ARUNOTHAI

Page 1

ฉบับที่ ๑ เดือนมีนาคม ๒๕๔๔

อ รุโ ณ ทั ย สื่อโยคะที่เปดกวางสำหรับทุกคน


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย ปลุกพลังในตัวเราดวยแสงแหงโยคะ

Editor’s Note : แสงแรก

GURUJIʼS WORD คําครู

วันนี้ผมโดยสารรถไฟฟาใตดินมาทำงานเหมือนวันทำงานวันอื่นๆ

แตที่ ไมเหมือนเดิมก็คือผมหอบหิ้วเอาหนังสือเกี่ยวกับโยคะติดไมติดมือออก มาดวยสามสี่เลม เพราะวันนี้จะเปน “วันปดตนฉบับ” และมีขอเขียนบางขอ เขียนที่ผมจะตองพึ่งพาหนังสือเหลานี้ ใหลุลวง... หลายเดือนก่อนผมเกิดความคิดถึงการทําจุลสารเกี่ยวกับโยคะ ขึ้นมาฉบับหนึ่งและได้ลองพูดคุยถึงความคิดนี้ให้พรรคพวกเพื่อนฝูงที่ รู้จักและเป็นคนที่รักและฝึกโยคะฟัง ความพิเศษของเพื่อนๆ กลุ่มย่อยที่ ผมรู้จักเหล่านี้ก็คือพวกเราล้วนแต่เคยเป็นคนทํางานด้านสื่อเป็นผู้สื่อ ข่าวหรือทํางานด้านการจัดกราฟฟิกมาก่อนที่จะมารู้จักและได้ฝึกโยคะ ในตอนนี้

จากนั้นผมก็ได้ลองเอ่ยปากชักชวนเพื่อนๆ สองสามคนรวมทั้ง ชวนเพื่อนรุ่นน้องให้มาเป็นอาสาสมัครช่วยจัดหน้าเพื่อให้สื่อของเรา มีหน้าตาสวยงามชวนอ่าน

อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

ข้อมูลและภาพจากเว็บไซต์ www.sivananda.org

ผมเลยได้ความคิดว่าในเมื่อเราต่างก็เคยทํางานด้านการเขียน และเป็นผู้สื่อข่าวมา พอจะมีพื้นฐานทักษะด้านการเขียนเป็นทุนเดิมอยู่ แล้วจึงน่าจะดีถ้าหากเราได้มีพื้นที่แห่งใหม่ที่จะนําเสนอเรื่องราวที่น่า สนใจ สาระเกี่ยวกับโยคะที่เรารักออกมาให้คนอื่นๆ ได้รับรู้แลกเปลี่ยน ได้อ่านกัน เพราะไม่น่าจะยากหรือเหลือบ่ากว่าแรง

ทานสวามีศิวนันทะ (Swami Sivananda) คุรุจีโยคะแหง สำนักศิวนันทะกลาวถึง“หลัก การทั้ง 5 ของโยคะ” (FIVE POINTS OF YOGA) เอาไว ว า ประกอบด ว ยการออก กำลังกายที่ดี (อาสนะ) การ หายใจที ่ ถ ู ก ต อ ง (ปราณา ยมะ) การพั ก ผ อ นที ่ ด ี แ ละ เพียงพอ การบริโภคอาหารที่ ดี (อาหารมังสวิรัติ) และการ มองโลกในแงบวกกับการทำ สมาธิ

หน้า 2


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย แม้ตอนนั้นจะเป็นแค่ไอเดียจากผม แต่ผม ก็อดไม่ได้ที่จะนึกสนุกและแอบคิดแอบวางเนื้อหา เอาไว้ ว ่ า ถ้ า ได้ ล งมื อ ทํ า จริ ง ๆ จะมี เ นื ้ อ หาอะไร คอลัมน์อะไรบ้าง ในช่ ว งเวลาคาบเกี ่ ย วกั น หรื อ ว่ า ก่ อ นนั ้ น เล็กน้อยผมได้รับจุลสารจากฮ่องกงชื่อ Namaskar ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ขาวดําขนาดหน้ากระดาษปกติที่ส่ง มาให้อ่าน Namaskar เป็นจุลสารแจกฟรีแนวเข้ม ข้นจริงจังเกี่ยวกับโยคะ ปรัชญาโยคะ โดยเล่ม ล่าสุดที่ผมได้รับนั้นมีเนื้อหาหลักว่าด้วย “อีศวร ประณิธาน” ซึ่งเป็นนิยมะข้อหนึ่ง นอกจากนี้ยังมี ข่าวสารแวดวงโยคะของเอเชียแปซิฟิก การเวิร์ กช็อปที่น่าสนใจต่างๆ ผมคิดว่าที่ Namaskar สามารถพิมพ์เผยแพร่ และส่งไปให้สตูดิโอ ชุมชน โยคะต่างๆ ทั่วไปในเอเชียได้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย นั้น เป็นเพราะการลงโฆษณาโดยแบบเฉพาะด้าน ในตลาดโยคะที่เฟื่องฟูและได้รับความสนใจมาก ของฮ่องกง ผมไม่ได้มุ่งหวังว่าถ้าหากได้ทําสื่อโยคะดัง ใจคิดออกมาจะต้องมีรูปเล่มสวยงามหรือต้องจัด พิมพ์ลงบนกระดาษ จะต้องมีเนื้อหาเข้มข้นจนอาจ จะนําเสนอออกไปในวงกว้างได้โดยไม่เคอะเขิน หรือเทียบเท่าสื่อโยคะอื่นๆ ที่มีมาก่อนหน้าหรือมี อยู่แล้ว แต่ มุ่งที่การเปิดกว้างและเข้า ถึ ง เรื ่ อ ง ราวของโยคะในแง่ มุมที่ ไม่ ค ่ อ ยได้ ม ี

