1
2
อาเซียนศึกษา (ASEAN Study) จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่ศึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีในฐานะประชากรอาเซียน 3. เพื่อตระหนักในความเป็นประชากรอาเซียน เพื่อการดารงตนและการพัฒนาสังคมประเทศชาติ
สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. ดารงตนเป็นประชากรอาเซียนที่ดี
คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา และพัฒนาการของประชาคมอาเซียน ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศใน ประชาคมอาเซียนกับภูมิภาคอื่นในโลก
3
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
หน่วยการเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน ประชาคมอาเซียน พัฒนาการของประชาคมอาเซียน ประเทศไทยกับอาเซียน บทบาทของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศไทย ประเทศเวียดนาม
ดารงตนเป็นประชากร อาเซียนที่ดี
หน่วยที่
แสดงความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานสมรรถนะ
4
คานา หนังสืออาเซียนศึกษาได้เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตร พุทธศักราช 2556 ที่พัฒนาให้สอดคล้องกับความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี และการเปิดเสรีทางการศึกษา รองรับการเป็นประชาคมอาเซียนร่วมกัน ซึ่ง จะต้องพัฒนาทั้งในด้านการศึกษา ด้านวัฒนธรรม และวิถีชีวิต และให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความเป็นมา พัฒนาการ และความร่วมมือต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงความสาคัญของ องค์กรแห่งนี้ และเข้าใจความเป็น “อาเซียน” และร่วมกันเพื่อการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมที่เข้มแข็ง ตลอดไป เนื้อหามีทั้งหมด 15 เล่ม ประกอบด้วย พัฒนาการอาเซียน โครงสร้างและกลไกการดาเนินงาน อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เขตการค้าเสรีอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศไทยสู่การ เป็นสมาชิกอาเซียน หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและบุคคลทั่วไป ในการเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจ และเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันตามที่หลักสูตรต้องการ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิดได้ สมดังเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาอย่างครบถ้วนทุก ประการ
นิตยา วรวงษ์
5
สารบัญ หน้า ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน
7
1.1 ความหมายของ “อาเซียน (ASEAN)”
8
1.2 การก่อตั้งอาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียน
9
1.3 ปฏิญญาอาเซียน
10
1.4 กฎบัตรอาเซียน
11
1.5 สัญลักษณ์อาเซียน
16
1.6 ธงอาเซียน
16
1.7 วิสัยทัศน์อาเซียน
17
1.8 คาขวัญอาเซียน
19
1.9 เพลงอาเซียน
19
1.10 ภาษาอาเซียน
22
แบบทดสอบ
28
ใบงาน
33
เฉลยแบบทดสอบ
37
เฉลยใบงาน
40
บรรณานุกรม
6
เล่มที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน
7
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของ “อาเซียน (ASEAN)” 2. การก่อตั้งอาเซียนและประเทศสมาชิก อาเซียน
3. ปฏิญญาอาเซียน 4. กฎบัตรอาเซียน 5. สัญลักษณ์อาเซียน 6. ธงอาเซียน 7. วิสัยทัศน์อาเซียน 8. คาขวัญอาเซียน 9. เพลงอาเซียน 10. ภาษาอาเซียน
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของ “อาเซียน (ASEAN)” ได้ 2. อธิบายการก่อตั้งอาเซียนและประเทศสมาชิก อาเซียนได้ 3. อธิบายลักษณะสาคัญของปฏิญญาอาเซียนได้ 4. บอกข้อมูลของกฎบัตรอาเซียนได้ 5. อธิบายความหมายของสัญลักษณ์อาเซียนได้ 6. บอกลักษณะของธงอาเซียนได้ 7. บอกวิสัยทัศน์อาเซียนได้ 8. บอกคาขวัญของอาเซียนได้ 9. อธิบายความหมายของเพลงอาเซียนได้ 10. บอกภาษาราชการของอาเซียนได้
สมรรถนะประจาหน่วย แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของอาเซียน
8
“อาเซียน” หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Association of South East
Asian Nations หรือ ASEAN) ในปีพุทธศักราช 2558 หรือคริสต์ศักราช 2015 ประเทศไทย และอีก 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวม 10 ประเทศ จะรวมกันเพื่อความเป็นหนึ่งและมั่นคงทาง ภูมิภาค ไม่ว่าจะเป็นความร่วมมือกันทางการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เพราะในยุค โลกาภิวัฒน์ที่สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่างๆ ให้ความสาคัญกับการรวมตัวกันใน ภูมิภาคเพื่อเพิ่มอานาจต่อรอง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศ การศึกษาค้นคว้า เรียนรู้ และทาความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน จึงมีความสาคัญยิ่งในฐานะประชากร อาเซียน เพราะการปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์เพื่อให้สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ อย่างทันท่วงทีนั้น ทาให้การผนึกกาลังของอาเซียนซึ่งมีประเทศสมาชิก 10 ประเทศ มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น และทาให้ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง และสร้างความ เจริญเติบโตให้กับภูมิภาคนี้ได้ 1.1 ความหมายของ “อาเซียน (ASEAN)” อาเซียน (ASEAN) มีชื่อเต็มว่า สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) ใช้ชื่อย่อภาษาไทยว่า “อาเซียน” เป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีบทบาทสาคัญทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และคุณภาพชีวิตของประชากรอาเซียน อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,435,670 ตารางกิโลเมตร มี ประชากรเกือบ 600 ล้านคน มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ ประเทศบรูไนดา-รุสซาลาม (Brunei
