ เรือนกระจกรับมือ
ทุ ก เดื อ นสิ ง หาคม-ธั น วาคม ที่ อ า ว บางตะบูน อําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี นักทองเที่ยวชาวไทยและตางประเทศ จะพา กันมาขอใหชาวประมงที่นี่ พาพวกเขานั่งเรือ ออกไปชมฝูงวาฬโอมุระซึ่งพวกมันวายตามฝูง ปลาเล็ก ๆ เขามาเพื่อกินเปนอาหาร ทําให นายจรูญ พงศพิทักษ วัย 65 ป ชาวบานที่นี่ ตัดสินใจเปดกิจการลองเรือชมวาฬเปนเจาแรก เมือ่ 30 ปทแี่ ลว ควบคูไ ปกับทําประมงพืน้ บาน เขาบอกว า ความอุ ด มสมบู ร ณ ข อง อ า วไทยชั้ น ในซึ่ ง กิ น พื้ น ที่ ม าถึ ง ชายทะเล เพชรบุรี ยังพาโลมาปากชวด โลมาหัวบาตร หลังเรียบ และโลมาเผือก มาตั้งถิ่นฐานที่นี่ แตหลังจากเปดกิจการไมถึงป จู ๆ โลมา เหลานี้ก็ยายถิ่นฐานลงใต แมอาวไทยชั้นในที่ รูจักในนาม ‘อาวรูปตัว ก’ จะมีสมาชิกใหมคือ โลมาอิรวดีเขามาแทน แตพบไดนอยครั้งและ มีไมกี่ฝูง ซํ้าอีก 10 ปถัดมา วาฬโอมุระหรือที่ ชาวประมงที่นี่เรียกวา วาฬแกลบ ก็ไดอพยพ ยายถิน่ ฐานไปเชนกัน แมจะมีวาฬบรูดา เขามา อาศัย แตขณะนี้ทั้งคูกําลังจะหายไป “สาเหตุที่วาฬแกลบและพวกโลมาหาย ไป อาจเปนเพราะทะเลแถวนี้ไมเหมือนเดิม ระบบนิเวศในทองทะเลเริ่มเปลี่ยน และแหลง อาหารไมพอสําหรับพวกมัน พวกมันจึงตอง ไปหาที่อยูใหม” ชาวประมงหลายคนที่อาว บางตะบูน บอก
หนังสือพิมพลูกศิลป ศูนยขาวเพชรบุรี ตรวจสอบข อ มู ล สภาพแวดล อ มชายฝ ง ยอนหลังชวง 10 ปทผี่ า นมาจากรายงานขอมูล นํ้าและภูมิอากาศแหงชาติ สถาบันสารสนเทศ ทรัพยากรนํา้ และการเกษตร (องคการมหาชน) พบว า นํ้ า ทะเลชายฝ ง จั ง หวั ด เพชรบุ รี มี อุณหภูมิเพิ่มขึ้นประมาณ 0.5 องศาเซลเซียส ในรอบทศวรรษ รายงานลาสุดเดือนกุมภาพันธ 2562 ยังระบุวา ป 2561 อุณหภูมินํ้าทะเลบริเวณนี้ แปรปรวนสูง โดยพุงสูงถึง 32 องศาเซลเซียส ยาวนานเกือบ 2 สัปดาห เปนแบบนี้หลาย ครั้งในชวงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ขณะที่ อุณหภูมินํ้าทะเลอาวไทยปกติจะอยูที่ 26-28 องศาเซลเซียส หากอุณหภูมสิ งู โดดขึน้ ก็จะเปน ชวงสั้น ๆ แค 1-2 วัน โลกรอนทําอุณหภูมินํ้า แปรปรวน-คลื่นแรง นายสมเกี ย รติ ขอเกี ย รติ ว งศ อดี ต ผู เชีย่ วชาญเฉพาะดานวิจยั ความหลากหลายทาง ชีวภาพ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อธิบายวา ปรากฏการณดังกลาวเปนผลจาก ภาวะโลกรอน และยังทําใหระดับนํ้าทะเลสูง มากขึ้น เพราะนํ้าแข็งและหิมะละลายมากขึ้น ผลที่ตามมาคือ คลื่นลมแรงขึ้นและกัดเซาะ ชายฝงมากขึ้น
ทีมขาวไดตรวจสอบสถานการณการกัด กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงกระทรวง เซาะชายหาดจากระบบฐานขอมูลกลางและ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม พบ มาตรฐานขอมูลทรัพยากรทางทะเล และชายฝง ว า ข อ มู ล ล า สุ ด เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2561
ไทยอยูตรงไหน ในผลกระทบโลกรอน
รายงาน Global Climate Risk Index 2019 ซึ่ ง รวบรวมผลกระทบของ แต ล ะประเทศที่ ไ ด รั บ ความเสี ย หายจาก ผลของการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ ในป 2017 โดยรวบรวมสถิติภัยพิบัติทุกครั้ง ทัง้ นํา้ ทวม พายุ คลืน่ ความรอน แลวนําผลมา จัดอันดับโดยใชจํานวนผูเสียชีวิตและความ สูญเสียที่เปนตัวเงินระบุวา ทั่วโลกมีผูเสีย ชีวิตจากภัยพิบัติมากกวา 526,000 คน จาก ผลของการเปลี่ยนแปลงอากาศแบบสุดขั้ว ถึงมากกวา 11,500 เหตุการณ สรางความ สู ญ เสี ย ทางเศรษฐกิ จ ช ว งป 1998-2017 มูลคาราว 3.47 ลานลานดอลลาร • รายงานระบุวา ประเทศในเอเชียได รั บ ผลกระทบและความเสี ย หายมากที่ สุ ด จากอุณหภูมิโลกที่เพิ่มขึ้น โดย 10 อันดับ ของประเทศที่ ไ ด รั บ ผลกระทบมากสุ ด ใน โลกมีประเทศในเอเชียรวมอยูถึง 5 ประเทศ ไดแก ศรีลังกาอยูอันดับ 2 เนปาลอยูอันดับ
4 เวียดนามอยูอันดับ 6 บังกลาเทศอยูอันดับ 9 และไทยอยูอันดับ 10 โดยไทยเลื่อนขึ้นมา จากอันดับที่ 20 ในป 2016 สวนประเทศที่ ไดรับผลกระทบรุนแรงมากที่สุดอันดับ 1 คือ เปอรโตริโก รายงานระบุ อี ก ว า ประเทศไทยฝน เริ่มตกหนักตั้งแตตนป 2017 ตอเนื่องไป จนถึ ง ฤดู ร อ นทํ า ให ป ระชาชนในภาคใต ไดรับผลกระทบกวา 1.6 ลานคน จากเสน ทางรถยนตและรถไฟถูกตัดขาด มีผูเสียชีวิต มากกวา 40 คน ในเดือนมกราคมเพียงเดือน เดียว นอกจากนี้ยังนํ้าทวมสงผลใหเกิดคลื่น แรงคราชีวิตคนไป 18 คนและยังเออลน ทวมหลายหมูบาน โรงเรียนกวา 1,500 แหง ตองปดการเรียนการสอน ความเสียหายทาง เศรษฐกิจของไทยรวมมากกวา 700 ลาน ดอลลาร ที่มา: The Germanwatch Climate Risk Index 2019
