สื่อสร้างสรรค์ น�าสังคม ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
ไทยขาดแคลนจิ ต แพทย์ ก ว่ า 1,500 คน จากปัจจุบนั มีเพียง 746 คน เกือบครึง่ กระจุกตัวใน กทม. ขณะอีก 14 จังหวัด ไม่มี จิตแพทย์ประจ�า สวนทางกับ จ�านวนผู้ป่วยสุขภาพจิตที่เพิ่ม ขึน้ ทัว่ ประเทศ ล่าสุดเข้ารับการ รักษาเกือบ 2 ล้านคน จิตแพทย์ 1 คน ดูแลผูป้ ว่ ย 2 พันราย คนไข้ บ่นรอนาน ได้รบั บริการไม่ดพ ี อ “หนังสือพิ มพ์ลูกศิ ลป์ ” รำยงำน ผลส�ำรวจจ�ำนวนจิตแพทย์ทวั่ ประเทศ ครังล่ ้ ำสุด (พ.ศ. 2555) จัดท�ำโดยกอง แผนงำน กรมสุขภำพจิต กระทรวง สำธำรณสุข ระบุวำ่ ไทยยังขำดแคลน จิตแพทย์ถึง 1,503 คน หรื อควรมี 2,249 คน แต่ปัจจุบันมี จิตแพทย์ ทังหมด ้ 746 คน อ่านต่อหน้า 19
‘กลูตาผีดบิ ’ ขายเกลือ่ นเว็บ อ้าง สรรพคุณยาสวรรค์ชว่ ยผิวขาว ใส แพทย์ ยั น ยั ง ไม่ มี ง านวิ จั ย รับรอง เตือนกินมากเกินเสี่ยง มะเร็ ง บก.ปคบ.ชี้ ผิ ด กม.ชั ด จับกุมได้กว่าร้อยคดีตอ่ ปี อ่านต่อหน้า 18
ระบบขนส่งไทยไม่เอื้อต่อคนพิการ เหมือนจะมีแต่ ไร้ ประโยชน์ รถเมล์คนพิการมีแค่ร้อยละ 0.11 รถไฟมี ร้อยละ 0.79 แท็กซี่ร้อยละ 0.02 และรถไฟฟ้ามีลิฟต์ ไม่ครบทุกสถานี ทัง้ ที่ไทยเป็นอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้วยสิทธิของคนพิการ สนข.แจงก�าลังเร่งด�าเนิน การ คาดเสร็จภายในปี 59
โรงพยาบาลรามาธิบดีตั้ง ‘ธนาคาร นมแม่รามาฯ’ แห่งแรกในประเทศไทย รับบริจาคนมแม่เพื่อช่วยเหลือทารก ที่แม่มีปัญหาด้านสุขภาพ ย�้านมที่รับ บริจาคผ่านการพาสเจอไรซ์ รับรอง ความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล อ่านต่อหน้า 2
อ่านต่อหน้า 19
2
ข่าวเด่น
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
ต่อจากหน้า 1 : ขนส่งเพื่อผู้พิการ “หนังสือพิมพ์ลูกศิ ลป์ ” ลงพื ้นที่ตรวจสอบ สิง่ อ�ำนวยความสะดวกในระบบขนส่งส�ำหรับ ผู้พกิ าร พบว่าปั จจุบนั ประเทศไทยมีรถประจ�ำ ทางส�ำหรับผู้พิการ 4 คัน จากรถประจ�ำทาง สังกัดองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ที่มีอยู่ทงสิ ั ้ ้น 3,509 คัน หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 0.11 ส่วนรถไฟมีต้ โู ดยสารเพื่อผู้พิการ 10 ตู้ ให้ บริ การ 2 เส้ นทาง จากจ�ำนวนตู้รถไฟปกติ ทังหมด ้ 1,260 ตู้ ให้ บริ การทังสิ ้ ้น 5 เส้ นทาง ทัว่ ประเทศ หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 0.79 และมี แท็ ก ซี่ ส� ำ หรั บ ผู้พิ ก ารภายใต้ ก ารดูแ ลของ กรุงเทพมหานคร 20 คัน จากจ�ำนวนแท็กซีบ่ น ท้ องถนนที่มีมากกว่า 100,000 คัน คิดเป็ น ร้ อยละ 0.02 และต้ องโทรศัพท์เรี ยกล่วงหน้ า ไม่มีให้ บริ การทัว่ ไปตามท้ องถนน ทัง้ นี ้ ข้ อมูลจากส�ำนักงานส่งเสริ มและ พัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการแห่งชาติ ณ วันที่ 1 กันยายน 2557 ระบุวา่ ในประเทศไทยมีผ้ ู พิการ 1,489,862 คน หรื อเทียบได้ ว่า ใน ประชากรทุก 45 คน จะมีผ้ พู ิการอยู่ 1 คน นอกจากนี ้ ไทยยังได้ ลงนามในอนุสญ ั ญาว่า ด้ วยสิทธิคนพิการขององค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 เพื่อคุ้มครอง ส่งเสริ ม และประกันสิทธิ ให้ คนพิการได้ รับ สิทธิ์ และมีเสรีภาพขันพื ้ ้นฐานอย่างเต็มทีแ่ ละ เท่าเทียมกันกับบุคคลทัว่ ไป นายกิตติพงษ์ หาดทวายกาญจน์ กรรมการ บริหารสมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย กล่าว ว่า ประเทศไทยแม้ จะมีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก ในระบบขนส่งส�ำหรับผู้พกิ าร แต่กม็ นี ้ อยมาก จนไม่สามารถใช้ งานได้ จริง และผู้พกิ ารต้ องไป เรี ยกร้ องถึงจะได้ มา เพราะการออกแบบสิ่ง อ�ำนวยความสะดวกในประเทศไทย มักนึกถึง ผู้พกิ ารเป็ นอันดับสุดท้ ายทังที ้ ่เป็ นสิทธิขนพื ั ้ ้น ฐานในการเดินทาง ทังนี ้ ้ การทีภ่ าครัฐต่อเติม ให้ ใ นภายหลัง จะใช้ ง บประมาณมากกว่ า ออกแบบติดตังพร้ ้ อมกันในตอนแรก ซึง่ เมือ่ พบ ว่าสิ ้นเปลืองรัฐก็ไม่สร้ างเพิม่ “ตัวอย่างเช่น แบบก่อสร้ างสถานีรถไฟฟ้า บีทเี อส ตอนแรกมีลฟิ ต์ครบทัง้ 13 สถานี ใช้ งบ 70 ล้ านบาท ต่อมาเขาถอนลิฟต์ออกหมดเพือ่ ประหยัดงบประมาณ ผมและเพื่อนๆ จึงได้ คลานขึ ้นไปบนสถานีเพือ่ เรี ยกร้ องสิทธิในการ เดินทาง เขาก็ตดิ มาให้ เพียง 5 สถานี ใช้ งบไป 140 ล้ านบาท เพราะการก่อสร้ างเพิม่ เติมภาย หลังท�ำได้ ยากกว่า” นายกิตติพงษ์ กล่าว กรรมการบริ ห ารสมาคมคนพิ ก ารแห่ ง ประเทศไทย กล่าวอีกว่า มีการสร้ างสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกโดยไม่ ส อบถามว่ า ผู้ พิ ก าร สามารถใช้ ได้ จริงหรือไม่ เช่น รถประจ�ำทางทีม่ ี ลิฟต์ยกรถเข็นผู้พิการใช้ เวลา 2 นาที ทังที ้ ่ผ้ ู พิการอยากได้ รถชานต�ำ่ ทีเ่ ข็นขึ ้นไปได้ ทนั ทีใช้ เวลาไม่ถงึ 30 วินาที เนือ่ งจากไม่ต้องการท�ำให้ ผู้ใช้ รถประจ�ำทางทัว่ ไปมองผู้พกิ ารเป็ นภาระ ด้ านนายสมบูรณ์ อ่อนภักดี วิศวกรช�ำนาญ การประจ�ำส�ำนักนโยบายและแผนการขนส่ง และจราจร (สนข.) กล่าวว่า สนข.ก�ำลังด�ำเนิน การตามแผนพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการแห่ง
ชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555 - 2559) ให้ มีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับผู้พกิ ารมากขึ ้น เช่น รถประจ�ำทางชานต�ำ่ ทางลาด ลิฟต์คนพิการ บนรถไฟฟ้าบีทีเอส ป้ายแสดงข้ อมูลข่าวสาร ตามสถานีขนส่งทุกระบบ คาดว่าจะแล้ วเสร็จ ในปี 2559 และได้ เชิญตัวแทนผู้พกิ ารเข้ ามา แสดงความเห็น ก่ อ น แต่เ นื่ อ งจากมี ห ลาย สมาคมจึงอาจมีความต้ องการแตกต่างกัน หากเกิดปั ญหาในขันทดลองใช้ ้ เช่น ลิฟต์ยกรถ เข็นบนรถประจ�ำทาง ก็จะแก้ ไขต่อไป ส่วนนายพสิษฐ์ ขอนสูงเนิน ผู้จดั การแผนก กลุม่ ความปลอดภัย รถไฟฟ้าบีทเี อส กล่าวว่า การก่อสร้ างลิฟต์ส�ำหรับผู้พิการต้ องใช้ พื ้นที่ เยอะ เพราะต้ องท�ำทางลาดและกล่องลิฟต์ ซึง่ ไปกีดขวางทางเท้ าจึงถูกถอดออกจากแบบ แปลน ต่อมามีการร้ องเรี ยน ทางบีทีเอสจึง สามารถจัดสร้ างเพิ่มเติมให้ ได้ แค่ 5 สถานี อย่างไรก็ดี ในเส้ นทางอื่นๆ ที่ก�ำลังสร้ างเพิ่ม เติมจะมีลฟิ ต์ครบทุกสถานี ด้ านนายภาณุวฒ ั น์ เหนียนเฉลย เจ้ าหน้ าที่ โครงการพิเศษ โครงการรถบริการผู้พกิ ารและ ผู้สงู อายุใช้ รถเข็น กรุงเทพมหานคร กล่าวว่า ขณะนีม้ ีแท็กซี่ส�ำหรั บผู้พิการ 30 คัน โดย ปั จจุบนั อยูใ่ นช่วงทดลองใช้ จงึ ไม่เก็บค่าใช้ จา่ ย จะเริ่มเก็บค่าใช้ จา่ ยเท่ากับรถแท็กซีป่ กติปลาย ปี 2558 คาดว่าในปี 2560 จะมีให้ บริการ 100 คัน ซึง่ น่าจะเพียงพอกับความต้ องการ อย่างไร ก็ดี การเรี ยกใช้ บริ การจะเป็ นระบบโทรศัพท์ จองล่วงหน้ า ไม่สามารถวิง่ ให้ บริการตามท้ อง ถนนได้ เนื่ อ งจากเป็ นรถตู้ไ ม่ ส ามารถจด ทะเบียนเป็ นรถแท็กซีไ่ ด้ ระวิวรรณ วรรณึกกุล รุ่งทิวา มังกาละ นฤภร ตนเจริญสุข ณัฐรดา โพธิราช
สกู๊ปข่าว
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
นางประเทือง วิฑูเรณี
บ้ ำนไม้ ชนเดี ั ้ ยวริมทำงโรยกรวด ภำยนอก สภำพทรุ ดโทรมตังอยู ้ ่เหนือบึงขนำดเล็ก ไม้ กระดำนแผ่นหนึง่ พำดเป็ นทำงเข้ ำออก ภำยใน ร้ อนอบอ้ ำว ค่อนข้ ำงมืด ลักษณะเป็ นห้ อง อเนกประสงค์ มีเพียงตู้กบั เก้ ำอี ้ตัวยำวกันแบ่ ้ ง โซน ให้ พอคำดเดำสัดส่วนกำรใช้ สอยได้ แว่วเสียงโทรทัศน์ทหี่ ลำนชำยคนเล็กก�ำลัง ดู เรำนั่งอยู่กับนำยแจะและนำงประเทื อง วิฑเู รณี สองสำมีภรรยำวัยชรำบนพื ้นบ้ ำน ทัง้ คู่อำศัยอยู่ในต�ำบลบ้ ำนใหญ่ อ�ำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรี อยุธยำ ด้ วยอำยุมำกและ สุขภำพไม่แข็งแรง ท�ำให้ ตำยำยไม่ได้ ประกอบ อำชีพแล้ ว แต่ละเดือนจึงมีแค่รำยได้ จำก “เบีย้ ยังชีพ” มำช่วยต่อลมหำยใจ “ตำแจะ” วัย 86 ปี ได้ เบี ้ยยังชีพเดือนละ 800 บำท ขณะ “ยำยประเทือง” วัย 76 ปี ได้ เบี ้ยยังชีพเดือนละ 700 บำท รวมกัน 1,500 บำท ไม่เพียงพอต่อกำรด�ำรงชีพ ทีต่ ้ องจ่ำยทัง้ ค่ำอำหำร ค่ำน� ้ำ ค่ำไฟ ค่ำเดินทำง และค่ำขนม ของหลำน 2 คน ซึง่ ก�ำลังอยูใ่ นวัยเรียน ส่วนค่ำ เทอมนันพ่ ้ อแม่เด็กเป็ นผู้ดแู ล 4 ชีวติ จ�ำต้ องอยูอ่ ย่ำงกระเบียดกระเสียร แต่หลำยครัง้ ไม่พอใช้ ได้ ควำมช่วยเหลือจำก เพือ่ นบ้ ำนทีม่ นี � ้ำใจ จึงพอจะประทังชีวติ ต่อไป “ตอนน�ำ้ ท่วมอยำกจะฆ่ำตัวตำยไปเสีย บ้ ำนเรำน� ้ำท่วมเกือบทุกปี จะดีดบ้ ำน (ยกบ้ ำน ให้ สงู ) ก็ไม่มเี งิน ต้ องใช้ เป็ นแสน ลูกชำยคนโต ไม่เคยสนใจไยดี ไม่ร้ ู จะไปหำเงินจำกไหน ล�ำพังเบี ้ยยังชีพที่รัฐให้ ทกุ เดือนยังไม่พอกิน พอใช้ ” หญิงชรำเอ่ยเสียงเศร้ ำ ระบำยควำม ทุกข์ผำ่ นม่ำนน� ้ำตำ สะท้ อนควำมยำกล�ำบำก หลังตรำกตร�ำท�ำงำนมำทังชี ้ วติ จนร่ำงกำยไม่ สำมำรถใช้ แรงงำนได้ อกี แถมเบี ้ยยังชีพจำกรัฐ ก็ไม่เพียงพอต่อกำรด�ำรงชีวติ ทีผ่ ำ่ นมำ รัฐไทยเริ่มต้ นนโยบำยเบี ้ยยังชีพ ผู้สงู อำยุ ครัง้ แรกเมือ่ ปี 2535 โดยผู้ทม่ี อี ำยุ 60 ปี ขึ ้นไป จะได้ รับเงินคนละ 200 บำทต่อเดือน
3
นายแจะ วิฑูเรณี
ต่อมำวันที่ 12 ธันวำคม 2549 เพิม่ เบี ้ยยังชีพ เป็ น 500 บำทต่อเดือน ล่ำสุดปี 2555 ใช้ กำรจ่ำยเบี ้ยยังชีพผู้สงู อำยุแบบขันบั ้ นได ผู้ทมี่ อี ำยุ 60 – 69 ปี ได้ รับ เงิน 600 บำท อำยุ 70 – 79 ปี ได้ รับเงิน 700 บำท อำยุ 80 – 89 ปี ได้ รับเงิน 800 บำท และ อำยุ 90 ปี ขึ ้นไป ได้ รับ 1,000 บำท โดยปี 2556 มีผ้ สู งู อำยุได้ รบั เบี ้ยยังชีพ 7.34 ล้ ำนคน คิดเป็ น ร้ อยละ 80 จำกผู้สงู อำยุประมำณ 8.3 ล้ ำนคน ใช้ งบประมำณไป 58,000 ล้ ำนบำท อย่ำงไรก็ดี เมื่อเดือนเมษำยนที่ผ่ำนมำ “นิ ด้ำโพล” ร่ วมกับส�ำนักงำนส่งเสริ มและ สนั บ สนุ น วิ ช ำกำรกรมพั ฒ นำสัง คมและ สวัสดิกำรกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำม มัน่ คงของมนุษย์ ส�ำรวจควำมคิดเห็นของผู้ที่ อำยุ 60 ปี ขึ ้นไป จ�ำนวน 1,525 คนจำกทัว่ ประเทศ ระหว่ำงวันที่ 2 - 9 เมษำยน 2557 หัวข้ อ “สิ่งทีผ่ สู้ งู อายุ ‘อยากได้’ และ ‘อยากให้’ ในวันผูส้ งู อายุ” พบว่ำอันดับแรก หรือร้ อยละ 47.49 อยำกให้ ภำครัฐเพิม่ เบี ้ยยังชีพผู้สงู อำยุ จึงเป็ นเสียงสะท้ อนว่ำ จ�านวนเงินที่รัฐ จัดสรรให้ อยู่ในปั จจุบนั ยังไม่ เพียงพอต่ อ ผู้สงู อายุในการใช้ ชวี ติ “ใช่ ลุงอยำกให้ เพิม่ เพรำะไม่พอค่ำใช้ จำ่ ย” นำยสุวรรณ สืบณุสรณ์ อำยุ 73 ปี ซึง่ อำศัยอยู่ เพียงล�ำพังในบ้ ำนไม้ 2 ชันหลั ้ งเล็ก ลึกเข้ ำมำ จำกบ้ ำนของตำแจะและยำยประเทืองบอก แม้ ว่ำเขำจะพยำยำมหำรำยได้ เสริ มด้ วย กำรเผำถ่ำนขำย โดยบำงครังลู ้ กค้ ำมำรับไปเอง แต่บำงทีต้องขีซ่ ำเล้งไปส่ง หำกขยันจะได้ วนั ละ 100 บำท แต่กย็ งั ไม่พอประทังชีพ ทังค่ ้ ำอำหำร ค่ำของใช้ ค่ำท�ำบุญ ฯลฯ ส่วนนำงสมนึก นำคอร่ำม อำยุ 75 ปี อำศัย อยูก่ บั สำมีในบ้ ำนไม้ ทรงไทย 2 ชัน้ ด้ ำนล่ำงตัง้ ชุดรับแขกจำกไม้ สกั อย่ำงดี พร้ อมเก้ ำอี ้โยก และเปล ใช้ เป็ นพื ้นทีส่ ำ� หรับพักผ่อน ส่วนด้ ำน บนใช้ เป็ นที่พกั อำศัย มีคลองขนำดเล็กไหล
ผ่ำนหลังบ้ ำน ตังอยู ้ ใ่ นละแวกเดียวกัน นำงสมนึก เล่ำว่ำ ในเดือนหนึง่ ๆ มีคำ่ ใช้ จ่ำยหลำยอย่ำง แต่มรี ำยได้ จำกทีน่ ำทีม่ อี ยู่ 50 ไร่ ได้ ไร่ละ 2,000 บำทต่อปี แม้ จะยกทีใ่ ห้ ลกู หลำนไปบ้ ำง ก็ยงั อยูไ่ ด้ สบำย เบี ้ยยังชีพทีไ่ ด้ รับทุกเดือน ส่วนใหญ่จะน�ำไปท�ำบุญและใส่ บำตรทุกเช้ ำ โดยรวมจึงมีเงินเก็บ และไม่ได้ มี ชีวติ ทีล่ ำ� บำกนัก อีกด้ ำนหนึง่ ในส่วนภำครัฐ จำกกำรคำด ประมำณประชำกรของประเทศไทย โดย ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชำติ พบว่ำระหว่ างปี 2553 2583 สัดส่วนของประชากรวัยเด็ก (อายุน้อย กว่า 15 ปี ) และวัยแรงงาน (อายุ 15 - 59 ปี ) มีแนวโน้ มลดลง ในขณะที่สัดส่ วนของ ประชากรสูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึนไป) ้ มีแนว โน้ มเพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่อง จำกร้ อยละ 13.2 ในปี 2553 เป็ นร้ อยละ 19.1 ในปี 2563 คิดเป็ นตัวเลขกลมๆ จะมีผ้ สู งู อำยุเพิม่ ขึ ้น ปี ละประมำณ 500,000 คน คำดว่ำในปี 2568 ไทยจะเข้ ำสูส่ งั คมผู้สงู อำยุโดยสมบูรณ์ มีประชำกรผู้สงู อำยุรำว 14.4 ล้ ำ นคน หรื อ เพิ่ ม ขึ น้ กว่ ำ ร้ อยละ 20 ของ ประชำกรทัง้ หมด เป็ นกำรเปลี่ ย นแปลง โครงสร้ ำงอำยุของประชำกรอย่ำงใหญ่หลวง จำกนันจะพุ ้ ง่ ไปอยูท่ รี่ ้ อยละ 26.6 ในปี 2573 และร้ อยละ 32.1 ในปี 2583 หมำยควำมว่ำ เมื่อผู้สงู อายุเพิ่มขึน้ รัฐก็ ต้ องหาเงินมากขึน้ เพื่อจัดสรรงบในส่ วนนี ้ ยังมีข้อมูลจำกสถำบันวิจยั เพือ่ กำรพัฒนำ ประเทศไทย (ที ดี อ ำร์ ไ อ) ศึ ก ษำเรื่ อ งงบ สวัสดิกำรสังคมกับกำรเข้ ำสู่สงั คมผู้สงู อำยุ เมื่อเดือนสิงหำคมที่ผำ่ นมำ ประมำณกำรว่ำ รัฐต้ องจัดสรรงบเบี ้ยสูงอำยุเพิม่ ขึ ้นเกือบเท่ำตัว ในอีก 10 ปี ข้ ำงหน้ ำ จำกปั จจุบนั ปี 2557 จ�ำนวน 65,000 ล้ ำนบำท ไปเป็ น 114,400 ล้ ำน บำท ในปี 2566
นำยรำม จินตมำศ หัวหน้ ำฝ่ ำยส่งเสริมกำร จัด กำรสวัส ดิ ก ำรสัง คม กรมส่ ง เสริ ม กำร ปกครองท้ องถิ่น แสดงควำมเห็นต่อกรณีกำร เพิ่มเบีย้ ยังชี พผู้สูงอำยุว่ำ เบีย้ ยังชี พไม่ได้ สนับ สนุน ให้ ผ้ ูสูง อำยุรั บ เงิ น ไปแล้ ว ไม่ต้ อ ง ท�ำงำน หลักกำรของเบี ้ยยังชีพคือ “ให้เงินเพิ่ม เข้าไป” ดังนัน้ เบี ้ยยังชีพจึงเป็ นเงินสนับสนุนที่ ผู้สงู อำยุควรจะได้ หลังจำกอำยุเกิน 60 ปี ซึง่ มัก มีรำยได้ ลดลง เพรำะไม่มอี ำชีพประจ�ำ และให้ เป็ นขันบั ้ นได เพรำะยิ่งอำยุมำกขึ ้น โอกำส หำเงินก็น้อยลง “ที่ญี่ปนุ่ คนอำยุ 80 ปี ก็ยงั ท�ำงำนตำม สนำมบิน ทุกคนยังท�ำงำนอยู่ แต่ประสิทธิภำพ ในกำรท�ำงำนอำจไม่เท่ำเดิม เรำจึงให้ เบีย้ ยังชีพผู้สงู อำยุเพือ่ เอำเงินตัวนี ้เข้ ำไปเสริม ไม่ ได้ ให้ ใช้ เงินนี เ้ พื่อยังชีพให้ พ้นเดือน เพรำะ ฉะนัน้ ผู้สงู อำยุที่พดู แบบนี ้ แปลว่ำยังเข้ ำใจ หลักกำรของเบี ้ยยังชีพผิด เมื่อคุณแก่แล้ วไม่ ท�ำงำน อย่ำงนี ้เรียกว่ำขี ้เกียจ” นำยรำม กล่ำว ขณะที่ น ำงกุ ศ ล สุ น ทรธำดำ รองศำสตรำจำรย์สถำบันวิจยั ประชำกรและสังคม มหำวิทยำลัยมหิดล ยังยื นยันว่ำ ควรเพิ่ม เกณฑ์ขนต� ั ้ ำ่ ของเบี ้ยยังชีพ เนือ่ งจำกกรณีของ ผู้สงู อำยุสว่ นใหญ่ของไทยมีฐำนะยำกจน เบี ้ย ยังชีพ 600 บำท อำจไม่เพียงพอต่อค่ำอำหำร นักวิชำกำรผู้นี ้ยังแสดงควำมกังวลถึงกำร จัดหำงบประมำณของรัฐบำลชุดต่อๆ ไปว่ำ จะ จัดหำเงินมำจำกไหน และเสนอว่ำ รั ฐไทย ต้ องเตรี ยมตัวรับมือกับกำรเปลี่ยนผ่ำนเข้ ำสู่ สังคมผู้สงู อำยุมำกกว่ำนี ขณะเดี ้ ยวกัน ก็อยำก ให้ ประชำชนเริ่มต้ นออมเงินในวัยท�ำงำน เพือ่ เป็ นทุนใช้ จำ่ ยเมือ่ ถึงวัยสูงอำยุไปพร้ อมกัน วัชราภรณ์ เกษรจันทร์ อรพิมล สุวรรณวาล อุบลวรรณ ทองศรีโชติ นาฏศจี ศรีเมือง
FAQ : รัฐบำลรับขึ ้นทะเบียนผู้สงู อำยุที่ยงั ไม่เคยลงทะเบียนเพือ่ รับเบี ้ยยังชีพมำก่อน ระหว่ำงวันที่ 1 - 30 พฤศจิกำยน ของทุกปี ทีส่ ำ� นักงำนเทศบำลต�ำบลหรือส�ำนักเขต ผู้ยนื่ ค�ำขอรับเบี ้ยยังชีพ ต้ องน�ำหลักฐำนมำแสดงตัว ได้ แก่ ส�ำเนำบัตรประชำชน ส�ำเนำทะเบียนบ้ ำน และสมุดบัญชีเงินฝำก กรณีที่รับเงินผ่ำนกำรโอนเงินเข้ ำ ธนำคำร หำกไม่สำมำรถมำลงทะเบียนด้ วยตนเอง ต้ องท�ำหนังสือมอบอ�ำนำจให้ บุคคลอื่นมำยื่นแทน หำกผู้สงู อำยุที่มีสทิ ธิ์ไม่ได้ มำลงทะเบียน จะถือว่ำสละสิทธิ์ และไม่มกี ำรจ่ำยย้ อนหลังไม่วำ่ กรณีใดๆ นายสุวรรณ สืบณุสรณ์
4
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
ปั
ญหาไร้ ที่ดินท�ำกินของชาวบ้ านเกิดขึ ้นทัว่ ทุกพื ้นที่ใน ประเทศไทย เนือ่ งจากการกระจุกตัวของกรรมสิทธิ์ทดี่ นิ ปั จจุบนั พบ ว่า มีการออกเอกสารสิทธิ์ทดี่ นิ ในประเทศไทยไปแล้ ว 33 ล้ านแปลง หรื อ 130 ล้ านไร่ โดยผู้ถือครองโฉนดมีประมาณ 15.9 ล้ านคน หมายความว่า ประชากรอีกกว่า 45 ล้ านคน ไม่มสี ทิ ธิ์เข้ าถึงทีด่ นิ ท�ำ กิน ยิง่ ไปกว่านัน้ ร้ อยละ 80 ของทีด่ นิ ทังหมด ้ ตกอยูใ่ นมือของคน เพียงร้ อยละ 5 ของประชากรทังประเทศ ้ หรือประมาณ 3 ล้ านคน จากจ�ำนวน 15.9 ล้ านคนที่มีโฉนด นับตังแต่ ้ ประกาศใช้ ประมวล กฎหมายทีด่ นิ บรรดาผู้มอี ำ� นาจและนายทุนมักอาศัยช่องโหว่ทาง กฎหมาย เพือ่ ออกเอกสิทธิ์โดยมิชอบเสมอ อีกสาเหตุหนึง่ ของปั ญหาคือ การก�ำหนดนโยบายโดยภาครัฐ ย้ อนไปสมัยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 ซึง่ ส่ง ผลให้ ภาคเกษตรกรรมถูกท�ำลายลงในนาม “การพัฒนา” ทรัพยากร ชุมชนถูกดึงไปใช้ ประโยชน์เพือ่ คนเมือง เกษตรกรรายย่อยติดหนี ้สิน จ�ำนวนมาก กระทัง่ ล้ มละลายและสูญเสียทีด่ นิ ท�ำกินในทีส่ ดุ อีกทัง้ ไม่สามารถหาซื ้อที่ดินแปลงใหม่ทดแทนได้ เพราะการกระจุกตัว ท�ำให้ ทดี่ นิ มีราคาสูงเกินกว่าคนหาเช้ ากินค�ำ่ จะเอื ้อมถึง แม้ วา่ ทีผ่ า่ น มารัฐจะแจกจ่ายที่ดินให้ แก่คนจนหลายครัง้ แต่ที่ดินจ�ำนวนมาก กลับตกไปอยูใ่ นการครอบครองของนายทุน นอกจากนี ้ ยังมีกระบวนการกว้ านซื ้อทีด่ นิ ตามแหล่งท่องเทีย่ ว เช่น หาดราไวย์ จังหวัดภูเก็ต เกาะหลีเป๊ ะ จังหวัดสตูล รวมทังป่้ าชาย เลนบริเวณเขาตะเกียบ จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ พื ้นทีส่ าธารณประโยชน์ ของชุมชนถูกนายทุนรุกเข้ าจับจอง และมีข้อสงสัยว่าราชการอาจ ออกเอกสารสิทธิใ์ ห้ โดยมิชอบ ด้ วยมูลค่าทีด่ นิ สูงนับพันล้ าน นายทุน จึงไม่เสียดายแม้ ต้องจ่ายมากกว่าปกติในกระบวนการออกเอกสาร สิทธิ์ เพือ่ ให้ ได้ มาซึง่ หลักฐานทีน่ า่ เชือ่ ถือทีส่ ดุ ในการต่อสู้คดี สุดท้ าย