การกล่าวถึง เปรียบแล้วก็คงเป็นได้แค่แสงเล็กๆ แสงแรกของวันที่ให้แสงสว่างอันอบอุ่นและเป็น มิตร ไม่เจิดจ้ารุนแรงแต่ก็สว่างเพียงพอที่จะสร้าง ความอุ่นใจและช่วยให้มองเห็น ในความหมายถึง การเริ ่ ม ต้ น วั น ใหม่ ท ี ่ ด ี ด ้ ว ยแสงอรุ ณ แสงแรกที ่ เปล่งแสงออกมาสู่โลกและปลุกทุกสรรพสิ่ง ถึงบรรทัดนี้ “อรุโณทัย” ซึ่งเป็นข้อเขียน เกี่ยวกับโยคะและเรื่องราวที่น่าสนใจ (หวังว่านะ ครับ) เกี่ยวกับการฝึกโยคะ แรงบันดาลใจที่ได้รับ จากโยคะการรักษาสุขภาพ การมองโลกในแง่ บวกก็ได้ฉายแสงแรกออกมาแล้ว อาจจะไม่โดน ใจหรือไม่ถูกใจบ้าง แต่ก็น่าจะจุดเริ่มต้นที่ดี และ สํ า หรั บ ผมเองก็ เ ป็ น เหมื อ นการได้ ล งมื อ ทํ า บาง อย่างที่เคลื่อนย้ายจากจุดเริ่มต้นที่เป็นความคิด ล่องลอยอยู่ในอากาศให้ปรากฏผลออกมา ขอบคุ ณ เพื ่ อ นๆ คนรั ก โยคะทั ้ ง หลายใน กลุ่ม Arunothai : Thailand Public Yoga Journal Group ในเฟซบุ๊คที่ให้ความสนใจและ ไม่ ป ฏิ เ สธคํ า ชวน (ถึ ง วั น นี ้ ต อนนี ้ ท ี ่ ผ มนั ่ ง เขี ย น ต้นฉบับเรื่องนี้มีเพื่อนๆ ในกลุ่ม 84 คนแล้วนะ ครับ) ขอบคุณเอ๋และจุสําหรับภาพถ่ายและการ แชร์เรื่องราว หวังว่าเพื่อนๆ และน้องๆ จะได้ ทยอยบอกเล่าเรื่องราวที่น่าสนใจเกี่ยวกับโยคะใน มุมมองของตัวเองมาร่วมกับ “อรุโณทัย” กันนะ ครับ ขอให้ทุกท่านได้อยู่กับโยคะตลอดไป นมัสเต

อิทธิฤทธิ์ ประคำทอง ติดต่อเรา : ท"านสามารถส "งความคิดเห

็นที่มีต"อ

อ ร ุโ ณ ทั ย

หรือสนใจ ส"งเรื่องราว มุมมอง บท ความ ข;อเขียนมาได;ที่ : ittiritp@gmail.com , bhaskara100@hotmail.c om โทร. 085 0725552 •

อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

หน้า 3


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย Main Scoop - เรื่องประจําฉบับ : โยคะหน้าใหม่

คำแนะนำสำหรับโยคะหน-าใหม่

มื่อประมาณสองอาทิตยที่แลว มีคนมาเรียนโยคะกับผมกัน สามคน ทั้งสามคนลวนเปน “โยคะหนาใหม่” หรือผูที่เพิ่งจะ เริ่มฝกโยคะเปนครั้งแรกๆ (บางคนอาจจะเคยฝกหรือซื้อหา หนังสือมาดูเพื่อฝกตามแตก็เพิ่งจะเคยเขาหองเรียนโยคะแบบมี ครูสอนจริงๆ จังๆ ครั้งแรก) แม้ ว ่ า ผมจะเริ ่ ม สอนโยคะได้ ไ ม่ น านนั ก แต่ ก ็ ไ ม่ ไ ด้ ต ื ่ น เต้ น กั บ ความใหม่ของผู้ที่มาเรียน เพียงแต่พยายามดูแลพวกเขาให้ฝึกกัน ให้ ไ ด้ ด ี ท ี ่ ส ุ ด (แต่ ไ ม่ ใ ห้ ด ู เ ป็ น การจงใจหรื อ ตั ้ ง ใจที ่ จ ะดู แ ลแบบเพ่ ง เล็งจนคนเรียนเครียด)ให้ผู้มาเรียนได้สัมผัสถึงคุณค่าและความดี งามของโยคะตามที่เป็นจริงที่สุด ที่สําคัญก็คือได้สัมผัส “โยคะ” ตามที่คาดหวังและไม่ผิดหวังจนไม่อยากฝึกหรือไม่กลับมาฝึกอีก

พั ก ผ่ อ นให้ เ พี ย งพอก่ อ นการฝึ ก โยคะ

สนุ ก สนานและแรงบั น ดาลใจให้ เ ราสนใจจนเดิ น เข้ า ไป

ควรเริ่มฝึกโยคะอย่างน้อยให้ต่อ เนื่องสัปดาห์ละไม่ต่ํากว่า 3 ครั้ง ครั้งละไม่น้อยกว่า 30 นาที

ร่วมฝึกโยคะในห้องเรียนโยคะเป็นครั้งแรกๆ ทําไมเราถึง ค้างท่าไม่ได้นานหรือทําท่านั้นไม่ได้เหมือนคนนั้นคนนี้ ทําไมเราถึง