สิทธิสิ่งแวดล้อม รุนแรงสุดเกิดขึ้นที่ตําบลปากทะเล อําเภอ ชายฝงเพชรบุรีถูกกัดเซาะไปแลวกวา 5.6 กิโลเมตร ในชวงป 2550-2560 สถานการณ บานแหลม กินความยาวกวา 2.39 กิโลเมตร ฐานขอมูลดังกลาวยังระบุวา หาดทราย เปนแหลงวางไขของเตาทะเล เปนตัวสะทอน ระบบนิเวศหาดทรายซึ่งเปนจุดเริ่มตนของ หวงโซอาหาร หากมันผุกรอนจากคลื่นลมแรง มากกวาปกติ สายใยอาหารที่สําคัญก็หายไป นายมนู อรั ญ พั น ธ กรรมการจั ง หวั ด เพชรบุ รี ด า นสิ่ ง แวดล อ ม หั ว หน า ชมรม ทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝ ง อํ า เภอ แหลมผักเบีย้ จังหวัดเพชรบุรี และอาสาสมัคร พิทักษทะเล กลาววา รัฐสรางกําแพงกันคลื่น กัดเซาะชายหาด ทําใหเตาทะเลอยางเตากระ เตามะเฟอง เตาตนุซึ่งเปนสัตวปาคุมครอง ตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) สงวนและคุม ครอง สัตวปาคุมครอง พ.ศ. 2535 เขามาวางไขไมได ตองไปวางไขในทะเล ประชากรเตาจึงลดลง ทะเลเปนกรดมากขึ้นเสี่ยง สัตวอยูไมได ที ม ข า วตรวจสอบต อ ไปถึ ง สภาพนํ้ า ในทะเล โดยเว็ บ ไซต เ อ็ น ไวรอนเน็ ต ศู น ย สารสนเทศสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ระบุวา ปกติมหาสมุทรจะมี คาแสดงความเปนกรด-เบส (pH) ประมาณ 8.0-8.1 ซึ่งมีความเปนเบสเล็กนอย ทั้งนี้ถาคา ความเปนกรด-เบส นอยกวา 7 สารชนิดนั้นก็ จะมีฤทธิ์เปนกรด แตเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2559 เว็บไซตองคกรวาดวยสิ่งแวดลอมแหง สหภาพยุโรป (European Environment Agency หรือ EEA) เผยแพรผลสํารวจคาความ เปนกรด-เบสของพื้นผิวมหาสมุทรวา จากที่ คาความเปนกรด-เบสอยูที่ 8.04 ในป 2531 แต 24 ปตอมา คือป 2557 พื้นผิวมหาสมุทร
ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563
มีคา เขาใกลความเปนกรดมากขึน้ คืออยูท ี่ 8.0 “แมตัวเลขจะลดลงเพียง 0.04 แตผลที่ เกิดขึน้ ยิง่ ใหญและเกีย่ วของกับสัตวหลายชนิด หากตัวเลขลดลงมากกวา นี้อาจหมายความ วา ออกซิเจนในทะเลจะหมดไปจนทําใหสิ่งมี ชีวิตที่หายใจดวยเหงือกไมสามารถอาศัยอยู ได” รายงาน ระบุ ‘เตา-วาฬ-โลมา’หายสะทอน นิเวศพัง มี ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น สุ ข ภ า พ วาฬบรูดาที่สํารวจพบบริเวณอาวไทยตอนบน จากภาพถายและการสังเกต ในเดือนตุลาคม 2561 โดย สพ.ญ. ราชาวดี จันทรา นายสุรศักดิ์ ทองสุ ก ดี นายสุ ร ชั ย ภาสดา นายธี ร วั ต ร เปรมปรี และนางสาวพั ช ราภรณ เยาวสุ ต สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาทรั พ ยากรทาง ทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน ระบุวา วาฬบรูดา 39 ตัว มีความผิดปกติ โดยพบ รอยโรค 1 ลักษณะจํานวน 23 ตัว พบรอย โรค 2 ลักษณะ 3 ตัว และรอยโรค 3 ลักษณะ 3 ตัว การแสดงรอยโรคเปนตัวบงชี้สุขภาพ ของวาฬและบ ง ชี้ ก ารเสื่ อ มโทรมของ สิ่งแวดลอม ขณะที่เตาทะเลมีสาเหตุการตาย จากการปวยเปนอันดับ 1 สพ.ญ. ราชาวดี ใหสัมภาษณเพิ่มเติมวา มีหลายปจจัยที่ทําใหสัตวทะเลหายากอยาง วาฬ โลมา เตาทะเลปวย ไดแก ความเครียด อันเกิดขึ้นจากสภาพแวดลอม เชน เมื่อเกิด คลื่นลมแปรปรวนทําใหหาดตื้นเขิน เตาทะเล ก็วางไขไมได หรือทําใหคูแมลูกสัตวทะเล หายากที่ เ ลี้ ย งลู ก ด ว ยนมพลั ด พราก หรื อ เกยตื้ น ตายบนชายหาดหรื อ ตายในทะเล การปวยยังเกิดจากเชื้อไวรัส แบคทีเรีย หรือ เชื้ อ ราที่ อ ยู ใ นนํ้ า ทะเลปนเป อ นส ง ผลให สัตวทะเลหายากทองแกปวย “ภาวะโลกรอนทําใหอุณหภูมินํ้าทะเล
วิกฤตปะการัง แหลงอนุบาลสัตวนํ้าแหงทะเลไทย
ปะการั ง ถื อ เป นแหลงผลิต อาหารให ทองทะเล สิ่งมีชีวิตในทะเลประมาณ 25% ใชประโยชนจากปะการัง ทั้งเปนที่อยูอาศัย แหลงอาหาร แหลงอนุบาลสัตวนํ้า และที่ หลบภัยของสัตวทะเล เมื่ อ อุ ณ หภู มิ นํ้ า ทะเลสู ง ขึ้ น ส ง ผล ให ป ะการั ง มี สี ซี ด จางลง หรื อ ที่ เ รี ย กว า ปรากฏการณ ‘ปะการังฟอกขาว’ เพราะ มันสูญเสียสาหรายขนาดเล็กซึ่งดํารงชีวิตอยู รวมกันในปะการัง จนอาจสงผลใหปะการัง บางชนิดสูญพันธุได ปรากฏการณนี้จึงเปน สัญญาณเตือนใหรูวา อุณหภูมิของโลกเพิ่ม สูงขึ้นจนกระเทือนไปยังระบบนิเวศ สุ ช นา ชวนิ ช ย รองศาสตราจารย ประจํ า ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร ท างทะเล คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