Darussalam)
(Malaysia) พม่า (Myanmar)
กัมพูชา (Cambodia) อินโดนีเซีย (Indonesia) ลาว (Laos) มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ (Philippines) สิงคโปร์ (Singapore) ไทย (Thailand) และ
เวียดนาม (Vietnam)
รูปที่ 1.1 แผนที่แสดงที่ตั้งประเทศสมาชิกอาเซียน ทีม่ า
: pirun.ku.ac.th
9
1.2 การก่อตั้งอาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียน
รูปที่ 1.2 การลงนามปฏิญญาอาเซียน ที่มา : www.libray.maesariangfe.com อาเซียน ASEAN หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยมีสมาชิกผู้ก่อตั้ง 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศ ที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ ประกอบด้วย 1. อาดัม มาลิก รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย 2. ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหม และรัฐมนตรีกระทรวง พัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย 3. นาซิโซ รามอส รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์ 4. เอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีต่างประเทศสิงคโปร์ 5. พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจากประเทศไทย โดยผู้แทนทั้ง 5 ประเทศได้ลงนามใน “ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok
Declaration)” เพื่อจัดตั้ง
สมาคมความร่วมมือกันในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคมการพัฒนาวัฒนธรรม ในกลุ่มประเทศสมาชิก และการดารงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในพื้นที่และเป็นการเปิดโอกาสให้คลายข้อ พิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติของระดับภูมิภาคประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และใน เวลาต่อมาได้มีประเทศต่างๆ ดังต่อไปนี้เข้าร่วมเป็นสมาชิก ได้แก่
10
บรูไนดารุสซาลาม (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2527) สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) สหภาพพม่า (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) ราชอาณาจักรกัมพูชา (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542) ตามลาดับ ทาให้อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ 1.3 ปฏิญญาอาเซียน ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เป็น เอกสารในการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้รับการลงนาม กรุงเทพมหานคร ใน วันที่ 8
สิงหาคม พ.ศ. 2510
โดยในขณะนั้นมีสมาชิกผู้ก่อตั้งจานวน
5 ประเทศ
ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซียและฟิลิปปินส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะสกัดการแพร่ขยายของ ลัทธิคอมมิวนิสต์ในเวียดนาม โดยกาหนดหลักการเบื้องต้นของอาเซียน อย่างเช่น การร่วมมือกันในด้าน ต่างๆ 1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร 2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค 3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค 4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี 5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้าน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการ ขนส่งและการคมนาคม 7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอกองค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และ องค์การระหว่างประเทศ
11
1.4 กฎบัตรอาเซียน
รูปที่ 1.3 กฎบัตรอาเซียน (THE ASEAN CHARTER) ที่มา : www.siamintelligence.com กฎบัตรอาเซียน (The
ASEAN CHARTER) เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่จะทาให้
อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดย นอกจากจะประมวลสิ่งที่ถือเป็นค่านิยม หลักการ และแนวปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเป็นข้อ ปฏิบัติอย่างเป็นทางการของประเทศสมาชิกแล้ว ยังมีการปรับปรุงแก้ไขและสร้างกลไกใหม่ขึ้น พร้อมกาหนด ขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรที่สาคัญ ในความสัมพันธ์ของการดาเนินงานขององค์กรเหล่านี้ ให้ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนให้สามารถดาเนินการบรรลุ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวของประชาคมอาเซียนให้ได้ ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผู้นาอาเซียนได้ตกลงกันไว้ ทั้งนี้ผู้นาอาเซียนได้ลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียน ในการประชุมสุดยอดยอดเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อ วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ของการก่อตั้งอาเซียน แสดง ให้เห็นว่าอาเซียนกาลังแสดงให้ประชาคมโลกได้เห็นถึงความก้าวหน้าของอาเซียนและประเทศสมาชิกต่าง ๆ ทั้ง 10 ประเทศ ถือเป็นเอกสารประวัติศาสตร์ชิ้นสาคัญที่จะปรับเปลี่ยนอาเซียนให้เป็นองค์กรที่มีสถานะเป็น นิติบุคคลในฐานะที่เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล ประเทศสมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซียน ครบทั้ง ประเทศแล้ว เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ธันวาคม พ.ศ. 2551 เป็นต้นไป