ชาวบ้ านทีอ่ าศัยในท้ องถิน่ เดิมต้ องตกเป็ น “ผู้บกุ รุก” บ้านของตนเอง ทีซ่ งึ่ บรรพบุรุษเคยอยูอ่ าศัย และมีประวัตศิ าสตร์ มายาวนานหลาย ช่วงอายุคน การไร้ ทดี่ นิ ท�ำกินผลักให้ ประชากรต้ องโยกย้ ายถิน่ ฐาน บ้ างรุกที่ รัฐเข้ าไปอาศัยและหากินในป่ า ยอมเสีย่ งกับกฎหมายเพือ่ เอาชีวติ รอด ทุกวันนี ้มีประชาชนอาศัยอยูใ่ นทีด่ นิ ของรัฐอย่างผิดกฎหมาย ประมาณ 10 - 15 ล้ านคน ถูกจับด�ำเนินคดีเฉลีย่ ปี ละ 6,700 คดี บาง กลุม่ อพยพเข้ าเมืองมาเป็ นแรงงานในภาคอุตสาหกรรม และรวมตัว กันจนกลายเป็ นชุมชนแออัดตามเมืองใหญ่ ผลส�ำรวจพบว่า ชุมชน แออัดในเขตกทม.มีจ�ำนวนมากขึ ้นเรื่ อยๆ จากปี 2547 มีจ�ำนวน 2,500 ชุมชน มาในปี 2557 เพิม่ เป็ น 3,600 ชุมชน ขณะกลุม่ ทีต่ กงาน ก็อาศัยพื ้นทีส่ าธารณะในเมืองค้ าขายเล็กๆ น้ อยๆ เพือ่ เลี ้ยงชีพ แต่ ถูกมองเป็ น “ความไม่สวยงามและไร้ ระเบียบ” ไป ทังหมดสะท้ ้ อนภาพคนเล็กคนน้ อยที่ไร้ อ�ำนาจต่อรองในการมี ส่วนร่วมก�ำหนดนโยบายการพัฒนาประเทศ เป็ นผลอันเนือ่ งมาจาก ความเหลือ่ มล� ้ำทางการเมืองตังแต่ ้ อดีตเรื่อยมา นโยบายถูกก�ำหนด โดยรัฐ กลุม่ นายทุน รวมถึงผู้มอี ำ� นาจซึง่ เข้ าถึงข้ อมูลวงใน เช่น รัฐมี แผนจะพัฒนาที่ดนิ บริ เวณไหนอย่างไร นายทุนมักอาศัยข้ อมูลดัง กล่าวเพือ่ แสวงหาผลประโยชน์ แม้ รัฐบาลปั จจุบนั มีนโยบายปฏิรูป ทีด่ นิ โดยจะจัดสรรป่ าเสือ่ มโทรมให้ ประชาชนท�ำกิน แต่ถ้ายังด�ำเนิน การในรูปแบบเดิม ผลทีต่ ามมาคงไม่ตา่ งจากสภาพปั จจุบนั ดังนัน้ การแก้ ปัญหาที่ดินอย่างยัง่ ยืนต้ องกระจายที่ดินแก่ชาวบ้ านอย่าง เป็ นธรรม และให้ กรรมสิทธิ์ร่วมในรูปแบบ “โฉนดชุมชน” เพิม่ อ�ำนาจ แก่ประชาชน ให้ สามารถจัดการทรัพยากรท้ องถิ่นเองได้ ตลอดจน เพิม่ อ�ำนาจทางการเมืองให้ กบั ประชาชนในการมีสว่ นร่วมตัดสินใจ และก�ำกับให้ ผ้ มู อี ำ� นาจต้ องปฏิบตั ิ
ที่ปรึกษา อาจารย์มานพ เอี่ยมสะอาด (คณบดี) อาจารย์อริ น เจียจันทร์ พงษ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์มทั นา เจริ ญวงศ์ อาจารย์อจั ฉรา อัชฌายกชาติ อาจารย์อนุสรณ์ ศิริชาติ อาจารย์วยั วัฒน์ สายทุ้ม อาจารย์วีรนันท์ แจ่มวราสวัสดิ์ คณะผู้จดั ท�ำ บรรณาธิการผู้พมิ พ์ ผ้ ูโฆษณา นัทธมน กวีศรศักดิ์ บรรณาธิการบริหาร, บรรณาธิการข่ าว อินทร์ แก้ ว โอภานุเคราะห์กลุ ข่ าวเด่ น อินทร์ แก้ ว โอภานุเคราะห์กลุ สุวนันท์ อัศวสืบสกุล ธนกร สุวรรณรมย์ ภูมิพฒ ั น์ พรมจันทร์ ระวิวรรณ วรรณึกกุล รุ่งทิวา มังกาละ ณัฐรดา โพธิราช นฤภร ตนเจริ ญสุข สกู๊ปข่ าว / บทความ วัชราภรณ์ เกษรจันทร์ อรพิมล สุวรรณวาล อุบลวรรณ ทองศรี โชติ นาฏศจี ศรี เมือง อินทร์ แก้ ว โอภานุเคราะห์กลุ นฤภร ตนเจริ ญสุข สารคดีเชิงข่ าว อินทร์ แก้ ว โอภานุเคราะห์กลุ รุ่งทิวา มังกาละ ธนกร สุวรรณรมย์ ข่ าวประชาคมศิลปากร อินทร์ แก้ ว โอภานุเคราะห์กลุ อุบลวรรณ ทองศรี โชติ เกศราพร เจือจันทร์ ชญานิศ จ�ำปี รัตน์ กาญจนา ปลอดกรรม สกลสุภา กะดังงา ไอรยา โสกขุนทด พสชนัน คนึงหมาย ข่ าวสังคม นฤภร ตนเจริ ญสุข ข่ าวชีวติ คนเมือง อรพิมล สุวรรณวาล ข่ าวการศึกษา นาฏศจี ศรี เมือง ข่ าวสุขภาพ สุวนันท์ อัศวสืบสกุล ธนกร สุวรรณรมย์ ข่ าวทั่วไป วัชราภรณ์ เกษรจันทร์ อุบลวรรณ ทองศรี โชติ ณัฐรดา โพธิราช รุ่งทิวา มังกาละ ณัชชา เชี่ยวกล ธิดารัตน์ แซ่เล้ า ไอรยา โสกขุนทด ภีมรพี ธุรารัตน์ พาขวัญ ศักดิ์ขจรยศ ชญานิศ จ�ำปี รัตน์ ณัฐกานต์ เจริ ญขาว วราภัสร์ มาลาเพชร ภัทรานิษฐ์ จิตส�ำรวย การ์ ตนู ระวิวรรณ วรรณึกกุล บรรณาธิการภาพข่ าว อินทร์ แก้ ว โอภานุเคราะห์กลุ ฝ่ ายศิลปกรรม อินทร์ แก้ ว โอภานุเคราะห์กลุ ระวิวรรณ วรรณึกกุล นฤภร ตนเจริ ญสุข ฝ่ ายพิสูจน์ อักษร อรพิมล สุวรรณวาล ผู้ประสานงานลูกค้ า อุบลวรรณ ทองศรี โชติ โรงพิมพ์ บริ ษัท ภัณธริ นทร์ จ�ำกัด คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร บางรั ก ชัน้ 8 อาคาร กสท.โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) ถนนเจริ ญกรุง แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กทม. 10500 โทรศัพท์ / โทรสาร : 0-2233-4995-7 เว็บไซต์ : www.ict.su.ac.th www.ictsilpakorn.com/ictmedia
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
สกู๊ปข่าว
5
“ไล่คนออกไปให้ หมดมันท�ำง่าย เพราะมี เทศกิจ ส�ำนักงานเขตพระนคร กล่าวว่า ทีผ่ า่ น ท�ำร้ ายคนเดินเท้ าตลอด 24 ชัว่ โมง ก� ำลังเจ้ าหน้ าที่ ทัง้ ต�ำรวจทหาร แต่การแก้ มาผู้ค้าตังของขายล� ้ ้ำทางเดิน บ้ างแบกับพื ้น “เมื่อคนต้ องการทางเท้ าคืน ก็รุมต่อว่า ปั ญหาแบบนี ้เป็ นการไม่ค�ำนึงถึงคนจนที่ก้ม กี ด ขวางทางสัญ จร บางเจ้ าขายของผิ ด หาบเร่แผงลอย ขณะที่กทม.ยังเฉือนทางเท้ า หน้ าก้ มตาท�ำมาหากิน เพือ่ เอาตัวรอดไปให้ ได้ กฎหมาย เช่น ซีดเี ถือ่ น สินค้ าหนีภาษี สินค้ า กว่าครึ่งไปท�ำถนนเพือ่ รองรับรถยนต์ จุดจอดรถ ในแต่ละวัน” เธอกล่าว ทังยั ้ งบอกว่า ทีต่ รงนี ้เป็ น ปลอม ของที่ ข โมยมา ฯลฯ อี ก ทัง้ มี ผ้ ูท รง แท็กซีอ่ จั ฉริยะ จุดจอดรถโดยสาร ทีค่ นขับมัก มากกว่าแหล่งท�ำกิน เพราะมันมีชวี ติ มีความ อิทธิพลกักทีเ่ พือ่ ปล่อยเช่า เจ้ าหน้ าทีจ่ งึ จ�ำเป็ น จะไม่เข้าไปจอดเทียบในส่วนเว้านันด้ ้ วยซ� ้ำ แถม หลากหลาย มีเพือ่ น มีความสุข และมีมติ รภาพ ต้ องจัดการอย่างเด็ดขาด เพื่ อรั กษาภาพ- บางย่านธุรกิจ รัฐยังเอื ้อให้ เอกชนเอาทางเท้ าไป จากต่างแดน ลั ก ษณ์ แ ละความสง่ า งามของประเทศ ท�ำเลนแท็กซี่ส�ำหรับจอดรับส่งผู้โดยสารหน้ า “เรามันคนหาเช้ ากินค�ำ่ มีรายได้ วนั ต่อวัน เนื่องจากบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะ ห้างสรรพสินค้า รวมถึงสวนถนนหลายจุดตังกิ ้ น ทุ ก วั น นี แ้ บงก์ ร้ อยแทบไม่ มี ค วามหมาย อย่างยิง่ วัดพระแก้ วมีนกั ท่องเทีย่ วสัญจรไปมา พืน้ ทางเท้ าจนแทบไม่เหลือที่ให้ คนเดิน สิ่ง ก๋วยเตีย๋ วชามละ 40 - 50 บาท บวกค่าเดินทาง ไม่ตำ�่ กว่า 20,000 รายต่อวัน กีดขวางถาวรเหล่านี ้ท�ำให้ ทางเท้ าแคบลง และ รวมแล้ วใช้ จา่ ยไม่ตำ�่ กว่า 300 บาทต่อวัน ไหน หัวหน้ าฝ่ ายเทศกิจ กล่าวอีกว่า ทางเขต เลวร้ ายกว่าเพราะผมไม่เชือ่ ว่าประชาชนจะได้ จะค่าน� ้ำค่าไฟ ต้ องส่งลูกเรียนหนังสือ บางเจ้ า ผ่อนผันให้ ผ้ คู ้ ามา 2 รอบแล้ ว รวมทังส� ้ ำนักงาน ทางเท้ าทีเ่ สียไปคืน” นายกรินทร์ กล่าว ผ่อ นบ้ า นผ่อ นรถอี ก ” นางอารมณ์ ส ะท้ อ น ตลาดกรุ งเทพมหานครก็ ส�ำรวจและจัดหา นอกจากรอบเกาะรัตนโกสินทร์แล้ ว การไล่ ความรู้สกึ ทีท่ างรองรับให้ เพียงพอต่อจ�ำนวนผู้ค้าทังหมด ้ ทีห่ าบเร่แผงลอยเกิดขึ ้นทัว่ กทม. ตามนโยบาย “ขายวันสุดท้ าย!” เกือบทุกร้ านขึ ้นป้าย ส่วนนางเมย์ แม่ค้าอีกราย กล่าวว่า ตังแต่ ้ แต่ผ้ คู ้ ายึดติดกับแหล่งการค้ าเดิม จัดระเบียบทางเท้ าคืนความสุขให้ คนกรุงเทพฯ กระดาษ เขียนข้ อความข้ างต้ นด้ วยลายมือ เดือนสิงหาคมทีเ่ ขตมาแจ้ งให้ ย้ายออก พวกตน ขณะที่ น ายกริ น ทร์ กลิ่ น ขจร ผู้ ช่ ว ย- ของกรุงเทพมหานคร และคณะรักษาความสงบ ประกาศให้ ลกู ค้ าและบรรดาผู้สญ ั จรผ่านรับ ไม่ได้ อยูเ่ ฉยๆ ลองไปขายตรงอื่นหลายที่แล้ ว ศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชาการวางแผนภาค แห่งชาติ มีเป้าหมายปรับปรุงภูมทิ ศั น์ถนน 10 ทราบ แต่เมือ่ ถามกลับว่าบรรดาพ่อค้ าแม่ค้าจะ แต่มนั ขายไม่ได้ ล่าสุดเมื่อสัปดาห์ก่อนก็ขน และเมือง คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ สถาบัน สาย ได้ แก่ ราชด�ำเนิน, ศรี อยุธยา, สุขมุ วิท, ย้ ายไปทีใ่ ด หลายคนตอบว่า “ยังไม่ร้ ู” ถุงเท้ าไปขายทีซ่ อยจรัญสนิทวงศ์ 65 คูล่ ะ 10 เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ าเจ้ าคุ ณ ทหาร พระราม 4, พระราม 6, พญาไท, สาทร, ราชวิถ,ี 21 พฤศจิกายนทีผ่ า่ นมา พ่อค้ าแม่ค้ากว่า บาท นัง่ ทังวั ้ นได้ แค่ 120 ปกติขายตรงนี ้มีราย ลาดกระบัง กล่าวว่า หาบเร่แผงลอยตกเป็ น หลานหลวง และท่าช้ าง - ท่าเตียน ให้ กลายเป็ น 500 ชีวติ ต้องย้ ายอุปกรณ์ทำ� มาหากินออกจาก ได้ เ ฉลี่ ย วัน ละ 1,000 บาท ส่ ว นเทเวศร์ “เหยือ่ ” ทุกครังที ้ ม่ กี ารพูดถึงการจัดการทางเท้ า “ถนนสวย” ปราศจากร้ านค้าและคนเร่ร่อน ก่อน ทางเท้ าบริ เวณท่าช้ าง - ท่าเตียน หลังจาก ตลาดพลู ตลาดสะพานขาว ซึง่ เป็ นจุดที่เขต “คนทัว่ ไปมักกล่าวโทษพ่อค้ าแม่ขายว่า ปรับผิวทางเท้ า ซ่อมแซมป้ายต่างๆ ปลูกต้ นไม้ กรุงเทพมหานคร พร้ อมด้ วยต�ำรวจนครบาล บอกให้ ย้ายไป ก็มพี อ่ ค้ าแม่ค้าเดิมจับจองกัน ท�ำให้ ทางเท้ าแคบลง สัญจรยากล�ำบาก แต่ แม้ นโยบายดังกล่าวจะก่อให้ เกิดความเป็ น ทหาร และเจ้ าหน้ าทีเ่ ทศกิจเขตพระนคร เข้ าปู เต็มหมดแล้ ว หรืออีกแห่งคือตลาดสนามหลวง หาบเร่แผงลอยเป็ นเพียงสิง่ กีดขวางชัว่ คราว ใน ระเบียบเรียบร้ อย สวยงาม เพิม่ ความสะดวก พรมจัดระเบียบบริเวณดังกล่าว 2 (พุทธมณฑลสาย 3) อยูไ่ กลมาก จนเดินทาง ทางกลับกัน พวกเขามีสว่ นส่งเสริมกิจกรรมทาง สบายแก่ผ้ เู ดินถนน แต่อกี ด้ านหนึง่ ภาครัฐย่อม ส�ำนักงานเขตพระนครให้ เหตุผลว่า ผู้ค้าตัง้ ไม่ไหวเพราะบ้ านของตนอยูแ่ ถวพาต้ า สังคม เป็ นแหล่งจับจ่ายใช้ สอยของผู้มรี ายได้ ปฏิเสธไม่ได้ วา่ มีประชาชนนับหมืน่ ซึง่ หาเลี ้ยง ของขายกีดขวางทางสัญจรของประชาชนและ “เราเข้ า ใจที่ เ ขาอยากท� ำ ให้ บ้ า นเมื อ ง น้ อยในเมือง ร้ านค้ าตังอยู ้ ไ่ ม่ได้ หากไม่มคี นซื ้อ ชีพด้วยการค้าขายเล็กๆ น้ อยๆ ตามทีส่ าธารณะ นักท่องเที่ยว ผิดพระราชบัญญัตริ ักษาความ สวยงาม บอกพวกเราได้ วา่ จะให้ ทำ� อย่างไรบ้ าง มันจึงเป็ นส่วนหนึง่ ของวิถชี วี ติ ในย่านนันๆ” ้ นัก เพราะไม่มเี งินทุนมากนัก ก�ำลังเดือดร้ อนอย่าง สะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยของ ออกเป็ นกฎมาก็ได้ พวกเรายินดีทำ� ตาม ให้ เว้ น วิชาการด้ านการวางแผนภาคและเมือง กล่าว หนักเนือ่ งจากขาดทีท่ ำ� กิน บ้ านเมือง พ.ศ. 2535 เช่นเดียวกับผู้ค้าบริเวณ ทางเดินกีเ่ มตร หรือให้ จดั ร้ านเป็ นแถวเป็ นแนว เขาบอกอีกว่า แม้ แผงลอยริมทางจะท�ำให้ ทางเท้ าที่ ห ดแคบอยู่ แ ล้ วจากการถู ก อืน่ ๆ รอบเกาะรัตนโกสินทร์ ตังแต่ ้ ด้านหลังศาล แบบใด ขอแค่พวกเราได้ ใช้ พื ้นทีต่ รงนี ้บ้ าง เป็ น ทางเท้ าแคบลงก็จริง แต่เมือ่ ผู้ค้าเก็บของออก กระชากไปให้ คนรวยบนท้ องถนนซึง่ ไม่เคยถูก ฎี ก า ถนนราชด� ำ เนิ น ใน เรื่ อ ยไปถึ ง ถนน ไปไม่ได้ทจี่ ะเอาอย่างต่างประเทศ เมืองนอกเงิน ไป เราก็ได้ ทางเท้ าคืนมา ต่างจากสิง่ กีดขวาง ต�ำหนิ มาวันนี ้ถูกปั ดกวาดให้ โล่งสะอาดตากว่า ราชด�ำเนินกลาง ทีต่ ้ องย้ ายออกไปก่อนหน้ านี ้ เขาดี คนมีงานท�ำ ผิดกับประเทศเรา คนจนมี ถาวรอันเกิดจากการกระท�ำของรัฐ ซึง่ คนส่วน เดิมก็จริง แต่กลับยิง่ แคบลงส�ำหรับชีวติ คนเล็ก “เขาต้ องการความสวยงาม เพราะพวกเขา มาก คนตกงานเยอะ แถมพวกเราก็ไม่มตี ้ นทุน ใหญ่มกั มองข้ าม เช่น เสาสัญญาณไฟจราจร คนน้ อยทีถ่ กู เบียดบัง จนพวกเขาแทบไม่เหลือ มีเงินเดือน แต่พวกเราไม่มจี ะกิน” ผู้ค้ารายหนึง่ มากมาย เพราะถ้ ามี คงไม่มานัง่ ขายริมถนน ป้ายบอกทาง ป้ายโฆษณา เสาไฟฟ้า ฝาท่อ พื ้นทีล่ มื ตาอ้ าปากในสังคม ระบุถงึ ความรู้สกึ ของพวกเขาทังหมดกลางวง ้ แบบนี ้หรอก” นางเมย์ กล่าว ระบายน� ้ำ หัวดับเพลิง ตู้โทรศัพท์สาธารณะทีใ่ ช้ อินทร์แก้ว โอภานุเคราะห์กุล สนทนา ก่อนเส้ นตายมาถึงอีกเพียงไม่กวี่ นั ด้ านนายวสันต์ บุญหมืน่ ไวย์ หัวหน้ าฝ่ าย การไม่ได้ ป้อมต�ำรวจ ซึง่ ตังระเกะระกะและ ้ ย้ อนไปเมื่อ 2 เดือนก่อน หลังจากพ่อค้ า แม่ค้ากลุม่ นี ้ได้รบั หนังสือแจ้ งจากส�ำนักงานเขต ให้ ค้าขายได้ ถงึ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2556 หาก ฝ่ าฝื นจะถูกด�ำเนินการตามกฎหมาย มีโทษปรับ 200 - 2,000 บาท พวกเขาเจ็บปวดจนพูดไม่ ออก ค�ำสัง่ ดังกล่าวเปรียบเสมือน “ฟ้ าผ่า” นางอารมณ์ สุข เจริ ญ แม่ ค้ า ขายของ เบ็ดเตล็ดรายหนึง่ ซึง่ ขายของย่านนี ้มาหลายปี ตังค� ้ ำถามว่า ท�ำไมพวกเขาจึงไม่มีสิทธิ์ในที่ สาธารณะ และไม่เข้ าใจว่าท�ำไมผู้มอี ำ� นาจถึง ท�ำกับพวกเขาราวกับว่า “ไม่ใช่คนไทย” เหตุใด การหากิ น โดยสุจ ริ ต จึง กลับ กลายเป็ นการ กระท�ำผิดกฎหมาย ก่อนจัดระเบียบ ทางเท้าบริเวณท่าช้าง - ท่าเตียน เมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2557 หลังจัดระเบียบ ทางเท้าบริเวณท่าช้าง - ท่าเตียน เมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2557
“ พวกเขาต้องการ
ความสวยงาม เพราะพวกเขามี เงินเดือน แต่พวก เราไม่มจี ะกิน
”
6
ข่าวทั่วไป
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
บ่อขยะหัวหินกลิน่ คลุง้ ! แถมน�้ำเสียไหลลงแหล่งน�้ำ บ่อก�ำจัดขยะหัวหินส่งกลิน่ เหม็นคลุง้ ชาวบ้านโวยน�ำ้ เสียไหลลงไร่สบั ปะรด และแหล่งน�ำ้ เทศบาลรับปริมาณขยะเพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ งพืน้ ทีฝ่ งั กลบไม่เพียง พอ ต้องใช้ระบบเทกองทัง้ ทีผ่ ดิ หลักสุขาภิบาล ยันมีบอ่ พักน�ำ้ เสีย
กองขยะมูลฝอยขนาดใหญ่ ที่บ่อก�ำจัดขยะ บ้ านหนองพรานพุก ต.ทับใต้ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ ส่งกลิน่ เหม็นทัว่ บริ เวณ และมีแมลงวันจ�ำนวนมาก “หนังสือพิมพ์ลูกศิ ลป์ ” ลงพื ้นทีส่ ำ� รวจบ่อ ขยะบริเวณเชิงเขาหนองคู บ้ านหนองพรานพุก ต.ทับใต้ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ หลังจาก ทีช่ าวบ้ านบริเวณใกล้ เคียงร้ องเรียนมาว่า กอง ขยะส่งกลิน่ เหม็นรบกวนการอยูอ่ าศัย พบพื ้นที่ ดังกล่าวเป็ นสถานที่ก�ำจัดขยะแห่งเดียวของ อ�ำเภอ ตังอยู ้ บ่ นเนินสูงและเต็มไปด้ วยกองขยะ มูลฝอยขนาดใหญ่ ส่งกลิน่ เหม็นคละคลุ้งทัว่ บริเวณ มีแมลงวันจ�ำนวนมากในพื ้นทีแ่ ละส่วน พักอาศัยของคนงาน นอกจากนี ้ ไม่พบบ่อพัก น� ำ้ เสียจากกองมูลฝอยเพื่อป้องกันการปน เปื อ้ นสูพ่ ื ้นทีด่ ้ านล่าง นางสน หมืน่ ช�ำนาญป่ า ชาวบ้ านทีอ่ าศัย ใกล้ บริเวณบ่อขยะ เผยว่า กลิน่ เหม็นจากบ่อ ขยะรบกวนการอยู่อาศัย ซึง่ จะมาเป็ นช่วงๆ ตามลม บางครัง้ เหม็นมากแต่ไม่สามารถท�ำ อะไรได้ เพราะที่ อ ยู่ปั จ จุบัน เป็ นพื น้ ที่ ส่ว น ราชการทีแ่ บ่งให้ ชาวบ้ านเข้ ามาอยู่ ส่วนนายร�ำเพย เรียมใหม่ ชาวบ้ านในย่าน เดียวกัน กล่าวว่า นอกจากกลิน่ เหม็นเน่าแล้ ว ในฤดูฝนจะเกิดปั ญหาน� ้ำเสียจากบ่อขยะไหล ลงมายังไร่ สบั ปะรดด้ านล่าง และไหลลงสู่ แหล่งน� ้ำซึง่ เชือ่ มกับแม่น� ้ำปราณบุรี ด้ านนายอุเทน สมบูรณ์ นายช่างโยธา ประจ�ำกองช่างสุขาภิบาล เทศบาลเมืองหัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ กล่าวว่า หัวหิน ก�ำจัดขยะ 2 วิธีคอื หนึง่ ฝั งกลบ และสอง คัด แยกพลาสติกจากขยะเก่าไปแปลงเป็ นน� ้ำมัน ซึง่ ในส่วนหลังรองรับขยะพลาสติกได้ เฉลีย่ 6 ตันต่อวัน แต่ปัญหาคือการด�ำเนินการบางครัง้ ขาดช่วง เพราะเครื่องจักรช�ำรุดต้ องส่งไปซ่อม ต่างประเทศ
ส่วนนายอิทธิพล สุระพร ผู้จดั การฝ่ ายผลิต บริษทั ซิงเกิ ้ล พอยท์ เอ็นเนอยี่ แอนด์ เอ็นไว รอนเมนท์ จ�ำกัด (เอสพีอีอี) ผู้ดแู ลโครงการ แปลงขยะเป็ นน� ้ำมัน กล่าวว่า การจัดการขยะ ในบ่อขยะมีปัญหา เพราะขยะมีปริ มาณมาก เกินกว่าพื ้นที่สามารถรองรับได้ แม้ จะน�ำขยะ เก่าบางส่วนไปแปลงเป็ นน� ้ำมันแล้ วก็ตาม ก็ ไม่ทนั กับของทีม่ าใหม่ “ไม่มที ฝี่ ั งกลบเลยต้ องกองไว้ สงู ๆ แล้ วเอา รถแมคโครมาจัดให้ เป็ นทีเ่ ป็ นทาง แต่ไม่ได้ เอา ดินมาฝั งกลบหรื อท�ำให้ ถูกสุขลักษณะตาม มาตรฐาน” นายอิทธิพล กล่าว ขณะที่ น างสาวมาดี รั ก ษา เจ้ า หน้ า ที่ ประจ� ำ กองช่ า งสุข าภิ บ าล งานก� ำ จัด ขยะ มูลฝอยและสิ่งปฏิกูล เทศบาลเมืองหัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ ชี ้แจงว่า ระบบการ ก�ำจัดขยะด้ วยการเทกองไม่ถกู หลักสุขาภิบาล และไม่มีที่ไหนอยากใช้ แต่ที่จ�ำต้ องใช้ เพราะ พื น้ ที่ เ ต็ ม และระบบการจัด เก็ บ ขยะของ ประเทศไทยไม่ได้ คดั แยกขยะ อย่างไรก็ดี เทศบาลมีแผนจะให้ มีโรงงาน เตาเผาขยะ แต่ยังบอกไม่ได้ ว่าจะมี เมื่ อไร เพราะยังเป็ นแค่แผนงานในอนาคต ส่วนการ ป้องกันน� ้ำเสียจากขยะไหลลงพื ้นที่ด้านล่าง โดยปกติจะมีการขุดร่องโดยรอบเพือ่ ให้ น� ้ำเสีย ทีซ่ มึ ออกมาลงสูบ่ อ่ บ�ำบัด และมีบอ่ ตรวจการ เป็ นชันที ้ ่ 2 ป้องกันน� ้ำล้ นออกไปสู่แหล่งน� ้ำ ธรรมชาติ นางสาวมาดี กล่าวต่อว่า เป็ นเรื่องปกติที่ ต้ องมีบอ่ บ�ำบัดในทุกที่ ขัดแย้ งกับผลส�ำรวจ ของผู้สอื่ ข่าว ซึง่ ไม่พบบ่อบ�ำบัดบริเวณบ่อขยะ เขาหนองคู
