me collection
เปิดกรุ ‘ช้อน-ส้อม’ คลาสสิคโบราณของ
...สุทธิพงษ์ สุริยะ (KARB STUDIO)
FOOD BRANDING & AGRICULTURE ADVERTISING AGENCY เรื่อง : กองบรรณาธิการ ภาพ : จิตตรัตน์ จินตศิริกุล
“ช้อน-ส้อม คลาสสิคโบราณพวกนี้ เป็นรากเหง้าศิลปะทางฝั่ งของยุ โรป แต่พ่ีเอามาผสมการใช้งาน ในชี วิต ประจ� ำ วั น และการท� ำ งานด้ ว ย ... ส�ำหรับอาหารไทยพี่ก็เอาช้อน-ส้อม พวกนีม้ าใช้ในงานดีไซน์ดว้ ย ...ส�ำหรับ พี่ ดีไซน์ถอื เป็นเรื่องการใช้ชีวติ ประจ�ำ วันและเป็นสากลด้วย พี่ว่ามันเข้ากัน มันลงตัว แต่ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง ตามลักษณะการใช้งานด้วยนะ...ไม่ใช่ ท�ำซุ ป แล้วเอามีดมาวางข้างถ้วยซุ ป ให้ดสู วย มันก็ไม่ใช่ มันต้องเป็นของที่ ใช้คู่กัน และใช้ได้จริงๆ ด้วย...อะไรกิน กับอะไร อะไรใช้ร่วมกับอะไร นี่คือ ความเป็นสากล”
148 Mestyle home and living >>
การต่อสู้ของ ‘ช้อน-ส้อม’ จาก “ไพร่” สู่ “ชนชั้นสูง”
คนไทยเราอาจเริ่มรู้จักช้อน-ส้อมบนโต๊ะอาหารในสมัยรัชกาลที่ 4 เริ่มด้วยกลุ่มคนชั้นสูง แต่ส�ำหรับซีกโลกตะวันตก มันถูกน�ำมาใช้บนโต๊ะ อาหารมายาวนานกว่า 1,000 ปีมาแล้ว ...และดูตามบันทึกพบว่า “ส้อม” น่าจะเกิดก่อน “ช้อน” มีการเล่าต่อๆ กันมาว่า ...ชาวตะวันออกกลางน่าจะเป็นชนกลุม่ แรก ทีค่ ดิ น�ำส้อมมาใช้ในการรับประทานอาหาร ซึง่ ความคิดนีไ้ ด้แพร่หลายมาสูท่ วีป ยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เหตุเพราะสาวชาวเมืองคอนสแตนติโนเปิล* นางหนึง่ เมือ่ เธอแต่งงาน และย้ายตามมาอยูก่ บั สามี เธอได้นำ� ส้อมเล็กๆ ที่มี 2 ซี่ติดตัวมาด้วย เวลารับประทานอาหารเธอจะใช้มีดหั่นเนื้อในจาน ให้เป็นชิน้ เล็กๆ แล้วใช้สอ้ มจิม้ เข้าปากแทนทีจ่ ะใช้มอื หยิบเหมือนคนอืน่ ๆ นั่นท�ำให้นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า ผู้ที่พัฒนา “ส้อม” ให้กลายเป็น อุปกรณ์บนโต๊ะอาหารอย่างเป็นจริงเป็นจังน่าจะเป็นพวกโรมันตะวันออก หรือ “ไบแซนไทน์” ส่วนชาติที่ท�ำให้การใช้มีด และส้อมบนโต๊ะอาหาร แพร่หลายในยุโรป ก็นา่ จะเป็นชาวอิตาลี เพราะ เป็นชนชาติทตี่ ดิ ต่อค้าขาย กับพวกไบแซนไทน์ จึงรับอิทธิพลนีม้ าเต็มๆ ก่อนแพร่หลายไปทัว่ ทัง้ ยุโรป ส�ำหรับประเทศอังกฤษได้มีการบันทึกถึงการใช้ส้อมบนโต๊ะอาหาร ในสมัยของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ 1 ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นส้อม ที่ท�ำจากแก้ว และถือเป็นสมบัติที่มีค่ายิ่ง * คอนสแตนติโนเปิล คือเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ระหว่างปี ค.ศ. 395 ถึง ค.ศ. 1204 ซึ่งปัจจุบันคือเมืองอิสตันบุลในประเทศตุรกี