ไม่ฝืนทํา ทําเท่าที่ร่างกายจะรับ ไหว ค่อยๆ ให้เวลาในการฝึก

อะไรคือความยากของการเริ่มต้นกับโยคะ อะไรคือความ

ได้ตัวแข็งกว่าคนที่ฝึกอยู่ข้างๆ และอะไรคือสิ่งที่ท้าทายสําหรับคนที่ ฝึกโยคะครั้งแรก เราจะผ่านพ้นความยากความไม่สนุก อาการผะอืด ผะอมเวียนหัว หายใจไม่ทันตามจังหวะที่ครูบอกสอนในครั้งแรกๆ ไป ได้อย่างไร ...ฯลฯ... สิ่งต่างๆ ทั้งหมดที่ผมว่ามาล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นและวนเวียน อยู่ในหัวและในจิตใจของชาวโยคะหน้าใหม่ด้วยกันทั้งนั้น แม้เราจะ มองว่าคําถามหรือความสงสัยต่างๆ ตลอดจนความไม่แน่ใจความ ไม่รู้จะเป็นสิ่งที่เป็นธรรมชาติของผู้ฝึกโยคะครั้งแรกด้วยกันทุกๆ คน แต่ทําอย่างไรเราจึงจะสามารถเข้าใจและแปร เปลี่ยนความรู้สึกไม่ดี ความไม่ชอบไม่ประทับใจที่เกิดขึ้นครั้งแรกในห้องฝึกโยคะให้กลาย เป็นพลังและความสนใจ ที่ต่อเนื่องไว้ได้ จนสามารถฝึกฝนและอยู่กับ โยคะได้ยาวนาน

อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

ไม่ ท ํ า น้ อ ยเกิ น ไป จนไม่ ไ ด้ ร ั บ ประโยชน์ จ ากการฝึ ก หรื อ มากเกิ น ไปจนบาดเจ็บ หายใจเข้ า ออกทางจมู ก ให้ ล ึ ก และยาวอย่างต่อเนื่อง ไม่เผลอกลั้น หายใจ แม้ ช ่ ว งจั ง หวะของการ หายใจของเราในครั ้ ง แรกของการ ฝึกอาจจะไม่สัมพันธ์กับที่ครูบอก ก็ ให้หายใจอย่างต่อเนื่อง มีสมาธิจดจ่ออยู่กับเสียงของครู ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การจั ด ระเบี ย บ ร่างกาย มีการผ่อนคลายให้เหมาะสมก่อน และหลังการฝึก (ด้วยท่าศวาสนะ)

ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

หน้า 4


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย ทุกๆ คนย่อมมีวันแรกด้วยกันทั้งนั้น

แม้แต่บางครั้งก็จดจ่อจนเกินไป

ตั้งใจจนเกินไป

ครูคนแรก... เพื่อนร่วมฝึกในเสื่อข้างๆ

(เพราะว่ายังเป็นคนหน้าใหม่) จนเกิดความเครียด

คนแรก...

ขึ้นมาอย่างไม่รู้ตัว

แรก...

การเข้าห้องฝึกโยคะครั้ง

การฝึกหายใจครั้งแรก...

ท่า

อาสนะท่าแรกที่ได้เรียนรู้และได้ลองทํา... ตลอดจน

เมื่อต้องสอนโยคะให้กับผู้ที่เพิ่งเริ่มฝึกหรือก้าว เข้าสู่เส้นทางอันยาวไกลของโยคะ ผมจึงตั้งใจสอน