พ.ศ. 2551
10
กฎบัตรอาเซียนจึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15
12
1. วัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียนกาหนดขึ้นมาโดยมีเป้าหมายให้อาเซียนเป็น องค์กรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผู้นาอาเซียนได้ตกลงกันไว้
ซึ่งกฎบัตรอาเซียนนี้มีผลทาให้
องค์กรอาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดาเนินการตามเป้าหมายต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ รวมตัวไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 2) สร้างกลไกที่จะส่งเสริมให้รัฐสมาชิกปฏิบัติตามความตกลงต่างๆ ของอาเซียน 3) ทาให้อาเซียนเป็นองค์กรที่ใกล้ชิดและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริงมากขึ้น 2. โครงสร้างของกฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วย บทบัญญัติ 13 หมวด 55 ข้อ ครอบคลุมในทุกๆ เรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมาย หลักการ สมาชิกภาพ โครงสร้างองค์กรของอาเซียน องค์กรที่มีความสัมพันธ์กับ อาเซียน เอกสิทธิ์และความคุ้มกัน กระบวนการตัดสินใจ การระงับข้อพิพาท งบประมาณและการเงิน การ บริหารจัดการ เอกลักษณ์และสัญลักษณ์ของอาเซียน และความสัมพันธ์กับภายนอก โดยแต่ละหมวด ประกอบด้วย หมวด 1 ความมุ่งประสงค์ และหลักการของอาเซียน กล่าวถึง วัตถุประสงค์และหลักการของ อาเซียนในด้านต่าง ๆ ทั้งความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคง สิ่งแวดล้อม ฯลฯ หมวด 2 สภาพบุคคลตามกฎหมาย และสภาพบุคคลตามกฎหมายของอาเซียน เป็นการระบุว่า อาเซียน คือ องค์การระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล และได้รับสภาพบุคคลตามกฎหมายโดยกฎบัตรนี้ หมวด 3 สมาชิกภาพ กล่าวถึง ประเทศใดบ้างที่เป็นสมาชิกอาเซียน แต่ละประเทศมีสิทธิ์และ พันธกรณีอย่างไรบ้าง รวมทั้งระบุถึงกฎเกณฑ์การรับสมาชิกใหม่ ซึ่งต้องเป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับโดยฉันทามติในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน หมวด 4
องค์กร กล่าวถึง โครงสร้างองค์กรและหน้าที่ของคณะกรรมการการทางานต่าง ๆ
ประกอบด้วย ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ซึ่งให้จัดประชุมปีละ 2 ครั้ง โดยให้รัฐสมาชิกที่เป็นประธานอาเซียน เป็นเจ้าภาพ นอกจากนี้ ยังกล่าวถึงคณะทางานต่าง ๆ ประกอบด้วย คณะมนตรีประสานงานอาเซียน คณะ มนตรีประชาคมอาเซียน องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจาอาเซียน เลขาธิการและสานักเลขาธิการอาเซียน องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน และมูลนิธิอาเซียน หมวด 5 องค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน ระบุว่าองค์ภาวะที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียนระบุอยู่ใน ภาคผนวกที่ 2
13
หมวด 6 ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ กล่าวถึง เอกสิทธิ์ต่าง ๆ ของอาเซียนที่จะได้รับความคุ้นกันใน ดินแดนของรัฐสมาชิก รวมทั้งเรื่องเอกสิทธิ์ทางการทูตของอาเซียน เลขาธิการอาเซียน พนักงานของ สานักเลขาธิการอาเซียน ซึ่งจะได้รับความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ที่จาเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ภายใต้ข้อบังคับ หมวด 7 การตัดสินใจ กล่าวถึงเกณฑ์การตัดสินที่อยู่บนหลักการปรึกษาหารือ และฉันทามติ รวมทั้ง ขั้นตอนการดาเนินงานต่าง ๆ เช่น หากมีเรื่องละเมิดกฎบัตรร้ายแรง หรือไม่ปฏิบัติตาม ต้องเสนอเรื่อง ดังกล่าวไปยังที่ประชุมสุดยอดอาเซียนเพื่อตัดสินใจ หมวด 8 การระงับข้อพิพาท กล่าวถึง วิธีระงับข้อพิพาท ซึ่งระบุว่า รัฐสมาชิกต้องพยายามระงับข้อ พิพาทอย่างสันติให้ทันท่วงที ผ่านการสนทนา ปรึกษาหารือ หรือเจรจา รวมทั้งอาจใช้คนกลางที่น่าเชื่อถือ การประนีประนอม และการไกล่เกลี่ยก็ได้ ซึ่งอาจมีการจัดตั้งกลไกเพื่อระงับข้อพิพาทที่อาจเกิดขึ้น แต่หากมี ข้อพิพาทที่ระงับไม่ได้ ก็ให้เสนอข้อพิพาทดังกล่าวไปให้ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนเป็นผู้ตัดสินในช่องทางสุดท้าย หมวด 9 งบประมาณและการเงิน ระบุถึงการจัดทางบประมาณของสานักเลขาธิการอาเซียน ซึ่งต้องได้รับการตรวจสอบภายในและภายนอก โดยงบประมาณจะมาจากรัฐสมาชิกอาเซียนจ่ายค่าบารุง ประจาปี หมวด 10 การบริหารและขั้นตอนการดาเนินงาน กล่าวถึง วาระของประธานอาเซียน ซึ่งจะ หมุนเวียนตาแหน่งกันทุกปีตามลาดับตัวอักษรชื่อภาษาอังกฤษของประเทศ พร้อมกับระบุบทบาทของ ประธานอาเซียน ที่จะเสริมสร้างและส่งเสริมความสัมพันธ์ให้ดีขึ้นทั้งในและนอกอาเซียน รวมทั้งระบุถึงพิธี การและแนวปฏิบัติทางการทูต นอกจากนี้ ในหมวด 10 ยังระบุให้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้ในการทางาน ร่วมกัน หมวด 11 อัตลักษณ์และสัญลักษณ์ กาหนดให้มีคาขวัญของอาเซียนว่า “ One Vision, One Identity, One Community” หรือ “หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์เดียว หนึ่งประชาคม” พร้อมกับกาหนด ลักษณะของธงอาเซียน ดวงตราอาเซียน เพลงประจาอาเซียน และให้วันที่
8 สิงหาคม ของทุกปี เป็นวัน
อาเซียน หมวด 12 ความสัมพันธ์ภายนอก กล่าวถึง แนวทางและขั้นตอนการเจรจาของอาเซียนกับคู่เจรจา เพื่อดาเนินความสัมพันธ์กับภายนอกองค์กร โดยต้องยึดมั่นตามหลักเกณฑ์ที่กฎบัตรกาหนดไว้ รวมทั้งกาหนด บทบาทของผู้ประสานงานกับคู่เจรจา พร้อมกับระบุความสัมพันธ์กับสหประชาชาติ และองค์การระหว่าง ประเทศสถาบันอื่นด้วย