คริสต์ศตวรรษที่ 15 เชื่อว่าธรรมเนียมการใช้ส้อมก็ได้แพร่หลาย ไปยังทุกส่วนทั่วทั้งทวีปยุโรป ก่อนที่คริสต์ศตวรรษที่ 17 การใช้ส้อมก็ได้ กลายเป็นสิ่งที่ธรรมดามากส�ำหรับโลกตะวันตก มีเรือ่ งทีน่ า่ สนใจในประวัตศิ าสตร์การก�ำเนิด‘ช้อน-ส้อม’ก็คอื ...“การต่อสู้ อันแสนยาวนาน กว่าจะได้รับการยอมรับจากคนชั้นสูง” ซึ่งชาติที่ต่อต้าน การใช้ส้อมมากที่สุดคือชาติผู้ดีอังกฤษ นั่นเพราะชาวอังกฤษเคยชินกับ การใช้มดี คูใ่ นการรับประทานอาหาร โดยมีดเล่มหนึง่ ใช้ตดั เนือ้ อีกเล่มหนึง่ ใช้จิ้มเนื้อเข้าปาก ส�ำหรับชนชั้นผู้ดี ‘ช้อน-ส้อม’ ถูกมองว่าเป็นอุปกรณ์ ทีพ่ วกบ่าวไพร่ใช้ในการตัดแบ่งอาหารชิน้ ใหญ่ๆ ให้เล็กลงพอดีคำ� จากนัน้ ก็ให้คนชั้นสูงใช้มือจับกินได้อย่างสบาย กว่าจะยอมรับกันได้ และกลายเป็นเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารส�ำหรับ ชนชั้นสูงในอังกฤษ ก็ต้องกินเวลาหลายร้อยปี หลังจากนั้นช้อน-ส้อม ก็กลายเป็นงานศิลปะที่บ่งบอกรสนิยมเจ้าของ มีการออกแบบช้อน-ส้อม ด้วยวัสดุราคาแพงเช่น เงิน ทอง งาช้าง ผ่านรูปทรง และลวดลายทีง่ ดงาม วั น นี้ ช ้ อ น-ส้ อ มได้ ต ่ อ สู ้ จนแพร่ ห ลายไปทั่ ว โลก แม้ ก ระทั่ ง ประเทศไทยเราเองก็รับเอาวัฒนธรรมนี้มาเต็มๆ อาจกลับกันนิดตรงที่ว่า เราเริ่มมองช้อน-ส้อมจากชนชั้นสูง ต่างกับชาวยุโรปที่เริ่มมองช้อน-ส้อม จากเครื่องมืออุปกรณ์ของบ่าวไพร่ ชีวิตเราก็เหมือน ‘ช้อน-ส้อม’ ถ้าต้องการการยอมรับ ก็ต้องต่อสู้ ...ถ้ามั่นใจว่าตัวเรามีประโยชน์จริง เขาก็ต้องยอมรับในตัวเรา ไม่วันใด ก็วันหนึ่ง... Mestyle home and living >>
149
“ช้อน-ซ้อมพวกนี้ พอเราเอาไปใส่ในถ้วยจานอาหาร มันดูมีคุณค่าทางจิตใจ ของถูกๆ พอเอาพวกนี้ ไปจัดวางประดับปั๊บ ราคาอาหารมันดีดขึ้นเลย” ‘ช้อน-ส้อม’ คือความเป็น “สากล” ถ้ารู้จักใช้ “วางกับอะไรก็ดูดี”