ส�ำนักงานสิ่งแวดล้ อม ส�ำนักปลัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เผยแพร่รายงานแนวทางการ จัดการขยะในประเทศไทย ด้ วยหลัก “3R” คื อ Reduce หรื อ ลดการใช้ สิง่ ของทีท่ ำ� ให้ เกิดขยะ Reuse หรือการ เลือกใช้ สงิ่ ของที่สามารถน�ำกลับมาใช้ ใหม่ได้ หลายครัง้ และ Recycle หรื อ การน�ำสิ่งของกลับมาเป็ นวัตถุดิบใน การผลิตใหม่ โดยน�ำต้ นแบบมาจากประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ ประสบความส�ำเร็ จด้ านการจัดการ ขยะให้ เกิดประสิทธิภาพ เงือ่ นไขทีท่ ำ� ให้ ประเทศญี่ ปุ่นมีระบบจัดการขยะอัน ยอดเยีย่ มคือ มีกฎหมายด้ านการจัดการ ขยะโดยเฉพาะ ทุกภาคส่วนต้ องร่วมกัน รับผิดชอบขยะของตนเอง คนญี่ปนจึ ุ่ ง สามารถลดปริ มาณการทิ ้งขยะได้ มาก ถึงร้ อยละ 40 ต่อปี ในประเทศญีป่ นุ่ ยังมีโรงงานเผาขยะ อยู่เป็ นจ� ำนวนมาก ซึ่งท้ องถิ่ นเป็ นผู้ ด�ำเนินการ และมีข้อแม้ วา่ ขยะทีส่ ง่ มา ต้ องเป็ นขยะที่เผาได้ เช่น เศษอาหาร พลาสติก กระดาษ ฯลฯ ความร้ อนที่ใช้ เผาขยะอยู่ระหว่าง 850 - 950 องศาเซลเซี ย ส ถื อ เป็ น อุณหภูมิที่สูงมาก เพราะต้ องการให้ เกิดการเผาไหม้ สมบูรณ์ ป้องกันการ เกิดก๊ าซพิษ ส่วนขี ้เถ้ าทีไ่ ด้ หลังจากการ เผาจะถูกน�ำไปให้ ความร้ อนอีกครัง้ ที่ อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส ได้ เป็ น สารชนิดหนึง่ ทีเ่ รี ยกว่า “สแล็ก” (Slag) มีลกั ษณะคล้ ายกับทราย สามารถน�ำ ไปผสมคอนกรี ต แล้ ว ใช้ ส ร้ างอาคาร และถนนได้ ส่วนระบบกรองควันพิษ จะมี ตัว กรองติดอยูท่ ปี่ ล่องควัน และใช้ น� ้ำด่าง ฉีดควันที่เป็ นกรด เมื่อควันสะอาดไร้ การปนเปื อ้ นจึงค่อยปล่อยสูบ่ รรยากาศ ด้ านนอก ขณะที่ น� ำ้ เสี ย ที่ เ กิ ด จาก กระบวนการจะน�ำมากักเก็บและบ�ำบัด ก่อน ประชาชนที่นนั่ จึงอยู่ร่วมกับโรง เผาขยะได้ อย่างปลอดภัย นอกจากนี ญี ้ ่ปนุ่ ยังใช้ “การบดขยะ” โดยโรงบดขยะรับหน้ าทีจ่ ดั การกับขยะ ที่ไม่สามารถเผาได้ ส่วนใหญ่เป็ นขยะ ขนาดใหญ่ซงึ่ จะถูกน�ำมาตัดหรือบดให้
ชิ ้นเล็กลง และแยกเหล็กกับอะลูมเิ นียม ออกจากกัน จากนันน� ้ ำส่วนทีร่ ีไซเคิลได้ ไปบีบอัดให้ เป็ นก้ อนเพือ่ จ�ำหน่ายต่อไป และการบดขยะนี ้เอง น�ำไปสูก่ ารน�ำขยะ มาถมทะเลของประเทศญี่ปนุ่ ท�ำให้ มี พื ้นทีเ่ พิม่ ขึ ้นถึง 1,900 ตารางกิโลเมตร หรือใหญ่กว่ากรุงเทพมหานคร ปั จจุบนั พื ้นที่ดงั กล่าวถูกสร้ างเป็ น สนามบินนานาชาติคนั ไซ โดยใช้ ขยะ เปี ยกถมเป็ นชันสลั ้ บกับดินจนมีความ สูงถึง 30 เมตร เพื่อป้องกันกลิ่นและ แมลง และยังฝังท่อเหล็กเพือ่ ระบายก๊ าซ ป้องกันการเกิดไฟไหม้ สวีเดนเป็ นอีกประเทศหนึง่ ทีป่ ระสบ ความส�ำเร็ จในการก�ำจัดขยะด้ วยการ เปลีย่ นเป็ นพลังงานเพื่อใช้ ในครัวเรื อน แต่หวั ใจส�ำคัญในขันแรกคื ้ อ การแยก ขยะตัง้ แต่ ก่ อ นทิ ง้ เพื่ อ ง่ า ยต่ อ การ จ�ำแนกและการน�ำไปใช้ โรงเผาขยะ 30 แห่ ง ในประเทศ ก�ำจัดขยะได้ มากกว่า 2 ล้ านตันต่อปี และยังผลิตกระแสไฟฟ้าให้ ภาคครั ว เรือนได้ ถงึ 260,000 หลังคาเรือน และ ส่ ง ความร้ อนไปยั ง ชุ ม ชนได้ กว่ า 950,000 หลัง ท�ำให้ ที่ประเทศสวีเดน ขยะเป็ นสิ่ ง มี ค่ า สามารถน� ำ ไปใช้ ทดแทนเชื ้อเพลิงฟอสซิล ขยะถูกน�ำไปทิง้ ในลานขยะไม่ถึง ร้ อยละ 1 ของปริมาณขยะทังหมด ้ ท�ำให้ ไม่เกิดการหมักหมมของแก๊ สมีเทน ไม่มี สารพิษซึมลงใต้ ดนิ ไม่เกิดกลิน่ เหม็น ไม่ สิ ้นเปลืองน� ้ำมันจากการขับรถขนขยะ ไปทิ ้งที่ลาน ไม่ต้องไปตังลานขยะห่ ้ าง ไกลชุมชน รวมถึงไม่เสียพลังงานจาก ก า ร เ ผ า ข ย ะ ที่ ท� ำ ใ ห้ เ กิ ด ก๊ า ซ คาร์ บอนไดออกไซด์ การจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ นี ท�้ ำให้ สวีเดนขาดแคลนขยะทีจ่ ะน�ำมา ผลิตเชื ้อเพลิง ดังนัน้ ในแต่ละปี ต้องน�ำ เข้ าขยะจากประเทศใกล้ เคียง ได้ แก่ นอร์เวย์ อังกฤษ ไอร์แลนด์และอิตาลี ถึง ปี ละ 800,000 ตัน เพือ่ น�ำมาผลิตเป็ น พลังงานใช้ ในประเทศ ณัชชา เชี่ยวกล ธิดารัตน์ แซ่เล้า ไอรยา โสกขุนทด ภีมรพี ธุรารัตน์ พาขวัญ ศักดิ์ขจรยศ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
สังคม
7
คนไร้รากนางเลิง้ ครวญไม่มบี ตั รประชาชน
ท�ำเสียสิทธิ์ โวยรัฐพิสจู น์สญ ั ชาติลา่ ช้า
ประธานชุมชนชีร้ าชการไม่ชแี้ จงขัน้ ตอนพิสจู น์ ให้ทราบชัดเจน ด้านผอ.เขตแย้งท�ำตามขัน้ ตอนกฎหมาย
ชายชราวัย 70 ปี บุคคลไร้ สถานะในชุมชนวัดแคนางเลิ ้ง ใช้ เวลาปี กว่าเพื่อด�ำเนินเรื่ อง ขอบัตรประชาชนจนส�ำเร็จ ชุมชนวัดสุนทรธรรมทานหรือชุมชนวัดแค นางเลิ ง้ ตัง้ อยู่ ที่ เ ขตป้ อมปราบศัต รู พ่ า ย ใจกลางกรุงเทพมหานคร ห่างจากศูนย์กลาง การบริหารประเทศอย่างท�ำเนียบรัฐบาลเพียง 1 กม. แต่ที่นี่ยงั มีชีวิตเล็กๆ ราว 10 ครัวเรื อน ที่ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ในแต่ ล ะวั น อย่ า งไร้ ตั ว ตน เนื่องจากไม่มีเลขประจ�ำตัวประชาชน ไม่มีชื่อ ในทะเบียนราษฎร์ ส่งผลให้ เสียสิทธิ ขนพื ั ้ ้น ฐานทีบ่ คุ คลผู้ถือสัญชาติไทยสมควรได้ รับ ไม่ ว่าจะเป็ นบัตรหลักประกันสุขภาพถ้ วนหน้ า ที่ สามารถใช้ รั ก ษาอาการเจ็ บ ป่ วยในโรงพยาบาลของรัฐด้ วยมูลค่า 30 บาท การท�ำ ธุรกรรมทางการเงินกับธนาคาร และการได้ รับ เบี ้ยยังชีพผู้สงู อายุเมื่อถึงวัย นายชาญ สุจนิ ดา วัย 73 ปี อาศัยทีน่ มี่ า ตังแต่ ้ ก�ำเนิด กลับเป็ นหนึง่ ในบุคคลไร้ สถานะ ทางทะเบียน เนื่องจากพ่อแม่ไม่ได้ แจ้ งเกิดให้ ตังแต่ ้ เด็ก และปั จจุบนั พ่อแม่เสียชีวิตไปแล้ ว เขาประทังชีพด้ วยการรับจ้ างเก็บกวาดขยะ และสิ่งปฏิกลู ของสุนขั และแมวจรจัดภายใน
บริเวณวัด แต่เมือ่ เจ็บป่ วยก็ไม่สามารถใช้ หลัก ประกันสุขภาพถ้ วนหน้ าได้ เพราะไม่มีบตั ร ประชาชน ท�ำให้ ต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเอง และหากโชคร้ ายก็จะโดนต�ำรวจจับ “ครัง้ หนึ่งประตูที่จอดรถของวัดหนีบนิว้ ขาดหมด พอไปเย็บแผลทีโ่ รงพยาบาลกลางคิด เงินมา 8,000 กว่าบาท ต้ องนอนอีก 6 - 7 คืน ก็ไม่มีเงินจะจ่าย ไม่มีญาติ พยาบาลถามว่า ท�ำไมไม่ทำ� บัตรทอง ผมไม่ร้ ูจะตอบอย่างไร แค่ บัตรประชาชนผมยังไม่มเี ลย” นายชาญ กล่าว ส่วนนางบุญเลี ้ยง ส�ำแดงอ�ำนาจ วัย 67 ปี บุคคลไร้ สถานะทางทะเบียนอีกคนหนึง่ ซึง่ ปั จจุบนั ได้ รับบัตรประชาชนแล้ ว เธอป่ วยเป็ น อัมพาตท่อนล่างมาเกือบ 7 ปี ไม่สามารถลุก เดินหรื อนัง่ ได้ ด้วยตนเอง จึงล�ำบากไม่น้อย กว่าจะได้ บตั รประชาชน เพราะการเดินทางไป เขตแต่ละครัง้ ทุลกั ทุเล “เคยยืน่ เรื่องขอพิสจู น์สญ ั ชาติ แต่ไม่มกี าร ตอบรับใดๆ จากหน่วยงานของรัฐ เลยถอดใจ ไม่อยากได้ แล้ ว เราไม่ร้ ูกฎหมายและไม่มีเงิน
ทีจ่ ะใช้ ในการด�ำเนินการ” นางบุญเลี ้ยง กล่าว ถึงแม้ ตอนนันสื ้ อ่ มวลชนจะช่วยเสนอข่าว ท�ำให้ ทางราชการยอมด�ำเนินการจนได้ บตั ร มาในที่สดุ แต่ก็ยงั คงกินเวลานานเป็ นปี ขณะที่นางสุวนั แววพลอยงาม ประธาน ชุมชนวัดแคนางเลิ ้ง ผู้ให้ ความช่วยเหลือชาว ชุ ม ชนที่ ไ ร้ สถานะทางทะเบี ย น กล่ า วว่ า กระบวนการทางราชการซ� ้ำซ้ อนและไม่ชี ้แจง กับประชาชน ว่าควรจะต้ องท�ำอย่างไร บางคน จึงถอดใจเพราะรู้สกึ ว่าเสียเวลา และต้ องเสีย เงินเดินทางไปเขตหลายครัง้ แต่ละวันเงินทีใ่ ช้ จ่ายก็ไม่คอ่ ยมีอยูแ่ ล้ ว ท�ำให้ มบี คุ คลไร้ สถานะ ทางทะเบียนตกค้ างอยูป่ ระมาณ 6 - 10 ครัว เรือน จากเดิมมีประมาณ 20 ครัวเรือน ซึง่ ใช้ ระยะเวลาในการด� ำ เนิ น การต่ อ ครั ว เรื อ น ประมาณ 1 - 2 ปี เป็ นอย่างต�ำ่ เพราะขันตอน ้ ยุง่ ยากมากกว่าจะได้ มา
“ ความสุขของพวกเขาคือ
อยากมีบัตรประชาชน อยากเปิดบัญชีได้ อยากได้บัตร 30 บาท รักษาทุกโรค อันเป็น
สิทธิที่คนไทยต้องได้
” “ความสุขของพวกเขาคือ อยากมี บัตร ประชาชน อยากเปิ ดบัญชีได้ อยากได้ บตั ร 30 บาทรักษาทุกโรค อันเป็ นสิทธิที่คนไทยทุกคน ต้ องได้ แต่พอไม่มีท�ำให้ พวกเขารู้สกึ ถึงความ ไม่เท่าเทียม และสูญเสียศักดิ์ศรี ความเป็ น มนุษย์” นางสุวนั กล่าว
ด้ านนายสมนึก คงจ�ำปี ผู้อำ� นวยการเขต ป้อมปราบศัตรูพา่ ย ชี ้แจงว่า เขตปิ ดประกาศ ขันตอนชั ้ ดเจนและด�ำเนินการตามกฎหมาย แต่บางรายทีเ่ กิดปั ญหาอาจเป็ นเพราะเมือ่ ยืน่ หลักฐานเข้ าสูข่ นตอนพิ ั้ จารณาแล้ วปรากฏว่า หลักฐานไม่เพียงพอหรือไม่ถกู ต้ อง จึงต้ องย้ อน กลับไปพิสจู น์พยานอีกครัง้ หากพยานบุคคล และเอกสารถูกต้ องก็จะด�ำเนินการได้ รวดเร็ว ขณะที่นางพันธุ์ทิพย์ กาญจนจิตรา สายสุ น ทร รองศาสตราจารย์ ป ระจ� ำ คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ให้ ความช่วยเหลือกลุ่มคนไร้ สัญชาติในชุมชน นางเลิ ง้ กล่ า วว่ า ประเทศไทยเป็ นภาคี อนุสญ ั ญาด้ านสิทธิมนุษยชนหลายฉบับ แต่ รัฐไม่ได้ ปฏิบตั ิอย่างเหมาะสมต่อกลุ่มคนไร้ สถานะทางทะเบียนที่ยากไร้ จึงอยากเรี ยก ร้ องให้ รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ ยวข้ องน�ำ กฎหมายที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกับ การแก้ ไ ขปั ญ หา สัญชาติมาบังคับใช้ อย่างจริ งจัง อย่ า งไรก็ ดี มี ร ายงานล่ า สุด ว่ า ส� ำ นัก ทะเบียนกลางออกประกาศเรื่ องการจัดท�ำ ทะเบี ย นประวัติ บุ ค คลที่ ไ ม่ มี ส ถานะทาง ทะเบียนเมื่อวันที่ 10 ตุลาคมที่ผา่ นมา ระบุวา่ จะเริ่ มด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ การจัดการ ปั ญ หาสถานะและสิท ธิ ข องบุค คลตามมติ คณะรั ฐมนตรี โดยจะเริ่ มให้ การสนับสนุน บุคคล 4 ประเภทซึ่งเป็ นเป้าหมายของการ แก้ ไขปั ญหาทะเบียนประวัติ หนึ่งในนัน้ คือ บุค คลไร้ ราก ดัง เช่น กรณี บ างครั ว เรื อ นใน ชุมชนนางเลิ ้ง เป็ นต้ น ท�ำให้ ชาวชุมชนเมื่อ ทราบข่าว ต่างแสดงความหวังว่า ราชการจะ เร่ งเข้ ามาช่วยเหลือเพื่อนบ้ านของเขาอีก 6 ครัวเรื อน ให้ มีบตั รประชาชนและได้ รับสิทธิ์ อย่างที่ควรจะต้ องได้
นฤภร ตนเจริญสุข
8
ข่าวทั่วไป
ธุสัญรญาณอนาคตเปลี กิจรปภ.หดตั ว ย่ นใช้เทคโนโลยีแทนคน ชีวติ ประจ�ำวันในเครื่ องแบบสีเขียวเริ่มขึ ้น ตอน 7 โมงเช้ า และสิ ้นสุดลงเมื่อเข็มสันบน ้ ิ หน้ าปั ดนาฬกาหมุนกลับมาทีเ่ ลข 7 อีกครัง้ เป็ นเวลากว่า 13 ปี มาแล้ ว ทีน่ ายดอนเมือง บุญ เจี ย ม เดิ น ทางจากบ้ า นเกิ ด ในจัง หวัด สุรินทร์ เข้ ามาประกอบอาชีพพนักงานรักษา ความปลอดภัย (รปภ.) ณ อาคารโทรคมนาคม ย่ า นบางรั ก เขาเป็ นพนัก งานรั ก ษาความ ปลอดภัยขององค์การทหารผ่านศึก โดยท�ำ สัญญาจ้ างแบบปี ตอ่ ปี ในวัย 43 เขาไม่ร้ ูเลย ว่าตนจะถูกเลิกจ้ างเมือ่ ใด “ท�ำอาชีพนี ้มาตังแต่ ้ ปี 2544 ได้ คา่ แรงวัน ละ 450 บาท ต่อสัญญาเป็ นปี ถ้ าท�ำงานไม่ดี เขาก็เลิกจ้ าง จึงต้ องปฏิบตั หิ น้ าทีอ่ ย่างมีวนิ ยั ไม่ทำ� ผิดกฎ ช่วงนี ้มีขา่ วด้ านลบเกี่ยวกับรปภ. มาก เรายิ่งต้ องรักษาความน่าเชื่อถือของตัว
เอง และเราไม่ได้ เฝ้ายามเพียงอย่างเดียว แต่ ท�ำหน้ าทีอ่ นื่ ด้ วย เช่น ตรวจกระเป๋ า ก็ต้องเรียน รู้และใช้ เครื่องมือให้ เป็ น” นายดอนเมือง กล่าว ขณะทีน่ าย ก. (นามสมมติ) พนักงานรักษา ความปลอดภัยประจ�ำหมู่บ้านแห่งหนึ่งย่าน แจ้ งวัฒนะ อายุ 32 ปี มีภมู ลิ ำ� เนาอยูจ่ งั หวัด ระยอง เล่าว่า ตนประกอบอาชีพรปภ.มา 5 ปี ได้ รับค่าแรงวันละ 400 บาท คนทัว่ ไปอาจมอง ว่าอาชีพของเขา วันๆ ไม่ต้องท�ำอะไรมากนัก แค่ต รวจตราดูแ ลความปลอดภัย ให้ ค นใน หมูบ่ ้ าน แถมบ้ านบางหลังก็ตดิ กล้ องวงจรปิ ด แต่กระนันตั ้ วเขาไม่เคยละเลยต่อหน้ าที่ ในอนาคตอาชี พ พนัก งานรั ก ษาความ ปลอดภัยมีแนวโน้ มจะถูกจ้ างน้ อยลง โดย ข้ อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวง พาณิ ชย์ รายงานว่า ปี 2557 สถิติการจด
ทะเบี ย นจัด ตัง้ ใหม่ ข องบริ ษั ท รั ก ษาความ ปลอดภัยทังประเทศลดลงจาก ้ 256 บริษทั ใน ปี 2556 เหลือ 216 บริษทั หรือลดลงร้ อยละ 15 นายพรพิพฒ ั น์ พันธุ ผู้จดั การฝ่ ายบุคคล บริษทั รปภ.ไทย จ�ำกัด กล่าวถึงธุรกิจพนักงาน รักษาความปลอดภัยว่า มีลกั ษณะการท�ำงาน ในรู ปแบบของการว่าจ้ างให้ ช่วยดูแลความ ปลอดภัยของอาคารทีท่ ำ� การหรืออพาร์ทเมนท์ เมื่อถามถึงการขยายตัวของธุรกิจ นาย พรพิพัฒน์ กล่าวว่า ในอนาคตธุรกิจรั กษา ความปลอดภัย อาจจะไม่ ก ว้ า งขึน้ เพราะ เทคโนโลยี เ ข้ า มามี บ ทบาทแทน ทัง้ กล้ อ ง วงจรปิ ด สัญญาณกันขโมย ฯลฯ ปั จจุบัน ศูนย์การค้ าบางแห่ง เช่น บิก๊ ซี โลตัส เปลีย่ น มาใช้ กล้ องวงจรปิ ดหมดแล้ ว ฉะนัน้ อัตราการ ว่าจ้ างมีแนวโน้ มจะลดลง อย่างดีคือทรงตัว แต่คาดว่าเมื่อมีกฎหมายเกี่ยวกับการรักษา ความปลอดภัยออกมา คงจะดีขึ ้นในด้ านของ การคัดกรองบุคลากร ด้ านนายสันติ มะลิสาย เจ้ าของธุรกิจติด ตังกล้ ้ องวงจรปิ ด กล่าวว่า ธุรกิจการติดตัง้
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
กล้ องวงจรปิ ดมีลกู ค้ ามากขึ ้นจากแต่กอ่ นส่วน หนึง่ เป็ นเพราะเรื่องราวด้ านลบของ รปภ. อาจ ละเลยหน้ าที่ เผลอหลับ นัง่ เฉย ท�ำให้ ลกู ค้ า ต้ องหาตัวเลือกอืน่ ๆ มาเพิม่ ความปลอดภัยให้ แก่ทรัพย์สนิ ของตัวเอง นอกจากนี ้ ภาพจาก กล้ องวงจรปิ ดยังสามารถใช้ เป็ นหลักฐานเมื่อ เกิดเหตุใดๆ ขึ ้น เช่น จับภาพขโมยไว้ ได้ ท�ำให้ ยิง่ ได้ รับความนิยม ขณะทีน่ ายแล ดิลกวิทยรัตน์ ทีป่ รึกษาศูนย์ พั ฒ นาแรงงานและการจั ด การ คณะ เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ว่า ในสหรัฐอเมริกาเกิดภาวะเทคโนโลยีเข้ ามา แทนทีแ่ รงงานแล้ ว แต่ประเทศไทยยังไม่ถงึ จุด นัน้ ขณะนี ้ปั ญหาจริงๆ ของไทยยังไม่ใช่คนว่าง งาน แต่ขาดแคลนคนท�ำงาน อัตราการว่างงาน ในประเทศไทยอยูใ่ นล�ำดับต�ำ่ ทีส่ ดุ ของอาเซียน เทคโนโลยีจงึ ยังไม่สง่ ผลกระทบต่อการจ้ างงาน หรือเข้ ามาแทนแรงงานคน กลับกันผู้ประกอบ การต้ องอาศัยเทคโนโลยีเข้ ามาช่วยอุดช่องโหว่ จากปั ญหาแรงงานคนไม่เพียงพอ วัชราภรณ์ เกษรจันทร์
ตายเฉลีย่ 6 คนต่อเดือน เหตุรถตูซ้ งิ่ ท�ำรอบ ศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภคเผยคนตาย จากอุบัติเหตุรถตู้เฉลี่ย 6 คนต่อเดือน นักวิชาการชีส้ าเหตุหลักจากคนขับเร่ง ท�ำรอบ กรมขนส่งแจงหากก�ำหนดรอบ วิ่งคนขับอาจมีรถไม่พอให้บริการ
มากที่สดุ จึงต้ องขับรถด้ วยความเร็ ว แต่ละ รอบใช้ เวลาวิง่ 1 - 2 ชัว่ โมง ท�ำให้ ไม่มเี วลาพัก นอกจากนัน้ เกิดจากสภาพรถไม่พร้ อม รวมถึง สภาพแวดล้ อม เช่น สภาพถนน สภาพอากาศ “ปั ญหานี ้ควรแก้ โดยฝึ กอบรมผู้ขบั ขี่ก่อน ศูน ย์ พิ ทัก ษ์ สิ ท ธิ ผ้ ูบ ริ โ ภค มูล นิ ธิ เ พื่ อ ผู้ ให้ ใบอนุญาต รวมถึงก� ำหนดระเบี ยบเพื่ อ บริโภค เปิ ดเผยรายงานสถานการณ์อบุ ตั เิ หตุ ควบคุมระบบการให้ บริ การ เช่น รอบวิ่งและ รถโดยสารสาธารณะ ปี 2554 - 2556 ว่า ใน เวลาพักรถของคนขับ” นายจิตติชยั กล่าว ช่วง 2 ปี ทผี่ า่ นมา มีรถตู้สาธารณะเกิดอุบตั เิ หตุ ด้ านนายเจษฎา ค�ำเรืองโคตร คนขับรถตู้ 96 ครัง้ มีผ้ บู าดเจ็บ 719 ราย และผู้เสียชีวติ สาธารณะสายกรุงเทพฯ - บางแสน กล่าวว่า ใน 134 ราย หรือเสียชีวติ เฉลีย่ 6 คนต่อเดือน หนึง่ วันตนจะวิง่ รถมากสุด 3 รอบ น้ อยทีส่ ดุ คือ นายจิตติชยั รุจนกนกนาฏ รองผู้อ�ำนวย 1 เทีย่ วขาไปหรือขากลับ โดยแต่ละวันไม่มกี าร การฝ่ ายวิชาการ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์ จ�ำกัดรอบวิง่ ของผู้ขบั แต่สว่ นใหญ่คนขับจะวิง่ มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ประเทศไทยมีผ้ เู สียชีวติ ไม่เกิน 3 รอบ ปั จจุบนั รถตู้สายกรุงเทพฯ - บาง จากอุบตั เิ หตุบนถนนเฉลีย่ 10,000 - 20,000 แสน มีทงหมด ั้ 21 คัน นายท่าจะเป็ นผู้จดั รอบ รายต่อปี เป็ นกรณีอบุ ตั เิ หตุรถตู้สาธารณะร้ อย วิง่ ตนได้ คา่ จ้ างวันละ 400 บาท หากวันไหนวิง่ ละ 60 ทังนี ้ ้ เพราะคนขับต้ องวิง่ รถอย่างน้ อย รอบเยอะก็อาจจะได้ พเิ ศษ 100 - 200 บาท แต่ 6 - 7 รอบต่อวัน เพือ่ รับผู้โดยสารให้ ได้ จ�ำนวน ในบางวันก็จะมีการหักค่าประกัน 100 บาท
“สาเหตุที่ท�ำเกิดอุบตั ิเหตุน่าจะเป็ นเรื่ อง ความประมาทของผู้ขบั ขี่ ขับปาดแซงบนท้ อง ถนน อย่างไรก็ดี ปั จจุบนั กฎหมายเข้ มงวดขึ ้น ท�ำให้ ขบั ปาดไปมาน้ อยลง เพราะถ้ าโดนต�ำรวจ จับจะถูกอายัดใบขับขี”่ นายเจษฎา กล่าว ขณะที่ น ายธี ร ะพงศ์ งามเอก หัว หน้ า หน่วยส่วนการขนส่งประจ�ำทาง กรมขนส่ง ทางบก กล่าวว่า กรมไม่ได้ ก�ำหนดรอบวิ่งคน ขับ แต่ละสายจะจัดการกันเองซึ่งขึ ้นอยู่กับ ระยะทางและจ�ำนวนรถ กรมดูแลแต่เพียงว่า แต่ละวันรถจะวิง่ ได้ มากสุดและน้ อยสุดเท่าไร หากวิ่งน้ อยกว่าที่ ก�ำหนดหรื อไม่วิ่งเลยก็ มี ความผิดมีโทษปรับ “หากก�ำหนดรอบวิง่ ต่อคัน อาจเกิดปั ญหา ในกรณีที่รถคันใดคันหนึง่ หยุดวิ่งก็จะไม่มีรถ บริการผู้โดยสารเพียงพอ อย่างไรก็ตาม กรม ค�ำนวณรอบวิ่งในแต่ละสายโดยส�ำรวจระยะ ทางกับจ�ำนวนรถแล้ ว ฉะนัน้ จ�ำนวนรอบจึงมี
ความสมเหตุสมผล ผู้ขบั อาจต้ องเพิ่มรอบวิ่ง เฉพาะช่วงเทศกาลซึง่ มีความต้ องการเดินทาง สูงกว่าปกติ” นายธีระพงศ์ กล่าว นายธีระพงศ์ กล่าวอีกว่า หลังจากคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เข้ ามา ก็ได้ จดั ระเบียบเข้ มงวดว่า ผู้ขบั ขีร่ ถตู้สาธารณะต้ องมี ใบขับขีป่ ระเภทที่ 2 หรือใบขับขีส่ าธารณะ ต้ อง ติดตังเข็ ้ มขัดนิรภัยในรถทุกที่นงั่ และรถต้ อง มีอายุการใช้ งานไม่เกิน 10 ปี รวมถึงต้ องตรวจ สภาพรถทุกปี ส่วนความเร็วในการขับต้ องไม่ เกิน 80 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง มีผ้ โู ดยสารไม่เกิน 15 คน โดยเจ้ าหน้ าทีก่ รมขนส่งทางบกจะตังจุ ้ ด สุม่ ตรวจ หากฝ่ าฝื นจะถูกปรับ 1,000 - 5,000 บาท หากยังกระท�ำผิดซ� ้ำผู้ขบั ขี่จะถูกพักรถ หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ ซึง่ แก้ ปัญหารถตู้ ขับรถเร็วได้ พอสมควร อุบลวรรณ ทองศรีโชติ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
ชีวิตคนเมือง
9
จ�ำนวนร้านสะดวกซือ้ พุง่ ! ‘โชห่วย’ อ่วม ถึงเวลารัฐต้องก�ำกับตลาดแข่งขันเป็นธรรม ?