14
หมวด 13 บทบัญญัติทั่วไป และบทบัญญัติสุดท้าย กล่าวถึง การลงนาม การใช้สัตยาบัน การเก็บ รักษา การมีผลบังคับใช้ การแก้ไข อานาจหน้าที่ การทบทวน การตีความบัตร ความต่อเนื่องทาง กฎหมาย ต้นฉบับ การจดทะเบียนกฎบัตรอาเซียน สินทรัพย์ของอาเซียน ภาคผนวก ประกอบด้วย 4 ภาคผนวกคือ
ภาคผนวกที่ 1 กล่าวถึงองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา
ภาคผนวกที่ 2 กล่าวถึงองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน
ภาคผนวกที่ 3 อธิบายรายละเอียดธงอาเซียน
ภาคผนวกที่ 4 อธิบายรายละเอียดดวงตราอาเซียน
3. กฎบัตรอาเซียนสร้างกลไกตรวจสอบและติดตามการดาเนินการตามความตกลงต่างๆ ของ ประเทศสมาชิกในหลากหลายรูปแบบ ดังนี้ 1. ให้อานาจเลขาธิการอาเซียนดูแลการปฏิบัติตามพันธกรณีและคาตัดสินขององค์กรระงับ ข้อพิพาท 2. หากการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงต่างๆ ทาให้เกิดข้อพิพาทระหว่างรัฐสมาชิก สามารถใช้กลไกและขั้นตอนระงับข้อพิพาททั้งที่มีอยู่แล้ว และที่จะตั้งขึ้นใหม่เพื่อแก้ไขข้อพิพาทที่เกิดขึ้นโดย สันติวิธี 3. หากมีการละเมิดพันธกรณีในกฎบัตรอาเซียนอย่างร้ายแรง ผู้นาอาเซียนสามารถกาหนด มาตรการใดๆ ที่เหมาะสมว่าจะดาเนินการอย่างไรต่อรัฐผู้ละเมิดพันธกรณีกฎบัตรอาเซียน ช่วยให้อาเซียนเป็น ประชาคมเพื่อประชาชนได้อย่างไร ข้อบทต่างๆ กฎบัตรอาเซียนช่วยให้อาเซียนทางานอย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น โดยมีผลเป็นรูปธรรม และผลักดันอาเซียนให้เป็นประชาคมเพื่อประชาชนอย่างแท้จริง ทั้งยัง เสริมสร้างกลไกการติดตามความตกลงต่างๆ เช่น กาหนดให้มีเพิ่มการประชุมสุดยอดอาเซียนจากเดิมปีละ 1 ครั้ง เป็นปีละ 2 ครั้ง เพื่อให้ผู้นามีโอกาสหารือกันมากขึ้น พร้อมทั้งแสดงให้เห็นถึงเจตจานงทางการเมืองที่จะผลักดันอาเซียนไปสู่ การรวมตัวกันเป็นประชาคมในอนาคต มีการตั้งคณะมนตรีประจาประชาคมอาเซียนตามเสาหลักทั้ง 3 ด้านคือ การเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
15
กาหนดให้ประเทศสมาชิกแต่งตั้งเอกอัคราชทูตประจาอาเซียนไปประจาที่กรุง จาการ์ตาซึ่งไม่เพียงแต่จะแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจแน่วแน่ของอาเซียนที่จะทางานร่วมกันอย่างใกล้ชิดเพื่อมุ่ง ไปสู่การรวมตัวกันเป็นประชาคมอาเซียนในอนาคต และยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปร่วมประชุม และ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประสานงานระหว่างประเทศสมาชิก หากประเทศสมาชิกไม่สามารถตกลงกันได้โดยหลักฉันทามติ ให้ใช้การตัดสินใจ รูปแบบอื่นๆ ได้ตามที่ผู้นากาหนด เพิ่มความยืดหยุ่นในการตีความหลักการ ไม่แทรกแซงกิจการภายในโดยมีข้อกาหนดว่า หากเกิดปัญหาที่กระทบต่อผลประโยชน์ส่วนร่วมของอาเซียน หรือเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน ประเทศสมาชิกต้อง หารือกันเพื่อแก้ปัญหา และกาหนดให้ประธานอาเซียนเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าว 4. ความสาคัญของกฎบัตรอาเซียนต่อประเทศไทย กฎบัตรอาเซียน ให้ความสาคัญกับการปฏิบัติตามพันธกรณีต่างๆ ของประเทศสมาชิก ซึ่งจะช่วย สร้างเสริมหลักประกันให้กับไทยว่า จะสามารถได้รับผลประโยชน์ตามที่ตกลงกันไว้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย นอกจากนี้การปรับปรุงการดาเนินงานและโครงสร้างองค์กรของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และการ เสริมสร้างความร่วมมือในทั้ง 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียนจะเป็นฐานสาคัญที่จะทาให้อาเซียนสามารถ ตอบสนองต่อความต้องการและผลประโยชน์ของรัฐสมาชิก รวมทั้งยกสถานะและอานาจต่อรอง และ ภาพลักษณ์ของประเทศสมาชิกในเวทีระหว่างประเทศได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเอื้อให้ไทยสามารถผลักดันและได้รับ ผลประโยชน์ด้านต่างๆ เพิ่มมากขึ้นด้วย ตัวอย่างเช่น อาเซียนขยายตลาดให้กับสินค้าไทยจากประชาชนไทย 60 ล้านคน เป็นประชาชน อาเซียนกว่า 550 ล้านคน ประกอบกับการขยายความร่วมมือเพื่อเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เส้นทาง คมนาคม ระบบไฟฟ้า โครงข่ายอินเตอร์เน็ต ฯลฯ จะช่วยเพิ่มโอกาสทางการค้าและการลงทุนให้กับไทย นอกจากนี้ อาเซียนยังเป็นทั้งแหล่งเงินทุนและเป้าหมายการลงทุนของไทย และไทยได้เปรียบประเทศสมาชิก อื่นๆ ที่มีที่ตั้งอยู่ใจกลางอาเซียน สามารถเป็นศูนย์กลางทางการคมนาคมและขนส่งของประชาคม ซึ่งมีการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และบุคคล ระหว่างประเทศสมาชิกที่สะดวกขึ้น อาเซียนช่วยส่งเสริมความร่วมมือในภูมิภาคเพื่อเผชิญกับภัยคุกคามที่ส่งผลกระทบต่อ ประชาชนโดยตรง เช่น ภัยพิบัติทางธรรมชาติ หมอกควัน SARs ไข้หวัดนก การค้ามนุษย์ ยาเสพติดปัญหา โลกร้อน และปัญหาความยากจน เป็นต้น อาเซียนจะช่วยเพิ่มอานาจต่อรองของไทยในเวทีโลก และเป็นเวทีที่ไทยสามารถใช้ใน การผลักดันให้มีการแก้ไขปัญหาของเพื่อนบ้านที่กระทบมาถึงไทยด้วย เช่น ปัญหาพม่า ในขณะเดียวกัน ความสัมพันธ์พหุภาคีในกรอบอาเซียนจะเกื้อหนุนความสัมพันธ์ของไทยในกรอบทวิภาคี เช่น ความร่วมมือกับ มาเลเซียในการแก้ไขปัญหา 3 จังหวัดชายแดนใต้ด้วย
16