ความผิดพลาดครั้งแรก ความจริงแล้วทุกสิ่งอย่าง

ทุกการกระทําและ

ให้ดีที่สุด

แต่ขณะเดียวกันก็จะต้องสอนให้เรียบ

ทุกๆ คนล้วนแต่เคยพานพบกับ “ความใหม่” หรือ

ง่ายที่สุดและชัดเจนที่สุดด้วย

ความเป็นหน้าใหม่ในหลายๆ เรื่องหลายๆ วงการ

สามารถบอกในรายละเอียดในการบอกท่า

อยู่ตลอดเวลาและเสมอมา

ความใหม่แม้จะทําให้

สาธิตให้ดูและให้ผู้ที่ฝึกหยุดก่อนดูทุกครั้ง สอนใน

เราดูงกๆ เงิ่นๆ ไม่เข้าที่เข้าทาง หรือสร้างความ

พื ้ น ฐานของการหายใจที ่ ถ ู ก ต้ อ งในการฝึ ก โยคะ

สับสนกระอักกระอ่วนไม่แน่ใจในสิ่งที่เป็นอยู่

และให้สังเกตลมหายใจ

แต่

มีตัวอย่างหรือ การ

สังเกตความเชื่อมโยง

ด้ วยเนื ้ อ แท้ ข ององค์ ป ระกอบของความใหม่ ม ี อ ยู ่

เชื่อมต่อระหว่างร่างกาย จิตใจ ลมหายใจให้สงบ

นั่นคือพลังงานแห่ง “ความพร้อมที่จะเรียนรู้” ที่มี

และสัมพันธ์กันตลอดการฝึก

อยู่อย่างเปี่ยมล้น

และความ

ออกจากห้องฝึกหรืออยู่นอกเสื่อโยคะไปแล้วก็ขอ

อยากรู้อยากเห็นที่เป็นเหมือนพลังงานที่จะเอื้อให้

ให้รู้ตัวและให้หายใจได้ลึกได้ยาวไว้ทุกเมื่อรู้สึกตัว

เกิดสิ่งต่างๆ

เปรียบเหมือน

จับหลักการและปฏิบัติตามเท่านี้ให้ได้ก่อนโดยที่

ทอแสงขึ้นอย่าง

ไม่ต้องเคร่งเครียดหรือ “ใช้สมองจดจํา” นอกเหนือ

งดงามและสัมผัสได้เพียงตาเปล่า ก่อนจะทวีความ

จากนั้นคือการรักษาความสนใจในการที่อยากจะ

ร้อนแรงเป็นแสงตะวันในยามสายที่มีแสงร้อนแรง

มาฝึกโยคะไว้ให้ได้และพยายามที่จะฝึกโยคะเป็น

จนสามารถขั บ ไล่ ค วามมื ด ดํ า และขจั ด เชื ้ อ โรค

ประจําสม่ําเสมอให้ได้ด้วย

ความกระตือรือร้น

อันยิ่งใหญ่ต่อไปได้

แสงอาทิตย์ยามรุ่งอรุณที่ค่อยๆ

ต่างๆ ออกไปได้ด้วยพลานุภาพที่รุนแรงขึ้น แต่ขณะเดียวกันเมื่อเราเป็นคนใหม่ในวงการใด หรือเรื่องราวใดเรื่องราวหนึ่งก็ตาม ความใหม่อาจ จะมีความหมายเท่ากับ “ความไม่รู้”

อาจเป็นต้น

เหตุ ข องความวิ ต กกั ง วลในความไม่ ร ู ้ ใ นตั ว เอง ความไม่แน่ใจในการกระทํา หมายในวันข้างหน้า

การมองไม่เห็นเป้า

จนกลับกลายเป็นความวิตก

กังวลหรือเคร่งเครียดไป แม้ในขณะที่เพิ่งจะเริ่มต้น การเรียนรู้หรือลงมือทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ผู้ที่เพิ่ง เคยเข้าฝึกโยคะครั้งแรกๆ อาจจะไม่คุ้นเคยกับครู กับบรรยากาศในห้องฝึก การสอน และผู้ร่วมฝึก จนไมสามารถมีสมาธิอยู่กับการเคลื่อนไหว

หรือ

การหายใจ การทําท่าอาสนะใดๆ ของตัวเอง หรือ

อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

หรือแม้แต่จะละพ้น

ทําอย่างไรที่เราจะรักษาและแปร เปลี ่ ย นความใหม่ ท ี ่ ห มายถึ ง ความไม่แน่ใจความไม่รู้ ให้เป็น ความใหม่ ใ นความหมายของ “พลัง” ของการเรียนรู้ ทําอย่างไรที่เราจะรักษาและ แปรเปลี่ยนความใหม่ ความใหม่ที่หมายถึงความ ไม่แน่ใจความไม่รู้ให้เป็นความใหม่ ในความหมาย ของ “พลัง” ของการเรียนรู้ ความกระตือรือร้นที่ไม่ หมดไปแค่เพียงหนแรกหนเดียวที่ได้เริ่มฝึกโยคะ ด้วยปัญหา ความไม่พร้อม ความผิดหวัง ความไม่ แน่ใจต่างๆ นานาที่เกิดขึ้น แต่ยังคงสามารถรักษา ความสนใจที ่ ม ี เ ต็ ม เปี ่ ย มในวั น แรก แปรเปลี ่ ย น ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

หน้า 5


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย

ในหนังสือ “หัวใจแห"งโยคะ ” โดย ที เค วี เทสิกาจาร ยC หน;า 63 (เริ่มต;นจากที่เราเปEน) มีค ำแนะนำที่น"าสนใจสำหรับผู;ท ี่เริ่มต;นฝJก โยคะเอาไว;ว"า

“เราควรเริ่มฝกอะไรที่งายกวา ความคิดงา ยๆ นี้เปนรากฐานของ การฝกโยคะทั้งหมดของเรา การฝกทวงท าตางๆ อยางคอยเปน คอยไปจะทำใหเราคอยๆ เริ่มมีความมั่นคง ตื่นตั ใดคือเขาถึงความสบายไดมากขึ้น ถาเราตอ ว และเหนือสิ่งอื่น งการทำใหหลักการฝก อาสนะนี้กลายเปนจริง เราจะตองยอมรับตั วเราอยางที่เราเปน...” ความไม่แน่ใจความไม่รู้ความสับสนและกังขาให้

แสดงกายกรรมหรื อ นั ก ยิ ม นาสติ ก ที ่ ต ั ว อ่ อ นๆ

เป็ น พลั ง ของการเรี ย นรู ้ กระตื อ รื อ ร้ น จนเข้ า ถึ ง

เท่าใดนัก

ความงดงามและได้สัมผัสได้ถึงคุณประโยชน์ของ

ผมคิดว่าแนวคิดหรือการยึดติดภาพเช่นนี้เองก็

โยคะสมดั ง ที ่ ต ั ้ ง ใจไว้ ใ นวั น แรกเมื ่ อ ยั ง เป็ น โยคะ

น่ า จะเป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น กั บ บรรดาชาวโยคะ