5 นาฬกิ า ขณะทีห่ ลายคนยังไม่ตนื่ มาเริ่ม ต้ นวันใหม่ เสียงเลื่อนประตูรัว้ เหล็กห้ องแถว เล็กๆ ภายในซอยพาณิชยการธนบุรี 11 ดังขึ ้น เช่นทุกวัน หญิงวัยกลางคนก�ำลังจัดร้ านเตรียม รับลูกค้ า ทีจ่ ะแวะเวียนมาจับจ่ายเครื่องอุปโภค บริโภคใช้ สอยในชีวติ ประจ�ำวัน “ร้ านเรามีสนิ ค้ าครบทุกอย่าง จัดวางเป็ น หมวดหมู่ ลูกค้ ารู้ หมดว่าอะไรอยู่ตรงไหน” นฤมล วนิชชาการ วัย 48 ปี เจ้ าของร้ านค้ าปลีก ดังเดิ ้ มหรือ “โชห่วย” ขนาด 1 คูหา ทีเ่ ธอและ สามีใช้ เวลาร่วม 10 ปี ช่วยกันสร้ างมันขึ ้นมา กล่าว ระหว่างทอนเงินให้ ลกู ค้ ารายแรกของวัน ก่อนหน้ านี กิ้ จการของเธอได้ รบั ผลกระทบ อย่างหนักจากการขยายตัวของร้ านสะดวกซื ้อ แต่ เ ธอได้ น� ำ ความรู้ ด้ านการตลาดจาก ประสบการณ์การท�ำงานในบริ ษัทมาปรับใช้ ด้ วยการหาสินค้ าที่หลากหลาย จัดวางอย่าง เป็ นระเบียบ ท�ำให้ ลกู ค้ ารู้สกึ พอใจและอยาก เข้ ามาอุดหนุน แต่ละวันจึงมีลกู ค้ าเดินเข้ าร้ าน ไม่ขาดสาย เธอยังกล่าวอีกว่า แม้ พนักงานจะน้ อยกว่า ร้ านสะดวกซื อ้ แต่ก ารท� ำ งานหนัก ช่ว ยให้ ร่างกายแข็งแรง ได้ พดู คุยรู้จกั กับคนซื ้อ เกื ้อกูล กัน บาทสองบาทเขาไม่มีเราก็ให้ เขาไป ไม่ เหมือนร้ านสะดวกซื ้อทีส่ ลึงเดียวเขาก็ไม่ให้ ข้ ามมายังฝั่ งพระนคร ภาสประภา กันยาวิริยะ เจ้ าของร้ าน “ล.เยาวราช” ซึง่ เปิ ดมานาน กว่า 70 ปี ก�ำลังจัดของเตรียมส่งลูกค้ าเช่นกัน เขาบอกว่า คนรุ่ นก่อนยังซื ้อของกับเจ้ า ประจ�ำ แต่คนรุ่ นเขาเข้ าร้ านสะดวกซื ้อซึง่ น่า เดินกว่า แถมตังอยู ้ แ่ ทบทุกแยก จึงตัดสินใจ ปรับปรุงร้ านให้ มเี อกลักษณ์ เป็ นทีด่ งึ ดูด รวม ถึงน�ำสินค้ าตามกระแสแฟชัน่ เข้ ามาขาย โดย ท�ำทังค้ ้ าปลีกและค้ าส่ง “ส่วนค้ าปลีก ลูกค้ าชอบของทีห่ าซื ้อได้ ยาก หรือของทีม่ ขี ายเฉพาะในเยาวราช จึงออกแบบ
ร้ านให้ นา่ เดิน วางสินค้ าเป็ นหมวดหมู่ ส่วนค้ า และกรมพัฒนาธุรกิจการค้ าส่งเสริมให้ พฒ ั นา ส่งเป็ นกลุม่ ที่ซื ้อขายกันมายาวนาน ท�ำให้ ไม่ ร้ านโชห่วยไปแล้ ว 64,699 ราย และมีเป้าหมาย ต้ องจัดพื ้นทีโ่ ชว์สนิ ค้ าให้ ครบทุกรายการ และ พัฒนาเพิม่ เติมในปี 2558 อีกกว่า 3,600 ราย ไม่ต้องมีพนักงานในร้ านมาก สามารถโทรศัพท์ อย่างไรก็ดี รายงานผลส�ำรวจผู้บริโภคด้ าน สัง่ และจัดส่งถึงที”่ ทายาทรุ่น 3 ของร้ าน กล่าว การซื ้อสินค้ าผ่านช่องทางค้ าปลีกดังเดิ ้ ม ใน เขากล่าวด้ วยว่า สินค้ าที่นี่มีหลากหลาย ไตรมาสที่ 3 ปี 2556 ของ บริษทั เดอะ นีลเส็น เช่น น� ้ำปลาก็มียี่ห้อพื ้นบ้ านที่ไม่เห็นในท้ อง (ประเทศไทย) จ�ำกัด ระบุวา่ ร้ านโชห่วยมีสว่ น ตลาด ปั จจุบนั ท�ำยอดขายต่อปี ได้ ถงึ 100 ล้ าน แบ่งการตลาดลดลงจากร้ อยละ 52 ในปี 2550 บาท ตัง้ เป้ าจะให้ เ ป็ นร้ านต้ น แบบและใน เหลือร้ อยละ 45 ในปี 2555 และมีแนวโน้ มลด อนาคตต้ องการขยายไปยังต่างประเทศ ลงเหลือร้ อยละ 40 ในอีก 5 ปี ข้างหน้ า มี ข้ อ มูล จากเว็ บ ไซต์ สมถวิล สุนทรอารักษ์ นิตยสารโพสิชนั่ นิง่ (Posiอายุ 43 ปี ผู้ประกอบการ tioning Magazine) ร้ านสะดวกซื อ้ เซเว่ น รายงานผลส�ำรวจจ�ำนวน ร้านโชห่วยจะมีส่วนแบ่ง อีเลฟเว่น สาขาประชาอุทศิ สาขาร้ านสะดวกซื อ้ ใน 72 กล่าวว่า ร้ านสะดวกซื ้อ การตลาดลดลงเหลื อ ประเทศไทย ล่าสุดถึงเดือน ได้ เ ปรี ย บโชห่ว ยในด้ า น ร้ อ ยละ 40 ในอี ก 5 ปี ธันวาคม ปี 2555 พบว่า มี การสัง่ ซื ้อสินค้ า เนือ่ งด้ วย ขณะที ร ่ า ้ นสะดวกซื อ ้ จ�ำนวนทังสิ ้ ้น 12,246 สาขา ระบบจัดการขององค์ กร มีอตั ราการเติบโตร้ อยละ มีอัตราขยายตัวเฉลี่ย ใหญ่ ทังยั ้ งจัดร้ านให้ เดิน 23.01 หรื อขยายตัวเฉลีย่ ได้สะดวกสบาย สะอาด ไม่ ปีละ 400 สาขา ประมาณปี ละ 400 สาขา ร้ อน เข้ าถึงได้ ง่าย มีการ ส่วนแบ่งทางการตลาดเพิม่ พั ฒ นาด้ านการบริ ห าร ขึ ้นเป็ นร้ อยละ 55 จากร้ อย คุณภาพสินค้ า และการ ละ 48 ในปี 2550 ประชาสัมพันธ์ แต่ในทาง นอกจากนี บริ ้ ษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) กลับกัน การขยายตัวของธุรกิจค้ าปลีกขนาด เปิ ดเผยข้อมูลล่าสุดเมือ่ เดือนกันยายนทีผ่ า่ นมา ใหญ่ อ าจส่ ง ผลให้ คนบริ โ ภคสิ น ค้ าอย่ า ง ว่า ร้ านเซเว่นอีเลฟเว่นในประเทศไทย มีสาขา ฟุ่ มเฟื อยมากขึ ้น มากเป็ นอันดับที่ 3 ของโลก หรือทังหมด ้ 8,000 ด้ านธนัสสรณ์ อัศวเพิ่มทรัพย์ อายุ 49 ปี สาขา รองจากญี่ปนุ่ และสหรัฐอเมริกา มีลกู ค้ า ผู้ ประกอบการร้ านโชห่ ว ยแห่ ง หนึ่ ง ย่ า น ใช้ บริการสูงถึง 33 ล้ านคน หรือคิดเป็ นร้ อย 50 จรัญสนิทวงศ์ ก�ำลังประสบปั ญหารายได้ ลดลง ของจ�ำนวนประชากรในไทย แต่ละวันมีการซื ้อ อย่างเห็นได้ ชดั แต่เพราะอายุมาก ทังเศรษฐกิ ้ จ ขายสินค้ าจ�ำนวน 25 - 30 ล้ านชิ ้น โดยตังเป ้ ้ า ย�ำ่ แย่ จึงท�ำให้ ไม่กล้ าลงทุนปรับปรุงร้ านใหม่ อีก 3 ปี ข้างหน้ า จะมีจำ� นวนครบ 10,000 สาขา ส่วนชวลิต ฐามนกิจประสาท อายุ 56 ปี ผู้ ในทางกลับกัน ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ประกอบการร้ านโชห่วยอีกรายหนึง่ กล่าวใน เปิ ดเผยจ�ำนวนร้ าน “โชห่วย” ในประเทศไทย ท�ำนองเดียวกันว่า ส่วนใหญ่ลูกค้ าของเขา ล่าสุด ปี 2555 พบว่า มีทงหมด ั้ 506,952 ร้ าน เป็ นกลุม่ ผู้ใช้ แรงงานและชาวบ้ านทัว่ ไปที่อยู่
“ ”
ไกลจากร้ านสะดวกซื ้อ ฝั่งผู้บริโภค เสาวณีย์ เหลือ่ มศรี กล่าวว่า ซื ้อ เฉพาะของเล็กๆ น้ อยๆ จากร้ านโชห่วย เช่น ผงชูรส น� ้ำมันพืช ไข่ไก่ หรือของทีร่ ้ านสะดวกซื ้อ ไม่มี แต่ทไี่ หนราคาย่อมเยากว่าก็จะซื ้อร้ านนัน้ ขณะทีป่ รเมสฐ์ บุญศรี รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ บ้ านสมเด็จเจ้ าพระยา กล่าวว่า พฤติกรรมของ ผู้ บริ โภคที่ เ ปลี่ ย นไปคื อ ปั จจั ย ของการ เปลีย่ นแปลง เกิดสังคม “ปลาใหญ่กนิ ปลาเล็ก” ร้ านสะดวกซื ้อเข้ ามามีอิทธิพลกับประเทศสูง และต้ องการครอบครองตลาดทังหมด ้ “หากปล่อยให้ โชห่วยตาย เราจะตายทัง้ ประเทศ เพราะเศรษฐกิจจะอยูใ่ นมือของคน สองกลุม่ เท่านันคื ้ อ กลุม่ ซีพีและกลุม่ การค้ า ต่างประเทศ ได้ กำ� ไรเขาก็เอากลับประเทศหมด ท�ำนายเลยว่าเศรษฐกิจจะไม่ดขี ึ ้น เพราะเรารู้ อยูว่ า่ เส้ นทางของเงินมันจะเป็ นอย่างไร รัฐควร ตังเงื ้ อ่ นไขไม่ให้ ห้างสรรพสินค้ าขนาดใหญ่ขาย สินค้ าปลีกแข่งกับร้ านโชห่วย” นักวิชาการด้ าน เศรษฐศาสตร์ กล่าว ขณะทีว่ ฒ ุ เิ ทพ ทิมทอง ผู้อำ� นวยการกลุม่ เชีย่ วชาญและตรวจสอบ 2 ส�ำนักส่งเสริมการ แข่งขันทางการค้ า กรมการค้ าภายใน กระทรวง พาณิ ชย์ ชี แ้ จงว่า ประเทศไทยมี พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้ า พ.ศ. 2542 มาตรา 29 มีแนวปฏิบตั ิให้ ผ้ คู ้ าส่ง ค้ าปลีก ธุรกิจร้ านสะดวกซื ้อและร้ านโชห่วยแข่งขันการ ค้ าอย่างเป็ นธรรม เพื่อให้ ผ้ ปู ระกอบการราย ใหญ่กบั รายเล็กอยู่ร่วมกันได้ ธุรกิจค้ าปลีก สมัยใหม่บางรายยังช่วยฝึ กอบรมเทคนิคการ ขายและการบริการกับโชห่วยด้ วย ภาครัฐไม่ได้ นิง่ นอนใจ และยังออกไปตรวจสอบสม�ำ่ เสมอ ให้ ธรุ กิจมีการปฏิบตั ทิ างการค้ าทีเ่ ป็ นธรรม อรพิมล สุวรรณวาล
สารคดีเชิงข่าว
10
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
ถวิล พรำยสวำท
สมพงศ์ ลุย่ พงษ์
“เมื่อก่อนที่ตรงนี้เคยเป็นป่าชายเลน” เสี ย งแผ่ ว จำกวัย ที่ โ รยรำเอ่ ย ขึน้ ขณะ นัยน์ตำขุน่ หลังกรอบแว่นทอดมองยังเนินดิน โล่งเตียนตรงหน้ ำ ถวิล พรายสวาท ชำยชรำวัย 87 ปี เป็ น หนึง่ ในชำวประมงพื ้นบ้ ำน ผู้เติบโตและใช้ ชวี ติ เกือบทังหมดอยู ้ ใ่ นหมูบ่ ้ ำนเขำตะเกียบ ต�ำบล หนองแก อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ สถำนที่ซึ่งเด็กๆ ลูกหลำนชำวประมงทุกคน ต้ องเคยวิง่ ไล่จบั ปูกลำงผืนป่ ำ ป่ ำชำยเลนในควำมทรงจ�ำของพรำนทะเล อย่ำงลุงหวิล มีพื ้นทีเ่ พียง 56 ไร่ 2 งำน 63.6 ตำรำงวำ ตังอยู ้ ่ริมคลองตะเกียบ แม้ จะเป็ น เพียงป่ ำขนำดเล็ก ทว่ำป่ ำแห่งนี ้เป็ นเสมือน ศูนย์กลำงวิถีชีวติ ของชำวบ้ ำน ด้ วยเป็ นพื ้นที่ สำธำรณะแห่งเดียวในชุมชนที่ชำวบ้ ำนเขำ ตะเกียบและหมูบ่ ้ ำนหัวดอนใช้ ประโยชน์ร่วม กันมำยำวนำนตังแต่ ้ สมัยบรรพบุรุษ “ช่วงเดือนธันวำคมถึงกุมภำพันธ์ของทุกปี ตลอด 3 เดือนนี ้เป็ นช่วงลมมรสุม ทะเลมีทงั ้ คลืน่ สูง ทังลมแรง ้ ชำวประมงจะออกเรือกันไม่ ได้ จึงถือโอกำสพักซ่อมบ�ำรุงเรือ ทังหมู ้ บ่ ้ ำนมี เรือรวมกันกว่ำ 200 ล�ำ เวลำซ่อมเรือต้ องเอำ เรื อมำจอดในป่ ำชำยเลนเพื่อใช้ ก�ำบังลมพำยุ และต้ องดีดเรือให้ ท้องเรือพ้ นจำกท้ องน� ้ำ โดย อำศัยก�ำลังคนมำกกว่ำ 10 คน ใช้ คำนยกให้ ท้ องเรื อพ้ นจำกผิวน�ำ้ ก่อนเอำไม้ หมอนรอง เมื่อท้ องเรื อตำกแดดจนแห้ งดีแล้ ว จึงเอำชัน ยำอุดรูรั่ว” นอกจำกเป็ นอู่พกั ซ่อมเรื อและหลบพำยุ แล้ ว ป่ ำชำยเลนยังเป็ นแหล่งอำหำรยำมทะเล ปั่ นป่ วนด้ วยคลืน่ ลม เพรำะทังปู ้ ม้ำ ปูก้ำมดำบ ปูทะเล และกุ้ง ต่ำงอำศัยอยูบ่ ริเวณรำกไม้ ของ ต้ นโกงกำง เสม็ด แสม โปรงแดง กระหวัน่ ชำว บ้ ำนจึงมีแหล่งอำหำรเลี ้ยงครอบครัวมิได้ ขำด รวมทังมี ้ แหล่งทีม่ ำของรำยได้ ภำพอดี ต สะท้ อ นผ่ำ นแววตำชื่ น สุข ปน ขมขืน่ เพรำะสิง่ ทีห่ ลงเหลืออยูต่ รงหน้ ำชำยชรำ มีเพียงพื ้นดินว่ำงเปล่ำ และต้ นโกงกำง 2 ต้ น เท่ำนัน้
สมพงศ์ ลุ่ยพงษ์ อำยุ 72 ปี ชำวประมง อีกคนชี ้ให้ ดทู ดี่ นิ ริมหำด ซึง่ มีอำณำบริเวณ 22 ไร่ และเพิง่ ถูกถมไปเมือ่ ปี พ.ศ. 2556 “เขำเอำรถแมคโครมำย�่ำตะลุยเข้ ำไปใน ป่ ำ เหยียบทับต้ นไม้ ให้ จมลงไปในเลน แล้ วถม ดินแดงทับตังไม่ ้ ร้ ูกี่ชนั ้ ฝั งทุกอย่ำงให้ ตำยทัง้ เป็ นอยูใ่ ต้ ดนิ ” ป่ ำชำยเลนเขำตะเกียบจึงถึงกำลอวสำน นับแต่บดั นัน้
ย้อนสู่จุดเริ่มต้น จำกค�ำบอกเล่ำของ “ลุงสมพงศ์” รำวปี พ.ศ. 2496 นำยพื ้น กระแสสินธุ์ นำยกเทศบำล เมืองหัวหินในเวลำนัน้ ได้ พำนำยสุวรรณ เพ็ชรสงครำม นำยทุนจำกกรุงเทพฯ มำจับจองพื ้นที่ บริเวณดังกล่ำว โดยอ้ ำงว่ำจะขุดบ่อเลี ้ยงปลำ แต่ถกู ชำวบ้ ำนจับได้ วำ่ คิดครอบครองป่ ำชำยเลน จึงรวมตัวกันประท้ วงขับไล่จนนำยทุน หำยหน้ ำไป แต่ก็มีนำยทุนหน้ ำใหม่วนเวียน เข้ ำมำไม่ขำดสำย กระทัง่ ในปี พ.ศ. 2522 เริ่ม มีกำรน�ำร้ ำนอำหำรเข้ ำมำตังในพื ้ ้นที่ และตัด ท�ำลำยแผ้ วถำงป่ ำบำงส่วน ท�ำให้ ชำวบ้ ำนรวม ตัวต่อต้ ำนอีกครัง้ เหตุกำรณ์ด�ำเนินเช่นนี ้เรื่ อยมำ กล่ำวคือ เมือ่ คนในชุมชนสังเกตเห็นว่ำมีควำมพยำยำม บุกรุกท�ำลำยพื ้นทีป่ ่ ำ ก็จะช่วยกันประท้ วงขับ ไล่อย่ำงต่อเนือ่ ง อีกฝ่ ำยก็จะถอยร่นเงียบหำย ไป ชำวบ้ ำนจึงไม่เคยทรำบเลยว่ำ มีกำรออก เอกสำรสิทธิ์ที่ดินบริ เวณนี ้ให้ แก่นำยทุนนอก พื ้นทีไ่ ปตังแต่ ้ ระหว่ำงช่วงปี พ.ศ. 2517 - 2528
“เราเข้าใจมาตลอดว่าเป็นที่สาธารณะ” “ตอนปี 40 น� ้ำท่วมหมูบ่ ้ ำน เรำพยำยำม ตำมหำสำเหตุ จนพบว่ำมีคนเอำดินลูกรังมำ ถมคลองตะเกียบซึง่ อยูต่ ิดกับป่ ำชำยเลน จึง ตรวจสอบไปยังส�ำนักงำนที่ดินอ�ำเภอหัวหิน และได้ ร้ ูวำ่ ที่ดนิ ริ มคลองตะเกียบมีเจ้ ำของไป หมดแล้ ว รวมทังสิ ้ ้น 14 แปลง ทังหมดถู ้ ก ครอบครองโดยนักธุรกิจ แพทย์ และทหำร” สมศักดิ� เขียวข�า อดีตสมำชิกสภำจังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์ เขต 2 อ�ำเภอหัวหิน และ
หัวหน้ ำกลุ่มอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมเขำตะเกียบ ให้ ข้อมูล สมศักดิเ์ ป็ นผู้นำ� และผู้รับมอบอ�ำนำจจำก ชำวบ้ ำนในกระบวนกำรฟ้องร้ อง เริ่มแรกพวก เ ข ำ ร้ อ ง เ รี ย น ถึ ง ผู้ ว่ ำ ร ำ ช ก ำ ร จั ง ห วั ด ประจวบคี รีขันธ์ และคณะกรรมำธิ กำรกำร ยุตธิ รรมและสิทธิมนุษยชน สภำผู้แทนรำษฎร รวมทัง้ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรช่วยเหลือ ประชำชนตำมกฎหมำย สภำทนำยควำม คณะกรรมำธิ กำรกำรยุติธรรมและสิทธิ มนุษยชน สภำผู้แทนรำษฎรได้ มอบหมำยให้ นำยแสงชม พจน์สมพงส์ นักวิชำกำรเกษตร ช� ำนำญกำรพิเศษ หัวหน้ ำส่วนพิสูจน์ สิทธิ ที่ ดิ น ส� ำ นัก เทคโนโลยี ก ำรส� ำ รวจและท� ำ แผนที่ กรมพัฒนำที่ดิน เป็ นผู้อ่ำนและแปล ภำพถ่ำยทำงอำกำศเพือ่ ตรวจสอบว่ำที่ดนิ ทัง้ 14 แปลง มีสภำพเป็ นป่ ำชำยเลนที่ประชำชน ใช้ ประโยชน์ร่วมกันมำยำวนำนตำมค�ำกล่ำว อ้ ำงของชำวบ้ ำนหรื อไม่ เพื่อให้ เกิดควำมเป็ น ธรรมแก่ทกุ ฝ่ ำย หลั ง จำกที่ น ำยแสงชมได้ ศึ ก ษำและ ตีควำมภำพถ่ำยทำงอำกำศ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2497, 2510, 2519, 2534, 2537 และ 2541 ร่ วมกับแผนที่ภมู ิประเทศ แผนที่ดิน และข้ อ มูลอื่นๆ ตลอดจนลงตรวจสอบพื ้นที่จริ งในปี พ.ศ. 2545 โดยพิจำรณำต�ำแหน่งโฉนดที่ดนิ ทัง้ 14 แปลงบนภำพถ่ำยฯ มำตรำส่วน 1 ต่อ 4,000 ก็พบว่ำตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2497 - 2541 ไม่มี ร่ องรอยกำรท�ำประโยชน์ บนที่ดินส่วนใหญ่ รวมทังแนวเขตโฉนดที ้ ่ดินยังมีระยะห่ำงจำก ภูเขำไม่ถงึ 20 วำ และห่ำงจำกคลองตะเกียบ ไม่ถงึ 10 วำ จึงสำมำรถสรุปได้ วำ่ โฉนดทัง้ 14 แปลงรุกล� ้ำพื ้นทีป่ ่ ำชำยเลนและทีด่ นิ ริมคลอง ตะเกี ยบ ซึ่ง มี สถำนะเป็ นที่ ส ำธำรณะของ ชุมชนจริ ง หลังจำกทรำบข้ อเท็จจริ งดังกล่ำว ชำว บ้ ำนยิ่งมัน่ ใจว่ำกำรด�ำเนินกำรออกเอกสิทธิ์ เป็ นไปโดยมิชอบ จึงรวมตัวกันยื่นฟ้องคดีให้ มีกำรเพิกถอนโฉนดทีด่ นิ ทัง้ 14 แปลง ณ ศำล ปกครองกลำง ก่อนที่ทนำยของฝ่ ำยชำวบ้ ำน จะแจ้ งว่ำ คดีดงั กล่ำวไม่อยู่ในดุลยพินิจของ
ศำลปกครอง ชำวบ้ ำนจึงย้ ำยไปยืน่ ฟ้องทีศ่ ำล ชันต้ ้ นแทน
“เราถูกท�าให้แพ้” ทว่ำท่ำมกลำงแสงสว่ำงนันเอง ้ ศำลชันต้ ้ น ตั ด สิ น ให้ ชำวบ้ ำนแพ้ คดี โดยวิ นิ จ ฉั ย ว่ ำ ภำพถ่ำยทำงอำกำศที่ชำวบ้ ำนใช้ เป็ นหลัก ฐำนนันไม่ ้ มคี วำมน่ำเชือ่ ถือ เนือ่ งจำกภำพถ่ำย ทำงอำกำศไม่สำมำรถบอกสภำพพื ้นที่จริงได้ ว่ำมีควำมลึกเท่ำไร จึงมีควำมคลำดเคลือ่ นกับ พื ้นที่จริ ง ส่วนค�ำเบิกควำมจำกปำกของนำย แสงชม พจน์สมพงส์ ผู้ศกึ ษำภำพถ่ำยฯ พยำน
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
โจทก์ ก็ถือเป็ นเพียงควำมเห็นของนักวิชำกำร คนหนึ่งเท่ำนัน้ เมื่อเทียบกับค�ำเบิกควำมโต้ แย้ งของพยำนจ�ำเลย ซึง่ ระบุวำ่ พื ้นทีพ่ พิ ำทดัง กล่ำวเป็ นเพียง “ที่รกร้ ำงว่ำงเปล่ำ” ไม่เคยมี กำรระบุให้ เป็ นพื ้นทีป่ ่ ำชำยเลน หรือประกำศ เป็ นเขตวนอุทยำนแห่งชำติ และทำงเจ้ ำหน้ ำที่ ได้ ด�ำเนินกำรออกเอกสำรสิทธิ์ตำมกฎหมำย ทุกขันตอน ้ ศำลชันต้ ้ นจึงเห็นว่ำกำรออกโฉนด ทีด่ นิ ทัง้ 14 แปลง เป็ นกำรกระท�ำโดยชอบด้ วย กฎหมำยเช่นเดียวกันกับศำลอุทธรณ์
ปัญหาทุจริตในการออกโฉนดที่ดิน แม้ ว่ำศำลจะมีค�ำตัดสินเช่นนัน้ หำกใน ควำมรู้ สึกของแกนน�ำชำวบ้ ำนเขำตะเกียบ ที่ ดิ น ดั ง กล่ ำ วยั ง คงมี ส ถำนะเป็ นพื น้ ที่ สำธำรณประโยชน์ไม่เปลีย่ นแปร เสียงที่ก้องในใจของแกนน�ำชำวบ้ ำนจึง เป็ นค�ำถำมซึง่ มุง่ ไปที่ควำมโปร่งใสชอบธรรม ในกำรออกโฉนดทีด่ นิ ดังกล่ำว ประยงค์ ดอกล�าไย ที่ปรึ กษำสหพันธ์ เกษตรกรภำคเหนือ (สกน.) เล่ำย้ อนถึงกำร ประกำศใช้ ประมวลกฎหมำยทีด่ นิ พ.ศ. 2497 เพื่ออธิบำยกระบวนกำรออกเอกสำรสิทธิ์โดย มิชอบว่ำ ในสมัยนันมี ้ กำรประกำศให้ ผ้ ทู ี่ถือ ครองและท�ำประโยชน์ ในที่ดินก่อนปี พ.ศ. 2497 มำแจ้ งกำรครอบครองทีด่ นิ ต่อผู้ปกครอง ท้ องถิ่น จึงขึ ้นอยูก่ บั ว่ำก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน หรือ นำยอ�ำเภอในเขตนันๆ ้ เป็ นคนดี มีคณ ุ ธรรม หรื อไม่ จะด�ำเนินกำรประกำศบอกชำวบ้ ำน หรือเอื ้อประโยชน์กบั พวกพ้ อง “ในกำรออกแบบแจ้ งกำรครอบครองทีด่ นิ หรือ ส.ค.1 เกิดกรณี “ส.ค.บิน” จ�ำนวนมำก ซึง่ หมำยถึงกำรน�ำ ส.ค.1 ของทีด่ นิ แปลงหนึง่ ไป ภำพถ่ ำ ยทำงอำกำศจำกกำรศึก ษำและ ตีควำมของนำยแสงชม พจน์สมพงส์ ที่ชำว บ้ ำนใช้ เป็ นหลักฐำนสู้คดี
สารคดีเชิงข่าว ออกโฉนดทีด่ นิ อีกแปลง หรือไม่กน็ ำ� ส.ค.1 ไป เวียนออกโฉนดทีด่ นิ ซ� ้ำหลำยแปลง” ที่ ป รึ ก ษำสหพัน ธ์ เ กษตรกรภำคเหนื อ ล�ำดับเหตุกำรณ์ต่อไปว่ำ หลังจำกนันรั ้ ฐก็มี “โครงกำรเดินส�ำรวจออกโฉนด” หลังกำร แก้ ไ ขประมวลกฎหมำยที่ ดิ น ให้ ป ระชำชน สำมำรถขอออกโฉนดได้ แม้ ไม่มี ส.ค.1 แต่ อำศัยพยำนบุคคลแทน “ในช่วงนี ้จึงเกิดกระบวนกำรสร้ ำงตัวละคร ขึ ้นมำ 3 ตัว หนึง่ เป็ นผู้ครอบครองทีด่ นิ เดิม ซึง่ อำจเป็ นบุคคลทีเ่ สียชีวติ ไปแล้ ว สองเป็ นผู้ขอ ออกโฉนด และสำมเป็ นผู้ปกครองท้ องถิน่ เช่น ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน เทศบำล ฯลฯ ท�ำหน้ ำที่ ให้ กำรรับรองกำรครอบครองที่ดินนัน้ ช่วงนี ้ นำยทุนจะสำมำรถเสำะหำพื ้นทีร่ กร้ ำงในท�ำเล ทีต่ ้ องกำรไปขอออกโฉนดได้ โดยง่ำย แม้ ควำม เป็ นจริงจะไม่เคยท�ำประโยชน์ในทีด่ นิ แปลงดัง กล่ำวมำก่อนเลยก็ตำม เพรำะถ้ ำตรวจสอบ พบว่ำทีด่ นิ นันๆ ้ ไม่ได้ เป็ นทีร่ ฐั หรือถูกประกำศ เป็ นทีป่ ่ ำตำมกฎหมำย เขำก็แค่สร้ ำงหลักฐำน เท็จหรื อตัวละครเช่นที่กล่ำวไปแล้ วขึ ้นมำ ซึง่ ระหว่ำงด�ำเนินกำรอำจต้ องเสียค่ำใช้ จ่ำยสูง กว่ำปกติ ถึงกระนัน้ หำกเทียบกับมูลค่ำทีด่ นิ มหำศำลย่อมคุ้มค่ำต่อกำรลงทุน” เหตุกำรณ์ เช่นนี ้เกิดขึ ้นในหลำยพื ้นที่ทวั่ ประเทศ โดยเฉพำะจังหวัดที่เป็ นแหล่งท่อง เที่ยวที่มลู ค่ำที่ดินทะยำนขึ ้นมหำศำล อำทิ หำดรำไวย์ จังหวัดภูเก็ต, เกำะหลีเป๊ ะ จังหวัด สตูล หรือเกำะยำว จังหวัดพังงำ ข้ อมูลจำก “พีป่ ระยงค์” สอดคล้ องกับค�ำ บอกเล่ ำ ของลุง สมพงศ์ ที่ พ บเห็ น นำยทุ น พยำยำมเข้ ำจับจองพื ้นที่ชว่ งปี พ.ศ. 2496 2497 นอกจำกนัน้ ยังพบว่ำ พ.ศ. 2517 - 2518 ซึง่ เป็ นช่วงเวลำที่เริ่ มมีกำรออกเอกสำรสิทธิ์ ทีด่ นิ ริมคลองตะเกียบ เป็ นจังหวะเดียวกับทีร่ ฐั ประกำศให้ เดินส�ำรวจออกโฉนดอีกด้ วย
คล้ายกันที่ ‘ราไวย์’ เพิ่มศักดิ� มกราภิรมย์ นักวิชำกำรด้ ำน ควำมเหลือ่ มล� ้ำ ตังข้ ้ อสังเกตว่ำ เหตุกำรณ์ที่ นำยทุนออกเอกสำรสิทธิ์ทบั ที่อยู่อำศัยของ ชำวบ้ ำนหำดรำไวย์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มี ค วำมคล้ ำยคลึ ง กั บ ข้ อพิ พ ำทที่ ดิ น เขำ ตะเกี ยบ กล่ำวคือตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2497 รั ฐ ประกำศให้ ออก ส.ค.1 ผ่ำนผู้ปกครองท้ องถิ่น พวกผู้ใหญ่บ้ำนก็หำประโยชน์ใส่ตวั กับพวก พ้ อง ออกโฉนดกันเอง โดยทีช่ ำวบ้ ำนไม่ร้ ูเรื่อง เมือ่ ฟ้องร้ อง ทีแรกศำลก็ให้ น� ้ำหนักกับเอกสำร ทำงรำชกำรฝ่ ำยเดียว แต่ชำวบ้ ำนมีหลักฐำน หลำยอย่ำง ทังพระบรมฉำยำลั ้ กษณ์ทใี่ นหลวง เสด็จประพำสเมือ่ ปี พ.ศ. 2507, ภำพถ่ำยของ มิชชันนำรี ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2495, ต้ นมะพร้ ำว อำยุร้อยกว่ำปี ทังยั ้ งขุดกระดูกในสุสำนชุมชน มำตรวจและพบว่ำมีดีเอ็นเอตรงกับชำวบ้ ำน จนสำมำรถยื นยันได้ หนักแน่นว่ำ พวกเขำ อำศัยอยูบ่ ริ เวณนันมำยำวนำนจริ ้ ง ท�ำให้ คดี ดังกล่ำวพลิก “มีหลำยแห่งเกิดเหตุกำรณ์แบบนี ในอี ้ สำน ก็มี ปั ญหำเกิดจำกกลไกของรัฐทีท่ ำ� ให้ ชำวบ้ ำน เข้ ำไม่ถงึ สิทธิ์ ประกำรแรกคือ ไม่สำมำรถเข้ ำ ถึงข้ อมูล ขณะที่ นำยทุนรู้ หมดว่ำรั ฐมี แผน พัฒนำทีด่ นิ อย่ำงไร บริเวณไหน จนมำถึงกำร
ต่อสู้ปกป้องพื ้นทีส่ ำธำรณะ รัฐก็ปล่อยให้ ชำว บ้ ำนสู้เพียงล�ำพัง กระทัง่ กระบวนกำรยุตธิ รรม มักจะไม่รับฟั งหลักฐำนทำงสังคม วัฒนธรรม และประวัติศำสตร์ สุดท้ ำยนำยทุนมีเงิน มี อ�ำนำจ ก็จ้ำงก็จำ่ ยให้ ฝ่ำยตัวเองชนะคดี”