1.5 สัญลักษณ์อาเซียน ตราสัญลักษณ์อาเซียน มีลักษณะคือ มีสัญลักษณ์เป็นรวงข้าวสีเหลือง 10 มัด หมายถึง การที่ประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศรวมกัน เพื่อมิตรภาพและความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน พื้นที่วงกลมสีแดง ขอบสีขาวและน้าเงิน แสดงถึงความเป็นเอกภาพ มีตัวอักษรคาว่า “asean” สีน้าเงินอยู่ใต้ภาพรวงข้าว อันแสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะทางาน ร่วมกัน เพื่อความมั่นคง สันติภพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน สีทั้งหมดที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียน เป็นสีสาคัญที่ปรากฏในธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิก อาเซียนโดย สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุง่ เรือง 1.6 ธงอาเซียน ธงอาเซียน คือ สิ่งที่แสดงถึงความมุ่งคง สันติภาพ ความเป็นเอกภาพ และพลวัตของอาเซียน และ เป็นที่มาของสี 4 สีที่ปรากฏอยู่บนธง ซึ่งไม่เพียงแต่จะรวบรวมจากสีของธงชาติประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมด แต่สีน้าเงินยังหมายถึง สันติภาพและเสถียรภาพ สีแดงคือ ความกล้าหาญและการมีพลวัต สีขาวคือ ความ บริสุทธิ์ และสีเหลืองหมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สิ่งที่ปรากฏอยู่กลางธงอาเซียน คือ สัญลักษณ์ของอาเซียน ได้แก่ รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น เป็นตัวแทนของประเทศสมาชิกาทั้ง 10 ประเทศที่ร่วมก่อตั้ง อาเซียนเคยวาด ฝันไว้ว่า ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศนี้ สามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีมิตรภาพและ ความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน ขณะที่วงกลมที่อยู่รอบรวงข้าวนั้นแสดงถึงความเป็นเอกภาพ ความเป็นหนึ่งเดียว และความสมานฉันท์ของอาเซียน
17
ลาดับการประดับธงอาเซียนในการจัดประชุมและการจัดกิจกรรมอาเซียน ซึ่งหลักและวิธีการประดับ ธงอาเซียนและธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนให้เรียงตามลาดับอักษรชื่อประเทศมีดังนี้ 1. Brunei Darussalam (บรูไนดารุสซาลาม) 2. Kingdom of Cambodia (ราชอาณาจักรกัมพูชา) 3. Republic of Indonesia (สาธารณรัฐอินโดนีเซีย) 4. Lao People’s Democratic Republic (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว) 5. Malaysia (มาเลเซีย) 6. Republic of the Union of Myanmar (สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า) 7. Republic of the Philippines (สาธารณรัฐฟิลิปปินส์) 8. Republic of Singapore (สาธารณรัฐสิงคโปร์) 9. Kingdom of Thailand (ราชอาณาจักรไทย) 10. Socialist Republic of Vietnam (สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม) 11. ธงสัญลักษณ์อาเซียน 1.7 วิสัยทัศน์อาเซียน
รูปที่ 1.4 ครบรอบ 30 ปี การก่อตั้งอาเซียน และมีการรับรองวิสัยทัศน์อาเซียน ที่มา : www.aseanfoundation.orh
18
วิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 หรือ The ASEAN Vision 2020 นั้นอาจกล่าวไว้ว่า เปรียบเสมือน จุดเริ่มต้นของการก่อตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) เกิดขึ้นระหว่างการประชุมสุดยอดผู้นา อาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 2 เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นวาระการครบรอบ 30 ปีของการจัดตั้งอาเซียน โดยในที่ประชุมได้มีมติร่วมกันกาหนดเป้าหมายหลัก 4 ประการ ได้แก่ 1. วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2. มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก 3. อยู่ร่วมกันอย่างสันติ มั่นคง รุ่งเรือง เป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาอย่างมีพลวัต 4. เป็นชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร นอกจากนี้ วิสัยทัศน์อาเซียนยังได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยให้ประชากร สามารถเข้าถึงโอกาสในการพัฒนาด้านต่างๆ เช่น การศึกษา การเรียนรู้ตลอดชีวิต การฝึกอบรม นวัตกรรม การส่งเสริมการป้องกันคุณภาพการทางานและการประกอบการ รวมถึงการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ การ วิจัย การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอีกด้วย สาหรับบทบาทของประเทศไทย คือ การเป็นผู้ริเริ่มให้ผู้นารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนรับรอง เอกสารวิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 ซึ่งได้กาหนดทิศทางและเป้าหมายของการดาเนินการในด้านต่างๆ ให้ ครอบคลุมทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยประเด็นสาคัญที่ไทยมีส่วนในการผลักดันจนเกิดเป็น รูปธรรม ได้แก่ การบรรจุแนวความคิดที่ให้ประเทศสมาชิกอาเซียนพัฒนาเป็นสังคมเปิดกว้าง และเปิดโอกาส ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ ซึ่งต่อมาอาเซียนได้จัดทาแผนปฏิบัติการสาหรับวิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ.2020 (Hanoi Plan of Action to Implement the ASEAN Vision 2020) ขึ้น ในการประชุมสุด ยอดอาเซียนครั้งที่ 6 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2541 การจัดทาแผนปฏิบัติการฮานอย นับว่าเป็นพัฒนาการที่สาคัญยิ่งอีกก้าวหนึ่งของอาเซียนซึ่งแผนการ ฉบับนี้จะนาเป้าหมายต่างๆ ภายใต้วิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 ไปดาเนินการ เพื่อนาไปสู่ผลลัพธ์ที่เป็น รูปธรรมภายใต้กรอบเวลาที่ชัดเจน และมีการประเมินผลทุกๆ 3 ปี โดยได้มีการกาหนดกิจกรรมและโครงการ ที่จะนาไปสู่เป้าหมายในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และความร่วมมือเฉพาะด้าน ซึ่งต่อมาอาเซียนได้จัดทา แผนปฏิบัติการเวียงจันทร์ ซึ่งเป็นแผนงานต่อเนื่องจากแผนปฏิบัติการฮานอยที่หมดวาระลงไป และต่อมาในปี