หน้าใหม่เอาไว้ได้ตลอดรอดฝั่ง โดยที่ความใหม่ที่มี

หน้าใหม่ ด้วยอาจจะคิดว่าโยคะจะต้องเป็นท่าที่ตัว

อยู่ในตัวจะเป็นเหมือนแสงตะวันอันฉายฉานของ

อ่ อ นๆ มากๆ แข็ ง แรงมากๆ ทํ า ท่ า ยากๆ ได้

ดวงอาทิตย์ยามแรกอรุโณทัยที่ค่อยๆ ทวีพลังไปจน

สวยงาม หรือค้างท่านั้นท่านี้ได้นานๆ จนทําให้

เหมือนอาทิตย์เที่ยงวันที่สามารถเปล่งพลัง ให้แสง

จิตใจเกิดความคาดหวังหรือความหวาดหวั่นไปใน

สว่างแก่ความไม่รู้ไม่แน่ใจ พาให้ฝ่าพ้นอุปสรรค

ขณะที่เพิ่งจะได้เริ่มเข้ามาสัมผัสกับโยคะเป็นครั้ง

ความไม่พร้อม ความอ่อนแอทางร่างกายและจิตใจ

แรก

จนเข้าถึงโยคะได้

ผู้ที่ฝึกโยคะที่ผ่านการเป็นโยคะหน้าใหม่กันมา บ่อยครั้งที่ได้เจอใครก็ตามที่รู้ว่า

ผมฝึกโยคะ (คนไทยเราชอบใช้คํา ว่า “เล่นโยคะ” ซึ่งผมไม่เห็นด้วย เพราะคําว่าเล่นนั้นสื่อถึงความรู้สึก เล่นๆ ไม่ได้เอาจริงเอาจังกับสิ่งที่ทําอยู่ แต่เท่าที่ผม ได้สัมผัสผู้ฝึกโยคะแต่ละคนไม่ได้เล่นๆ กับการฝึก

แล้วระยะหนึ่งคงพอจะเข้าใจได้ว่า “สาระสําคัญ ที่แท้จริง” ของโยคะไม่ใช่การทําท่ายากๆ ให้ได้ หรือสามารถทําอาสนะที่ยากๆ ได้ แต่ฝืนทําหรือฝืน ร่างกายและความพร้อมของร่างกายและจิตใจจน เกิดบาดเจ็บหรือเกิดผลกระทบในทางลบจากการ ฝึกโยคะ ซึ่งไม่เป็นผลดีอย่างใดต่อผู้หนึ่งผู้ใดเลย

เลย แต่ละคนเอาจริงเอาจังด้วยกันทั้งนั้น) พวกเขา

สาระสําคัญโยคะแท้จริงนั้นเรียบง่ายมาก

มักจะถามผมว่า ทําโยคะได้ถึงขั้นไหนแล้ว ทําท่า

คือการมองลึกเข้าไปในตัวเราเองแต่ละ

ยากๆ ท่านั้นท่านี้ได้หรือยัง อาจเพราะนึกภาพว่า

คน สามารถรักษาความสงบและเป็นหนึ่ง

โยคะคือการทําท่าที่จะต้องตัวอ่อนๆ ม้วนพับตัวลง

เดี ยวของร่ า งกายและจิ ต ใจเอาไว้ ให้ ได้

มากๆ ได้ หรือการยกแขนยกขาพาดคอได้โดยง่าย

โดยมีสมาธิอยู่กับลมหายใจที่เคลื่อนไหวอย่างรู้ตัว

ซึ่งฟังดูแล้วโยคะในลักษณะนี้แทบไม่ต่างจากการ

หายใจอย่างสงบ ลึกและยาว ตลอดเวลา

อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

หน้า 6


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย อาสนะท่าที่ยากหรือดัดแปลงพลิก

ครูโยคะท่านหนึ่งที่ผมรู้จักเคยพูดว่า ทุกคนมี

แพลงมากขึ้นจะเป็นเหมือน

ครั้งแรกกับโยคะเสมอ มีนาทีแรกและวันแรก ใน

ผลพลอยได้หรือสิ่งที่ตามมาเองเมื่อ

ครั้งแรก ปีแรกหรือแม้แต่สิบปีผ่านไปแล้วก็ตาม

ร่างกายและกล้ามเนื้อจดจําได้ เมื่อ

ทุกคนก็ยังเป็นคนแรกหรือ “หน้าใหม่” สําหรับ

ได้ให้เวลาจนร่างกายและจิตใจเรา

โยคะอยู่เสมอ ซึ่งผมเห็นด้วยเป็นอย่างยิ่งเพราะ

เกิดความพร้อมในวันหนึ่งข้างหน้าได้เองโดยที่ไม่

เมื่อเราตระหนักและรู้ตัวเสมอก่อนการฝึกโยคะจะ

ทิ้งการฝึกโยคะไปกลางคัน แต่ฝึกด้วยความตั้งใจ

เริ่มขึ้นว่าทุกนาทีคือความใหม่ ทุกคนคือคนใหม่

และมีเวลาให้กับการฝึกอย่างต่อเนื่องสม่ําเสมอ

ของโยคะและทุกครั้งของการฝึกคือการเรียนรู้ครั้ง ใหม่อยู่เสมอ ย่อมจะทําให้การฝึกโยคะเต็มไปด้วย ความกระตือรือร้น ความสนใจ พลังและการเรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ ทุกเมื่อไม่สิ้นสุด

เรื่องราวที่แบงปนจาก “โยคะหนาใหม” จุฑามาศ อายุ 35 แมบาน ฝกอยูที่ณิชาโยคะ * ตอนที่เริ่มฝกโยคะครั้งแรกรูสึกอยางไร เริ่มฝกจริงจังครั้งแรกเมื่อกุมภาพันธ 2553 วันแรกฟงครูแลวทำตามไมคอยได สะเปะสะปะไปจนจบคลาส รูสึก อยางเดียวคือเหนื่อย *ชอบอะไรและไมชอบอะไรในการฝกโยคะบาง ฝกไปซักพักถึงจะเขาใจวา โยคะคือการกลับมาอยูกับตัวเอง ชอบความสงบที่เกิดขึ้นระหวางฝก รางกายและ จิตใจไดกลับมาเปนหนึ่งเดียวกัน ยอมรับตัวเอง หาความสุขในขณะอยูในอาสนะ หายใจเขาและออกอยางผอน คลาย พอเลิกคลาสจะรูสึกวาเบาสบายใจ ยังไมรูสึกวาไมชอบอะไรเกี่ยวกับโยคะเลย *พอฝกหรือไดรูจักโยคะแลวเปนเหมือนที่คิดภาพเอาไวกอนที่จะไดเรียนหรือไม กอนมาเรียนก็เห็นพี่ๆหลายคนหลงรักโยคะ ก็สงสัยวาโยคะดีขนาดนั้นเลยเหรอ คิดวาเราไมคอยแข็งแรง จะฝก ไหวหรือเปลา แตพอมาเรียนถึงไดรูวา โยคะนั้นเพื่อทุกๆ คนและสำหรับทุกๆ คน รูสึกโชคดีมากที่ใหโอกาสตัว เองมาทำความรูจักโยคะ *มีคำแนะนำสำหรับคนใหมๆ ที่อยากจะมาเริ่มฝกโยคะอยางไรบาง เริ่มฝกโยคะอยางผอนคลาย คอยเปนคอยไป ทำเทาที่ทำได อยูกับตัวเองไมแขงขันกับใครๆ จะมีความสุขกับ การฝกโยคะมากที่สุด •

อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

หน้า 7


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย My Blog : ความสุข สามัญประจําบ้าน (การกลับมาของ) ความสุขสามัญประจำบ4าน

มื่อประมาณเกือบสองปกอนผมเริ่มตนขอเขียน

ชุด “ความสุขสามัญประจำบาน” ขึ้นที่เว็บไซตของ บริษัท รักลูกฯ (www.momypedia.com) เพราะมี เพื ่ อ นชั ก ชวนให ไปร ว มเขี ย นคอลั ม น ในส ว นของ “Expert Blogger” โดยผมวางไว ใหเปนเรื่องราวของ โยคะ สมาธิ สุขภาพที่ดี การดูแลตัวเองแบบองค รวม อาหารเพื่อสุขภาพ และความคิดเชิงบวก

เมื่อต้นปีที่ผ่านมา อาจเป็นเพราะอากาศเปลี่ยน หรือร่างกายอ่อนแอก็ไม่ทราบได้ ทําให้ผมมีอาการ เป็นไข้หวัด เจ็บคอ ตัวร้อนและไอ แต่ก็ไม่หายขาด ง่ า ยๆ อาการกลั บ หมุ น วนเปลี ่ ย นจากเป็ น อย่ า ง หนึ่งไปสู่อย่างหนึ่งอยู่อย่างนั้น ทั้งตัวร้อน เจ็บคอ ไอ อยู่นานนับเดือน

ผมเริ่มต้นการเขียนเรื่องราวลงในบล็อกแห่งนี้ ด้ ว ยความกระท่ อ นกระแท่ น ต่ อ เนื ่ อ งบ้ า งไม่ ต ่ อ เนื ่ อ งบ้ า งจนกระทั ่ ง มี เ นื ้ อ หาและข้ อ เขี ย นออกมา ประมาณสิบกว่าเรื่อง แล้วจู่ๆ ผมก็ไม่ค่อยได้เขียน อะไรใหม่ลงไปในบล็อกที่ว่านี้อีก ทั้งๆ ที่ชีวิตก็ยัง คงดํ า เนิ น ไปตามปกติ ยั ง คงมี ก ารฝึ ก โยคะอยู ่ เหมื อ นเดิ ม มี ก ารเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมโยคะและ สุขภาพ มีการเดินทาง และมีการเดินทางของความ คิดอยู่เหมือนเดิม เมื่อได้ฤกษ์และเริ่มลงมือเขียนต้นฉบับและจัด ทํา “อรุโณทัย” ด้วยตัวเอง ผมจึงรวบรัดตัดความ และเสนอให้ตัวเองเป็นคอลัมนิสต์ในสื่อใหม่แห่งนี้ เสีย และได้ตัดสินใจที่จะดึงคอลัมน์กลับมาอีกครั้ง ทั้งยังคงประเด็นที่จะเล่าหรือเขียนถึงเอาไว้เหมือน เดิม (นั่นคือเรื่องราวเกี่ยวกับโยคะ สมาธิ สุขภาพที่ ดี การดูแลตัวเองแบบองค์รวม อาหารเพื่อสุขภาพ และความคิดเชิงบวก)

อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

หน้า 8


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย My Blog : ความสุข สามัญประจําบ้าน แรกที เ ดี ย วผมพยายามที ่ จ ะต่ อ สู ้ ก ั บ อาการ ต่างๆ ด้วยตัวเอง แต่การหยุดสิ่งต่างๆ เพื่อปรับ ร่างกายให้คืนสู่ความสมดุลอีกครั้ง ไม่กินน้ําเย็น

ประสิทธิภาพนอกร่างกายจากตัวยาเอามาสู้รบรา กับโรคภัยแทนความเข้มแข็งในตัวเราเอง

เมื่อตัวร้อนก็ไม่อาบน้ําแต่ใช้การเช็ดเนื้อเช็ดตัวเอา

แต่ในที่สุดผมก็ต้องยอมกินยาลดไข้บ้างเมื่อตัว

บอกตัวเองว่าต้องนอนพักให้มาก ดื่มน้ําให้มากๆ

ร้ อ นจั ด ย้ อ นกลั บ มาและเป็ น ต่ อ เนื ่ อ งมากกว่ า

แต่ที่สําคัญก็คือผมพยายามที่จะไม่กินยา

สัปดาห์ที่สอง มิหนําซ้ํายังไข้ขึ้นสูงมาก แต่ก็ยัง เป็นการกินยาแบบขยักขย้อน กินตามอาการและ

ผมคิดว่าสําหรับคนที่สนใจการมีสุขภาพดีแข็ง

กินต่อเมื่อรู้สึกว่าไม่ไหวจริงๆ แล้วก็พยายามดื่มน้ํา

แรงด้วยโยคะหรือการดูแลรักษาร่างกายแบบองค์ รวมคงเห็นด้วยกับผมหรือแม้แต่เคยคิดเคยปฏิบัติ