ราคาที่ดินแพงระยับเทียบชั้นอโศก ข้ อมูลของเทศบำลเมืองหัวหินระบุวำ่ ทุกปี มีนกั ท่องเทีย่ วรำว 3.5 ล้ ำนคนเดินทำงมำเยือน หัวหิน จึงไม่ใช่เรื่ องแปลกที่ที่ดินริ มหำดทุก ตำรำงนิ ้วบริ เวณตัวเมืองหัวหินจะถูกจับจอง เป็ นที่ตงของโรงแรม ั้ รี สอร์ ท คอนโดมิเนียม และบ้ ำนพักตำกอำกำศ โดยในปี งบประมำณ 2557 ส�ำนักงำนที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ สำขำหัวหิน มีรำยได้ จำกกำรเก็บค่ำธรรมเนียม และภำษีรวมกว่ำ 1 พันล้ ำนบำท ขณะทีร่ ำคำ ประเมินทีด่ นิ บริเวณเขำตะเกียบ สูงถึงตำรำงวำละ 100,000 บำท หรือไร่ละ 40 ล้ ำน มนตรี ชูภ่ ู รองนำยกเทศมนตรีเมืองหัวหิน เปิ ดเผยว่ำ กำรท่องเทีย่ วของหัวหินเติบโตอย่ำง ก้ ำวกระโดด โดยเฉพำะ 4 - 5 ปี หลัง น�ำมำซึง่ กำรลงทุนด้ ำนอสังหำริมทรัพย์ ปั จจุบนั หัวหิน มีคอนโดมิเนียมรำว 130 แห่ง หรื อจ�ำนวน 15,000 - 20,000 ยูนติ ซึง่ คำดว่ำไม่เกิน 2 ปี จะมีคอนโดมิเนียมเพิม่ ขึ ้นเป็ น 200 แห่ง “ตอนนี ท้ ี่ ดิ น ที่ ก� ำ ลัง เป็ นที่ ต้ อ งกำรของ นำยทุนคือ ทีด่ นิ ติดทะเลแถวเขำตะเกียบและ หัวนำ เนือ่ งจำกทีด่ นิ ริมทะเลบริเวณตัวเมืองมี เจ้ ำของครอบครองหมดแล้ ว และไม่มีที่โล่ง เหลื อ แล้ ว เพรำะถูก พัฒ นำเป็ นโครงกำร อสังหำริมทรัพย์จนหมดสิ ้น”
รั้วลวดหนามกีดกัน ชาวบ้านจากวิถีเดิม กำรสูญเสียพืน้ ที่ป่ำชำยเลน ท�ำให้ ชำว บ้ ำนต้ องน�ำเรื อประมงไปซ่อมไกลถึงปำกน� ้ำ ปรำณ เสียค่ำใช้ จำ่ ยรำว 3,000 - 5,000 บำท ต่อครัง้ กิจกรรมที่เคยอำศัยควำมช่วยเหลือ เกื ้อกูลกันในวิถีคนเรื อแปรเปลี่ยนไปสูก่ ำรว่ำ จ้ ำงแรงงำน สิง่ ทีห่ ำยไปจึงไม่ใช่เพียงแค่พื ้นที่ ป่ ำสำธำรณะ หำกแต่ ร วมถึ ง พื น้ ที่ ท ำง วัฒนธรรม และควำมสัมพันธ์ระหว่ำงชำวเรือ ส่วนผลกระทบด้ ำนสิง่ แวดล้ อม ลุงสมพงศ์ เล่ำว่ำพอไม่มปี ่ ำชำยเลน ปูก้ำมดำบก็หำยไป น� ำ้ ในคลองตะเกี ย บขุ่น ขึน้ อย่ำ งเห็ น ได้ ชัด เพรำะไม่มรี ำกไม้ คอยดูดซับตะกอนดิน ส่งผล ให้ สตั ว์ทะเลไม่เข้ ำมำวำงไข่ ชำวบ้ ำนจับปูปลำ ได้ น้อยลงและต้ องออกทะเลไปไกลขึ ้น สิ่งที่เกิดขึ ้นที่เขำตะเกียบสอดคล้ องกับที่ สกุ ล เขี ย นด้ ว ง นัก วิ ช ำกำรป่ ำชำยเลน อธิบำยถึงประโยชน์และควำมส�ำคัญของป่ ำชำยเลนว่ำ เป็ นแหล่งอนุบำลสัตว์น� ้ำ หำกถูก ท�ำลำย แม่พนั ธุ์จะขำดแหล่งวำงไข่และบรรดำ ตัวอ่อนจะไม่มีที่หลบภัย เมื่อไม่มีแหล่งพัก อำศัยและหำกิน สัตว์น� ้ำเหล่ำนี ้จะต้ องออกไป หำกินไกลขึ ้นหรือย้ ำยไปอยูท่ อี่ นื่ แทน นอกจำก นี ้ รำกไม้ ซงึ่ เบียดตัวกันอย่ำงหนำแน่นยังช่วย ชะลอกำรไหลของน� ้ำ เปรียบเสมือนตัวกรองที่ ท�ำให้ น� ้ำใส และที่ส�ำคัญที่สดุ คือ แนวป่ ำยัง ช่วยป้องกันคลืน่ ลมและลดกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง กำรสูญเสียป่ ำชำยเลนจึงส่งผลกระทบ มำกเกินกว่ำจะคำดคิด
11 หวังในบั้นปลาย “ไปขึ ้นศำลทุกครัง้ ตังแต่ ้ หดู ี จนตอนนี ้หู ไม่ดีแล้ ว เพื่อนที่ส้ มู ำด้ วยกันเขำก็จำกไปแล้ ว ถึงอย่ำงนันเรำก็ ้ ยงั หวังว่ำอำจจะได้ ป่ำคืน” ลุง หวิลพูดติดตลก แม้ ป่ำชำยเลนเขำตะเกียบในวันนีจ้ ะไม่ เหลือสภำพที่ใกล้ เคียงกับ “ป่ ำ” ในวันวำน หำกแต่ช ำวบ้ ำนยังคงต้ อ งกำรที่ ดิน ทัง้ 14 แปลงกลับคืนมำ โดยวำงแผนจะขุดคลองและ ปลูกป่ ำชำยเลนขึ ้นมำใหม่ ปั นพื ้นที่สว่ นหนึง่ เป็ นลำนจอดรถส�ำหรับนักท่องเที่ยว ส่งเสริ ม กำรท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ให้ คนในหมู่บ้ำนมี รำยได้ ลูกหลำนมีอำชีพ “อำยุปนู นี ้แล้ ว ไม่ร้ ูจะอยูถ่ งึ เมื่อไหร่ อำจ ได้ เห็นเป็ นอีกอย่ำงก็ได้ เพรำะที่ 22 ไร่นนั ้ มี นำยทุนเสนอซื ้อ 500 ล้ ำน เจ้ ำของเขำถม เตรียมแล้ ว รอแต่ทหี่ ลุดคดี” ชำวบ้ ำนยื่นเรื่ องต่อศำลฎีกำไปเมื่อต้ นปี 2557 ฝำกควำมหวังสุดท้ ำยไว้ กบั กระบวนกำร ยุตธิ รรม แม้ ทผี่ ำ่ นมำจะไม่เคยชนะ แต่พวกเขำ ยังไม่ยอมแพ้ เพรำะที่ดินผืนนี ้มีควำมหมำย มำกกว่ำป่ ำชำยเลน เพรำะมันคือประจักษ์ พยำนแห่งวิถีคนเรือชุมชนเขำตะเกียบ
สรุปการวิเคราะห์ ภาพถ่ายทางอากาศ
จำกรำยงำนวิเครำะห์กำรใช้ ประโยชน์ ทีด่ นิ 14 แปลง ริมคลองตะเกียบ ต�ำบล หนองแก อ� ำ เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคีรีขนั ธ์ จัดท�ำโดย นายแสงชม พจน์ สมพงส์ ทะเบียนวิจยั เลขที่ 4546-12-27-1509-07-03-01-21
“ เมือ่ พิจำรณำต�ำแหน่งโฉนดทีด่ นิ ทัง้
14 แปลง บนภำพถ่ ำ ยทำงอำกำศ มำตรำส่วน 1 : 4,000 ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2497 - 2541 รวม 6 ช่วงปี นอกจำกส่วน ใหญ่จะไม่มีร่องรอยกำรท�ำประโยชน์ มำก่อนปี พ.ศ. 2497 แล้ ว จะเห็นได้ วำ่ แนวเขตโฉนดที่ดินมีระยะกันเขตด้ ำน ติดภูเขำไม่ถงึ 20 วำ หรือ 40 เมตร (วัด ได้ ประมำณ 8 - 12 เมตร) และติดคลอง สำธำรณประโยชน์ “คลองตะเกียบ” ไม่ ถึง 10 วำ หรือ 20 เมตร (วัดได้ ประมำณ 0 - 6 เมตร) จึงสรุปได้ วำ่ โฉนดทีด่ นิ ทัง้ 14 แปลงบุกรุ กพื ้นที่ป่ำชำยเลนและ ที่ดินริ มคลองตะเกียบ ตำมประมวล กฎหมำยทีด่ นิ ได้ ระบุวำ่ “พื ้นทีป่ ่ ำชำยเลน พื ้นทีส่ ำธำรณประโยชน์ และพื ้นที่ ลุม่ น� ้ำท่วมถึง ใครผู้ใดจะยึดครองออก เอกสำรสิทธิไ์ ม่ได้ ต้ องกันไว้ เป็ นพื ้นทีใ่ ช้ ประโยชน์ร่วมกันในชุมชน”
” รุ่งทิวา มังกาละ ธนกร สุวรรณรมย์ อินทร์แก้ว โอภานุเคราะห์กุล
12
วัน ที่ ก ระแสอนุรั ก ษ์ พ ลัง งานก� ำ ลัง เป็ น ประเด็ น ที่ ส่ ง เสี ย งดั ง ขึ น้ เรื่ อ ยๆ ส� ำ หรั บ ประเทศไทยก็มกี ารออกนโยบายด้ านพลังงาน เพื่อให้ สอดคล้ องกับกระแสโลกที่ก�ำลังตื่นตัว กับเรื่ องนี ้ การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้ มาให้ ข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์พลังงาน ไฟฟ้าของประเทศในงานสัมมนาสื่อ “Media Watch” จัดโดยคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่ วมกับ กฟผ. ที่ จ.เพชรบุรี เมือ่ ไม่นานมานี ้ ระบุอย่าง ชัดเจนว่า ก�ำลังผลิตไฟฟ้าในช่วง 45 ปี ทผี่ า่ น มานันเพิ ้ ม่ ขึ ้นกว่า 37 เท่าตัว ซึง่ มีแนวโน้ มว่า ในอนาคตก็จะมากขึ ้นเรื่อยๆ แม้ จะเคยมีโครงการอย่าง “ปิ ดไฟให้ โลก พัก” เกิดขึ ้นมา โดยการให้ ทวั่ ประเทศร่วมกัน ปิ ดไฟในช่วง 20.30 น. ถึง 21.30 น. ก็ตาม แต่ ก็ทำ� ให้ เกิดผลในช่วงระยะเวลาสันๆ ้ เท่านัน้ ซึง่ ในแต่ละภูมิภาคก็จะมีการใช้ พลังงานที่แตก ต่างกัน ในภูมภิ าคตะวันตกนัน้ จากสัดส่วนการ ใช้ พลังงานจะอยูท่ ี่ 43 เปอร์ เซ็นต์ สถาบันการศึกษาถือเป็ นอีกหนึง่ ฟั นเฟื อง ที่ จ ะมี บ ทบาทกั บ สัง คมในการขับ เคลื่ อ น ประเด็นการอนุรักษ์ เพื่อน�ำไปสู่การปฏิบตั ิที่ เป็ นรูปธรรม อย่างการตังมหาวิ ้ ทยาลัยเป็ นเขต Green & Clean Campus ของมหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี นโยบายดัง กล่า วอยู่ใ นแผนแม่บทของ มหาวิทยาลัย ให้ ประหยัดพลังงานและรักษา สภาพแวดล้ อม (Clean & Green Campus) ภายในอาณาเขต 621 ไร่ของมหาวิทยาลัย โดย อาคารภายในวิทยาเขตจะสูงไม่เกิน 5 ชัน้ สามารถใช้ บนั ไดติดต่อสัญจรทางตังโดยไม่ ้ ต้ องใช้ ลฟิ ต์ ภายในตัวอาคารจะออกแบบโดย การใช้ หลักการประหยัดพลังงาน ทังในเรื ้ ่ อง การลดความร้ อน การใช้ แสงสว่าง และลม ธรรมชาติ รวมทังการน� ้ ำของเสียและพลังงาน หมุนเวียนมาใช้ ประโยชน์ การวางผังจะให้ รถยนต์จอดที่ด้านหน้ า วิทยาเขต โดยวางแนวทางการสัญจร เน้ นใช้ จักรยาน ทางเดิน และรถไฟฟ้า ซึง่ ถนนทุกสาย รวมทังการเดิ ้ นเท้ าจะมีการปลูกต้ นไม้ ให้ ร่มเงา ส่วนทางเดินติดต่อระหว่างอาคารมีหลังคา คลุมกันแดดและฝน มีคลอง สระน� ้ำ คูน� ้ำ บ่อน� ้ำ และบึง กระจายในต�ำแหน่งทีเ่ หมาะสม
ประชาคมศิลปากร
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
พลังงานในรั้วสีเขียว จากการส� ำ รวจความสอดคล้ องของ นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวนัน้ ทีเ่ ห็นได้ ชดั คือ การใช้ จั ก รยานแทนรถยนต์ ภ ายในพื น้ ที่ วิทยาเขต แต่ผลส�ำรวจการใช้ น� ้ำและไฟฟ้า ภายในมหาวิทยาลัยพบว่า บางห้ องยังเปิ ดไฟ และเครื่องปรับอากาศทิ ้งไว้ หลังเลิกเรียน ภายในหอพักนักศึกษาเองก็ไม่ตา่ งกัน ซึง่ ค่าไฟของหอพักในมหาวิทยาลัยจะค่อนข้ างถูก กว่าปกติ (นักศึกษาทีพ่ กั หอพักในมหาวิทยาลัย โดยส่วนใหญ่จะอยูท่ คี่ นละประมาณ 100 บาท กรณีทไี่ ม่ได้ นำ� อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดอืน่ นอกจาก ทีห่ อมีให้ มาติดเพิม่ ) นอกจากนี ้ ยังมีสว่ นอาคารอื่นๆ ไม่วา่ จะ เป็ นไฟฟ้าส่วนกลาง ไฟรายทางตามถนนเส้ น ต่างๆ อาคารเรียนรวม อาคารเรียนของแต่ละ คณะ ท�ำให้ คา่ ไฟทีท่ างมหาวิทยาลัยต้ องจ่าย นันอยู ้ ท่ ี่ราว 2 ล้ านบาทต่อเดือน ส่วนระบบ จัดการน� ้ำทีใ่ ช้ ภายในมหาวิทยาลัยนัน้ ได้ มที งั ้ การสัง่ น� ้ำจากกรมประปา สูบน� ้ำบาดาล และ ผลิตจาก “หนองจิก” บ่อน� ้ำในมหาวิทยาลัย เพื่ อ ให้ เ พี ย งพอกับ ปริ ม าณการใช้ น� ำ้ 700 ลูกบาศก์เมตรต่อวันด้ วย แน่นอนว่า ค่าใช้ จ่ายเหล่านี ้นัน้ เป็ นสิ่ง ทีท่ างมหาวิทยาลัยรับผิดชอบ จนท�ำให้ ความ “ไม่แพง” กลายเป็ นความเคยชินด้ านลบ ท�ำให้ นักศึกษามองเห็นคุณค่าของพลังงานเหล่านี ้ น้ อยลง และใช้ อย่างฟุ่ มเฟื อย ยศพัทธ์ ทองโฉม นักศึกษาชันปี ้ ที่ 2 ยอมรับ ว่า เป็ นคนหนึง่ ทีอ่ าจจะใช้ ไฟแบบไม่ประหยัด ลืมปิ ดไฟ ดึงปลัก๊ ตอนออกจากห้ องพักบ้ าง หรือเผลอเปิ ดน� ้ำทิ ้งไว้ และท�ำมาจนเป็ นความ เคยชินไปแล้ ว ขณะที่ กนกภรณ์ บุ ญ รั ก ชาติ สาว นิเทศศาสตร์ชนปี ั ้ ที่ 2 ทีอ่ ยูร่ ่วมห้ องกับเพือ่ นอีก 5 คนรู้สกึ ว่า “ตลอดเดือนใช้ ไฟเยอะมาก เปิ ด พัดลม เปิ ดโน้ ตบุ๊กดูหนังและชาร์ ตแบตไว้ ตลอดทังวั ้ น นอนดึก และมักจะเผลอหลับจน ลืมปิ ดไฟอยูเ่ สมอ” แม้ คา่ ไฟเฉลีย่ จะตกอยูท่ ี่ 85 บาทต่อคน แต่ คงจะดีกว่าถ้ าหมัน่ ฝึ กนิสยั การใช้ ทรัพยากร อย่างมีคณ ุ ค่า เวลาว่างในช่วงหลังเธอจึงเลือก หยิบหนังสือเล่มแทนการเปิ ดปุ่ มสตาร์ทหน้ าจอ คอมพิวเตอร์ “อยากให้ มหาวิทยาลัยลองจัดแคมเปญ
หรือโครงการเล็กๆ ขึ ้นมาเพือ่ ร่วมรณรงค์ด้วย” ยศพัทธ์เสนอกิจกรรม ส�ำหรับทางมหาวิทยาลัยเองก็มมี าตรการ ในเรื่องนี ้อยูไ่ ม่น้อย อย่างที่ ผศ.ดาวลอย กาญจนมณี เ สถี ย ร รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขต สารสนเทศเพชรบุรี มองว่า สาเหตุทนี่ กั ศึกษา ฟุ่ มเฟื อยอาจเพราะค่าใช้ จา่ ยในส่วนนี ้ราคาไม่ แพง และรู้ สึก ว่ า ตัว เองไม่ ไ ด้ เ ป็ นเจ้ า ของ ทรัพยากรนันๆ ้ จึงท�ำให้ ละเลยในจุดนี ้ไป “คณาจารย์ในมหาวิทยาลัยได้ ประชุมกัน และทยอยแก้ ไขและปรับปรุงในบางจุด อาทิ มี โครงการระยะยาวของส�ำนักงานมหาวิทยาลัย เอง มีการใช้ ลฟิ ต์สลับกันสองตัว หรือขึ ้นบันได แทนการใช้ ลฟิ ต์ มีระบบตัดแอร์ ทกุ ๆ เทีย่ งวัน และตอน 16.00 น. เป็ นต้ น และตอนนี ้ก็กำ� ลัง จะเปลีย่ นไปใช้ หลอดไฟแบบ LED ซึง่ จะช่วย ประหยัดไฟพอสมควร แต่ราคาของหลอดไฟ นันก็ ้ คอ่ นข้ างสูง จึงต้ องค่อยๆ ปรับเปลีย่ นกัน ไป และยังมีการรณรงค์ งดใช้ โฟมตามร้ าน อาหารในตลาดของมหาวิทยาลัย เปลีย่ นมาใช้ กล่องอาหารทีผ่ ลิตจากกระดาษชานอ้ อยและ เยือ่ ไผ่แทน บางร้ านก็ให้ ใช้ ใบตองรองอาหาร” นอกจากนี ้ ผศ.ดาวลอย ยังเสนอแนวคิด การเก็บค่าน� ้ำวันละ 1 บาท เพือ่ ให้ นกั ศึกษาได้ รู้สกึ ว่าตนเองเป็ นเจ้ าของทรัพยากรนัน้ แต่กย็ งั ไม่ได้ เขียนร่างโครงการเป็ นจริงเป็ นจัง เพราะ ทางมหาวิทยาลัยยังมีก�ำลังเพียงพอกับการ จัด การเรื่ อ งนี อ้ ยู่ เห็ น ได้ ว่า การประหยัด พลังงานไม่ยาก แต่กไ็ ม่งา่ ยจริงๆ
เรืื่องเล่าจากเศษอาหาร อาหารเป็ นแหล่งพลังงานทีน่ อกจากจะใกล้ ตัวเราในแง่ของโภชนาการแล้ ว ระหว่างที่เรา ก�ำลังอร่อยกับมื ้ออาหารระหว่างวัน นัน่ คือการ ลดลงของทรัพยากรอีกทางหนึง่ ด้ วย งานวิจยั ของ อแมนด้ า คูเอลลาร์ (Amanda Cuellar) และไมเคิล เวบเบอร์ (Michael Webber) นักวิทยาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเท็กซัส วิทยาเขตออสติน ซึง่ ตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการ ด้ านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้ อมและเทคโนโลยี (Environmental Science & Technology) พบ ว่า ร้ อยละ 8 - 16 ของการใช้ พลังงานทังหมด ้ ในอเมริ กา ถูกใช้ ไปส�ำหรับการผลิตอาหาร เพียงอย่างเดียว ซึง่ การผลิตอาหารในทีน่ ี ้ไม่ได้ หมายความแค่การปรุงอาหารเพียงเท่านัน้ แต่ หมายถึงการใช้ พลังงานตัง้ แต่ขัน้ ตอนการ ท�ำการเกษตรเพื่อปลูกพืชผล การขนส่ง การ แปรรูป และการขายอาหาร นอกจากนี ้ยังรวม ไปถึงการเก็บรั กษาอาหาร และการเตรี ยม อาหารส�ำหรับรับประทานอีกด้ วย ผลวิจยั ยังพบว่า การทานอาหารแบบเหลือ ทิ ้งโดยเปล่าประโยชน์ของชาวอเมริกนั แต่ละปี ท�ำให้ สญ ู เสียการใช้ พลังงานเทียบเท่ากับการ ใช้ น� ้ำมันกว่า 350 ล้ านบาร์เรลต่อปี หรือเท่ากับ ร้ อยละ 2 ของการใช้ พลังงานทัง้ หมดของ สหรัฐฯ โดยอาหารทีเ่ หลือทิ ้งมากทีส่ ดุ ในแต่ละ วัน ได้ แก่ นม เนย ไข่ ไขมัน เมล็ดข้ าว และ น� ้ำมันท�ำอาหาร ทีนี ้ลองมาดูคา่ เฉลีย่ ของประเทศไทยกัน
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
รายงานจากสถาบันสิง่ แวดล้ อมไทย ระบุ ว่า หากคนไทย 10 ล้ านคน กินข้ าวเหลือ 1 ช้ อน (11 กรั ม) และดื่มน�ำ้ เหลือติดก้ นแก้ ว (20 มิ ล ลิลิต ร) ในหนึ่ง มื อ้ จะท� ำ ให้ สูญ เสี ย น� ำ้ 197,179 ลูกบาศก์เมตร สูญเสียพลังงานไฟฟ้า 15,278 กิ โ ลวัต ต์ สูญ เสี ย น� ำ้ มัน เชื อ้ เพลิง 750.97 ลิตร เกิดขยะทีต่ ้ องบ�ำบัด 73.35 ตัน สูญเสียแร่ธาตุทม่ี ปี ระโยชน์ในดิน 9.12 ตัน และ ปล่อยก๊ าซเรือนกระจก 201.37 ตันคาร์บอน อย่าเพิ่งตกใจ! เพราะที่ โรงอาหารของ มหาวิ ท ยาลั ย ยั ง ไม่ ไ ด้ สู ญ เสี ย ทรั พ ยากร มากมายขนาดนัน้ จินตนา เพียรหาสิน หรือแหม่ม แม่บ้านที่ ดูแลเรื่ องการท�ำความสะอาดภาชนะ และ จัดการเศษอาหารเหลือทิ ้งภายในโรงอาหาร หน้ าหอ 2 ซึง่ เป็ นหนึง่ ในสามโรงอาหารหลัก ของมหาวิทยาลัยบอกว่า “ทีน่ ขี่ ายอาหารทุกวัน เศษอาหารก็เหลือทุกวัน วันหนึง่ เหลือประมาณ ถังขยะถังใหญ่นา่ จะประมาณ 20 กิโลกรัมต่อ วัน รวมทังน� ้ ้ำทังเศษอาหารในถั ้ งเดียวกัน” ส่วนทีโ่ รงอาหารอาคารเรียนรวม 1 ชไมพร กลิน่ พุดตาน แม่บ้านที่ดแู ลรับผิดชอบเผยว่า อาคารแห่งนี ้เปิ ดตังแต่ ้ วนั จันทร์ - เสาร์ จะมีเศษ อาหารเหลือประมาณ 10 กิโลกรัมต่อวัน ส่วน น� ้ำจะแยกไว้ อกี ถัง และอาคารเรียนรวม 2 จะมี ร้ านอาหารเพียง 2 ร้ านคือ ร้ านข้ าวมันไก่ป้าติว๋ กับร้ านก๋วยเตีย๋ วป้าปราณี ซึง่ แต่ละร้ านจะแยก กันจัดการเศษอาหารของร้ านตัวเอง ธนาภา หน่อทอง จากร้ านข้าวมันไก่ ยอมรับ ว่า นักศึกษากินข้ าวเหลือทุกวัน เหลือประมาณ ถุงพลาสติกหูหิ ้วขนาดกลาง ประมาณ 1 - 3 กิ โลกรั มต่อวัน ขณะที่ เศษอาหารจากร้ าน
ประชาคมศิลปากร ก๋วยเตีย๋ ว ปราณี จิตสุภาพ คะเนว่า น่าจะเหลือ วันละ 5 - 7 กิโลกรัม รวมปริมาณเศษอาหารเหลือทิ ้งภายใน 3 โรงอาหารของมหาวิทยาลัยเฉลีย่ แล้ วราว 40 กิโลกรัมต่อวัน โดยการเดินทางของเศษอาหาร นัน้ จุดหมายปลายทางอยู่ที่คนมารับต่ออีก ทอดหนึง่ มีทงน� ั ้ ำไปให้ สนุ ขั ของตนทีเ่ ลี ้ยงไว้ ทัง้ น�ำไปผสมเป็ นอาหารให้ หมูกนิ เหตุผลของอาหารเหลือบนจานของแต่ละ คนอาจจะแตกต่างกันไป แต่เราคงต้ องไม่ลมื ว่า จุดหมายปลายทางของเศษอาหารไม่ว่า จากจานไหนก็มกั จะไปรวมอยูแ่ หล่งเดียวกัน เมื่ อ ปริ มาณของเหลื อ หมายถึ ง จ� ำ นวน ทรัพยากรทีห่ มดไป เมื่อทานข้ าวมือ้ ต่อไป ก็น่าจะท�ำให้ นึก เสียดายมากขึ ้นด้ วย
การเดินทางของขยะ นอกจากเศษอาหารบนโต๊ ะกินข้ าว ขยะถือ เป็ นอีกเรื่องหนึง่ ทีไ่ ม่อาจมองข้ าม ตามรายงานของกรมควบคุมมลพิษ ระบุ ว่า ประเทศไทยมีปริมาณขยะเพิม่ ขึ ้นอย่างต่อ เนือ่ ง โดยปริมาณขยะมูลฝอยทัว่ ประเทศจาก การส�ำรวจในปี 2556 พบว่า ประเทศไทยมี ปริมาณขยะมูลฝอยรวม 26.77 ล้ านตัน เพิม่ ขึ ้นจากปี ที่แล้ ว 2 ล้ านตัน และด้ วยความไม่ พร้ อมของกระบวนการก�ำจัดขยะ ท�ำให้ เมือง ไทยมีขยะมูลฝอยสะสม 19.9 ล้ านตัน ซึง่ มี ขนาดใหญ่เท่ากับ “ตึกใบหยก 2” จ�ำนวน 103 ตึกเรียงต่อกัน ภายในมหาวิ ท ยาลัย ศิ ล ปากรเอง ก็ มี ปริมาณเพิม่ ขึ ้นทุกปี ตามจ�ำนวนของนักศึกษา
ทีม่ ากขึ ้น เยือน พรหมชาติ ผู้รับเหมาเก็บขยะ ให้ กบั มหาวิทยาลัยยืนยันได้ เป็ นอย่างดี เขาเล่าว่า ในแต่ละเดือนมหาวิทยาลัยจะมี ปริมาณขยะราว 4 - 5 ตัน อยูต่ รงสถานทีก่ ำ� จัด ขยะอยูท่ างด้ านหลังของมหาวิทยาลัย ใกล้ ๆ กับบริเวณทีจ่ อดรถราง โดยส่วนใหญ่ขยะจะมา จากภาชนะที่ใช้ ส�ำหรับห่ออาหารที่นกั ศึกษา บริโภค เช่น ถุงพลาสติก โฟม ขวดน� ้ำ และเศษ กระดาษหนังสือ หลังจากนักศึกษารับประทาน อาหารเสร็จเรียบร้ อยเเล้ ว ไม่มกี ารจัดการแยก ขยะ แต่กลับถูกทิ ้งรวมกับขยะทัว่ ๆ ไป การจัดการแยกขยะทีก่ ล่าวมาข้ างต้ น เขา จะจัดการแยกประเภทขยะ โดยขยะเปี ยกและ เศษใบไม้ นำ� ไปท�ำปุ๋ยหมัก สามารถย่อยสลาย เองได้ ตามธรรมชาติ ส่วนถุงพลาสติก โฟมทีใ่ ช้ ห่ออาหาร น�ำไปฝั งกลบ ส�ำหรับขวดน� ้ำ และ ขยะจ�ำพวกกระดาษ หนังสือ น�ำไปขาย ผศ.ดาวลอย เล่าถึงปั ญหาดังกล่าวว่า ที่ ผ่านมาทางมหาวิทยาลัยได้ พยายามรณรงค์ให้ นักศึกษาทิ ้งถังขยะให้ ถกู รวมทังการเก็ ้ บและ ก�ำจัดขยะของมหาวิทยาลัยยังไม่ถกู ต้ อง จึง เป็ นเหตุผลทีท่ ำ� ให้ มหาวิทยาลัยสนใจโครงการ ธนาคารขยะ โดยรูปแบบตัวอย่างโครงการของ มหาวิทยาลัยมหิดลทีร่ บั ซื ้อขยะจากทุกคณะ ที่ มีบคุ ลากร นักศึกษาแยกประเภทขยะ ซึง่ เป็ น แนวทางลดปริมาณขยะ “สาเหตุ ส่ ว นใหญ่ ม าจากนั ก ศึ ก ษา เนือ่ งจากนักศึกษาคิดว่าการทิ ้งขยะทิ ้งให้ ถกู ที่ แต่ไม่ค�ำนึงถึงการแยกชนิดขยะก่อนทิ ้ง การ รณรงค์ทิ ้งให้ ถกู ที่ถกู ถังมีหลายมหาวิทยาลัย ด�ำเนินการแล้ วได้ ผลตอบรับดี เกินความคาด หมาย เช่น ตัวอย่างการรณรงค์มหาวิทยาลัย
13 เทคโนโลยีราชมงคลธนบุรี โดยให้ สโลแกนใน การรณรงค์การแยกขยะว่า ขยะมากจนยาก แยก ช่วยกันตังแต่ ้ แรก คงแยกโดยไม่ยาก ท�ำ TVC และ PRINT AD เพือ่ รณรงค์ให้ นกั ศึกษา คิดก่อนทิ ้งขยะ ทิ ้งให้ ถกู ที่ถกู ถัง อีกตัวอย่าง หนึง่ คือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็ นโครงการ แยกขยะเพื่อพัฒนาภูมิทศั น์ ส�ำนักหอสมุด” นอกจากนี ้ ในอนาคตอาจจะมีนโยบาย การใช้ เรื่ องของ Clean Technology มาใช้ โดยอาศัยความรู้ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ เครื่ องกลมาพัฒนาเรื่ องของการน�ำขยะไปท�ำ เป็ นพลังงานทดแทนได้ โดยเฉพาะการน�ำไป แปรรูปเป็ นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งในความเป็ นจริ งแล้ วขยะกว่าร้ อยละ 70 สามารถน�ำกลับมาใช้ ประโยชน์ใหม่ หรื อ น�ำไปใช้ เป็ นพลังงานได้ ในทางกลับกัน หากน�ำขยะมาแปลงค่า เป็ นหน่ ว ยไฟฟ้ า จากขยะจ� ำ นวน 5 ตัน เท่ากับ 5,000 กิโลกรัม ขยะกิโลกรัมละ 8 บาท คิดเป็ นเงินจ�ำนวน 40,000 บาท ค่าไฟหน่วย ละ 8 บาท แปลงเป็ นค่าพลังงานไฟฟ้าออกมา จะเห็นว่า เราสามารถใช้ ไฟฟ้าได้ ถึง 5,000 หน่วยเลยทีเดียว เมือ่ ทุกคนล้วนเป็ นส่วนหนึง่ ของปัญหาขยะ บนโลกใบนี ก่้ อนทิ ้งจึงควรคิดสักนิด เพราะทีส่ ดุ แล้ว เรื่องขยะไม่ใช่หน้ าทีข่ องใครคนใดคนหนึง่ แต่เป็ นหน้ าทีข่ องเราทุกคนนัน่ เอง เกศราพร เจือจันทร์ ชญานิศ จ�ำปีรัตน์ กาญจนา ปลอดกรรม สกลสุภา กะดังงา ไอรยา โสกขุนทด พสชนัน คนึงหมาย
นศ.ฝั ่ ง เพชรฯโอดรอข้ า วกลางวั น นานร่ ว มชม.