19
2550 ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนจึงได้ร่วมลงนามในปฏิญญาเซบู ว่าด้วยการเร่งรัดการจัดตั้งประชาคม อาเซียนให้เร็วขึ้นอีก 5 ปี จากเดิมที่กาหนดไว้ในปี พ.ศ. 2563 1.8 คาขวัญอาเซียน “
One Vision, One Identity, One Community”
“หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม” 1.9 เพลงอาเซียน ความเป็นมาของเพลงประจาอาเซียน 1. เพลงประจาอาเซียนเกิดขึ้นครั้งแรกจากการหารือในที่ประชาอาเซียนทางด้านวัฒนธรรมและสนเทศ ครั้งที่ 29 พ.ศ. 2537 ซึ่งในที่ประชุมมีความเห็นตรงกันว่า อาเซียนควรจะมีเพลงประจาอาเซียน 2. การจัดทาโครงการประกวดเพลงประจาอาเซียนนั้น ที่ประชุมมีมติให้ใช้เงินจากกองทุนวัฒนธรรม อาเซียนเป็นเงินรางวัล 3. ต่อมาในการประชุมคณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเทศ ครั้งที่ 29 ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2540 ที่ประเทศมาเลเซีย ได้มีการพิจารณาเพลงประจาอาเซียนที่เข้าประกวดในรอบสุดท้วย โดยเพลงที่ เข้าราอบในครั้งนั้นเป็นเพลงจากประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ซึ่งบทเพลงที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ คือ เพลง ASEAN Song of Unity จากประเทศฟิลิปปินส์ แต่เพลงดังกล่าวนี้ไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายใน ประเทศสมาชิก เนื่องจากได้ใช้เปิดเฉพาะในการประชุมคณะกรรมการอาเซียน ว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเทศ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องเท่านั้นทาให้การประชุมสุดยอดอาเซียนช่วงต่อมามีการแต่งเพลงเพื่อใช้เปิดในที่ประชุม เป็นคราวๆ ไป 4. การประกวดเพลงประจาอาเซียนในปี พ.ศ. 2551 เพื่อให้เป็นไปตามกฎบัตรอาเซียน บทที่ 40 ซึง่ ระบุให้อาเซียนมีเพลงประจาอาเซียน สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงได้มอบหมายให้ ประเทศไทยเป็นผู้ดาเนินการจัดกาประกวดเพลงประจาอาเซียน โดยที่ประชุมประเทศสมาชิกอาเซียนได้ เห็นชอบให้กาหนดรูปแบบการแข่งขันเป็นแบบเสรี (Open Competition) ทั้งนี้อาเซียนได้มอบหมายให้ สานักเลขานุการอาเซียนในแต่ละประเทศกลั่นกรองคุณสมบัติเบื้องต้น และจัดส่งให้ประเทศไทยภายในเดือน กันยายน พ.ศ. 2551
20
5. กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศแห่งราชอาณาจักรไทย ได้ดาเนินการเป็นเจ้าภาพจัดการ ประกวดเพลงประจาอาเซียนระดับภูมิภาคในรอบแรก เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ที่โรงแรม Pullman Bangkok King Power โดยมีกรรมการจากประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศละ 1 คน ซึ่งคณะกรรมการ การประกวดได้คัดเลือกเพลงจานวน 10 เพลงให้เข้ารอบสุดท้าย จากผลงานที่ส่งเข้าประกวดทั้งหมด 99 เพลง และได้ดาเนินการประกวดรอบตัดสิน เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 โดยคณะผู้ตัดสิน ประกอบด้วย กรรมการจากอาเซียน 10 คนในรอบแรกและจากประเทศนอกอาเซียนอีก 3 คน ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศจีน และประเทศออสเตรเลีย 6. โดยที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์เลือกเพลง “The ASEAN Way (ดิอาเซียนเวย์)” ของประเทศไทย ซึ่งประพันธ์โดย กิตติคุณ สดประเสริฐ (ทานองและเรียบเรียง) สาเภา ไตรอุดม (ทานอง) และพยอม วลัยพัชรา (เนื้อร้อง) ให้เป็นเพลงประจาอาเซียน เพลง ดิอาเซียนเวย์ ได้เปิดตัวครั้งแรกเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ณ โรงละครอักษรา โดยมีวงดุริยางค์ทหารเรือของกองทัพเรือไทยเป็นผู้บรรเลงเพลง และได้ใช้บรรเลงอย่างเป็นทางการในพิธีเปิด การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ที่อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี ประเทศไทย
21
เพลง ดิอาเซียนเวย์ (The ASEAN Way) Raise our flag high, sky high Embrace the pride in our heart ASEAN we are bonded as one Looking out to the world. For peace, our goal from the very start And prosperity to last. We dare to dream we care to share. Together for ASEAN we dare to dream, we care to share for it's the way of ASEAN คาแปลเพลง ดิอาเซียนเวย์ (The ASEAN Way) ชูธงเราให้สูงสุดฟ้า โอบเอาความภาคภูมิไว้ในใจเรา อาเซียนเราผูกพันเป็นหนึ่ง มองมุ่งไปยังโลกกว้าง สันติภาพ คือเป้าหมายแรกเริ่ม ความเจริญ คือปลายทางสุดท้าย เรากล้าฝัน และใส่ใจต่อการแบ่งปัน ร่วมกันเพื่ออาเซียน เรากล้าฝัน และใส่ใจต่อการแบ่งปัน นี่คือวิถีอาเซียน
22
เพลง ดิอาเซียนเวย์ (The ASEAN Way) ฉบับเนื้อร้องภาษาไทยอย่างเป็นทางการ พลิ้วลู่ลม โบกสะบัด ใต้หมู่ธงปลิวไสว สัญญาณแห่งสัญญาทางใจ วันที่เรามาพบกับ อาเซียนเป็นหนึ่งดังที่ใจเราปรารถนา เราพร้อมเดินหน้าไปทางนั้น หล่อหลอมจิตใจให้เป็นหนึ่งเดียว อาเซียนยึดเหนี่ยวสัมพันธ์ ให้สังคมนี้มีแต่แบ่งปัน เศรษฐกิจสังคมก้าวไกล
1.10 ภาษาอาเซียน อาเซียนกาหนดให้ ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาราชการของอาเซียน ด้วยเหตุผลคือ ภาษาอังกฤษเป็น ภาษาสากล และใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก
23