“ช้อนส้อมที่พี่สะสมเป็นของคลาสสิคโบราณหมดเลยนะ พี่คิดว่า พี่มีเยอะที่สุดในเมืองไทยตอนนี้ (หัวเราะ)” พี่ขาบ หรือคุณสุทธิพงษ์ สุริยะ แห่ง KARB STUDIO เจ้าพ่อ Food Branding & Agriculture Advertising Agency หนึ่งเดียว ของเมืองไทย ค่อยๆ เปิดลิ้นชัก หยิบช้อน-ส้อมขึ้นมา พลิกหน้า พลิกหลัง ชี้ให้เราดูลวดลาย และสัญลักษณ์ต่างๆ ของบรรดาราชวงศ์ขุนนางชั้นสูง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นของยุโรป พีข่ าบบอกว่า เริม่ สะสมมานานแล้ว ไม่ใช่เก็บไว้ดเู ล่น แต่นำ� มาใช้งาน จริงๆ จังๆ ด้วย “พอพี่ ไ ด้ อ ่ า นประวั ติ ศ าสตร์ ก ารก�ำ เนิ ด ช้ อ น-ส้ อ ม พี่ ก็ เ ริ่ ม สนใจ เวลาพี่เดินทางไปต่างประเทศ สิ่งที่พี่จะท�ำมีอยู่ 2 อย่าง ซึ่งก็ตอบไม่ได้ เหมือนกันว่าเพราะอะไร พี่ชอบไปร้านขายของเก่า พวกแบกะดิน ตลาดนัด ของเก่า-ของมือสอง ไปดูพวกถ้วย จาน ชาม ช้อน-ส้อม และสองพี่ชอบ ไปเดินตลาดเช้าของแต่ละที่ ไปดูวัฒนธรรมของผู้คนที่นั่น ไปช้อปปิ้งตาม ห้างฯ หรู พี่ไม่ชอบ พี่ชอบแบบนี้ ทุกๆ ที่ที่ไป พี่จะท�ำการบ้านตั้งแต่อยู่ เมืองไทยเลยว่าต้องไปที่ไหนบ้าง ช้อน-ส้อมพวกนี้ บางทีก็อยู่ในร้าน แบกะดิน หรือพวกที่ย้ายบ้าน ที่เขาจะเปิดบ้านส่วนตัวเพื่อขายของ พี่ก็จะ นัดหมายและไป เพื่อไปหาของในบ้านเขา ลักษณะนี้เราก็จะได้ของสารพัด ไม่ผ่านคนกลาง ดีไซน์ลวดลายบนช้อน-ส้อมเป็นสิ่งหนึ่งที่พี่ชอบ แต่พี่จะดู การเอามาใช้งานด้วย เพราะโชว์เป็นแค่ส่วนหนึ่ง ที่ส�ำคัญคือเราต้องเอาเขา มาใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ด้วย เวลามีปาร์ตี้ พี่ก็เอามาจัดโชว์ แล้วก็กิน เป็นพร็อพในการใช้งาน ช้อน-ซ้อมพวกนี้ พอเราเอาไปใส่ในถ้วยจานอาหาร มั น ดู มี คุ ณ ค่ า ทางจิ ต ใจ ของถู ก ๆ พอเอาพวกนี้ ไ ปจั ด วางประดั บ ปั ๊ บ ราคาอาหารมันดีดขึ้นเลย” พี่ขาบพูดถึงของสะสมที่ไม่ได้แค่เอาไว้ดูเล่น แต่ยังน�ำมาใช้ในชีวิต ประจ�ำวัน และยังช่วยสร้างแรงบันดาลใจในการท�ำงาน Food Stylist และ Food Branding ที่ท�ำด้วย KARB STUDIO Simply the best ความเรียบง่าย คือความงาม
โลโก้ของ KARB STUDIO เป็นรูป “ฟักทอง” พี่ขาบบอกว่า ...“ฟักทอง เป็นสิ่งที่เป็นอะไรที่บ้านๆ ที่สุด คล้ายชีวิต ของพี่ ที่มาจากความเรียบง่าย ฟักทองคือของดีที่คนมองข้าม ฟักทองคือ ผักที่ราคาถูกมาก แต่ว่าความดีของฟักทองคือ หนึ่ง... ไม่ต้องอยู่ในตู้เย็น 1-2 เดือนก็ไม่เน่า สอง... ราคาถูก สาม... เอาไปท�ำอาหารได้ทงั้ คาวและหวาน สี่... มีคุณค่าทางโภชนาการ มีเบต้าแคโรทีนสูงมาก และห้า...สุดท้ายฟักทอง เป็นตัวเดินเรื่องเชื่อมต่อให้คนในเมืองเข้าไปสัมผัสฟาร์มเกษตรได้ คือ ฮาโลวีน เป็นผักชนิดเดียวที่เป็นเรื่องราว ให้เด็ก ผู้ใหญ่ และการเกษตร อยู่รวมกัน”
150 Mestyle home and living >>