รองอธิการฯรับมีร้านค้าน้อยไป เร่งสร้างโรงอาหารกลาง
“หนังสือพิ มพ์ลูกศิ ลป์ ” ลงพื ้นที่ส�ำรวจ การจัดร้ านอาหารเพือ่ ให้ บริการมื ้อกลางวัน ภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต สารสนเทศเพชรบุรี หลังจากที่นักศึกษา จ� ำ นวนหนึ่ง ร้ องเรี ย นว่ า ต้ อ งต่อ แถวซื อ้ อาหารนานร่ วมครึ่ งชัว่ โมง เนื่องจากร้ าน อาหารมีจำ� นวนน้ อย ซึง่ พบว่า ปั จจุบนั มีโรง
อาหาร 3 แห่ง ได้ แก่ ใต้อาคารเรี ยนรวม 1 มี ร้ านอาหาร 5 ร้ าน ร้ านของว่างและเครื่ องดื่ม 2 ร้ าน ร้ านผลไม้ 1 ร้ าน ใต้อาคารเรี ยนรวม 2 มีร้านอาหาร 2 ร้ าน ร้ านของว่างและเครื่องดืม่ 1 ร้ าน และโรงอาหารบริ เวณหอพัก 2 มีร้าน อาหาร 4 ร้ าน ร้ านของว่างและเครื่ องดื่ม 1 ร้ าน นอกจากนี ้มีร้านสะดวกซื ้อกับร้ านไก่ยา่ ง
ในบริ เวณหอพัก 2 และร้ านก๋วยเตี๋ยวอีกร้ าน บริ เวณหอพัก 1 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากการสอบถาม นักศึกษาส่วนมากระบุตรงกันว่า ช่วงกลางวัน เป็ นช่ ว งที่ ต่ อ แถวซื อ้ อาหารนานที่ สุ ด ประมาณ 30 - 45 นาที ถ้ าเป็ นร้ านข้ าวแกงจะ ได้ ทานเร็ วกว่าร้ านอาหารตามสัง่ ซึง่ บางวัน รอนานถึง 1 ชัว่ โมง ท�ำให้ เข้ าเรี ยนวิชาบ่าย ไม่ทนั นักศึกษาบางคนจึงเลือกซื ้อขนมหรื อ นมทานรองท้ องแทนอาหารจานหลัก นางดาวลอย กาญจนมณี เ สถี ย ร รอง อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต สารสนเทศเพชรบุรี ยอมรับว่า ปั จจุบนั ร้ าน อาหารภายในมหาวิทยาลัยมีไม่เพียงพอต่อ จ� ำ นวนนัก ศึก ษา จึง แก้ ปั ญ หาโดยการขอ ความร่ วมมือจากคณะวิชาต่างๆ จัดตาราง เรียนให้ นกั ศึกษาพักกลางวันไม่พร้ อมกัน แบ่ง เป็ นช่วง 11.00 น. 12.00 น. และ 13.00 น. และขอให้ ผ้ ปู ระกอบการขยายเวลาจ�ำหน่าย อาหารออกไปถึงเวลา 14.00 - 14.30 น. เพื่อ รองรับนักศึกษากลุม่ ท้ ายๆ
“โรงอาหารปั จจุบนั บริ เวณอาคารเรี ยน รวม 1 และ 2 เป็ นเพียงโรงอาหารชัว่ คราว มหาวิทยาลัยก�ำลังเร่งสร้ างโรงอาหารกลาง ซึง่ จะมีร้านค้ าเพิ่มขึ ้น แต่ขณะนี ้ติดปั ญหา ผู้รับเหมาทิง้ งาน จึงเร่ งหาผู้รับเหมาราย ใหม่เข้ ามาด�ำเนินการต่อ โดยตังเป ้ ้ าว่าจะ ให้ เสร็ จทันเปิ ดภาคการศึกษาหน้ า” รอง อธิการบดี กล่าว นายสุริยะ เชาว์วยั หัวหน้ างานสวัสดิการ และกิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี กล่าว ว่า ปั จจุบันมี นักศึกษาที่ อยู่ในวิทยาเขต ประมาณ 3,000 คน โรงอาหารย่อมไม่ สามารถรองรับนักศึกษาทังหมดได้ ้ ในเวลา เดียวกัน อย่างไรก็ดี ทีแ่ ถวยาวมากไม่ได้ เป็ น เพราะร้ านค้ ามีจ�ำนวนน้ อย แต่เป็ นเพราะ นักศึกษาเลือกซื ้ออาหารจากร้ านประจ�ำ แม้ อีกร้ านจะมีคนรอน้ อยกว่า อินทร์แก้ว โอภานุเคราะห์กุล อุบลวรรณ ทองศรีโชติ
ข่าวทั่วไป
14
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
วิกฤต! นอกเมืองหัวหินขาดแคลนน�ำ้ หน้าเทศกาลยิง่ หนัก หยุดไหลยาว 7 วัน
10 ชุมชนรอบเมืองหัวหินวิกฤต น�้ำประปาหยุดไหลบ่อย หน้าเทศกาลยิ่งหนัก หยุดไหลยาว 7 วัน ชาวบ้านโวย เป็นมาเกือบ 10 ปีแล้ว สงสัยกันน�้ำให้ธุรกิจโรงแรมมากกว่า รองนายกฯหัวหินแจงหลายชุมชนตั้งบนพื้นที่ สูง-อยู่ปลายท่อ ส่งน�้ำไปไม่ถึง ยันไม่ ได้กักน�้ำให้ใครโดยเฉพาะ
“ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ลู ก ศิ ล ป์ ” รายงาน สถานการณ์น� ้ำประปาไม่ไหลบ่อยครัง้ บริเวณ นอกเขตเทศบาลเมืองหัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ จ�ำนวน 10 ชุมชน ซึง่ เป็ นมานานเกือบ 10 ปี โดยเฉพาะช่วงวันหยุดเทศกาล บางครัง้ น� ้ำไม่ ไหลติดต่อกันถึง 7 วัน และบางพื ้นทีน่ � ้ำประปา เป็ นตะกอนสีเข้ ม โดยนางวรรณภา ชมชื่น ผู้ประกอบการ ร้ านขายของช� ำ ในพื น้ ที่ ชุม ชนตะวัน สี ท อง ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ กล่าวว่า ตนอยูท่ ี่นี่มา 8 ปี พบว่า ตังแต่ ้ แรกน� ้ำประปา ไม่ไหลสัปดาห์ละ 2 - 3 วัน และมักมีเศษสนิม ปนมากับน� ้ำ ส่วนช่วงวันหยุดยาว น� ้ำไม่ไหล นานเกือบ 7 วัน จะกลับมาใช้ ได้ ชว่ ง 02.00 03.00 น. ซึง่ ไม่คอ่ ยมีใครใช้ น� ้ำแล้ ว ท�ำให้ ต้อง ซื ้อน� ้ำจากเอกชน ส่วนช่วงฝนตกหนัก น� ้ำจะมี สีแดงขุน่ คล้ ายโคลน แม้ ชาวบ้ านจะร้ องเรี ยน ไปยังเทศบาลเมืองหัวหิน แต่ก็ไม่ได้ รับการ แก้ ไขอย่างจริ งจัง ไม่แน่ใจว่าเทศบาลกันน� ้ำ ประปาไว้ ให้ ผ้ ูประกอบการโรงแรมมากกว่า บ้ านเรื อนหรื อไม่ ด้ านนายกุลฉัตร เรียนเมฆ เจ้ าของกิจการ โรงน� ำ้ แข็งกุลฉัตร ชุมชนบ่อฝ้าย ต.หัวหิน อ.หัว หิ น จ.ประจวบคี รี ขัน ธ์ กล่า วว่า น� ำ้ ประปาหยุดไหลบ่อยส่งผลให้ ต้องเสียค่าใช้ จ่ายเพิ่มถึง 6,000 บาทต่อวัน เพื่อซื ้อน� ้ำจาก เอกชนมาผลิตน� ้ำแข็ง และยังเสียค่าสารเคมี
ส�ำหรับท�ำความสะอาดน� ้ำดิบเพิ่มอีกด้ วย ส่วนนางยง กมลปราโมทย์ ชาวบ้ านที่ อาศัยอยู่ในพืน้ ที่ชุมชนสมอโพรง ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ นานกว่า 70 ปี กล่าวว่า ในอดีตปั ญหาขาดแคลนน� ้ำประปา ไม่ได้ เกิดขึน้ เป็ นวงกว้ างเท่านี ้ แต่เมื่อเมือง ขยายตัว ประกอบกับชาวบ้ านต้ องย้ ายออก มาอาศัยอยู่รอบนอก เพราะที่ดินในตัวเมือง แพง บริ เวณนี ้จึงประสบปั ญหาน� ้ำประปาไม่ ไหลมาโดยตลอด ด้ านวิศวกรซึง่ รับผิดชอบดูแลระบบต่างๆ ของโรงแรมขนาดกลางแห่งหนึง่ ใจกลางเมือง หัวหิน ให้ ข้อมูลว่า โดยปกติโรงแรมจะมีถงั เก็บ น� ้ำขนาดใหญ่ 2 ถัง เพื่อเก็บน� ้ำส�ำรองไว้ ใช้ ภายในโรงแรม โดยเฉพาะเดือนมีนาคมถึง มิถนุ ายนทีน่ � ้ำในเขือ่ นแห้ งมาก และการจัดการ น� ้ำของโรงแรมอืน่ ก็มลี กั ษะคล้ ายคลึงกัน นายมนตรี ชู ภู่ รองนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองหัวหิน ชี ้แจงว่า อ.หัวหินไม่มี แหล่งน� ้ำจืดของตนเอง ต้ องน�ำน� ้ำดิบมาจาก เขื่อนปราณบุรีและเขื่อนเพชรบุรี โดยน� ้ำจาก เขื่อนเพชรบุรีจะต้ องผ่านพื ้นที่การเกษตรและ หมูบ่ ้ านก่อนจะถึง อ.หัวหิน ทังนี ้ ้ในพื ้นที่ที่น� ้ำ ไม่คอ่ ยไหลเพราะตังอยู ้ ่หา่ งไกลและอยู่บนที่ สูง รวมถึงอยูป่ ลายท่อส่งน� ้ำ ส่วนปั ญหาท่อประปาแตกเพราะมีอายุ การใช้ งานมานานกว่า 50 ปี นัน้ พบกระจาย
ตัวทัว่ ทัง้ อ.หัวหิน และในเขตก่อสร้ างซึง่ รถตัก ดินมักขุดไปโดน “ยืนยันว่าเทศบาลดูแลการกระจายน� ำ้ ประปาอย่างทัว่ ถึง โดยผลิตน� ้ำประปาได้ วนั ละ 60,000 คิว รองรับประชากรได้ 3 แสนคน ขณะที่ หัว หิ น มี ป ระชากร 56,000 คน มี ประชากรแฝง 2 แสนคน มีนกั ท่องเที่ยวเฉลี่ย 2 แสนคนต่อเดือน หากนักท่องเที่ยวเยอะใน วันหยุดยาว สามารถเพิ่มก�ำลังการผลิตได้ อีก” นายมนตรี กล่าว นายมนตรี กล่าวอีกว่า ใน 6 เดือนข้ าง หน้ า จะใช้ งบประมาณ 24 ล้ านบาท ติดตัง้ ปั๊ มน� ้ำที่ชมุ ชนสมอโพรง เพื่อให้ มีแรงผลักน� ้ำ ไปถึงพื ้นที่ ส่วนระยะยาวจะสร้ างสถานีจ่าย น� ้ำบนภูเขาที่ชมุ ชนสมอโพรง ใช้ งบประมาณ 14 ล้ านบาท คาดว่าจะเสร็ จในปี 2558 เมื่อถามถึงกรณี ที่มีการระบุว่า โรงแรม บางแห่งเสียค่าใช้ จ่ายให้ เทศบาลปล่อยน�ำ้ ประปามาให้ อ่ า งเก็ บ น� ำ้ ที่ ส่ ง ถึ ง โรงแรม โดยตรงเพื่อให้ เพียงพอส�ำหรับการบริ การนัก ท่องเที่ยว นายมนตรี กล่าวว่า ไม่มีการกักน� ้ำ ให้ ใครโดยเฉพาะ แต่โรงแรมส่วนใหญ่ตงอยู ั้ ่ ในพื ้นที่ที่น� ้ำไปถึงอยูแ่ ล้ ว ชญานิศ จ�ำปีรัตน์ ณัฐกานต์ เจริญขาว วราภัสร์ มาลาเพชร ภัทรานิษฐ์ จิตส�ำรวย
นอกเมืองหัวหินขาดน�ำ้ ประปา แม้ผลิตได้มากกว่าที่ใช้ 2 เท่า? ในรอบ 5 ปี ทผี่ า่ นมา เมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ขยายตัวแบบก้ าวกระโดด มีโรงแรม รี สอร์ ต สนามกอล์ฟ สวนน� ้ำ คอนโดมิเนียม บ้ านจัดสรร และศูนย์การค้ า ผุดขึ ้น มาเป็ นดอกเห็ด ขณะที่ผงั เมืองหัวหินหมดอายุไป ตังแต่ ้ ปี 2547 หรื อ 10 ปี ที่แล้ ว ท�ำให้ เมืองขยายตัวอย่างไร้ ทิศทาง แผนพัฒนา 3 ปี (พ.ศ. 2558 - 2560) ของเทศบาลเมือง หัวหิน ระบุข้อมูลที่นา่ สนใจเกี่ยวกับการประกอบการด้ าน อุตสาหกรรมและการพาณิชย์วา่ ปั จจุบนั ในพื ้นที่มีโรงงาน อุตสาหกรรม 28 แห่ง โรงแรม 268 แห่ง (อยู่ระหว่างขอ อนุญาตอีก 25 แห่ง) ร้ านอาหาร 72 แห่ง โรงภาพยนตร์ 1 แห่ง สวนน� ้ำ 3 แห่ง ห้ างสรรพสินค้ า 3 แห่ง รวมทังสนาม ้ กอล์ฟและคอนโดมิเนียมขนาดใหญ่อีกจ�ำนวนหนึง่ จ�ำนวนประชากรเมืองหัวหินเฉพาะในทะเบียนราษฎร์ ล่าสุดมีจ�ำนวน 56,562 คน 44,921 ครัวเรื อน เพิม่ ขึ ้นเกือบ 8,000 ครั วเรื อน ในรอบ 5 ปี และประชากรแฝงเกื อบ 200,000 คน ผลที่ตามมาคือ ความขัดแย้ งด้ านทรั พยากรและสิ่ง แวดล้ อ ม ไม่ ว่ า จะเป็ นน� ำ้ เสี ย จากโรงงานและสถาน
ประกอบการท่องเที่ยว ตลอดจนปั ญหาการก�ำจัดขยะ โดยเฉพาะปั ญหาการขาดแคลนน� ้ำประปาในพื ้นที่รอบ นอกเขตเทศบาล บางพื ้นที่น� ้ำไหลๆ หยุดๆ สัปดาห์ละ 2 - 3 วัน ซ� ้ำซากมานานกว่า 10 ปี อย่างไรก็ดี เมื่อตรวจสอบข้ อมูลจากแผนพัฒนาดังกล่าว กลับระบุว่า เทศบาลผลิตน� ำ้ ประปาได้ ปริ มาณ 67,870 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน มีความต้ องการใช้ น� ้ำประปา 52,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ส่วนครัวเรือนทีต่ ้ องใช้ น� ้ำประปามีทงสิ ั ้ ้น 28,243 ครัวเรื อน แผนดังกล่าวยังระบุภาพรวมว่า ปริ มาณน� ้ำที่ผลิตได้ ใน ปี 2557 คือ 24 ล้ านลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ ้นจากเมื่อ 5 ปี ก่อน ถึง 9.4 ล้ านลูกบาศก์เมตร จ�ำหน่ายไป 12.4 ล้ านลูกบาศก์ เมตร เพิ่มขึ ้น 2.1 ล้ านลูกบาศก์เมตร หมายความว่า มีการผลิตน�ำ้ ประปาได้ มากขึน้ และ มากกว่ าปริมาณที่ใช้ ไปถึง 2 เท่า แต่ ทำ� ไม 10 ชุมชนนอก เขตเทศบาลยังประสบปั ญหาการขาดแคลนน�ำ้ ประปา? แม้ แผนการพัฒนาจะก�ำหนดโครงการเร่ งด่วนปี พ.ศ. 2558 - 2560 ในข้ อ 2 เอาไว้ วา่ “ปรับปรุงระบบน� ้ำประปาให้
มีคณ ุ ภาพและเพียงพอ โดยเพิ่มปริ มาณน�ำ้ ดิบและเพิ่ม ก�ำลังการผลิตน� ้ำประปา” โดยมีโครงการในส่วนนี ้ 32 โครงการ ใช้ งบประมาณ จากรายได้ เทศบาล 110 ล้ านบาท และจากเงินอุดหนุน 1,420 ล้ านบาท ได้ แก่ สร้ างถังเก็บน� ้ำประปาเขาแล้ ง สร้ าง สถานี โ รงสูบ น� ำ้ ย่ อ ยสมอโพรง ปรั บ ปรุ ง ระบบผลิ ต น� ำ้ ประปาด�ำเนินเกษม ปรับปรุงสถานีจา่ ยน� ้ำเขาเต่า สร้ างโรง สูบน� ้ำเพื่อสูบน� ้ำดิบจากเขื่อนเพชรบุรี วางท่อน� ้ำดิบจาก เขื่ อ นปราณบุ รี ม าหั ว หิ น สร้ างระบบผลิ ต น� ำ้ ประปา ชลประทาน (แพไม้ ) สร้ างสระส�ำรองน� ้ำดิบ และปรับปรุง วางท่อเมนและท่อจ่ายน� ้ำใหม่ ถึงกระนัน้ การทีต่ วั เมืองหัวหินมีการขยายตัวทางธุรกิจ ท่องเที่ยว จนเกิดการกระจุกตัวของประชากร ท�ำให้ ที่ผา่ น มามีชาวบ้ านตังข้ ้ อกังขาว่า น� ้ำที่ผลิตได้ สว่ นใหญ่ถกู ดึงไป ใช้ ในตัวเมืองหรือมีการกักเก็บน� ้ำเพือ่ แบ่งเอาไว้ ให้ ภาคส่วน ใดเป็ นพิเศษหรื อไม่ กระทัง่ เกิดปั ญหาการขาดแคลนน� ้ำใน เขตพื ้นที่รอบนอกเสมอมา
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
การศึกษา
15
รร.กวดวิชาไม่ ได้มาตรฐานความปลอดภัย สช.ลัน่ สัง่ ยุบหากไม่แก้ ไข พบโรงเรียนกวดวิชาย่านงามวงศ์วานและวงเวียนใหญ่ อุปกรณ์รักษาความ ปลอดภัยในอาคารไม่ครบ ด้านสช.รับพบปัญหาจริง เตรียมสัง่ ยุบหากไม่แก้ ไข ส่วน เทศบาลนนทบุรี ไปคนละทาง ระบุยงั ไม่ ได้ตรวจเพราะไม่มผี รู้ อ้ งเรียน ขณะทีผ่ ดู้ แู ล อาคารอ้างก�ำลังจัดซ่อมอยู่ ด้านเจ้าของกวดวิชาชีร้ ฐั ไม่เอาจริง แค่สมุ่ ตรวจ
“หนังสื อพิ มพ์ ลูกศิ ลป์ ” ลงพื ้นที่ส�ำรวจ ความปลอดภัยโรงเรียนกวดวิชาใน กทม.และ จ.นนทบุรี เมือ่ กลางเดือนตุลาคมทีผ่ า่ นมา กลุม่ ตัวอย่าง 3 แห่ง ได้ แก่ อาคารพาณิชย์ 5 ชัน้ ตรง ข้ ามศูนย์การค้ าเดอะมอลล์งามวงศ์วาน ทีต่ งั ้ โรงเรียนกวดวิชา 7 โรงเรียน อาคารวรรณสรณ์ ย่านพญาไท ความสูง 14 ชัน้ ทีต่ งโรงเรี ั ้ ยนกวด วิชาทังหมด ้ 18 โรงเรียน และอาคารเอ็มเพลส ย่านวงเวียนใหญ่ ความสูง 4 ชัน้ ทีต่ งโรงเรี ั ้ ยน กวดวิชาทังหมด ้ 13 โรงเรียน โดยอาศัยเกณฑ์ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร ว่าด้ วยมาตรการใน การป้องกันอัคคีภยั ในโรงเรียนกวดวิชา ผลการส�ำรวจพบว่า กลุม่ ตัวอย่าง 2 ใน 3 แห่ง มีอปุ กรณ์ รักษาความปลอดภัยไม่ครบ ตามที่ ก ฎหมายก� ำ หนด โดยอาคารย่ า น งามวงศ์วาน ไม่มไี ฟส่องสว่างส�ำรองและป้าย บอกทางเดินขณะเพลิงไหม้ ไม่มีสญ ั ญาณ เตือนภัย ไม่มีแผนผังอาคารบอกทางหนีไฟ และขนาดบันไดขึ ้นลงแคบกว่า 1.2 เมตร ส่วน อาคารย่านวงเวียนใหญ่ ไม่มปี ้ ายเรืองแสงและ แผนผังอาคารบอกทางหนีไฟ มีเพียงอาคาร ย่านพญาไททีม่ อี ปุ กรณ์รักษาความปลอดภัย ครบถ้ วนตามกฎกระทรวง นายพี ร ะศัก ดิ์ รั ต นะ รองเลขาธิ ก าร ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการศึกษา เอกชน (สช.) กล่าวว่า การตังโรงเรี ้ ยนกวดวิชา ต้ องขออนุญาต สช. และอาคารต้ องสร้ างขึ ้น เพือ่ การศึกษาเท่านัน้ ตามกฎกระทรวงว่าด้ วย การขอรั บใบอนุญาตให้ จัดตัง้ โรงเรี ยนนอก ระบบ พ.ศ. 2555 ส่วนกรณีใช้ อาคารทีต่ งขึ ั ้ ้น ก่อนหน้ าและเช่าท�ำโรงเรียนกวดวิชา ต้ องเพิม่ อุปกรณ์รกั ษาความปลอดภัย เช่น บันไดหนีไฟ ไฟส่องสว่างส�ำรอง เครื่องตรวจจับควันไฟ รวม ถึงต้องรับน� ้ำหนักอย่างน้ อย 300 - 350 กก. ตาม ระเบียบมาตรฐานความปลอดภัยในโรงเรี ยน กวดวิชาของกฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) โดย สช.ร่วมกับเขตหรือเทศบาล และฝ่ ายวิศวกร โยธาจะตรวจสอบมาตรฐานก่อนทีจ่ ะอนุญาต “สช.ตรวจทุกทีป่ ี ละครัง้ ย่านงามวงศ์วาน และวงเวียนใหญ่ พบว่ามีปัญหาเล็กน้ อย เช่น ไม่ตดิ ตังถั ้ งดับเพลิง จึงได้ แนะน�ำให้ แก้ ไข แล้ ว จะไปตรวจอีกครัง้ ถ้ าพบว่าหากไม่แก้ ไขจะ จัดการยุบโรงเรียน” นายพีระศักดิ์ กล่าว นายวัฒนชัย วิทยาประดิษฐ์ สถาปนิก ส�ำนักงานช่างหน่วยงานควบคุมดูแลผังเมือง เทศบาลนนทบุ รี กล่ า วว่ า อาคารย่ า น งามวงศ์วานดังกล่าวตังก่ ้ อนปี 2555 เทศบาลจึง ตรวจเฉพาะการรับน� ้ำหนักของตัวอาคาร ซึง่ ผ่าน มาตรฐานตามระเบียบความปลอดภัยโรงเรียน กวดวิชา 2540 แต่ไม่ได้ ตรวจว่ามีอปุ กรณ์เตือน
อัคคีภยั หรื อไม่ เพราะต้ องมีผ้ รู ้ องเรี ยนไปยัง สช.ก่อน จึงจะแจ้ งให้ เทศบาลไปตรวจ ด้ านนายจีระพันธ์ วงศ์พรม เจ้ าหน้ าทีด่ แู ล ความปลอดภัยโรงเรียนกวดวิชาในอาคารย่าน งามวงศ์ ว าน แย้ ง ว่า ไม่ส ามารถกล่า วหา โรงเรี ยนได้ เพราะติดตังอุ ้ ปกรณ์ครบตามกฎ ระเบียบการจัดตังโรงเรี ้ ยนกวดวิชา กรณีทไี่ ม่ เห็นอุปกรณ์คอื อยูใ่ นขณะจัดซ่อม ส่วนนางกัลยา สุภผลถาวร ผู้ปกครองของ นัก เรี ย นที่ ม าเรี ย นกวดวิ ช าในอาคารย่ า น งามวงศ์วาน กล่าวว่า ให้ ลกู เรียนทีน่ เี่ พราะใกล้ บ้ าน และไม่ได้ กงั วลเรื่องความปลอดภัยในตัว อาคารมากนัก เพราะยังไม่เคยเกิดเหตุไฟไหม้ ขณะที่นายอนุสรณ์ ศิวะกุล ประธานผู้ บริหาร บริษทั วรรณสรณ์ อาคารวรรณสรณ์ยา่ น พญาไท กล่าวว่า ได้ ปฏิบตั ิตามระเบียบของ กระทรวงศึกษาธิการ อย่างไรก็ดี ทราบว่า สช.จะ สุม่ ตรวจปี ละครัง้ เฉพาะโรงเรียนทีม่ ปี ั ญหา ซึง่ การท�ำงานของ สช.ไม่จริงจัง ท�ำให้ เกิดช่องโหว่ ล่าสุดส�ำหรับอาคารเอ็มเพลสย่านวงเวียน ใหญ่ นายนัธพันธ์ ทองสุวรรณ เจ้ าหน้ าทีด่ แู ล อาคารเอ็มเพลสย่านวงเวี ยนใหญ่ ระบุว่า สช.ได้ เข้ ามาตรวจเมือ่ กลางเดือนพฤศจิกายน ที่ผา่ นมา และโรงเรี ยนได้ ตดิ ตังอุ ้ ปกรณ์เตือน อัคคีภยั เพิม่ แล้ ว ผู้สอ่ื ข่าวจึงได้ สอบถามไปยัง สช.อีกครัง้ ก็ได้ รับยืนยันว่า ได้ ตรวจสอบการ แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ดัง กล่า ว และอนุมัติ ใ ห้ ผ่ า น มาตรฐานความปลอดภัยแล้ ว
นาฏศจี ศรีเมือง
ธุ ร กิ จ โรงเรี ย นกวดวิ ช าเม็ ด เงิ น สะพั ด การสอบแข่งขันเข้ ามหาวิทยาลัยถือ เป็ นช่วงเวลาส�ำคัญครัง้ หนึง่ ในชีวิตของ นักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่จะเลือก ทางเดินของตนเองในอนาคต แต่ละปี มี ผู้เข้ าสอบกว่า 120,000 คน แต่ที่นงั่ ใน สถาบัน อุด มศึ ก ษาของรั ฐ นัน้ มี เ พี ย ง 80,000 ที่นั่ง เมื่อบรรดานักเรี ยนต้ อง เตรี ยมความพร้ อมสูงสุดเพื่อเข้ าสูส่ นาม โรงเรียนกวดวิชาจึงกลายเป็ นสถานทีต่ วิ เข้ ม เพื่อส่งให้ พวกเขาไปถึงเป้าหมาย ท�ำให้ โรงเรียนกวดวิชาผุดขึ ้นจ�ำนวนมาก มารองรับการแข่งขันครัง้ นี ้ ศูนย์วิจยั กสิกรไทยประมาณการว่า ปี 2557 ธุรกิจการศึกษาเพื่อเสริ มความ รู้ และทั ก ษะมี มู ล ค่ า ตลาดประมาณ 19,275 ล้ านบาท แบ่งเป็ นธุรกิจกวดวิชา ร้ อยละ 87 ส่วนอีกร้ อยละ 13 เป็ นธุรกิจ เสริ มความรู้และทักษะอื่นๆ
ทังนี ้ ้ คาดว่าในปี 2558 ภาพรวมธุรกิจ การศึกษาจะเติบโตขึ ้นอีกร้ อยละ 15 ขณะเดียวกัน มีข้อมูลจากส�ำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริ มการศึกษาเอกชน (สช.) ระบุวา่ ปี 2557 มีโรงเรียนกวดวิชาทัง้ ประเทศรวม 2,342 แห่ง แบ่งเป็ นในกรุงเทพฯ 565 แห่ง และต่างจังหวัด 1,777 แห่ง หาก เทียบย้ อนหลังในช่วง 3 ปี ทผี่ า่ นมา จะพบว่า โรงเรียนกวดวิชาในต่างจังหวัด เพิม่ จ�ำนวน ขึ ้นอย่างรวดเร็ว (จากปี 2554 มีประมาณ 1,300 แห่ง) แสดงให้ เห็นถึงเม็ดเงินที่เดิน สะพัดในด้านการศึกษา ซึง่ ไม่ใช่เพียงแค่เด็ก ใน กทม. แต่รวมถึงเด็กต่างจังหวัดทีใ่ ห้ ความ ใส่ใจเรื่องการศึกษาเพิม่ ขึ ้นอย่างต่อเนือ่ ง สช.ยังได้ ประมาณการค่าใช้ จ่ายของ นักเรี ยนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่จ่ายไป ส�ำหรับค่าเรี ยนกวดวิชา โดยในปี 2557 ครอบคลุม 7 วิชา ทีใ่ ช้ สอบเข้ ามหาวิทยาลัย
ได้ แก่ วิชาภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษา อังกฤษ ฟิ สกิ ส์ เคมี ชีวะ และคณิตศาสตร์ เฉลี่ ย 1 ภาคการศึก ษา เฉลี่ ย หัว ละ 16,738 บาท คาดว่า ปี 2558 จะสูงขึ ้น เป็ น 17,763 บาท จากข้ อมูลทังหมดที ้ ่กล่าวมา ไม่ว่า จะเป็ นมูลค่าตลาดของโรงเรียนกวดวิชา จ� ำนวนโรงเรี ยนกวดวิชาทั่วประเทศที่ เพิ่มขึ ้น และค่าใช้ จา่ ยต่อหัวในการเรี ยน แต่ละภาคการศึกษาที่สงู เฉียด 20,000 บาทต่อภาคการศึกษา สะท้ อนให้ เห็นถึง การใช้ จา่ ยเพือ่ เพิม่ ความมัน่ ใจในการลง สู่สนามสอบเข้ ามหาวิทยาลัย และอีก ด้ า นหนึ่ง ยัง สะท้ อ นถึ ง ระบบโรงเรี ย น ปกติที่ล้มเหลว น�ำไปสูค่ วามเหลื่อมล� ้ำ ทางการศึกษา ที่บ้านไหนมีเงินมากกว่า ก็มโี อกาสติดอาวุธให้ ลกู หลานได้ สงู กว่า ด้ วยเช่นกัน
16
สุขภาพ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
โจ๋ ไ ทยเสี ่ ย งติ ด เอชไอวี เ พิ ่ ม นักวิชาการแนะสอนวิธปี อ้ งกันดีกว่าปิดกัน้ เรือ่ งเพศ