ตามให้มากๆ จนเกินกว่าความรู้สึกกระหายน้ําที่ ร่างกายบอก

อย่างเดียวกันคือการหันหลังให้กับยาแผนปัจจุบัน อย่างแทบจะสิ้นเชิง เพราะการเอายาเข้าปากอาจมี

เมื่อมีความจําเป็นต้องไปหาหมอที่โรงพยาบาล

ความหมายเท่ากับความอ่อนแอ ยอมแพ้ต่อเชื้อ โรคและโรคภั ย และต้ อ งหั น ไปยื ม มื อ ความมี

ในที่สุดเพราะอาการไข้หวัดต่างๆ ไม่หายขาดไป เสียทีจนคนรอบข้างอารมณ์เสียและกลัวว่าจะพาล เสียงานการไปเพราะต้องลาป่วย แม้อาการจะไม่ รุนแรงจนเพียบหนักก็ตาม แต่ด้วยภาระหน้าที่และ การใช้ ช ี ว ิ ต ทํ า ให้ ต ้ อ งยอมหั น ไปพึ ่ ง มื อ หมอแผน ใหม่ คําคําหนึ่งที่หมอที่โรงพยาบาลบอกกับผมเมื่อ รู้ว่าผมป่วยเพราะอะไร ก็คือ “อากาศ ตอนนี้เป็นแบบนี้มีคนไม่สบายเหมือน คุณมาหาหมอเป็นล้านเลย” ผมรู้ดีว่า หมอไม่ ไ ด้ ป ระชดนะครั บ เพราะดู เ อา จากสีหน้าและน้ําเสียง แค่ต้องการขยาย ภาพให้ชัดขึ้นว่าใครๆ เขาก็ไม่สบายกัน ทั้งนั้น เมื่อไรล่ะครับที่เราควรจะดูแลร่างกายของ เราด้วยตัวเราเองให้ดีที่สุด เมื่อไหร่ที่เราควร จะรู ้ ต ั ว ว่ า พ่ า ยแพ้ ห รื อ ยอมแพ้ ต ่ อ ความเจ็ บ ป่วย (เพราะบางครั้งเมื่อป่วยคนเราก็อ่อนแอ ได้ทั้งร่างกายและจิตใจ) จนต้องยอมไปหาหมอ แผนใหม่และกินยาแผนปัจจุบัน

อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

หน้า 9


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย My Blog : ความสุข สามัญประจําบ้าน ทางเลือกของการผสมผสานทุกสิ่งอย่างและพบ กันที่ตรงกลางในการดูแลสุขภาพและการไปให้พ้น จากปัญหาโรคภัยไข้เจ็บ จะมีความหมายเหมือน

ในระดับเล็กๆ น้อยๆ ปวดท้อง ตัวร้อน คัดจมูก หรือไอจามเรื้อรัง

กับหรือเท่ากับการดูแลสุขภาพด้วยทางสายกลาง

ไม่ใช่เห็นโลงศพแล้วค่อยหลั่งน้ําตา เจอโรค

หรือไม่ ผมหมายถึงความคิดที่ไม่ยึดติดกับขั้วใด

ร้ายถูกต้อนเข้าสู่มุมอับทางตันจนเกือบจะไร้ทาง

มากจนเกินไป แต่แสวงหาหรือทดลองสมหนทางที่ เหมาะสมกับตัวเราเอง วิถีชีวิต สภาพสังคมที่เป็น

เลือกทางออกแล้วจึงค่อยเริ่มคิดเริ่มไขว่คว้าหาคํา ตอบเอากับตัวเอง ถึงตอนนั้นอาจทําให้ยิ่งคิดก็ยิ่ง

อยู ่ อ ย่ า งไม่ ย ี ด ติ ด หรื อ ยื น กรานกั บ แนวทางใด

เครียด โรคร้ายก็ยิ่งรุนแรง แต่ก็ไม่พบทางออก

แนวทางหนึ่งจนแข็งตึงเกินไป

จริงๆ จังๆ เสียที

ผมคิดว่าสิ่งนี้น่าจะเป็นคําถามหนึ่งที่น่าคิดและ

แต่ถึงอย่างไรผมก็หวังว่าคนที่รักโยคะจะเป็น

ใคร่ครวญและเริ่มที่จะหัดคิดกันเอาไว้บ้างได้แล้ว

คนที ่ ร ั ก สุ ข ภาพและมี ส ุ ข ภาพที ่ แ ข็ ง แรงทั ้ ง ทาง

เมื่อเราอาจจะกําลังป่วยด้วยไข้หวัดหรือไม่สบาย

ร่างกายและจิตใจนะครับ

หนังสือโยคะนาอาน

“หัวใจแหงโยคะ”

คนหาทวงทาและมรรคาเฉพาะตัว “หนังสือที่เขียนโดยศรีเทสิกาจารยเลมนี้เปนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฎี และการฝกโยคะที่ทรงคุณคา เปนหนังสือที่จำเปนสำหรับผูเรียน โยคะและครูสอนโยคะ ศรีเทสิกาจารยเปนครูที่มีความสามารถเจริญ รอยตามบิดาคือ ศรีกกฤษณมาจารยาซึ่งเปนครูโยคะทีดีที่สุดคน หนึ่งในยุคสมัยของทาน” (จากคำอำนวยพรโดยอินทราเทวีในเลม) ผูเขียน : ที. เค. วี. เทสิกาจารย ผูแปล : ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน บรรณาธิการ : พระไพศาล วิสาโล แปลจาก The Heart of Yoga: Developing a personal practice พิมพครั้งที่ 2 ตุลาคม 2550 สำนักพิมพมูลนิธิโกมลคีมทอง จำนวนหนา 460 หนา ราคา 325 บาท อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