หนึ่ ง ในที ม นั ก วิ ท ยาศาสตร ไ ทยที่ เ พาะ ขยายพันธุปะการังแบบอาศัยเพศสําเร็จเปน ครั้งแรกของประเทศไทย อธิบายวา ภาวะ โลกรอนทําใหนาํ้ ทะเลมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ สงผล ใหปะการังในทะเลไทยขณะนี้เสื่อมโทรมลง พอสมควร ความสมบูรณที่มี 5 ระดับ แทบ จะหาระดับที่ 5 คือ สมบูรณมาก ไมไดแลว โดยเฉลี่ยอยูที่ระดับ 3 เทานั้น สถานการณ ป ะการั ง ในทะเลไทยฝ ง อาวไทย คนอาจจะคิดวานาจะแยกวาฝง อันดามัน เพราะฝงอาวไทยเปนจุดรับนํ้า จากแผนดินทั้งหมด แตพบวา ฝงอันดามัน มีปะการังตายมากกวาฝงอาวไทย เพราะ เมื่ อ มั น อยู ใ นสภาพแวดล อ มที่ ใ สสะอาด กวา เมื่อมาเจอมลพิษ มันจึงปรับตัวไดยาก และตายลง ผิดกับฝงอาวไทยที่ทนทานและ
สู ง ขึ้ น ทิ ศ ทางคลื่ น เปลี่ ย น ส ง ผลให ร ะบบ นิเวศเปลี่ยน สิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม แหลง อาหารของสัตวทะเลลดลง เกิดโรคตาง ๆ สภาพการณ สั ต ว ท ะเลหายากเหล า นี้ เ ป น ตั ว ชี้ วั ด ที่ สํ า คั ญ ว า ตอนนี้ ร ะบบนิ เ วศและ ทองทะเลมีความอุดมสมบูรณหรือเสือ่ มโทรม” สพ.ญ. ราชาวดี กลาว รัฐรับโลกรอนกระทบไทย นายณรงค เลิศเกษตรวิทยา นักวิชาการ ประมงชํานาญการ หัวหนางานระบบนิเวศ ศูนยวิจัยทะเลอาวไทยตอนบน กรมประมง กลาววา การทําวิจัยภาวะโลกรอนคอนขาง ใชเวลา และปจจุบันยังไมเห็นผลชัดเจน ดัง นั้นผลกระทบโลกรอนตอระบบนิเวศเพชรบุรี จึงยังไมมีการยืนยันที่แนชัด “แตสิ่งที่เห็นไดชัดแลวในการวิจัยคือ อุณหภูมินํ้าทะเลสูงขึ้นซึ่งมีผลทําใหสัตวนํ้า และสัตวทะเลหายากแพรพันธุเร็วขึ้น แตชวง ชีวติ สัน้ ลงซึง่ เปนกลไกการปรับตัวเพือ่ ความอยู รอดของพวกมัน รวมถึงการยายถิ่นฐานดวย” นายณรงค กลาว ผุดแผนลดกาซเรือนกระจก 30ป ทีมขาวตรวจสอบแผนรับมือสถานการณ โลกร อ นพบว า กรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพ สิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล อ ม มี แ ผนแม บ ทรองรั บ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 25582593 ในแผนระบุวา รัฐวางเปาหมายแกปญ หา ภาวะโลกร อ นโดยลดการปล อ ยก า ซเรื อ น กระจก สงเสริมใหอุตสาหกรรมทุกชนิดปลอย คารบอนไดออกไซดปริมาณตํ่าลง เพิ่มพื้นที่ สี เ ขี ย วในชุ ม ชนเมื อ ง และเพิ่ ม ระบบ ขนส ง สาธารณะเพื่ อ ลดการปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดจากทอไอเสีย นอกจากนี้ ยั ง พบแผนการปฏิ บั ติ ปรับตัวไดมากกวาสถานการณเลวรายที่สุด ของปะการั ง เกิ ด ขึ้ น ที่ ภู เ ก็ ต เมื่ อ ป 2553 ปะการังฟอกขาวไปรอยละ 90 การเกิดปรากฏการณปะการังฟอกขาว ปกติอุณหภูมินํ้าทะเล 30 องศาเซลเซียส ปะการังจะเริ่มฟอกขาวแลวในฝงอันดามัน แตตอนนี้ตองประมาณ 33 องศาเซลเซียส ถึงจะเริ่มฟอกขาว เพราะพวกมันปรับตัว แต ถ ามว า เสี่ ย งสู ญ พั น ธุ ไ หม ตอบได ว า เสี่ยงสูญพันธุทุกชนิดหากมันไมปรับตัว ซึ่ง ถาอีก 30 ปขางหนา ภาวะโลกรอนยังคง เปนอยางนี้อยู ปะการังกวา 90% ทั่วโลกคง สูญพันธุ ขณะนี้หากเกิดภาวะฟอกขาว ก็ไม ควรไปซํ้าเติมใหมันออนแอลงโดยการเขาไป ทําลาย หรือทําประมง หรือทองเทีย่ วทีส่ ง ผล ตอปะการัง อาจจะตองหยุดพักการทองเทีย่ ว บริเวณนัน้ เพือ่ ฟน ฟูปะการัง และถาลดภาวะ โลกรอนไดก็นาจะยังปองกันมันได ปจจุบัน พบวา ปะการังเหลานั้นก็พยายามปรับตัว เพื่อใหอยูรอด ส ว นจะใช ป ะการั ง เที ย บมาทดแทน ไดหรือไมนั้น มีทั้งไดและไมได กลาวคือ
17
ร า ช ก า ร ข อ ง สํ า นั ก ง า น น โ ย บ า ย แ ล ะ แผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ป ง บประมาณ 2562 ระบุ ว า ในป 2563 คาดวา ไทยจะมีการปลอยกาซเรือนกระจก 367.44 ลานตันคารบอนไดออกไซด จึงตั้ง เปา หมายวา จะลดปริมาณการปลอยกา ซ เรือนกระจกลงใหไดรอยละ 20 หรือ 73.48 ลานตันคารบอนไดออกไซด ซึ่งลาสุดเมื่อป 2559 สามารถลดไดแลวรอยละ 12 คิดเปน 45.69 ลานตันคารบอนไดออกไซด นายอุกกฤต สตภูมินทร ผูอํานวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล และชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล อ ม ชี้ แ จงว า ภาวะโลกร อ น มี ผ ลกระทบต อ ทะเลไทย โดยทํ า ให เ กิ ด ปรากฎการณปะการังฟอกขาว และเตาทะเล ลดลง รัฐจึงตองพยามยามควบคุมพฤติกรรม ที่ทําใหเกิดกาซเรือนกระจก ซึ่งไทยก็ไดจับมือ กับอีกหลายประเทศทําขอตกลงวาดวยการลด ปริมาณกาซเรือนกระจกในพิธสี ารเกียวโตเมือ่ ป 2540 และสัญญาปารีสเมื่อป 2558 แลว
ล กานตชนก พรรัตนวิสัย จุลวรรณ เกิดแยม ปารณีย สิงหเสนี กวิน สุวรรณณัฐวิภา