สิบกว่าปีที่โลดแล่นอยู่ในวงการอาหารในฐานะ Food Stylist วันนี้ พี่ขาบก็ผันตัวเองมาเป็น Food Branding เต็มตัว อาชีพที่ในเมืองนอก เมืองนา เราอาจเห็นกันดาษดื่น แต่เมืองไทยหายากเหลือเกินที่จะใช้ค�ำนี้ ได้อย่างเต็มปาก “พี่ว่าเมืองไทย มีพี่คนเดียว ที่ท�ำธุรกิจแบบนี้ คือเหมือนเอเยนซี่ ซึง่ ท�ำได้หลากหลาย ในการคิดสูตรอาหาร ออกแบบผลิตภัณฑ์ สร้างภาพลักษณ์ และการโฆษณาประชาสัมพันธ์ แต่ของพี่จะ Focus เรื่องเดียว คือเรื่อง การออกแบบอาหาร และจับแบบเข้าถึงแก่นแท้และเน้นการสร้างความยั่งยืน ของสินค้า ส�ำหรับพี่ พี่มองว่าเราต้องเข้าใจสินค้าก่อน ค่อยน�ำไปสู่การ ออกแบบ” สาเหตุทพี่ ขี่ าบมองว่า Food Branding ในเมืองไทยยังมีนอ้ ย เพราะว่า คนไทยไม่ค่อยเข้าถึงแก่นแท้ หรือรากเหง้าของอาหาร “วงการเอเยนซี่ ทั่ ว ไปเขาจะดู ภ าพรวม แล้ ว ใส่ เ รื่ องการออกแบบ แต่ของพี่ พี่คิดงานจากรากว่าสินค้าอาหาร เราต้องเริ่มจากวัตถุดิบก่อน ค่อยเป็นอาหาร ถ้าเราเข้าใจที่มา เราก็จะเข้าใจค�ำตอบ แต่บ้านเราไม่สนใจ เรื่องรากเหง้า มันถึงท�ำให้เวลาท�ำอะไรก็ตาม สินค้าอาหารบ้านเราถึงไม่น่า สนใจ คือเอาแต่ผกั ชีโรยหน้า สวย แต่ไม่เข้าใจกระบวนการสร้างความยัง่ ยืน
ให้สนิ ค้าเกษตร ท�ำไมสินค้าเกษตรญีป่ นุ่ ถึงมีความยัง่ ยืน นัน่ ก็เพราะเขารูจ้ กั คุณค่าของวัตถุดิบ เขาเรียนรู้ที่จะอนุรักษ์ให้มีคุณค่าในตัวของมันเอง แต่คนไทยเราไม่คอ่ ยพูดถึงความงามของสินค้าเกษตรในมิตเิ หล่านี้ เราเรียนรู้ แค่อาหารอร่อย แต่ไม่เข้าใจรากบ้านเราเมือ่ พูดถึงภาพรวมเรือ่ งอาหาร จึงไม่มี ราคา เพราะเราไม่เคยมาสร้างความดีงามให้กบั วัตถุดบิ เราไม่เคยพูด เราพูด แต่ปรุงๆ ให้อร่อย โดยเอาเชฟมาเป็นตัวน�ำ แต่ไม่เคยเอาตัวเกษตรกรทีป่ ลูก มาเป็นตัวสร้างเรื่อง เกษตรกรตามชนบทนั่นแหละคือตัวเดินเรื่องที่เป็น พระเอก แต่เราไม่เข้าใจบทบาท และสิ่งที่นักออกแบบไม่ท�ำตรงนี้ เพราะเขา จะคิดอะไรทีเ่ ห็นผลเร็วทีส่ ดุ ไม่รอคอย แต่สนิ ค้าเกษตรเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งรอคอย ต้องใช้เวลาปลูก มีกรรมวิธีดูแลรักษาคุณภาพ ส�ำหรับพี่สินค้าเกษตรไม่มี ทางลัด” พี่ขาบบอกว่า อาจเพราะโชคดีที่เติบโตมาบนกองผัก คลุกคลีกับ วิถีเกษตรกรมาแต่เด็ก จึงท�ำให้เขามองเห็นรากที่หยั่งลึกของอาหารไทยได้ อย่างลึกซึ้ง ในขณะที่คนอื่นมองผ่าน “พี่เป็นคนหนองคาย ที่บ้านท�ำธุรกิจซื้อขายสินค้าเกษตร ค้าพืชผัก พืชไร่ ทุกฤดู พี่จะตามพ่อไปเจอชาวสวน เขาจะปลูกพืชผักที่กินได้เลย ถอน เด็ด จับ ล้าง กิน ณ วินาทีนั้น ในทุ่งในไร่เลย อยากกินมันเทศ ดึง ถอนออกมา โยนเข้ากองถ่าน 10-20 นาที เขาก�ำลังคุยงาน พี่ได้กินแล้ว นี่คือสิ่งที่พี่คุ้นเคย พี่โตที่หนองคาย เป็นแม่น�้ำโขง วิถีชีวิตพี่ก็จะคุ้นเคยกับ พันธุป์ ลา พีก่ เ็ ห็นปลาสารพัด ในตลาดเช้า แม่พเี่ ป็นแม่บา้ นท�ำกับข้าวอยูบ่ า้ น พี่สาวก็ท�ำร้านอาหาร ชีวิตพี่ก็ถูกโยงกับสินค้าเกษตร ตลาด กระโดดเข้าครัว วนเป็นวงเวียน นี่คือวิถีของพี่แต่ลึกๆ พี่ชอบศิลปะนะเลยจับพลัดจับผลู มาเป็นแบบนี้ (หัวเราะ) เป้าหมายในอาชีพคือการสร้างความยั่งยืน นี่คือ สิ่งที่ส�ำคัญที่สุด สุดท้ายเราต้องถามว่าธุรกิจที่เราท�ำ ประเทศชาติเราได้อะไร พี่ท�ำอาชีพนี้มา 18-19 ปี ประเทศเรา มี Food Stylist ไม่กี่คน ที่กระโดด เข้าไปในอุตสาหกรรมอาหาร เพราะไม่เข้าใจความยัง่ ยืนของราก หรือวิเคราะห์ ไม่ถึงแก่นธุรกิจ พี่มีปรัชญาทั้งเรื่องการงาน และการใช้ชีวิตส่วนตัว ปรัชญา ชีวิตส่วนตัวของพี่คือ Simply the best ความเรียบง่าย คือความงาม มัน เป็นค�ำพูดทีส่ ะท้อนจิตวิญญาณของพีไ่ ด้ดที สี่ ดุ ในการท�ำอะไรขึน้ มา เราต้อง มีแก่นแท้ และจิตวิญญาณที่เป็นตัวตนของเราด้วย คนที่ท�ำงานศิลปะ ต้องมีภาพนั้น เวลาฉายออกไปต้องเห็นภาพนั้น อดีต ปัจจุบัน อนาคต ต้องเป็นภาพเดียวกัน ไม่ใช่ภาพเบือ้ งหน้าดีด๊ ี แต่เบือ้ งหลังเน่าเฟะ นีค่ อื มายา แต่ตวั พีม่ คี วามชัดเจนในการด�ำเนินชีวติ พีม่ อี กี เป้าหนึง่ ทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ในอีก 5-6 ปี พี่จะท�ำรีสอร์ทเล็กๆ กลางป่า ริมแม่น�้ำ เอาชุมชนมาสร้างงานร่วมกัน เป้าหมายของพี่ มีธรรมชาติ มีชุมชน มีชีวิต เห็นไหม ภาพแรกที่พี่เกิด กับภาพสุดท้ายที่พี่จะเป็น มันเป็นภาพเดียวกัน เพียงแต่ภาพสุดท้ายมันจะมี ดีไซน์เข้ามาแค่นั้นเอง” จากประวัติศาสตร์การต่อสู้เพื่อให้ได้รับการยอมรับของ “ช้อน-ส้อม” ดูจะเป็นเรื่องเดียวกับสิ่งที่ “พี่ขาบ” แห่ง KARB STUDIO ก�ำลังจะท�ำ บนเส้นทางอาชีพ Food Branding กับการต่อสูเ้ พือ่ ให้คนไทย และคนทัว่ โลก ยอมรับในวัตถุดิบสินค้าเกษตรไทย ...นี่คือเส้นทางแห่งความยั่งยืนที่พี่ขาบ ผูเ้ ป็นเจ้าของผลงานจากเวทีระดับโลก ทีไ่ ด้คว้า 25 รางวัล จาก GOURMAND WORLD COOKBOOK AWARDS ประเทศสเปน มาแล้วถึง 9 ปีซอ้ น ติดต่อกัน ที่อยากจะเห็นนั่นเอง
Mestyle home and living >>
151