หน้า 10


ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๔

อ ร ุโ ณ ทั ย

รายงานโดย : หมวย

ตั้งเจริญมั่นคง

Yoga Place &People : ผู้คนและเรื่องราวบนหนทางโยคะ คุณสมณา

หาญบุญทรงหรือครูโหน"งแห"งบ;านโยคะ

เปEนลูกศิษยCปรมาจารยCโยคะของ

ประเทศไทย ครูชด หัศบำเรอ เปQดบ;าน (ทาวนCเฮาสC) ในหมู"บ;านพรไพลิน ถนน ลาดพร;าวซอย 35/1 เปEนสถานที่สอนโยคะมากว"า 20 ปUแล;วสำหรับบ;านโยคะของครู โหน"งจ"ายค"าเรียนเปEนครั้งๆ ละ 100 บาท มาเรียนเมื่อไหร"ก็จ"ายเงินเมื่อนั้น ไม"มีการ ผูกมัดหรือกดดันผู;ฝJกว"าเสียเงินค"าเรียนแบบรายเดือนหรือรายปU บ; า นโยคะของครู โ หน" ง เปQ ด ดำเนิ น การมานานแล; ว

ผู ; ม าฝJ ก จะบอกกั น ปากต" อ ปาก

ทำให;รู;จักกันในระดับหนึ่งแต"ก็ไม"กว;างขวางนัก รูปแบบของบ;านโยคะให;ความรู;สึกอบอุ"น และเปEนกันเองมากกว"าการไปฝJกโยคะที่ฟQตเนส ระบบการจัดการของบ;านโยคะจะมี คลาสทุกวันๆ ละ 2 ชั่วโมง หยุดวันพฤหัสบดีเพียงวันเดียว ช"วงเวลาที่เหมาะสมของ นั ก เรี ย นที ่ ม าฝJ ก โยคะที ่ บ ; า นครู โ หน" ง คื อ

วั น ธรรมดาวั น ละหนึ ่ ง คลาส

เวลา

16.00-18.00 น. ส"วนวันเสารC-อาทิตยCมี 2 คลาส เปEนช"วงเช;า 7.00 น. และ 10.00 น. ด;วยประสบการณCการเปEนครูโยคะมากว"า

2

ทศวรรษ

ครูโหน"งจึงมีแง"มุมดีๆ

ทั้ง

สำหรับคนที่สนใจจะเปEนครูโยคะมาแบ"งป\นกัน ก"อนหน;าที่ครูโหน"งจะมาฝJกโยคะกับครูชดนั้น ความที่เริ่มเบื่อการทำงานแบบออฟฟQศ

ครูโหน"งทำงานด;านวิทยุมาก"อน

ด;วย

บวกกับพี่สาวอยากเปQดบ;านเปEนสถานที่ฝJกโยคะ

แต"ไม"สามารถลาออกจากงานประจำเพื่อทุ"มเทให;กับความฝ\นได; ครูโหน"งจึงอาสาสานฝ\น ให;พี่สาว โดยลาออกจากงานประจำและทุ"มเทเวลาให;กับการฝJกโยคะ “คนที่ต;องการจะเปEนครูโยคะต;องเริ่มต;นด;วยการฝJกโยคะอย"างสม่ำเสมอ จะเปEนครูต;องตั้งเป]าไว;ตั้งแต"แรก

นอกจากนี้ต;องเปEนผู;ฝJกที่ดี

ถ;าอยาก

ฝJกอย"างเต็มที่

เต็ม

ศักยภาพของตัวเอง ฝJกอย"างมีสมาธิ ต;องเปEนคนช"างสังเกต เพราะรูปแบบท"าทางสำคัญ มาก รายละเอียดของอิริยาบถต"างๆ ต;องสังเกตและฝJกให;ดี อย"าให;ผิดเพี้ยน และต;อง รู;ตัวเองด;วยว"าสอนเปEนหรือไม" ถ"ายทอดให;ผู;อื่นเปEนหรือเปล"า เพราะผู;ฝJกที่ดีกับครูที่ดี อาจไม"ใช"คนเดียวกัน

คนที่ฝJกโยคะได;ดีแต"ถ"ายทอดไม"เปEนจะทำให;ท"าอาสนะผิดเพี้ยนไป

ไม"ก"อให;เกิดประโยชนCแก"ผู;เรียนและอาจทำให;บาดเจ็บได;” นอกจากนี ้ ผ ู ; ฝ J ก ก็ ค าดหวั ง ว" า ครู ผ ู ; ส อนจะมี เ มตตาและมี ค วามสามารถในการสอนใน ระดับที่เหมาะสม มีความเข;าใจในปรัชญาโยคะอย"างถ"องแท; ดีต;องฝJกโยคะทุกวัน เปEนสิ่งที่สำคัญมาก ผู;มาฝJกโยคะย"อมคาดหวังจะมีสุขภาพแข็งแรง เพรียวขึ้นเมื่อฝJกโยคะ

ครูโหน"งบอกว"าครูโยคะที่

ผู;หญิงส"วนใหญ"ต;องการจะมีรูปร"างผอม

แต"ความจริงแล;วน้ำหนักที่ลดลงจากการฝJกโยคะอย"างสม่ำเสมอ

เปEนเพียงผลพลอยได;เท"านั้น ประโยชนCที่ผู;ฝJกจะได;แน"นอนคือสุขภาพที่ดีขึ้นตลอดชีวิต

อรุโณทัย

สื่อโยคะที่เปิดกว้างสําหรับทุกคน

ขอเชิญทุกท่านอ่านและแจกจ่ายแบ่งปันได้ตามสะดวก

หน้า 11


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.