แม ป ะการั ง เที ย มจะมี ห น า ที่ เ ป น บ า นให กับสัตวทะเล แตบานที่มนุษยสรางก็คงไม เหมือนกับธรรมชาติสราง เปรียบเสมือนบาน ที่ไมมีเฟอรนิเจอร เปนหองโลงที่ไมมีอะไร สักวันปลาเหลานี้ก็ตองไปหาบานที่ครบครัน มากกวา หมายความวา ปะการังแทมีความ ซับซอนมากกวาปะการังเทียม มีอาหารใหกบั สัตวและจะทําใหสตั วหลากหลายชนิดเขามา อยูอาศัยมากกวาปะการังเทียม แต ก็ ไ ม ใ ช สั ต ว ทุ ก ชนิ ด ที่ จ ะสามารถ อยูได และมนุษยก็ไมสามารถที่จะเลียนแบบ ธรรมชาติไดรอยเปอรเซ็นต
18
ข่าวเด่น
ลูกศิลป์
ตอจากหนา 1 หนั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ส� ำ รวจมาตรการ ท�ำโทษนักเรียนของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการด้วยแบบสอบถาม ออนไลน์ มีผู้ตอบเป็นนักเรียนมัธยมใน 51 โรงเรียน จากโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ใหญ่ กลาง และเล็ก ทั้ง 5 ภาค รวมถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระหว่างวันที่ 25 กันยายน ถึง 16 ธันวาคม ปีที่ผ่านมา พบว่า ร้อยละ 95.2 หรือ 257 คน จากทัง้ หมด 270 คน ระบุวา่ เคย ถูกครูท�ำโทษทั้งทางร่างกายและจิตใจ การลงโทษทางร่างกาย พบว่า การตี ด้วยไม้เรียว ไม้บรรทัด ไม้หน้าสาม ผู้ตอบ แบบสอบถามเคยถูกครูลงโทษด้วยวิธีน้ี 199 คน การบั ง คั บ ให้ ใ ช้ แ รงมากเกิ น ควร เช่ น ลุกนัง่ 200 ครัง้ วิง่ รอบสนามฟุตบอลกลางแดด จนท�ำให้ปวดขา มีผู้ตอบแบบสอบถาม 169 คน เคยถูกลงโทษด้วยวิธีนี้ ยังมีวธิ กี ารอืน่ ทีผ่ ตู้ อบแบบสอบถามระบุ เช่น ครูใช้แปรงลบกระดานเคาะมือ ขว้าง แปรงลบกระดาน ยืนตากแดด กลิ้งบนสนาม กระโดดตบ ดึงผม หยิกหู ตบหัว ตบหน้า จับหัวโขลกโต๊ะ ขว้างสมุดหนังสือใส่ ส่วนการลงโทษทางจิตใจ มีทั้งการดุด่า ตะคอกเสียงดัง พบมากที่สุด 167 คน รอง ลงมาคื อ ถู ก คาดโทษ 140 คน ถู ก ครู พู ด เหยี ย ดหยาม เยาะเย้ ย 134 คน ผู ้ ต อบ แบบสอบถามยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมอีกว่า เคย ถูกไล่ออกจากห้องเรียน ถูกดุด่าด้วยค�ำหยาบ ประจานโดยการสั่งให้ยืนแสดงตัวต่อหน้าคน ทั้งโรงเรียนขณะเข้าแถวตอนเช้า สาเหตุของการถูกท�ำโทษ ผู้ตอบแบบ ส�ำรวจระบุวา่ มาจากไม่ทำ� การบ้าน หลับในชัน้ เรียน แต่งตัวไม่เรียบร้อย ทรงผมผิดระเบียบ ทั้งนี้ส่วนใหญ่มีความเห็นว่า ควรยกเลิกการ ลงโทษแบบดังกล่าว ให้เหตุผลว่า เป็นการ ลงโทษที่รุนแรงเกินกว่าเหตุ และมีผลกระทบ ต่อจิตใจของนักเรียน ท�ำให้ขาดความมั่นใจ รู้สึกไม่ยุติธรรม แต่บางส่วนยังคงเห็นด้วยกับ การลงโทษ รู้สึกเฉย ๆ มองว่าการลงโทษเป็น เรื่องธรรมดา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน แห่งหนึ่ง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เผยว่า เมื่อปีที่แล้วเคยถูกครูลงโทษโดยการใช้ผ้าเทป ปิดปากนักเรียนทุกคนในห้องเป็นเวลา 1 วัน เนือ่ งจากคุยกันเสียงดัง แต่ไม่ได้บอกผูป้ กครอง เพราะครูขู่ว่า ห้ามบอก ถ้าบอกจะถูกตีด้วย ไม้เรียว นอกจากนี้ ยังเคยถูกตีที่ก้นด้วยไม้ ขนาดเท่าท่อพีวีซี 1 นิ้ว เพราะไม่ส่งการบ้าน ผู้สื่อข่าวใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์หา ข้อมูลผู้ที่เคยถูกครูลงโทษเกินกว่าเหตุพบผู้ใช้ ทวิตเตอร์รายหนึ่ง โพสต์เรื่องราวว่า หลานที่ เรียนอยูช่ นั้ ประถมศึกษา ถูกครูดา่ ด้วยถ้อยค�ำ รุนแรงเพราะลืมสมุดไว้ใต้โต๊ะจนไม่ได้ท�ำการ บ้านส่ง เมื่อผู้อ�ำนวยการโรงเรียนทราบเรื่อง ก็เรียกครูคนดังกล่าวเข้าพบ ครูคนดังกล่าว เข้ามาขอโทษทางครอบครัวพร้อมน�ำกระเช้า
ผลไม้มาให้โดยให้เหตุผลว่า เป็นการกระท�ำที่ รู้เท่าไม่ถึงการณ์ “นี่ ไ ม่ ใ ช้ เ หตุ ก ารณ์ ล งโทษที่ เ กิ น กว่ า เหตุครั้งแรก ทราบว่า ครูคนนั้นชอบตะคอก และชอบลงโทษด้วยการเอาขวดเครื่องดื่มชู ก�ำลังใส่น�้ำและตีหน้าแข้งนักเรียน หลานของ ดิฉันบอกว่า อยู่ห้องเรียนกับครูคนนี้เหมือน ตกนรกมีแต่ด่ากับตี” เจ้าของโพสต์ให้ข้อมูล เพิ่มเติมกับผู้สื่อข่าว อีกกรณีที่ผู้สื่อข่าวได้สอบถามไปยังผู้ใช้ เฟซบุก๊ รายหนึง่ ทีโ่ พสต์เรือ่ งราวการถูกลงโทษ ในวัยเด็ก เธอเล่าว่า เมื่อ 15 ปีที่แล้วสมัยอยู่ ชั้นประถม เคยถูกครูบังคับให้คลานเข่ากลาง แดด และถูกตีจนเก็บไปละเมอ เหตุการณ์ ดังกล่าวส่งผลกระทบจนถึงปัจจุบนั ท�ำให้ขาด ความมัน่ ใจ มีปญ ั หาด้านพฤติกรรมและจิตใจที่ ควบคุมไม่ได้ โดยจิตแพทย์มีความเห็นว่า เป็น ผลมาจากการถูกครูลงโทษเมื่อวัยเด็ก