หรื อ สั่ง ห้ า มมี เ พศสัม พัน ธ์ เ ป็ นสิ่ ง ที่ ขัด กั บ ธรรมชาติ จึงควรสอนให้ วยั รุ่นรู้จกั วิธปี ้ องกันตัว เองจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และชี ้ให้ เห็น ถึงปั ญหาทีอ่ าจตามมาจะเหมาะสมกว่า นายนิมติ ร์ เทียนอุดม คณะกรรมการหลัก ยูนิเซฟเผยวัยรุ่นไทยเสี่ยงติดเชื้อเอชไอวีมากขึ้น เหตุเพราะขาดทักษะควบคุม อย่างไรก็ดี ยังติดขัดเรื่องงบประมาณเพราะงบ ประกันสุขภาพแห่งชาติ และผู้อ�ำนวยการ สถานการณ์เสีย่ ง นักวิชาการชีต้ อ้ งสอนวิธปี อ้ งกันตัวเองมากกว่าปิดกัน้ เรือ่ งเพศ ร้ อยละ 90 ถูกทุม่ ไปกับการรักษากลุม่ ผู้ตดิ เชื ้อ มูลนิธิเข้ าถึงเอดส์ กล่าวว่า ความเชือ่ ทีว่ า่ กลุม่ “สังคมไทยปิ ดกันเรื ้ ่องเพศยังค่อนข้ างมาก เพศทางเลือกเป็ นผู้แพร่เชื ้อเอชไอวีเป็ นมายา“หนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์ ” รายงานว่า องค์การ สัมพันธ์ ใกล้ ชิดและได้ รับการสนับสนุนจาก อยูเ่ มื่อเทียบกับประเทศแถบตะวันตก ท�ำให้ คติ แม้ กลุม่ เพศทางเลือกมีอตั ราการใช้ ถงุ ยาง ยูนเิ ซฟ แห่งประเทศไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัย ครอบครัวมีแนวโน้ มทางพฤติกรรมที่มีความ วัยรุ่นไม่กล้ าขอความรู้จากผู้ใหญ่ในเรื่ องเพศ อนามัยต�ำ่ กว่ากลุม่ อืน่ จริง แต่ยงั ไม่มผี ลชี ้วัดที่ แต่กลับไปลองผิดลองถูกเอง ปั จจุบนั ยังพบว่า ชัดเจน นอกจากนี ้ควรแก้ ไขกฎหมายอนุญาต ธรรมศาสตร์ เปิ ดเผยรายงานวิ เ คราะห์ เสีย่ งน้ อยกว่า สถานการณ์ และปั จจัยที่มีผลต่อการติดเชื ้อ นางเครือทิพย์ จันทร์ ธานีวฒ ั น์ นักวิชาการ มีการใช้ เครื อข่ายสังคมออนไลน์ในการหาคู่ ให้ ทกุ คนสามารถเข้ ารับการตรวจเลือดได้ อย่าง เอชไอวีของกลุม่ เยาวชนในประเทศไทย เมื่อ สาธารณสุขช�ำนาญการ ประจ�ำส�ำนักโรคเอดส์ นอน หรื อซื ้อบริ การทางเพศได้ สะดวกยิ่งขึ ้น เสรี เพือ่ ให้ เยาวชนเข้ าถึงการตรวจได้ งา่ ยขึ ้น นางเพียงใจ หงษ์ทอง ครูชำ� นาญการพิเศษ เดือนเมษายน 2557 ว่า ผู้ติดเชื ้อเอชไอวีใน วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรม และกลุ่มชายรั กชายที่มีเพศสัมพันธ์ โดยไม่ ประเทศไทยมีจ�ำนวนลดลง อย่างไรก็ดี พบว่า ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยอมรับว่า ป้องกันก็มีโอกาสเสี่ยงสูงมากในการติดเชื ้อ” โรงเรียนนารีนกุ ลู จังหวัดอุบลราชธานี ซึง่ สอน วิชาสุขศึกษามากว่า 25 ปี กล่าวว่า วัยรุ่นมี วัยรุ่นไทยเสี่ยงติดเชื ้อเอชไอวีมากขึ ้น เพราะ เดิ ม ไม่ไ ด้ ค าดการณ์ ว่า เชื อ้ เอชไอวี จ ะแพร่ นางเครือทิพย์ กล่าว นางอัจฉรา พุม่ มณีกร ผู้เชีย่ วชาญเฉพาะ ธรรมชาติทอี่ ยากรู้จกั เพือ่ นต่างเพศ จึงต้ องให้ ขาดทักษะในการควบคุมสถานการณ์ เสี่ยง ระบาดในกลุม่ วัยรุ่น ผนวกกับในช่วงแรกต้ อง อายทีจ่ ะซื ้อถุงยางอนามัย และการเข้ าถึงการ เร่งควบคุมการระบาดในกลุม่ วัยผู้ใหญ่อายุ 25 ด้ านครอบครัว ประจ�ำส�ำนักงานกิจการสตรี ความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันปั ญหาที่อาจเกิด ตรวจเชื ้อเอชไอวีเป็ นเรื่องทีล่ ำ� บาก เพราะต้ อง ปี ขึ ้นไป ซึง่ มีโอกาสเสีย่ งสูงกว่า แต่ในขณะนี ้ได้ และสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนา จากการมีเพศสัมพันธ์มากกว่าไปห้ าม และต้ อง ได้ รั บ การยิ น ยอมจากผู้ป กครองก่ อ น แต่ ประสานกับกระทรวงศึกษาธิการจัดหลักสูตร สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กล่าวว่า ปลูกฝั งการเคารพศักดิศ์ รีความเป็ นมนุษย์กบั เยาวชนจ�ำนวนมากไม่กล้ าแจ้ งผู้ปกครอง และ เพศศึก ษา และสนับ สนุน งบประมาณจัด ครอบครั ว ควรมองว่ า เรื่ อ งเพศเป็ นเรื่ อ ง ทุกคนไม่ให้ ละเมิดสิทธิร่างกายผู้อน่ื ยังมีปัจจัยอื่นๆ เช่น การดื่มเครื่ องดื่มมึนเมา กิจกรรมให้ วยั รุ่นตระหนักถึงปั ญหาการมีเพศ ธรรมชาติเพื่อให้ ค�ำปรึ กษากับบุตรหลานได้ ธนกร สุวรรณรมย์ และการใช้ สารเสพติด ส่วนเยาวชนที่มีความ สั ม พั น ธ์ ที่ ไ ม่ ป้ องกั น ภายในสถานศึ ก ษา อย่างตรงไปตรงมา การห้ ามคบเพือ่ นต่างเพศ
บุคคลออทิสติกขอรับ
สิทธิเ์ พียงร้อยละ 4 เผยจ�ำนวนบุคคลออทิสติกในไทยล่าสุดเกือบ 4 แสนราย แต่ขอรับสิทธิเ์ พียงร้อยละ 4 ด้านนายกสมาคมออทิสติก-ผูป้ กครองชีข้ นั้ ตอนยุง่ ยาก แถมหมอวินจิ ฉัยมีนอ้ ย
เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม นายชูศกั ดิ์ จันทยานนท์ นายกสมาคมผู้ปกครองบุคคลออทิสติก ไทยและประธานมูลนิธิออทิสติกไทย เปิ ดเผย สถิ ติ เ ชิ ง ประมาณการบุ ค คลออทิ ส ติ ก ใน ประเทศไทยปี 2557 ว่ามีจ�ำนวนเกือบ 4 แสน คน แต่ไปขึ ้นทะเบียนเพือ่ ขอรับสิทธิ์ชว่ ยเหลือ ด้ านพัฒนาการเพียง 16,000 คน หรื อคิดเป็ น ร้ อยละ 4 จากจ�ำนวนทังหมด ้ สาเหตุเกิดจากการไปรับสิทธิ์ ต้องไปขึ ้น ทะเบียนผู้พกิ าร ตามมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติส่งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน พิการ พ.ศ. 2550 ซึง่ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่ ยินดีกบั ค�ำว่า “คนพิการ” จึงไม่พาลูกไปขึ ้น ทะเบียน นอกจากนี ้ขันตอนยั ้ งยุง่ ยาก ต้ องให้
จิ ต แพทย์ รั บ รองความพิ ก าร แต่ ใ นหลาย จังหวัดยังขาดแคลนแพทย์ เฉพาะทาง แม้ กระทรวงสาธารณสุข จะพยายามบรรเทา ปั ญหาโดยจัดท�ำคูม่ ือประเมินและผลักดันให้ พยาบาลสามารถปฏิบตั หิ น้ าทีด่ งั กล่าวได้ แต่ ก็ยงั ต้ องรอกฎหมายรองรับ อีกประการหนึ่ง คือ ผู้ปกครองบางส่วนไม่ทราบว่ามีการขึ ้น ทะเบียน “การขึ ้นทะเบียนช่วยให้ บคุ คลออทิสติกได้ รั บสิ ท ธิ์ ยกเว้ นค่ า ใช้ จ่ า ยในการฟื ้ น ฟู สมรรถภาพและกิจกรรมบ�ำบัด สิทธิ์เข้ าเรี ยน ที่ ศูน ย์ ก ารศึ ก ษาพิ เ ศษหรื อ เครื อ ข่ า ยของ หน่วยงานที่ร่วมมื อกับมูลนิธิออทิสติกไทย และกระทรวงศึกษาธิการ โดยทีไ่ ม่มคี า่ ใช้ จา่ ย
สิทธิด้านการท�ำงาน นายจ้ างที่รับบุคคลออทิสติกเข้ าท�ำงานสามารถลดหย่อนภาษี ได้ ท�ำให้ ผ้ ปู ระกอบการจ้ างบุคคลออทิสติกมาก ขึ ้น สิทธิที่จะได้ รับการอ�ำนวยความสะดวก เช่น อุปกรณ์การเรี ยนรู้ ส�ำหรับเด็กออทิสติก และได้ รับเบี ้ยคนพิการจ�ำนวน 800 บาทต่อ เดือน” นายชูศกั ดิ์ กล่าว นายชูศกั ดิ์ กล่าวอีกว่า รัฐมักช่วยเหลือคน พิการที่เห็นประจักษ์ ก่อน ส่วนกลุม่ ออทิสติก หรือกลุม่ อาการซินโดรม ถูกให้ ความส�ำคัญใน ล�ำดับรอง เพราะเขามองว่าบุคคลออทิสติกยัง ดูปกติดี มีอวัยวะครบ ตนจึงอยากเรียกร้ องให้ รัฐให้ ความใส่ใจอย่างเท่าเทียม นางสิริยากร (ไม่ขอเปิ ดเผยนามสกุล) หรือ คุณแม่แก้ มนวล ชาวจังหวัดขอนแก่น วัย 47 ปี จากเพจ “ออทิสติก” ในเฟสบุ๊ก ให้ สมั ภาษณ์ ว่า จากที่เคยพูดคุยกับพ่อแม่ผ้ ปู กครองของ เด็กออทิสติกพบว่า ตามพืน้ ที่ห่างไกลยังมี ปั ญหาการเข้ าถึงสิทธิ์ ซึง่ เกิดจากการไม่ทราบ ข้ อมูลข่าวสาร หรื ออาจทราบแต่มีความยาก ล�ำบากในการเดินทางไปขึ ้นทะเบียน ต้ องเสีย เวลาและค่าเดินทางไปกลับหลายครัง้ พ่อแม่
บางคนจึ ง เลื อ กที่ จ ะไม่ รั บ สิ ท ธิ ดั ง กล่ า ว นอกจากนี ้ สถานีอนามัยยังขาดบุคลากรที่ สามารถแยกแยะอาการของเด็ ก ได้ อ ย่ า ง ชัดเจน ผู้ปกครองจึงต้ องพาเด็กไปพบแพทย์ ในโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด “กระทรวงสาธารณสุ ข ควรกระจาย ข่าวสารเรื่ องการรับสิทธิ์ให้ มากกว่านี ้ รวมทัง้ เร่งแก้ ไขปั ญหาขาดแคลนบุคลากรวินิจฉัยให้ ขึ ้นทะเบียน” นางสิริยากร กล่าว ร.อ.หญิ ง สิ ริ น นา อรุ ณ เจริ ญ แพทย์ ผ้ ู เชี่ยวชาญด้ านพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก โรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช กล่าวว่า การขึ ้น ทะเบียนน้ อยอาจเป็ นเพราะผู้ปกครองเลือก รับบริการสุขภาพจากโรงพยาบาลเอกชน หรือ ใช้ สิทธิ์เบิกของข้ าราชการให้ บุตรแทน ส่วน การเข้ า ถึ ง การขอรั บ สิ ท ธิ์ ใ นพื น้ ที่ ห่ า งไกล สามารถขอความช่วยเหลือจากอาสาสมัคร ประจ�ำหมูบ่ ้ าน (อสม.) หรื อก�ำนันผู้ใหญ่บ้าน ในพื ้นที่ได้ สุวนันท์ อัศวสืบสกุล
บทความ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
ส่วนการใช้ สารเสพติด แอลกอฮอล์ หรือยา ลดความอ้ วน อาจบัน่ ทอนประสิทธิภาพการ ท�ำงานของระบบประสาท เศร้า เบื่อ (ธรรมดา) หรือก�ำลังป่วย องค์การอนามัยโลก (WHO) เปิ ดเผยจ�ำนวน ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ าปี ลา่ สุด พบข้ อมูลอันน่าตกใจ ว่า ขณะนี ้มีผ้ ปู ่ วยโรคซึมเศร้ ากว่า 450 ล้ านคน ทัว่ โลก หรือคิดเป็ น 1 ใน 4 ของประชากรทังหมด ้ ดร.จอห์น เอ็ม กรอฮอล (Dr.John M. Grohol) ผู้เชี่ยวชาญด้ านจิตเวชในสหรัฐอเมริ กา ระบุว่า โรคนี ้เปรี ยบเหมื อน “ไข้หวัด” ของ อาการป่ วยทางจิ ต เนื่องจากสามารถพบได้ ทัว่ ไปและมีผ้ ปู ่ วยจ�ำนวนมาก โดยทัว่ ไปคนมักคิดว่า ต้ นเหตุของโรคซึม เศร้ าคือ ความอ่อนแอทางจิตใจ เมื่อใครคน หนึ่งจ�ำต้ องเผชิญกับสารพัดปั ญหาชีวิตหรื อ ประสบเหตุการณ์เลวร้ ายอย่างไม่คาดฝัน ท�ำให้ พวกเขาเครี ยด หดหู่ หมดอาลัยตายอยาก ทรมานจนอาจคิดหรือลงมือท�ำร้ ายตัวเอง ยกตัวอย่างกรณี โรบิน วิลเลียมส์ ทีส่ ร้ าง ความตกตะลึงแก่แฟนคลับ เมือ่ ดาราดังผู้มอบ ความบันเทิงให้ กบั ผู้ชมทัว่ โลกปลิดชีพตนเอง หลังทนทุกข์ทรมานด้ วยโรคซึมเศร้ า นอกจากโรบินแล้ ว ยังมีนกั แสดงระดับโลก อีกหลายคนทีเ่ คยทุกข์ทรมานกับโรคนี อาทิ ้ เช่น จิม แคร์ รี, กวินเน็ธ พัลโทรว์, แองเจลินา โจลี “คนนอก” อาจมองว่า ทุกคนต่างต้ องพบ เจอปั ญหาในชีวติ ท�ำไมจึงอ่อนแอถึงขนาดคิด ฆ่าตัวตาย แต่ในมุมของคนไข้ โรคซึมเศร้ าแล้ ว ผู้เชี่ยวชาญชี ้ชัดว่า คนทัว่ ไปไม่มีทางเข้าใจ ความทุกข์ทรมานของพวกเขาได้อย่างแท้จริ ง เพราะในทางการแพทย์ “จิตใจ” ไม่ได้ หมายถึง “หัวใจ” หากแต่เป็ น “สมอง” ซึง่ ท�ำ หน้ าทีค่ วบคุมอารมณ์ความรู้สกึ สาเหตุของการป่วย โรคซึมเศร้ า (Major Depression Disorder) เป็ นอาการผิดปกติทางอารมณ์ เนื่องมาจาก สารในสมองเสี ย สมดุล สารดัง กล่า วเป็ น ฮอร์ โมนที่มีอยู่แล้ วในร่างกายของมนุษย์ จะ หลัง่ ออกมาเพือ่ ตอบสนองต่อภาวะเครียด วิตก กังวล แต่เมือ่ เหตุการณ์นนๆ ั ้ ผ่านพ้ น สามารถ แก้ ปัญหา หรื อท�ำใจยอมรับได้ สมองจะปรับ ระดับฮอร์ โมนให้ คนื สูภ่ าวะปกติโดยอัตโนมัติ แต่ส�ำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้ า สมองจะไม่ สามารถควบคุมให้ สารสือ่ ประสาทกลับมาเป็ น ปกติได้ ด้วยตนเอง จึงต้ องรักษาโดยการบ�ำบัด หรือใช้ ยาเพือ่ ปรับระดับสารเคมี สาเหตุสว่ นหนึง่ เป็ นเพราะพันธุกรรม เช่น ร่ า งกายของบางคนผลิต สารแห่ง ความสุข (Serotonin) ได้ น้อยตังแต่ ้ เกิด คนกลุม่ นี ้จะตก อยู่ในภาวะซึมเศร้ าง่าย หรื อบุคคลที่พ่อแม่ ญาติพนี่ ้ องมีประวัตอิ ารมณ์รุนแรง ขี ้กังวล และ ซึมเศร้ า มักเสีย่ งต่อการป่ วยเป็ นโรคทางจิตเวช มากกว่ า คนทั่ว ไป รวมถึ ง เด็ ก ที่ เ ติ บ โตมา ท่ามกลางครอบครัวทีส่ มาชิกมีอารมณ์รุนแรง การสอนลูกให้ แก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าหรื อ รู้จกั ปรับมุมมองความคิดเมื่อเผชิญกับความ ผิดหวัง ก็มีผลต่อประสิทธิภาพของกลไกการ ปรับตัวด้ วยเช่นกัน
อารมณ์เศร้ า เสียใจ สิ ้นหวัง เบื่อหน่าย สามารถเกิดขึ ้นเป็ นปกติ แต่จะไม่คงอยู่นาน หรือรุนแรงจนส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน ถ้ าสงสัยว่า เราป่ วยเป็ นโรคซึมเศร้ า หรือไม่ ทดสอบง่ายๆ ด้ วย 2 ค�ำถาม ต่อไปนี ้ (1) ใน 2 สัปดาห์ทีผ่ า่ นมา รวมทัง้ วันนี ้ คุณ รู้สึกหดหู่ เศร้า ท้อแท้สิ้นหวังหรื อไม่ (2) ใน 2 สัปดาห์ทีผ่ า่ นมา รวมทัง้ วันนี ้ คุณ รู้สึกเบือ่ ท�ำอะไรก็ไม่เพลิ ดเพลิ นหรื อไม่ หากมีอาการ 1 ใน 2 หรือมีครบทัง้ 2 ข้ อ มี ความเป็ นไปได้ วา่ คุณก�ำลังป่ วย และควรเข้ า พบจิตแพทย์ ท�ำไมต้องพบจิตแพทย์ ขึ ้นชือ่ ว่า “จิตแพทย์” หรือ “โรงพยาบาลแผนกจิตเวช” ใครๆ ก็ไม่อยากข้ องเกี่ยวด้ วย เพราะคนส่วนใหญ่ มักมี ทัศนคติเชิ งลบต่อ อาการป่ วยทางจิต กลัวสังคมมองว่าเป็ น “บ้ า” หรือ “สติไม่สมประกอบ” นัน่ เป็ นความคิดทีส่ ง่ ผลเสียต่อการรักษา โรคซึมเศร้ าสามารถรักษาหายได้ หากเข้ า พบแพทย์เร็ ว โดยคนไข้ ให้ ความร่ วมมือและ ตอบสนองต่อการรักษา แต่ส�ำหรับผู้ป่วยที่ ปล่อยเอาไว้ นานจนอาการหนัก หลังจากรักษา สมองอาจไม่สามารถกลับมาดีดังเดิมหรื อ “เหลือรอยโรค” คนไข้ จะต้ องรับประทานยาไป ตลอดชีวติ คล้ ายกับผู้ป่วยเบาหวานหรือความ ดันโลหิต คนไข้เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย! สิ่งที่อนั ตรายอย่างมากส�ำหรับผู้ป่วยโรค ซึมเศร้ าคือ ความรู้สกึ ว่า “ตนเองไม่มีคา่ ” ขาด ความเชือ่ มัน่ รู้สกึ เป็ นภาระของคนอืน่ แยกห่าง จากสังคม เก็บความรู้สกึ แย่ๆ ไว้ ทบั ถมตนเอง จมกับความผิดหวัง ท้ ายทีส่ ดุ จึงคิดว่า “การมี ชีวติ อยูต่ อ่ ไปไม่มีประโยชน์” และน�ำไปสูก่ าร วางแผนฆ่าตัวตายและลงมือกระท�ำ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ ามีอตั ราการฆ่าตัวตาย ส�ำเร็จสูงกว่าคนทัว่ ไปถึง 20 เท่า จากสถิตเิ พศ หญิงป่ วยเป็ นโรคซึมเศร้ ามากกว่าเพศชาย แต่ อัตราการฆ่าตัวตายส�ำเร็ จในเพศชายสูงกว่า เพศหญิง เพราะธรรมชาติของผู้ชายมักคิดแล้ ว ลงมือท�ำทันที ต่างจากผู้หญิงที่มกั จะคิดแล้ ว คิดอีกและทนอยูก่ บั ความทุกข์ได้ นานกว่า ความส�ำคัญของครอบครัว ผู้ป่วยมักมองตนเอง “แย่” เป็ นทุนเดิม ความเข้ าใจและก�ำลังใจจากผู้ใกล้ ชิดจึงยิ่ง ส�ำคัญ อันดับแรกครอบครัวต้ องเข้ าใจว่า คนไข้ ไม่ได้ แกล้ งป่ วยและไม่ได้ อยากป่ วย เมือ่ ตระหนักรู้จะเกิดความระมัดระวังในค�ำ พูดและการปฏิบตั ิต่อพวกผู้ป่วย การต�ำหนิ ต่อว่า หรือค�ำพูดประเภท “เรื่องแค่นี ้เอง ท�ำไม ต้ องท�ำตัวอ่อนแอด้ วย” เป็ นการซ� ้ำเติมและ ท�ำร้ ายคนไข้ ยิ่งท�ำให้ เขาโทษตัวเอง รู้สกึ ผิด เสียใจ หรือรู้สกึ ด้ อยค่าลงกว่าเดิม
17
โรงเรียนขยายโอกาส สร้างการศึกษาไร้พรมแดน
ท่ า มกลางการเจริ ญ เติ บ โตของภาค อุตสาหกรรมในประเทศไทย ส่งผลให้ ความ ต้ อ งการแรงงานเพิ่ ม ขึน้ ตาม ไทยอาศัย แรงงานจากประเทศเพือ่ นบ้ านเป็ นส่วนใหญ่ จากผลส�ำรวจเมื่ อเดื อนพฤศจิ กายน 2557 ของส�ำนักงานบริหารแรงงานต่างด้ าว พบว่า มีแรงงานเพื่อนบ้ านที่เข้ ามาท�ำงาน และอาศั ย อยู่ ใ นประเทศไทยจ� ำ นวน 1,374,085 คน ดังนัน้ ย่อมต้ องมีเด็กต่าง สัญชาติจ�ำนวนมากที่ติดตามพ่อแม่เข้ ามา อาศัยอยูใ่ นประเทศไทย ซึง่ เด็กๆ เหล่านี ้ควร จะได้ รับโอกาสในการศึกษา สาธารณสุข และได้ รับการปฏิบตั ิอย่างเท่าเทียมกันใน ฐานะเป็ นมนุษย์ เขตบางรักเป็ นพื ้นที่ที่แรงงานต่างชาติ อยูอ่ าศัยและท�ำงานอย่างหนาแน่น เหมือน เป็ นจุดนัดพบของคนทัว่ ทุกโลกก็วา่ ได้ ทีน่ มี่ ี โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครแห่งหนึง่ ซึง่ ลูกๆ ของแรงงานจากหลายชาติหลากภาษา เข้ ามาเรียน นัน่ คือ “โรงเรียนวัดม่วงแค” ตัง้ อยู่ข้างไปรษณีย์กลาง เป็ นโรงเรี ยนระดับ ประถมศึกษา มีนกั เรียนประมาณ 90 คน “เด็กต่างสัญชาติสามารถได้ รบั สิทธิการ ศึกษาในโรงเรี ยนของไทยเท่าเทียมกับเด็ก สัญชาติไทยทุกประการ แต่พอ่ แม่ของเด็ก ต้ องเข้ ามาท�ำงานในประเทศไทยอย่างถูก ต้ องตามกฎหมาย” นางนันท์นภัส ลภัสสรวีย์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรี ยนวัดม่วงแค หนึ่งใน โรงเรียนขยายโอกาสทีม่ เี ด็กต่างสัญชาติเข้ า มาเรียนมากทีส่ ดุ โรงเรียนหนึง่ กล่าว เธอบอกว่า ทีน่ มี่ ที งเด็ ั ้ กชาวเนปาล พม่า อินเดีย กาน่า เรียนร่วมกับเด็กไทย พวกเขา สามารถปรับตัวได้ อย่างรวดเร็ว เหมือนเด็ก ไทยไปเรี ยนต่างประเทศตังแต่ ้ เด็กๆ ก็ปรับ ตัวได้ เร็ว ภาษาเด็กท�ำให้ เขาเข้ ากันได้ ไม่มี อัตตายึดติดถือมัน่ จึงเรียนรู้ได้ เร็วมาก แม้ มี ปั ญหาการเขียนและอ่านในระยะแรกบ้ าง ส�ำหรับขันตอนและเอกสารการสมั ้ ครเข้ า เรี ยน จะคล้ ายกับเด็กไทยตามที่กระทรวง ศึกษาธิการก�ำหนด ยกเว้ นเอกสารเกี่ยวกับ การประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื น้ ฐาน (ปพ.) ที่ จ ะใช้ ร่ ว มกับ ของต่ า ง ประเทศไม่ได้ จะต้ องน�ำส�ำเนาวีซา่ ส�ำเนา หนังสือเดินทาง ส�ำเนาใบรับรองการเป็ น ประชากรของประเทศบ้ านเกิด เช่น ของไทย จะเป็ นสูตบิ ตั ร เป็ นต้ น และจะต้ องมีถนิ่ ทีอ่ ยู่ อาศัยในประเทศไทยอย่างเป็ นหลักแหล่ง โดยมีคนรับรอง เช่น ถ้ าเช่าหอพัก ก็ต้องให้ เจ้ าของหอเซ็นรับรองว่าอยูท่ ี่นี่ น�ำเอกสาร ทังหมดมายื ้ ่นให้ กบั ทางโรงเรี ยนพิจารณา เพือ่ เข้ ารับการศึกษาได้ ในทันที การเรี ยนการสอนของที่นี่ ใช้ หลักสูตร เดียวกันกับโรงเรี ยนประถมทัว่ ประเทศคือ กลุม่ สาระการเรียนรู้ 8 กลุม่ โดยตารางเรียน จะยึดตามหลักบังคับของกระทรวงคือ ไม่ตำ�่ กว่า 1,000 ชัว่ โมงต่อเทอม หรือไม่ตำ่� กว่า 5
ชัว่ โมงต่อวัน และเด็กต่างชาติจะเรียนรวมอยู่ กับเด็กไทย แต่ในส่วนการศึกษาเพิ่มเติม โรงเรี ยนจะมีวิชาสร้ างเสริ มประสบการณ์ เป็ นการพาเด็ก ออกนอกสถานที่ ไ ปสอน ทักษะการใช้ ชวี ติ ในสังคมทีเ่ ด็กอาศัยอยู่ อย่างไรก็ดี การทีม่ เี ด็กต่างชาติเรียนร่วม กับเด็กไทยย่อมต้ องมีปัญหาอยู่บ้างเป็ น ธรรมดา ซึง่ จะมีทงจากตั ั้ วผู้ปกครองของเด็ก ไทยเองที่คิดว่าลูกของตนมีสิทธิ์เหนือกว่า เด็กต่างสัญชาติ แต่ถ้ามองกลับกันแล้ ว เด็กทุกคนย่อม ต้ องได้ รบั การดูแลจากคุณครูผ้ สู อนเท่าเทียม กัน และการทีม่ เี ด็กต่างสัญชาติในห้ อง ก็จะ เป็ นประโยชน์แก่นกั เรียนไทย ทีจ่ ะมีโอกาส ได้ เรียนรู้ทงภาษาและมี ั้ สงั คมทีห่ ลากหลาย เพื่อในอนาคตอาจจะเป็ นประโยชน์ในการ ท�ำงานต่อไป อีกส่วนหนึง่ ก็จะมาจากตัวเด็กซึง่ ก็แล้ ว แต่บคุ คล ในเรื่องของความใฝ่ รู้ในการเรียน และเรื่องการเรียนไม่ตอ่ เนือ่ งเพราะการย้ าย สถานที่ ท� ำ งานของพ่ อ แม่ รวมถึ ง ฐานะ ทางการเงิน “ปั ญหาที่พบจะเป็ นปั ญหาที่ตวั บุคคล คือความพร้ อมของตัวเด็กเอง ว่าสนใจเรียน เท่าทีค่ วรหรือเปล่า หรือบางคนย้ ายตามพ่อ แม่มาจากหลายๆ ที่ ขึ ้นอยูก่ บั ว่าพ่อแม่ได้ งานที่ใด ก็จะมีปัญหาการเรี ยนไม่ตอ่ เนื่อง ท�ำให้ เรี ยนตามเพื่อนไม่ทนั ” นางนันท์นภัส สะท้ อนปั ญหาการเรียนของเด็กๆ ต่างชาติ อีกปั ญหาหนึง่ คือ การเงินของผู้ปกครอง เหตุผลที่ท�ำให้ เด็กจ�ำเป็ นต้ องมาเรี ยนฟรี เพราะพ่อแม่ไม่มีฐานะส่งให้ เรี ยนโรงเรี ยน ของรัฐทีด่ แี บบสอบเข้ า หรือโรงเรียนเอกชน ทีต่ ้ องเสียค่าเทอมจ�ำนวนมากไม่ได้ เด็กจึง ไม่มที างเลือก “ปมเล็กๆ เหล่านี ้ก็สง่ ผลต่อความพร้ อม ที่จะเรี ยนของเด็กได้ เช่นกัน” ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนวัดม่วงแค กล่าวปิ ดท้ าย อนึง่ ทางกรุงเทพมหานครมีนโยบายร่วม กับผู้ทสี่ นใจสนับสนุนทุนการศึกษาของเด็ก แจกทุนให้ กบั นักเรี ยนเรี ยนดีที่เป็ นเด็กใน สังกัดโรงเรี ยนของกรุ งเทพมหานคร ซึ่งผู้ อ�ำนวยการและครูผ้ สู อนเด็กจะต้ องเป็ นผู้คดั เลือกเด็กที่มีความเหมาะสมและส่งชื่อไป ทางกรุงเทพมหานครให้ พจิ ารณาต่อไป โดย จะได้ ประมาณ 10 - 20 ทุน ต่อหนึง่ โรงเรียน ทุนละ 3,000 - 4,000 บาท อย่างไรเสีย เด็กก็คอื อนาคตของสังคม จึงต้ องได้ เข้ ารับการศึกษาเล่าเรี ยน ฝึ กฝน ทักษะและมีพฒ ั นาการตามวัยอย่างที่เด็ก คนหนึง่ สมควรได้ รับ อาจเรียกได้ วา่ โรงเรียนขยายโอกาสเหล่า นี ้เป็ นอีกหนึ่งช่องทางเลือกให้ กบั เด็กและ คอยมอบโอกาสทีด่ ใี ห้ กบั พวกเขา นฤภร ตนเจริญสุข ณัฐรดา โพธิราช