คาถามมีคาตอบ อาเซียนมีสมาชิกกี่ประเทศ และมีประเทศใดบ้าง
อาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ บูรไนดารุสซาลาม กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม อาเซียนก่อตั้งเมื่อไร ประเทศไหนบ้างที่ร่วมก่อตั้ง อาเซียนตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 หลังการลงนามในปฏิญญาสมาคมประชาชาติแห่ง เอเชียตะวันออกเฉลียงใต้ (Declaration of ASEAN Concord) หรือที่รู้จักอีกชื่อหนึ่งว่า ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) โดยรัฐมนตรีจาก 5 ประเทศ ได้แก่ นายอาดัม มาลิก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ ต่างประเทศจากอินโดนีเซีย ตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติจากมาเลเซีย นาซิโซ รามอส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ ต่างประเทศจากฟิลิปปินส์ เอสราชารัตนัม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจากสิงคโปร์ และ พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจากไทย
24
คาถามมีคาตอบ ทาไมถึงจาเป็นต้องตั้งอาเซียน ประเทศผู้ร่วมก่อตั้งเห็นว่า การตั้งองค์กรความร่วมมือระดับภูมิภาคน่าจะมีส่วนช่วยป้องกันการเกิด ความขัดแย้ง และส่งเสริมการระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ทั้งนี้ปฏิญญากรุงเทพฯ กาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์สาหรับอาเซียน 7 ประการ ได้แก่ 1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางสังคมและ วัฒนธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค 3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการบริหาร 4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย 5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และการปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต 6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7. ร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ ประเทศสมาชิกเข้าร่วมกับอาเซียนเมื่อใด หลังการจัดตั้งอาเซียนเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 อาเซียนเปิดรับสมาชิกใหม่ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้เป็นระยะ โดยบรูไนดารุสซาลามเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2527 เวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2538 ลาวและพม่าเข้าเป็นสมาชิก เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2540 ขณะที่กัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 การเข้ารวมของประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้สอดคล้องกับปฏิญญา อาเซียนซึ่งระบุไว้ว่าอาเซียนพร้อมรับทุกประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พร้อมที่จะรับ เป้าหมาย หลักการ และวัตถุประสงค์ขององค์กรเป็นสมาชิก
25
คาถามมีคาตอบ อะไรคือความสาเร็จของอาเซียน นับแต่ก่อตั้ง ประเทศสมาชิกอาเซียนพยายามส่งเสริมการยึดมั่นในบรรทัดฐานร่วมกันและสร้าง เครือข่ายความร่วมมือระหว่างผู้กาหนดนโยบาย ความร่วมมือที่เกิดขึ้นระหว่างกันมีส่วนช่วยป้องกันความ ขัดแย้งไม่ให้เกิดขึ้นในภูมิภาค ทาให้ไม่มีสงครามระหว่างกัน และยังประสบความสาเร็จในการส่งเสริมให้ อาเซียนเป็นเวทีที่ประเทศมหาอานาจหลายประเทศเข้าร่วมหารือในฐานะประเทศคู่เจรจา Partnerships) รวมทั้งมีความร่วมมือในกรอบความร่วมมืออาเซียน +3
(Dialogue
(ASEAN Plus Three) ด้วย
นอกจากนี้อาเซียนยังสร้างเวทีหารือด้านการเมืองและความมั่นคงซึ่งเป็นเพียงเวทีเดียวในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผ่านการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (ASEAN Regional Forum ; ARF) หรือเออาร์เอฟ และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit) อาเซียนได้วางรากฐานของการบูรณาการทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยการจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเซียน (ASEAN Free Trade Area) และยังมีความตกลงอื่นๆ ทั้งในอาเซียนเองและกับประเทศคู่เจรจา เพื่อส่งเสริมให้อาเซียนเป็นระบบเศรษฐกิจที่เปิดต่อประชาคมโลก ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคในการ อนุรักษ์สภาพแวดล้อม การต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง และความร่วมมือสาขาอื่นอีกมากมาย ตลอดจนส่งเสริมความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวให้เกิดขึ้นในภูมิภาค กฎบัตรอาเซียนคืออะไร กฎบัตรอาเซียนคือ ธรรมนูญ
ของอาเซียนที่จะทาให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการวางกรอบ
ทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดยนอกจากจะประมวลสิ่งที่ถือเป็นค่านิยม หลักการ และ แนวปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเป็นข้อปฏิบัติอย่างเป็นทางการของประเทศสมาชิกแล้ว ยังมีการ ปรับปรุงแก้ไขและสร้างกลไกใหม่ขึ้น พร้อมกับกาหนดขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบขององค์กรที่สาคัญ ในอาเซียน ตลอดจนความสัมพันธ์ในการดาเนินงานขององค์กรเหล่านี้ เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง ในโลกปัจจุบัน โดยมีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
26
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม www.mfa.go.th www.wikpedia.org www.bic.moe.go.th
27