ปีที่แล้วมีข่าวครูขาโหด21ราย ผู้สื่อข่าวสืบค้นข่าวเกี่ยวกับการลงโทษ นักเรียนจากศูนย์รวบรวมข่าวออนไลน์หรือ นิวส์เซ็นเตอร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ใช้ ค� ำ ค้ น หาว่ า ‘ครู ตี ’ ‘ครู ล งโทษ’ และ ‘ครูท�ำโทษ’ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 27 พฤศจิกายน 2562 พบข่าวครูลงโทษนักเรียน ปรากฏในสื่อหลัก 21 ราย ส่วนใหญ่เป็นการ ลงโทษทางร่างกาย เช่น ตบหน้า ตบบ้องหู ใช้เท้าถีบ เฆี่ยนตีด้วยไม้หวาย ไม้พลองจน เกิดแผลแตก มีรอยฟกช�้ำ ไข้ขึ้น บางรายถูก ตีที่ศีรษะ บางรายรุนแรงจนเกิดเลือดคั่ง โดย ส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะโพสต์เรื่องราวลงบน สื่อสังคมออนไลน์ท�ำให้แชร์ต่อกันจนเป็นข่าว ห่วงเด็กซึมซับความรุนแรง นางสาวนิ ป ั ท ม์ พิ ช ญโยธิ น อาจารย์ ประจ�ำคณะจิตวิทยา สาขาพัฒนาการมนุษย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย กล่าวว่า การลงโทษ ที่รุนแรงของครูเป็นการแสดงความก้าวร้าว ที่เป็นแบบอย่างที่ไม่ดีแก่เด็ก และกลายเป็น วัฏจักรความรุนแรง “หากเด็ ก ถู ก ลงโทษด้ ว ยความรุ น แรง เด็กก็จะแก้ปัญหาด้วยความรุนแรงกับบุคคล อืน่ และเมือ่ โตเป็นผูใ้ หญ่กจ็ ะใช้วธิ ลี งโทษด้วย ความรุนแรงกับเด็กคนอื่นต่อไป” นางสาว นิปัทม์ กล่าว นางสาวนิปทั ม์กล่าวอีกว่า มีงานวิจยั ทาง จิตวิทยาหลายเรือ่ งพบว่า เด็กทีถ่ กู ลงโทษด้วย การเฆี่ยน ตี หรือวิธีการรุนแรงอื่น ๆ ท�ำให้ เด็กลดศักยภาพของตนเอง เพราะเด็กจะจ�ำ ฝังใจและไม่อยากเข้าเรียนหรือรับความรู้จาก ครู นอกจากนี้ เด็กที่ถูกกระท�ำจะมีอาการติด ฝังใจ บางคนต้องใช้เวลาอย่างมาก เพื่อที่จะ ช่วยให้เขาก้าวข้ามความรู้สึกนั้นไปได้ ศธ.ให้ลงโทษได้ 4 แบบ ห้ามใช้ก�ำลัง ผู ้ สื่ อ ข่ า วสื บ ค้ น ระเบี ย บกระทรวง ศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือ นักศึกษา พ.ศ. 2548 พบว่า ข้อ 5 ระบุว่า โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่ กระท�ำผิดมี 4 สถาน คือ 1) ว่ากล่าวตักเตือน 2) ท�ำทัณฑ์บน 3) ตัดคะแนนความประพฤติ
4) ท�ำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 6 ยังระบุอีกว่า ห้ามลงโทษนักเรียน และนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง กลั่นแกล้งหรือ ลงโทษด้ ว ยความโกรธ โดยค� ำ นึ ง ถึ ง อายุ นักเรียนหรือนักศึกษา และความร้ายแรงของ พฤติการณ์ประกอบการลงโทษด้วย นายฐาปนัท เทียบสี ครูฝ่ายปกครอง โรงเรี ย นขนาดใหญ่ แ ห่ ง หนึ่ ง ในภาคอี ส าน ยอมรั บ ว่ า มี ก ารกระท� ำ นอกเหนื อ จากที่ ก� ำ หนดในระเบี ย บ เนื่ อ งจากเด็ ก บางคน โดนหั ก คะแนนเยอะ แม้ จ ะให้ ท� ำ กิ จ กรรม คืนคะแนนให้ 40 คะแนน ทุกเดือน แต่ก็จะ ลงโทษแบบอื่นด้วย เพราะหากโดนหักเกิน 100 คะแนน โรงเรียนจะให้เปลีย่ นบรรยากาศ สถานศึกษา หรือเรียกว่าการย้ายโรงเรียน จึ ง ให้ เ ลื อ กว่ า จะถู ก หั ก คะแนนหรือวิดพื้น วิ่ ง รอบสนาม แต่ ก็ จ ะมี ห นั ง สื อ ขออนุ ญ าต ผูอ้ ำ� นวยการให้อนุมตั ิ แต่บางครัง้ ก็ไม่ได้ขอแต่ จะให้นักเรียนเซ็นยินยอมเอง 5ปีครูลงโทษเกินเลยกว่าร้อยพักงานแค่ 8 คน รายงานสถิติครูลงโทษนักเรียนเกินกว่า เหตุ (รุ น แรง) ในรอบ 5 ปี (ปี ก ารศึ ก ษา 2558-2562) ของศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและ ช่วยเหลือเด็กนักเรียน (ฉก.ชน.) ระบุวา่ ในช่วง 5 ปีลา่ สุด มีครูลงโทษนักเรียนเกินกว่าเหตุ 114 กรณี โดยปี 2561 มีมากที่สุด 74 กรณี อย่างไรก็ดี รายงานสรุปผลการด�ำเนินการ
ประพฤติผดิ จรรยาบรรณของวิชาชีพ ตัง้ แต่งบ ประมาณ พ.ศ. 2554-2560 ของคุรุสภา กลับ พบว่า มีการพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ครูที่ลงโทษนักเรียนเกินกว่าเหตุทั้งหมด 8 กรณี โดยมีระยะเวลาพักใช้ที่แตกต่าง เช่น ลงโทษนักเรียนด้วยการใช้รองเท้าส้นสูงเคาะ ศี ร ษะ พั ก ใช้ ใ บอนุ ญ าต 6 เดื อ น ลงโทษ นั ก เรี ย นจนเกิ ด บาดแผล พั ก ใช้ ใ บอนุ ญ าต 3 เดือน และลงโทษนักเรียนด้วยการบิดหู พักใช้ใบอนุญาต 1 เดือน เป็นต้น แต่จาก สถิติยังไม่พบว่า ถึงขั้นเพิกถอนใบอนุญาต เมื่อสืบค้นเรื่องร้องเรียนครูละเมิดสิทธิ นักเรียน จากระบบบันทึกการด�ำเนินงานของ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ใช้ค�ำค้นว่า ‘นักเรียน’ ‘ครูลงโทษนักเรียน’ พบว่า ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา มีการร้องเรียน 15 เรื่อง นายสรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์ ผู้ช�ำนาญ การประจ�ำ กสม. กล่าวว่า เรื่องครูลงโทษ นั ก เรี ย นที่ ร ้ อ งเรี ย นมาถึ ง กสม. ส่ ว นใหญ่ มาจากกรณีที่ ฉก.ชน. หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คุ้มครองเด็ก ไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้ผู้ร้องเรียนได้ กสม. จึ ง ตรวจสอบและท� ำ รายงานเสนอไปยั ง หน่วยงานที่รับผิดชอบการที่ กสม. มีสถิติการ เกิดเรื่องน้อยเพราะมีกระบวนการก่อนหน้าที่ จะมาถึง กสม. โดยผู้ที่มาร้องเรียนส่วนใหญ่ จะเป็นผู้ปกครอง เพราะกฎหมายก�ำหนดให้