18
ต่อจากหน้า 1
ต่อจากหน้า 1 : กลูตาผีดิบ “หนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์ ” ตรวจสอบเว็บไซต์ หัวข้ อ “กลูตา” พบว่า มีเว็บไซต์โฆษณาขาย อาหารเสริมกลูตาไธโอนเป็ นจ�ำนวนมากทังค้ ้ า ปลีกและค้ าส่ง รู้จกั กันในชือ่ “กลูตาผีดบิ ” โดย ส่วนใหญ่จะแสดงภาพเม็ดยาใส่ซองพลาสติก ใส ไม่ระบุสถานทีผ่ ลิต แต่มขี ้ อความโฆษณา ประกอบในเว็บไซต์ระบุสว่ นผสมว่า 1 เม็ด มี ปริมาณกลูตาไธโอน 100,000 มิลลิกรัม และ ยังอ้ างสรรพคุณช่วยท�ำให้ ผวิ ขาวใส เด้ ง เรียบ เนียน รักษาริว้ รอย เห็นผลภายใน 3 วัน ราคา ต่อกล่องมีตงแต่ ั ้ หลักร้ อยจนถึงหลักพันบาท จากการสุ่มตรวจสอบยังพบว่า บางชื่อ บัญชี ธนาคารที่ใช้ ส�ำหรั บโอนเงินซือ้ สินค้ า ประเภทอาหารเสริมต่างๆ เป็ นหมายเลขบัญชี เดียวกัน มากกว่า 5 ร้ านเป็ นอย่างต�ำ่ แสดงให้ เห็นถึงเครือข่ายผู้ค้ารายใหญ่ในบรรดาร้ านค้ า ออนไลน์เหล่านี ้ ด้ า นผู้ข ายอาหารเสริ ม กลูต าไธโอนใน เว็บไซต์รายหนึง่ เปิ ดเผยว่า กลูตาส่วนใหญ่ที่ ขายกันบนเว็บไซต์ไม่มเี ครื่องหมายส�ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ไม่ มี เครื่ องหมายหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการ ผลิตอาหาร (จีเอ็มพี) แต่ผ้ คู ้ าก็เอามาขายและ ขายดี และไม่สามารถเปิ ดเผยแหล่งทีร่ ับมาได้
ผลจากการสุม่ ตรวจสอบ พบบางชื่อบัญชีธนาคาร เป็ นบัญชีสำ� หรับโอนเงินซื ้อสินค้ า ประเภทอาหารเสริมต่างๆ มากกว่า 5 ร้ าน แสดงให้ เห็นถึงเครือข่ายผู้ค้ารายใหญ่ ส่วนนพ.ประวิตร อัศวานนท์ รองคณบดี ฝ่ ายวางแผนและพัฒนา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ยังไม่มกี ารวิจยั ทางการแพทย์วา่ สาร แปลกปลอมที่ ไ ม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ ปกติ ใ นชี วิ ต ประจ�ำวันเหล่านี ้ จะเป็ นคุณหรื อโทษอย่างไร ในระยะสันและระยะยาว ้ “ร่างกายสร้ างกลูตาไธโอนได้ เองเพือ่ ต้ าน อนุมลู อิสระและก�ำจัดสารพิษในตับ แต่ถ้ารับ มากเกินความต้ องการ มันจะหลอกเซลล์ให้
สร้ างเม็ดสีผิวที่ออ่ นลงจากสีผิวเดิม โดยเป็ น ชนิดทีเ่ กีย่ วพันกับมะเร็งบางชนิดในคนผิวขาว ซึง่ ถ้ าเซลล์สร้ างสีชนิดนี ้ขึ ้นมาจริ งๆ ทางการ แพทย์กงั วลว่า จะไปท�ำให้ เกิดมะเร็ งผิวหนัง หรื อ ไม่ จึ ง ก� ำ หนดให้ กิ น เพี ย งวัน ละ 250 มิลลิกรัม แต่ที่โฆษณากันเป็ นแสนมิลลิกรัม ถือว่าเกินขนาด” นพ.ประวิตร กล่าว พ.ต.อ.ไพฑูรย์ พูลสวัสดิ์ รักษาราชการแทน ผู้ก�ำกับการกอง 4 กองบังคับการปราบปราม การกระท�ำความผิดเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้
เหยือ่ คนเมาแล้วขับทะลุ 3 หมืน่ มูลนิธเิ มาไม่ขบั เผยสถิตปิ ี 56 มีผพ ู้ กิ ารทีเ่ ป็นเหยือ่ จากเมาแล้วขับถึง 3 หมืน่ คน เสียเสาหลักครอบครัว ชีต้ ำ� รวจไม่กล้า จับ แถมรับเงินใต้โต๊ะ ด้าน บก.จร. ปัดไม่มที จุ ริต ส่วนนครบาลเผยตัง้ จุดตรวจลานจอดรถร้านเหล้าลดคดีได้รอ้ ยละ 20 เมือ่ วันที่ 30 ตุลาคม นายสุรสิทธิ์ ศิลปะงาม ผู้จดั การมูลนิธเิ มาไม่ขบั เปิ ดเผยสถิตผิ ้ เู สียชีวติ จากอุบตั เิ หตุบนท้ องถนนว่า ล่าสุดปี 2556 มี ผู้เสียชีวติ ประมาณ 24,000 คน บาดเจ็บกว่า 1 ล้ านคน ในจ�ำนวนนีม้ ีผ้ ูพิการจากอุบตั ิเหตุ ประมาณ 60,000 คน เป็ นผู้พกิ ารทีเ่ ป็ นเหยือ่ ของการเมาแล้ วขับจ�ำนวน 30,000 คน ซึง่ คน เหล่านี ้ยังประสบปั ญหาทางจิตใจ และการเงิน จากการสูญเสียเสาหลักของครอบครัว เด็กใน หลายครอบครัวต้ องก�ำพร้ า “รั ฐ บาลต้ อ งสั่ง การให้ ต� ำ รวจบัง คับ ใช้ กฎหมายอย่างเข้ มงวด ตังด่ ้ านจับจริงจัง หาก บางส่วนยังเกรงใจผู้มีอ�ำนาจและไม่กล้ าจับ หรื อรับเงินใต้ โต๊ ะ ประชาชนโดยทัว่ ไปก็จะไม่
เกรงกลัว และต้ องกวดขันทุกวันไม่ใช่เฉพาะ เทศกาล” ผู้จดั การมูลนิธิเมาไม่ขบั กล่าว ด้ านนายอ�ำนาจ ภัทรสกุล อายุ 26 ปี อาชีพ ท�ำธุรกิจส่วนตัว กล่าวว่า ตนเคยดืม่ แอลกอฮอล์ แล้ วยังขับรถ เพราะมีแท็กซีบ่ ริการน้ อย และไป ไหนต่อก็สะดวกกว่า ทังนี ้ ้ ทราบข้ อมูลการตัง้ ด่านของต�ำรวจจากเครื อข่ายสังคมออนไลน์ หรื อพนักงานในร้ านแจ้ งให้ ทราบ อย่างไรก็ดี จะระวังไม่ให้ เมามากเกินไป หรือมีคนในกลุม่ ทีไ่ ม่ดมื่ แอลกอฮอล์เป็ นคนขับ ส่วนพ.ต.ต.มงคล พรหมเมศร์ สารวัตรงาน พิสจู น์ผ้ ขู บั ขี่ กองก�ำกับการ 5 กองบังคับการ ต�ำรวจจราจร (บก.จร.) กล่าวว่า คดีเมาแล้ วขับ มีโทษปรับตังแต่ ้ 5,000 - 10,000 บาท เมือ่ ขึ ้น
ศาลแล้ วศาลสัง่ ปรับ ต�ำรวจจะได้ รับรางวัล น�ำจับครึ่งหนึง่ การรับเงินใต้ โต๊ ะจึงไม่ค้ มุ กับ ความเสีย่ งทุจริตต่อหน้ าที่ พ.ต.ต.มงคล กล่าวอีกว่า กรณีมีการแจ้ ง เตื อ นการตัง้ ด่ า นตรวจในเครื อ ข่ า ยสัง คม ออนไลน์ ต�ำรวจไม่สามารถสัง่ ปิ ดได้ เพราะเป็ น สิทธิสว่ นบุคคลในการแลกเปลีย่ นข้ อมูล แต่ได้ แก้ ปัญหาด้ วยการแฝงตัวเข้ าไปเป็ นสมาชิก และบอกข้ อมูลผิดๆ ไปเพือ่ ไม่ให้ ผ้ กู ระท�ำความ ผิดหลบเลีย่ งด่านตรวจได้ ด้ านพ.ต.ท.ฐาปนะ คลอสุวรรณา สารวัตร จราจร สภ.อ.บ้ านบึง จ.ชลบุรี กล่าวว่า ในต่าง จังหวัดไม่มีรถรับส่งสาธารณะ ประชาชนจึง เดินทางโดยรถส่วนตัว ยิง่ เทศกาลที่มีการดืม่
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
บริโภค กล่าวว่า อาหารเสริมทีข่ ายบนเว็บไซต์ ถ้ าฉลากไม่ถกู ต้ อง อาหารไม่บริสทุ ธิ์ ไม่มตี รา อย. ถือว่าขัดต่อกฎหมาย ซึง่ ในกรณีนี ้ เจ้ า หน้ าทีจ่ ะไปด�ำเนินการตรวจสอบเอาผิดต่อไป แหล่งข่าวจากฝ่ ายสืบสวน กองบังคับการ ปราบปรามการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับการ คุ้มครองผู้บริ โภค เปิ ดเผยว่า ที่ผา่ นมามีการ จับ กุ ม ผู้ ขายอาหารเสริ ม กลูต าไธโอนผิ ด กฎหมายปี ละไม่ตำ�่ กว่า 100 คดี แหล่งใหญ่ที่ ขายเยอะคือ ตลาดใหม่ดอนเมือง ร้ านขาย เครื่ องส�ำอางหรื ออาหารเสริ มทัว่ ไป ส่วนที่ใช้ เป็ นยาจะพบในคลินิกเสริ มความงามที่ไม่ถกู กฎหมาย รวมถึงโรงงานผลิตและโกดังใน กรุงเทพฯ และปริมณฑล ขอนแก่น เชียงใหม่ ภูเก็ต มูลค่าของกลางในแต่ละครัง้ ไม่ต�่ำกว่า หลักพันจนถึงหลักแสนบาท ผู้ สื่ อ ข่ า วรายงานด้ วยว่ า กองพัฒ นา ศักยภาพผู้บริโภค อย. ออกประกาศล่าสุดเมือ่ วั น ที่ 24 พฤศจิ ก ายน 2557 ระบุ ว่ า ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของกลูตาไธโอนเพื่อให้ ผิวขาวใส ยังไม่มีการพิสจู น์ผล ที่ชดั เจนรวมถึงความปลอดภัยในการใช้ และ ปั จจุบนั อย.ไม่เคยรับขึ ้นทะเบียนตํารับยาทีม่ ี สรรพคุณทําให้ ผวิ ขาวแต่อย่างใด ณัฐรดา โพธิราช
สุร าฉลองมากกว่า ปกติ จึง ยิ่ ง อัน ตราย แต่ รัฐบาลก็กำ� ชับให้ ตำ� รวจเกณฑ์ทกุ หน่วยมาตัง้ ด่านตรวจเพื่อลดอุบตั ิเหตุ อย่างไรก็ดี ที่ไม่ สามารถตังด่ ้ านตรวจได้ ทกุ วันเพราะเจ้ าหน้ าที่ ต้ องกระจายก�ำลังไปท�ำงานด้ านอืน่ ด้ วย หาก เทียบสัดส่วนต�ำรวจทัว่ ประเทศต่อประชาชน พบว่า ต�ำรวจ 1 นาย ต้ องดูแลประชาชน ประมาณ 30,000 คน จึงอาจตรวจตราไม่ทวั่ ถึง ขณะที่ร.ต.ต.หญิงพรรณพิไล มาประณีต เจ้ าหน้ าที่ต�ำรวจประจ�ำศูนย์ฝึกอบรม กอง ก�ำกับการ 5 กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล ผู้ ดูแลในด้ านนโยบายเมาไม่ขับ เปิ ดเผยว่า นครบาลก�ำลังน�ำร่ องโครงการลดการขับรถ เวลาเมา อาทิ ร่วมกับอูแ่ ท็กซีแ่ ละพัฒนาแอพพลิเคชัน่ เพือ่ เรียกรับบริการในตอนกลางคืนแก้ ปั ญหารถแท็กซีม่ นี ้ อย ส่วนทีไ่ ด้ ทำ� ในเทศกาล ปี ใหม่คอื การสุม่ ตรวจทีล่ านจอดรถของสถาน บันเทิงเพือ่ ไม่ให้ คนเมาขับรถออกไป ส่งผลให้ ยอดคดีเมาแล้ วขับในแต่ละจุดตรวจลดลง จาก วันละประมาณ 10 ราย เหลือ 8 ราย รุ่งทิวา มังกาละ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
ต่อจากหน้า 1 : ขาดแคลนจิตแพทย์ จากจ�ำนวนแพทย์ที่มีแบ่งเป็ นปฏิบตั ิงานใน กทม. 309 คน และอีก 437 คน ปฏิบตั งิ านใน ต่างจังหวัด พบ 14 จังหวัด ไม่มีจิตแพทย์ ประจ�ำพื ้นที่ นอกจากนี ้ เฉพาะจิตแพทย์ใน สังกัดกรมสุขภาพจิต ยังลดลงเฉลีย่ 6.8 คนต่อ ปี ตังแต่ ้ พ.ศ. 2551 - 2556 ขณะรายงานจ�ำนวนผู้ป่วยสุขภาพจิตใน ประเทศไทย ประจ�ำปี งบประมาณ 2556 ของ หน่วยงานเดียวกัน พบว่ามีผ้ เู ข้ ารับการรักษา 1,734,410 คน เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 18 ในรอบ 5 ปี เฉพาะโรคซึมเศร้ ามีจ�ำนวน 223,564 คน เพิม่ ขึ ้นถึงร้ อยละ 48 ในรอบ 5 ปี เท่ากับว่าในขณะ นี ้ จิตแพทย์ 1 คน ต้ องดูแลผู้ป่วย 2,300 คน นพ.ศรุตพันธ์ จักรพันธ์ ณ อยุธยา ผู้อำ� นวย การโรงพยาบาลจิตเวชสระแก้ วราชนคริ นทร์ จ.สระแก้ ว กล่าวว่า ประเทศไทยมีสดั ส่วน จิตแพทย์น้อยกว่างานมาก โดยก�ำลังการผลิต ของไทยอยู่ที่ปีละ 50 - 80 คน ทังนี ้ ้ ผู้ป่วย โรคจิตเภทในประเทศไทยมีประมาณร้ อยละ 1 ของประชากรทังหมด ้ หรือประมาณ 600,000 คน ในจ�ำนวนนี ้เข้ าถึงการรักษากับโรงพยาบาล จิตเวชประมาณร้ อยละ 40 หรือ 240,000 คน ส่ว นที่ เ ข้ า ไม่ถึง ก็ จะเห็นตามสื่อ บ้ างว่า ญาติลา่ มโซ่เอาไว้ และอีกส่วนคือเข้ ารับการ รั กษากับโรงพยาบาลทั่วไป ซึ่งท� ำให้ ไม่ได้ ประสิทธิภาพเต็มที่ ส่วนโรคซึมเศร้ ามีร้อยละ 3 - 5 ของประชากร นพ.ศรุตพันธ์ กล่าวต่อว่า การกระจุกตัว ของจิตแพทย์ในกรุงเทพฯ เพราะเป็ นทีต่ งของ ั้
ต่อจากหน้า 1 : ธนาคารนมแม่ “หนังสือพิมพ์ลกู ศิลป์ ” รายงานว่า ธนาคาร นมแม่รามาธิบดี ซึง่ เป็ นธนาคารนมแม่แห่งแรก และแห่งเดียวในประเทศไทย เปิ ดบริ การรับ บริ จาคนมแม่อย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 12 กันยายนที่ผ่านมา บนชัน้ 6 ศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตน์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เพือ่ น�ำนมมาเลี ้ยงทารกทีม่ ขี ้ อจ�ำกัดในการรับ นมแม่จากของตนเอง เช่น แม่เป็ นโรคเลือด มี ประวัตเิ ป็ นมะเร็งเต้ านม ติดสิง่ เสพติด ติดเชื ้อ เอชไอวี หัวนมแตก หรือแม่ทไี่ ม่มนี � ้ำนมในช่วง แรก รวมถึงกรณีเด็กคลอดก่อนก�ำหนด หรื อ เด็กทีม่ นี � ้ำหนักตัวน้ อยให้ ได้ รับน� ้ำนมแม่ ก่อนหน้ านี ้ แม้ เครื อข่ายนมแม่จะออกมา เรียกร้ องให้ ร่วมลงชือ่ สนับสนุนและพิทกั ษ์สทิ ธิ เด็กด้ วยการออกกฎหมายควบคุมการตลาด นมผง และสนับสนุนการให้ เด็กได้ รับประทาน นมแม่อย่างน้ อย 6 เดือน ตามทีอ่ งค์การอนามัย โลก (WHO) แนะน�ำ แต่จากการส�ำรวจโดย ส� ำ นัก งานพัฒ นานโยบายสุขภาพระหว่าง ประเทศ กลับพบว่า สาเหตุทแี่ ม่ไม่สามารถให้ นมลูกได้ ถึง 6 เดือนนัน้ เกิดจากแม่คิดว่ามี น� ้ำนมไม่เพียงพอให้ ลกู ถึงร้ อยละ 45.5 อย่างไร ก็ดี หลังจากธนาคารนมแม่แห่งนี ้ได้ เริ่มทดลอง ระบบเมื่ อ ต้ น เดื อ นมกราคมที่ ผ่ า นมา แม่ หลายๆ ครอบครัวทีม่ นี � ้ำนมมากพอต่างมาช่วย กันบริจาคน� ้ำนมทีน่ ่ี นางสิริมนต์ คงถาวร พยาบาลวิชาชีพเฉพาะ
ต่อจากหน้า 1
19
โรงเรียนแพทย์และศูนย์ของโรงพยาบาลเอกชน อย่างไรก็ดี แนวโน้ มการกระจายของแพทย์ไป ยังโรงพยาบาลต่างจังหวัดช่วง 5 ปี หลังดีขึ ้น และรั ฐ ได้ บ รรเทาด้ ว ยการอบรมพยาบาล สุขภาพจิต ตอนนี ้มีประมาณ 3,000 คนทัว่ ประเทศ และอบรมแพทย์ทวั่ ไปในโรงพยาบาล ชุมชน และยังมีคมู่ อื แนวทางปฏิบตั ิ ก็ชว่ ยได้ ในระดับหนึง่ ด้ านร.ท.ปิ ยะวัฒน์ เด่นด�ำรงกุล จิตแพทย์ โรงพยาบาลภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช กล่ า วว่ า ประเทศไทยยังขาดแคลนบุคลากรด้ านจิตเวช จ�ำนวนมาก คนไข้ ได้ รับการรักษาเต็มทีเ่ ท่าทีม่ ี ส�ำหรับตนต้ องดูแลคนไข้ จิตเวชประมาณ วันละ 20 ราย ตามหลักควรพูดคุยกับคนไข้ อย่างน้ อย 15 นาทีตอ่ ราย เท่ากับต้ องใช้ เวลา ขันต� ้ ำ่ 5 ชัว่ โมง แต่ความเป็ นจริงมีเวลาช่วงเช้ า เพียง 3 ชัว่ โมงส�ำหรับตรวจรักษาผู้ป่วยนอก จึงต้ องตรวจผู้ป่วยเก่าก่อนเพราะรู้อาการแล้ ว ถ้ าคนไข้ ไม่สบายใจจริ งๆ ก็ขอให้ คยุ แค่เรื่ อง เดี ย ว ส่ ว นผู้ป่ วยใหม่ ต้ อ งพูด คุย นานเพื่ อ ประเมินอย่างละเอียด ส่วนช่วงบ่ายต้ องดูผ้ ู ป่ วยในตามแผนกต่างๆ ทังโรคทางจิ ้ ตและโรค ทางกาย อีกทังยั ้ งมีงานสอนหนังสือ ให้ ความ รู้ชาวบ้ านและงานเอกสาร ทังนี ้ แพทย์ ้ ในสังกัดกรมสุขภาพจิตยังต้ อง ลงพื ้นทีต่ า่ งจังหวัด เดือนละ 1 - 2 ครัง้ แพทย์ จ�ำนวนหนึง่ จึงลาออกเพราะไม่สะดวกเดินทาง แล้ วย้ ายเข้ าสังกัดโรงพยาบาลทัว่ ไปแทน ร.ท.ปิ ยะวัฒน์ กล่าวต่อว่า ปั จจุบนั แม้ รฐั จะ อนุญาตให้แพทย์เรียนต่อเฉพาะทางด้านจิตเวช 3 ปี ได้ โดยไม่ต้องใช้ ทนุ ให้ หมดก่อน ข้ อดีคอื
ผลิตได้เร็ว แต่ข้อเสียคือ ขาดทักษะแยกแยะโรค ทางกายกับโรคทางจิต เปรียบเทียบกับแพทย์ที่ สหรัฐอเมริกาต้องฝึ กฝนการแยกโรคทางกายได้ อย่างแม่นย�ำ แล้ วจึงค่อยเรี ยนต่อโรคทางจิต เพราะสาขาจิตเวชมีความเป็ นศิลปะสูงและจับ ต้ องยาก คือไม่ใช่แค่เจาะเลือดน�ำมาอ่านค่า แล้ วประเมินได้ ว่าคนไข้ เป็ นอะไร แต่ต้องใช้ ‘สังคม’ คือ พูดคุย สังเกต ดูบริบทต่างๆ เยอะ เพื่อวินิจฉัย เป็ นสาเหตุให้ ทุนเรี ยนต่อด้ าน จิตเวชเหลือทุกปี แต่ในอนาคตคาดว่า จะมีผ้ ู เรียนมากขึ ้น เพราะเมือ่ สาขาอืน่ เต็ม แพทย์ที่ เหลือก็ต้องเลือกลงสาขาทีย่ งั เปิ ดรับอยู่ ส่วนนางสกาวรัตน์ พวงลัดดา พยาบาล จิตเวช โรงพยาบาลศรีธญ ั ญา ผู้มปี ระสบการณ์ ท�ำงานมานานกว่า 30 ปี และเคยท�ำงานในกรม สุขภาพจิต กล่าวว่า กรมสุขภาพจิตแก้ ปัญหา จิ ต แพทย์ ข าดแคลนด้ ว ยการตัง้ เครื อ ข่ า ย บริการ 12 เครือข่ายทัว่ ประเทศ แต่ละเครือข่าย ประสานด้ านบุคลากรกันในพื ้นที่ 5 - 8 จังหวัด นอกจากนี ยั้ งฝึ กอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) ให้ สามารถคัดกรอง คนไข้ โดยใช้ แบบประเมินอาการ จากนันจึ ้ ง ส่งตัวผู้มคี วามเสีย่ งเข้ ารับการวินจิ ฉัยโรคโดย ผู้เชีย่ วชาญ ในสถานบริการด้ านสุขภาพจิตทีม่ ี 18 แห่งทัว่ ประเทศ นางสกาวรัตน์ กล่าวอีกว่า จังหวัดที่ไม่มี จิตแพทย์ประจ�ำ กรมสุขภาพจิตได้ จดั ท�ำแนว ปฏิบตั แิ ก่แพทย์ทวั่ ไปให้สามารถรักษาและสัง่ ยา ในเบื ้องต้น มีพยาบาลซึง่ ผ่านหลักสูตรฝึ กอบรม โรคทางจิตระยะสัน้ 6 เดือนคอยให้คำ� ปรึกษา แม้ ไม่ครอบคลุมทุกกรณี แต่ยงั ดีกว่าไม่มอี ะไรเลย
ขณะทีผ่ ้ ปู ่ วยโรคซึมเศร้ ารายหนึง่ วัย 21 ปี ซึง่ เข้ ารับการรักษาต่อเนื่องมาแล้ วเกือบ 5 ปี ในโรงพยาบาลของรัฐแห่งหนึ่งในกรุ งเทพฯ เปิ ดเผยว่า ปกติแพทย์จะนัดอย่างต�ำ่ 2 เดือน ต่อ 1 ครัง้ การไปพบแต่ละครัง้ ต้ องรออย่างต�ำ่ 2 - 3 ชัว่ โมง ไป 7 โมงก็จะได้ พบแพทย์ใกล้ เที่ยง เพราะคิวยาว บางครัง้ เสียเวลาเป็ นวัน ส่วนการรักษาแต่ละครัง้ ช่วงแรกอาจจะนาน กว่าครึ่งชัว่ โมง แพทย์จะซักถามละเอียด แต่ ระยะหลังประมาณ 15 นาที แพทย์จะถามสารทุกข์สขุ ดิบนิดหน่อยและจ่ายยาให้ อย่างไรก็ดี ล�ำบากกรณี จิตตกฉุกเฉิ นซึ่งไม่สามารถนัด แพทย์แล้ วพบได้ ทนั ที ด้ านญาติผ้ ูป่วยโรคทางจิ ตอี กรายหนึ่ง กล่าวว่า ญาติของตนอายุ 50 ปี เข้ ารับการ รักษาต่อเนื่องมา 15 ปี ในโรงพยาบาลของรัฐ แห่งหนึง่ ในกรุงเทพฯ แพทย์จะนัดเดือนละครัง้ แต่ละครัง้ ต้ องรอประมาณ 3 ชัว่ โมง แต่ตอน ตรวจใช้ เวลาประมาณ 5 นาที ซึง่ แพทย์ก็จะ ถามอาการผู้ป่วยว่าดีขึ ้นหรื อไม่ กินยาตาม เวลาหรื อเปล่า และแนะน�ำญาติในการดูแล ก่อนทีจ่ ะสัง่ ยา “มีผ้ ูป่วยมากแต่จ�ำนวนจิตแพทย์มีน้อย ท�ำให้ ผ้ ปู ่ วยยังได้ รับการบริ การไม่ดีพอ มีครัง้ หนึง่ ฉุกเฉินถึงขนาดต้ องล็อกตัวผู้ป่วยไป ก็ต้อง รอเป็ นชัว่ โมงและใส่กญ ุ แจมืออยูอ่ ย่างนันกว่ ้ า จะได้ พบแพทย์” ญาติผ้ ปู ่ วยระบุ
ทาง ผู้ดแู ลธนาคารนมแม่ เปิ ดเผยว่า สัปดาห์ หนึง่ มีผ้ บู ริจาค 2 - 3 ราย แต่ละรายสามารถบีบ น� ้ำนมออกมาได้เฉลีย่ 50 ถุง ถุงละ 5 ออนซ์ หรือ เทียบเท่ากับปริมาณของขวดนมขนาดเล็ก 2 - 3 ขวด มีเด็กทารกทีไ่ ด้ รบั น� ้ำนมสัปดาห์ละ 4 คน จ่ายน� ้ำนมขันต� ้ ำ่ 7 ขวดต่อคนต่อสัปดาห์ ถือว่า มีปริมาณเพียงพอกับความต้ องการ “แม่ทมี่ าบริจาคส่วนใหญ่จะเป็ นหมอหรือ พยาบาลที่ ท� ำ งานภายในโรงพยาบาล รามาธิบดี โดยจะมาบีบน� ้ำนมสดทีศ่ นู ย์ ส่วน บุคคลภายนอกทีต่ ้ องการบริจาคจะมีการตรวจ ประวัติอย่างละเอียดก่อนเช่นกัน น� ้ำนมจาก การบริ จาคต้ องผ่านกระบวนการพาสเจอไรซ์ เพื่ อยื นยันความปลอดภัยสูงสุด ที่ ผ่านมา ธนาคารนมแม่ซง่ึ ผ่านการรับรองมาตรฐานทัว่ โลก ยังไม่เคยมีเด็กที่รับการบริ จาคติดเชื ้อ” นางสิริมนต์ กล่าว นางสิริมนต์ กล่าวด้ วยว่า แพทย์จะวินจิ ฉัย ก่อนว่า ทารกควรได้ รับน� ้ำนมแม่บริจาค แล้ ว จึงให้ แม่ลงนามยอมรับหากเกิดผลข้ างเคียง จากการรับบริจาค อย่างไรก็ดี น� ้ำนมบริจาคจะ ถูก น� ำ มาใช้ กับ เด็ก ป่ วยที่ มี ข้ อ จ� ำ กัด ในโรง พยาบาลรามาธิบดีกอ่ น และแจกจ่ายไปยังโรง พยาบาลทีต่ ดิ ต่อขอรับบ้ างเล็กน้ อย ด้ านนางดวงกมล จ�ำสัตย์ อายุ 33 ปี อาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน ผู้เคยบริจาคน� ้ำนมกับ ทางธนาคารนมแม่รามาธิบดี กล่าวว่า ตนมี น� ้ำนมมาก ลูกกินไม่ทนั น� ้ำนมล้ นตู้เก็บ ทราบ ข่าวจากเพือ่ นจึงมาบริจาค โดยขันตอนบริ ้ จาค
จะมีการตรวจเลือดก่อน ซึง่ ต้องจ่ายค่าตรวจเอง แต่กเ็ ต็มใจเพือ่ ให้ เด็กคนอืน่ ๆ ได้ รับน� ้ำนมแม่ ขณะทีน่ างศรีจนั ทรา รื่นสัมฤทธิ์ พยาบาล อายุ 47 ปี ผู้เคยติดต่อรับน� ้ำนมแม่จากธนาคาร นมแม่รามาธิบดี กล่าวว่า ตนเคยขอรับน� ้ำนม จากที่นี่เพื่อน�ำมาเลี ้ยงหลานที่แม่ไปท�ำงาน ต่างจังหวัดและไม่มีน�ำ้ นม โดยมัน่ ใจความ ปลอดภัยเพราะเป็ นโรงพยาบาลทีม่ มี าตรฐาน มี ร ายงานระบุ ว่ า แม้ ธนาคารนมแม่
รามาธิบดีจะเริ่มเปิ ดบริการอย่างเป็ นทางการ แต่ยงั อยูใ่ นช่วงเริ่มต้ น ท�ำให้ ต้องพัฒนาต่อใน เรื่ องการขยายพื ้นที่สง่ ต่อน� ้ำนมให้ ครอบคลุม ไปถึงบุคคลภายนอก รวมถึงขยายพื ้นทีร่ องรับ น� ำ้ นมแม่ที่ต้องการบริ จาคด้ วย ขณะที่โรง พยาบาลอืน่ ๆ มีความต้ องการจะจัดตังธนาคาร ้ นมแม่เช่นกัน แต่มขี ้ อจ�ำกัด อาทิ งบประมาณ สถานที่ และการตรวจความปลอดภัย ซึง่ อ่อน ไหวต่อการติดเชื ้อของทารก
ธนกร สุวรรณรมย์ ภูมิพัฒน์ พรมจันทร์ สุวนันท์ อัศวสืบสกุล อินทร์แก้ว โอภานุเคราะห์กุล
ระวิวรรณ วรรณึกกุล
ชั้น 8 อาคาร กสท.โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) ถนนเจริญกรุง แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กทม. 10500 โทรศัพท์ / โทรสาร : 0-2233-4995-7 เว็บไซต์ : www.ict.su.ac.th www.ictsilpakorn.com/ictmedia www.facebook.com/looksilp