อ�ำนาจนิยมในโรงเรียน เอื้อครูท�ำผิดลอยนวล
ยุกติ มุกดาวิจิตร
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
ยุกติ มุกดาวิจิตร คณะสังคมวิทยา แ ล ะ ม า นุ ษ ย วิ ท ย า ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า สังคมไทยเป็นสังคม อ�ำนาจนิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องระบบ อาวุโสในระดับของครูกับผู้ปกครอง หรือ ครูกับนักเรียน ท�ำให้ความเป็นครูถือเป็น ผู้ที่มีบุญคุณ เป็นคนที่มีอ�ำนาจเหนือคน ที่ได้รับการสั่งสอน รวมไปถึงผู้ปกครองที่ ต้องมาง้องอน ท�ำให้ครูไม่ได้เป็นแค่เป็นผู้ ทีม่ าถ่ายทอดความรู้ เมือ่ ก่อนการเรียนการ สอนมีรูปแบบที่ให้อ�ำนาจผู้สอนสามารถ บั ง คั บผู ้ เ รี ย น ควบคุ มให้ อ ยู ่ ใ ต้ค วามคิด ของผู้สอน ส่งผลให้ยังมีการละเมิด มีการ ใช้อ�ำนาจเกินกว่าเหตุอยู่ แม้จะมีกฎหมาย แต่ก็ไม่ได้ถูกบังคับใช้ เพราะระเบียบทาง สังคมเข้มแข็งกว่า หากเมื่อใดที่สังคมมัน เปลีย่ นไป มีพลวัตสูงขึน้ มีความเคลือ่ นไหว ของสังคมที่ต้องการความคิดเห็นใหม่ ๆ มี ก ารเปิ ด มากขึ้ น สิ่ ง เหล่ า นี้ จ ะน้ อ ยลง
ปริ ญ ญา เทวานฤมิ ต รกุ ล รอง อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการไม่มี ข้อใดอนุญาตให้แตะเนื้อต้องตัวนักเรียน ได้ ฉะนั้ น หากมี ก ารลงโทษนั ก เรี ย นที่ ส่ง ผลกระทบด้านร่างกายจะถือเป็นการ กระท� ำ ผิ ด กฎหมายอาญา รวมถึ ง การ กักขังหน่วงเหนี่ยว การท�ำร้ายด้วยวาจา และถ้ อ ยค� ำ หมิ่ น ประมาท แต่ ที่ ยั ง เห็ น ครูลงโทษนักเรียนรุนแรงบ่อย ๆ เพราะ สังคมประเพณีที่ยอมรับและอนุญาตให้มี การกระท�ำดังกล่าว แต่ถ้าเมื่อไหร่สังคม ไม่ ย อมรั บ ส่ ว นคนที่ ถู ก ตี ก็ ไ ม่ ย อมและ ฟ้องร้อง นั่นจะถือเป็นความผิดทางอาญา ในทันที แต่ถ้ายังยอมรับกันมันก็แก้ไม่ได้
ข่าวเด่น
ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563
ผู้ปกครองจัดการเรียกร้องสิทธิแทนเด็ก “ที่ ผ ่ า นมา กสม. เคยยื่ น เรื่ อ งไปยั ง กระทรวงศึกษาธิการว่า การยุ่งเกี่ยวกับเนื้อตัวร่างกายของเด็กนักเรียนไม่สามารถกระท�ำ ได้โดยเฉพาะตามกฎหมายคุ้มครองเด็กที่ห้าม ทารุ ณ กรรมทั้ ง ด้ า นร่ า งกายและจิ ต ใจ แต่ วันนี้มีแนวโน้มว่า จะมีการแก้ระเบียบการ ลงโทษ โดยไปเก็บความคิดเห็นว่า ครูสามารถ เฆี่ยนตีได้หากผู้ปกครองท�ำหนังสือให้ความ ยินยอม ซึ่งถ้าหากจะแก้ระเบียบนี้จริง ๆ การ อ้างว่าผู้ปกครองยินยอมก็ไม่สามารถท�ำได้ เพราะขัดกับ พ.ร.บ.” นายสรรพสิทธิ์ กล่าว เผยร.ร.มักไกล่เกลี่ยจบภายใน ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัด สุรินทร์ กล่าวว่า เมื่อมีการลงโทษเกินกว่า เหตุจะแบ่งเป็น 2 กรณี 1) หากมีผู้ปกครอง ร้องเรียน โรงเรียนจะเรียกครูและผู้ปกครอง เข้ามาคุยเพื่อหาข้อตกลงร่วมกัน หากไกล่ เกลี่ยกันได้ก็จะไม่มีการฟ้องร้อง ส่วนมากมัก ยอมความกันได้เพราะผู้ปกครองอยากเห็น ความรับผิดชอบของโรงเรียน ไม่ได้อยากให้ เป็นเรื่องใหญ่โต 2) หากผู้ปกครองไปแจ้ง ความที่โรงพักตั้งแต่แรก แต่เป็นการกระท�ำ ที่ไม่ร้ายแรงมาก ต�ำรวจมักจะยังไม่ลงบันทึก ประจ� ำ วั น ทั น ที แต่ จ ะเรี ย กครู ผู ้ ก ระท� ำ มา พูดคุยกับผูป้ กครองเพือ่ หาข้อตกลงร่วมกัน ซึง่ ขั้นตอนนี้ถือเป็นการช่วยเหลือกันเพราะเมื่อ ไม่มีการลงบันทึกประจ�ำวันก็เท่ากับว่า ไม่มี หลักฐานการเอาผิด “เรื่องนี้เป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง ขณะนี้
โรงเรียนท�ำได้แค่ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ข้อเท็จจริงและวินิจฉัยโทษ แล้วถึงส่งหนังสือ ไปยังเขตการศึกษาเพื่อให้ส่งเรื่องไปยังคณะ กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ซึ่งเรื่องก็มักไป ค้างอยู่ ทางออกคือ หากลดขั้นตอนโดยให้ เขตการศึ ก ษาส่ ง เรื่ อ งไปให้ ค ณะกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัดเป็นคนตัดสิน เรื่องก็จะ ถูกจัดการได้เร็วขึ้น หากมีการช่วยเหลือกันก็ เปิดช่องทางให้ผู้ปกครองร้องเรียนตรวจสอบ การท�ำงานได้” นายหลักเขต กล่าว กก.สถานศึกษาต้องยึดโยง นร.คอยตรวจสอบ นางสาวกุ ล ธิ ด า รุ ่ ง เรื อ งเกี ย รติ รอง หั ว หน้ า พรรคอนาคตใหม่ ในฐานะรอง ประธานคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้ แทนราษฎร กล่าวว่า เรื่องนี้เป็นปัญหาในเชิง โครงสร้างอ�ำนาจ โดยคณะกรรมการสถาน ศึกษาซึ่งมีหน้าที่ในการบริหารโรงเรียนมักจะ มาจากคนกลุ่มเดียวจึงกลายเป็นว่า ไม่มีการ ตรวจสอบการท�ำงานได้ และเมื่อกฎหมาย ก�ำหนดให้ประชุมอย่างน้อยแค่ปีละ 2 ครั้ง ท�ำให้ดูแลไม่ทั่วถึง เมื่อกลไกนี้ท�ำงานไม่ได้ เมื่อเกิดเรื่องก็มักจะมีขั้นตอนเยอะ กลายเป็น ความล�ำบากเพื่อที่จะท�ำให้เด็กคนหนึ่งได้รับ ความเป็นธรรม “คณะกรรมการสถานศึ ก ษาควรจะ ต้ อ งยึ ด โยงกั บ ตั ว ผู ้ ป กครอง และตั ว แทน นักเรียน เพือ่ ให้เกิดการตรวจสอบ คานอ�ำนาจ ส่วนคุรุสภาที่ดูแลวิชาชีพครูยังท�ำได้ไม่ดีนัก เพราะปกป้องคนของตัวเอง พอเป็นอย่าง
ส่องสาธิตจุฬาฯ
จั ด การนั ก เรี ย นผิ ดร ะเบี ย บ โรงเรียนทั่วไป เวลานักเรียนไม่ปฏิบัติ ตามกฎระเบี ย บของโรงเรี ย นก็ จ ะใช้ ก าร ท�ำโทษ บ้างก็ตี สั่งให้วิ่ง วิดพื้น หรือตัด คะแนนความประพฤติ เชิญผู้ปกครอง ครูบางแห่งของบางโรงเรียนยังอาจ ลงโทษด้ ว ยวิ ธี ที่ น อกเหนื อ ไปจากนี้ ด ้ ว ย การกระท�ำรุนแรงกับนักเรียนต่าง ๆ ทั้ง กายและวาจา แต่ส�ำหรับโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ไม่เป็นเช่นนั้น ที่นี่ ใช้วิธีที่เรียกว่า ‘ให้รับผลการกระท�ำ’ โดยมีคณะกรรมการกิจการนักเรียน ประกอบด้ ว ย ฝ่ า ยปกครอง และฝ่ า ย กิจกรรมท�ำหน้าที่ดูแลระเบียบจ�ำพวกการ แต่งกาย การปฏิบัติตัวในการเข้าชั้นเรียน และการมาโรงเรียน หากพบว่า นักเรียนท�ำ ผิดระเบียบก็จะมีวิธีการให้รับผลการกระ ท�ำที่เหมาะสม หลัก ๆ คือ การตัดคะแนน โดยมีครูแนะแนวเป็นหนึง่ ในคณะกรรมการ พิจารณาเรือ่ งการปฏิบตั ทิ จี่ ะช่วยดูแลจิตใจ และการปรับพฤติกรรมของนักเรียน ระเบี ย บที่ ก� ำ หนดการตั ด คะแนน นักเรียนได้มาจากการท�ำประชาพิจารณ์ ครูในโรงเรียนว่า หากนักเรียนไม่ปฏิบัติ
ตามข้ อ ก� ำ หนด จะต้ อ งโดนหั ก คะแนน เท่าไหร่ ซึ่งนักเรียนทุกคนจะมีคะแนนเก็บ ไว้ที่ตัว 100 คะแนน และกิจการนักเรียน จะบั น ทึ ก ทะเบี ย นคะแนนของนั ก เรี ย น ทุกคน เพือ่ รายงานให้คณะกรรมการกิจการ นักเรียนทราบทุกเดือน ในการตัดคะแนน มากที่สุดต่อครั้งคือ 10 คะแนน เช่น กรณีทะเลาะวิวาท หรือ การท�ำลายสมบัติของโรงเรียน ส่วนการ ตัดคะแนนทั่วไปจะตัดครั้งละ 2 คะแนน เช่น มาสาย หากมี นั ก เรี ย นท� ำ ผิ ด ฝ่ า ยกิ จ การ นักเรียนหรือครูประจ�ำชั้นจะต้องแจ้งให้ ผู ้ ป กครองทราบ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นา นักเรียนร่วมกันทั้งบ้านกับที่โรงเรียน คณะกรรมการกิ จ การนั ก เรี ย นจะ ประชุ ม เรื่ อ งการดู แ ลพฤติ ก รรมนั ก เรี ย น ทุกเดือน บางครั้งอาจจะประชุมแทบทุก สัปดาห์ หรือประชุมติดต่อกันหลายวัน ขึ้น อยู ่ กั บ ความรุ น แรงของแต่ ล ะกรณี และ ท�ำการบันทึกว่าได้ด�ำเนินการแก้ไขอย่างไร หากมี นั ก เรี ย นคนใดเริ่ ม โดนตั ด คะแนนเยอะขึน้ ก็จะมีการเสนอชือ่ นักเรียน เหล่านั้นในที่ประชุมเพื่อหาทางด�ำเนินการ
นี้ จึงไม่เกิดการเอาผิดอย่างเป็นระบบ ท�ำผิด ก็ แ ค่ ย ้ า ย มั น เป็ น ปั ญ หาในระบบราชการ ภาพรวมไม่ใช่แค่ระบบการศึกษาอย่างเดียว” นางสาวกุลธิดา กล่าว เตรียมเสนอวิชาลงโทษ สร้างสรรค์ นายตวง อั น ทะไชย ประธานคณะ กรรมาธิ ก ารการศึ ก ษา วุ ฒิ ส ภา กล่ า วว่ า ครู ล งโทษเกิ น กว่ า เหตุ อ าจมาจากระบบ คัดเลือกครูที่รับแต่คนเก่ง แต่ไม่มีความรู้ใน กระบวนการสอน กลายเป็นมองว่าปัญหา มาจากตัวนักเรียน ซึ่งความจริงควรย้อนมา มองว่า เป็นที่ตัวครูเองสอนรู้เรื่องหรือไม่ “จะเสนอแนวทางแก้ ป ั ญ หานี้ กั บ คณะรั ฐ มนตรี (ครม.) ว่ า ให้ แ ก้ ป ั ญ หาที่ ต้นเหตุ โดยให้ผู้เรียนเป็นครูได้ฝึกปฏิบัติ ได้ เห็ น วิ ธี ก ารลงโทษที่ ส อดคล้ อ งกั บ กาลสมั ย มากขึ้น เพื่อให้เข้าใจว่า การลงโทษจะส่งผล กับผู้เรียนอย่างไร โดยจัดท�ำเป็นรายวิชาว่า ด้วยการลงโทษผูเ้ รียนเชิงสร้างสรรค์ โดยไม่ใช่ วิธีการตี แต่อาจใช้การเก็บขยะ หรือการท�ำ จิตอาสา เป็นต้น” นายตวง กล่าว กพฐ.ย�้ำแม้ยอมความแต่ต้อง สอบสวน นายวัลลพ สงวนนาม ผู้ช่วยเลขาธิการ ส� ำ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) ชี้แจงว่า การลงโทษครู ที่กระท�ำต่อนักเรียนรุนแรงเกินกว่าเหตุ จะ ตักเตือนในกรณีที่ลงโทษไม่ร้ายแรง แต่หาก มี ก ารกระท� ำ ผิ ด ซ�้ ำ จะมี ก ารตั้ ง กรรมการ ดู แ ลและปรั บ พฤติ ก รรมตามที่ ร ะเบี ย บ โรงเรียนก�ำหนด ซึ่งระเบียบเหล่านี้อ้างอิง จากกระทรวงศึกษาธิการ แต่มีการปรับใน บางระเบียบ ให้เป็นแบบเฉพาะของโรงเรียน เองเพื่อก�ำกับดูแลพฤติกรรมนักเรียน แต่ไม่ ได้ผิดจากที่กระทรวงก�ำหนดคือ ห้ามตี ระเบียบโรงเรียนก�ำหนดว่า หากถูก หักคะแนนจะต้องบ�ำเพ็ญประโยชน์ มี 2 แบบคือ ภายในและภายนอก ถ้าโดนหัก 10 คะแนน นักเรียนจะต้องบ�ำเพ็ญประโยชน์ ภายใน คือท�ำคุณงามความดีภายในโรงเรียน ตามที่ กิ จ การนั ก เรี ย นก� ำ หนดให้ เช่ น เช็ดกระจก หรือดูแลการเก็บจานอาหารที่ โรงอาหาร แต่ต้องท�ำในช่วงว่าง เช่น ตอน เที่ยงหรือตอนเย็น ซึ่งจะเก็บบันทึกชั่วโมง บ�ำเพ็ญประโยชน์ไว้ในสมุดบ�ำเพ็ญความดี เพื่อเป็นการชดเชยสิ่งที่นักเรียนท�ำไป กรณี ที่ โ ดนหั ก คะแนนมากกว่ า 50 คะแนน จะต้องบ�ำเพ็ญประโยชน์ภายนอก เช่น ในช่วงปิดเทอมจะต้องไปกวาดลานวัด หรือนักเรียนผู้ชายจะต้องไปบวชสามเณร นักเรียนหญิงจะต้องไปปฏิบัติธรรม โดย กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ทที่ ำ� ให้เป็นไปเพือ่ ขัดเกลาพฤติกรรมของตัวนักเรียน ตามระเบี ย บโรงเรี ย นหากมี ก ารหั ก คะแนนมากกว่า 50 คะแนน จะต้องให้พัก การเรียน ในกรณีนี้จะมีการประชุมร่วมกัน ระหว่างนักเรียน ผู้ปกครอง ครูประจ�ำชั้น
19
สอบสวน หากเห็นว่าผิดจริง จะด�ำเนินการ ลงโทษ ตั้งแต่ลดขั้นเงินเดือน พักใบอนุญาต และถ้าเป็นการกระท�ำร้ายแรง จะต้องมีการ ปลดออก หรือไล่ออก โดยไม่มีข้อยกเว้น และ ถึงแม้ทั้งผู้ปกครองและโรงเรียนจะยอมความ กันก็ตาม ศธ.ย�้ำปลูกฝังจิตวิทยาครู ต่อเนื่อง นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงศึกษาธิการชี้แจงว่า กระทรวงฯ มี มาตรการห้ามใช้ความรุนแรงในโรงเรียน และ มีมาตรการที่จะช่วยเหลือเด็กอย่างเหมาะสม ด้วยการใช้หลักจิตวิทยาเด็ก โดย 10 ปีที่ผ่าน มา มีการอบรมและพัฒนาครูอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ คุณธรรมและศีลธรรมของผู้สอน รวมถึงการ ดูแลเด็กโดยไม่ใช้ความรุนแรงเพื่อสร้างความ เข้าใจให้กับครู “นีเ่ ป็นองค์ประกอบทีอ่ ยูใ่ นกระบวนการ พัฒนาของหลักสูตรพัฒนาครูทุก ๆ ปีอยู่แล้ว และเห็นผลว่า มีการใช้ความรุนแรงกับเด็ก ลดน้อยลง อย่างไรก็ดียอมรับว่า ยังมีปัญหา รายบุ ค คลที่ ยั ง ไม่ ส ามารถควบคุ ม ได้ ร ้ อ ย เปอร์เซ็นต์” นายณัฐพล กล่าว
ล ชนินทร์ สกุลกานต์กีรติ ธรรศ พงษ์ไทยวัฒน์ ปวีณา ชูรัตน์
หัวหน้าระดับชั้นและผู้ที่เกี่ยวข้องว่า จะมี วิธีการท�ำอย่างไรต่อไป โดยโรงเรียนมองว่า จะดูแลไม่ให้นกั เรียนถูกผลักออกนอกระบบ การศึกษา เพราะระเบียบไม่ได้มีเพื่อไล่เด็ก ออก แต่ระเบียบมีไว้เพื่อให้เด็กได้รู้ว่าจะ ต้องปรับปรุงตัวเองหากยังแสดงพฤติกรรม ที่ไม่เหมาะสม เช่ น เดี ย วกั น หากมี ก ารหั ก คะแนน มากกว่า 80 คะแนน ตามระเบียบคือจะ ต้องถูกคัดชื่อออก แต่ที่นี่ไม่เคยด�ำเนินการ ถึงขั้นนั้น เพราะหากคะแนนใกล้ถึงก�ำหนด โรงเรียนจะประชุมกับ ผู้ป กครองร่วมกับ จิตแพทย์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เพื่อหา ทางแก้ปญ ั หาทีเ่ หมาะสม เพราะในบางกรณี ทีเ่ ด็กอาจจะมีภาวะบางอย่างทีเ่ ขาจ�ำเป็นจะ ต้องได้รบั การดูแลเป็นพิเศษโรงเรียนจึงต้อง ดูแลเรื่องจิตใจและบริบทแวดล้อมควบคู่ไป กับการดูแลเพื่อพัฒนาตัวนักเรียน และการ ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นอีก ขั้ น ตอนทั้ ง หมดก� ำ หนดไว้ ใ นคู ่ มื อ ผู ้ ปกครองนักเรียน ที่ผู้ปกครองจะได้รับใน วันปฐมนิเทศ โดยมีจุดเด่นที่แตกต่างจาก โรงเรียนอื่น คือที่นี่จะดูแลสุขภาพจิตไป พร้อมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อมูลจาก: นางสาวรับขวัญ ภูษาแก้ว หัวหน้าศูนย์แนะแนวโรงเรียน สาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร เมืองทองธานี 80 ถนนป๊อปปูล่า ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 091-7659890 เว็บไซต์ : www.ict.su.ac.th www.ictsilpakorn.com/ictmedia Facebook Fanpage: looksilp Twitter: @looksilp