กิจกรรม 1. ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มจานวน 10 กลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของอาเซียน และอภิปราย หน้าชั้นเรียน 2. ให้ผู้เรียนตอบคาถามเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การจัดตั้งอาเซียน 3. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข่าว/เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับอาเซียน
28
แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ บทที่ 1
ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยเขียนเครื่องหมาย ทับตัวเลือกที่ต้องการ 1. ข้อใดคือ 5 ประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน ก. มาเลเซีย พม่า ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ข. มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ค. อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ติมอร์ พม่า ไทย ง. มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ จ. มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ลาว 2. สมาชิกอีก 5 ประเทศในการเข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิกอาเซียนได้แก่ข้อใด ก. เวียดนาม จีน พม่า ลาว ติมอร์ ข. เวียดนาม พม่า ลาว บรูไน กัมพูชา ค. เวียดนาม พม่า ลาว อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ ง. พม่า ลาว อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ ไทย จ. พม่า ลาว อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ เวียดนาม 3. รัฐมนตรีต่างประเทศของไทยในตอนลงนามปฏิญญาอาเซียนคือใคร ก. นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ ข. พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ค. จอมพลถนอม กิตติขจร ง. นายปองพล อดิเรกสาร จ. พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ 4. การลงนามปฏิญญาอาเซียนเกิดขึ้นเมื่อใด ก. วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2508 ข. วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2512 ค. วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ง. วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2510 จ. วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2510
29
5. การลงนามปฏิญญาอาเซียนเกิดขึ้นที่ใด ก. พระราชวังสราญรมย์ ข. พระราชวังจันทรเกษม ค. พระบรมมหาราชวัง ง. พระราชวังดุสิต จ. กรุงเทพมหานคร 6. ธงอาเซียนมีกี่สี ก. 3 สี ข. 4 สี ค. 5 สี ง. 6 สี จ. 7 สี 7. สัญลักษณ์ของอาเซียนคือข้อใด ก. ต้นไผ่ 10 ต้น ข. มัดหญ้า 10 ตัน ค. ฝ้าย 10 ต้น ง. มัดผักตบชวา 10 ต้น จ. รวงข้าวสีเหลือง 10 มัด 8. ASEAN Declaration คือข้อใด ก. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ข. ความร่วมมือทางด้านอุตสาหกรรม ค. เขตการลงทุนอาเซียน ง. กฎบัตรอาเซียน จ. เขตการค้าเสรี
30
9. ข้อใดคือเพลงอาเวียน ก. The ASEAN Way ข. One Vision, One ldentity, One Community ค. The ASEAN One ง. The ASEAN Song จ. อาเซียนร่วมใจ 10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วย บทบัญญัติ 13 หมวด 55 ข้อ ข. กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วย บทบัญญัติ 13 หมวด 50 ข้อ ค. กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วย บทบัญญัติ 12 หมวด 55 ข้อ ง. กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วย บทบัญญัติ 12 หมวด 50 ข้อ จ. กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วย บทบัญญัติ 12 หมวด 60 ข้อ
31
ตอนที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ความหมายของ “อาเซียน (ASEAN)” คือ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 2. อาเซียน ASEAN หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations) ก่อตั้งขึ้นเมื่อใด ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 3. จงบอกผู้แทนทั้ง 5 ประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ และประกอบด้วยประเทศใดบ้าง ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 4. ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) มีวัตถุประสงค์สาคัญอย่างไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 5. กฎบัตรอาเซียน มีความสาคัญต่อประเทศไทยอย่างไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 6. ตราสัญลักษณ์อาเซียนมีลักษณะอย่างไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................
32
7. จงบอกเป้าหมายหลักในการกาหนดวิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 (The ASEAN Vision 2020) ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 8. คาขวัญอาเซียน คือ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 9. เพลงอาเซียนมีชื่อว่าอย่างไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 10. ภาษาอาเซียน คือ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................
33
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง : ธงและตราสัญลักษณ์อาเซียน คาชี้แจง : ให้นักเรียนอธิบายความหมายของสัญลักษณ์และธงอาเซียน
ความหมายของสัญลักษณ์อาเซียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .....................................................................................................................................................
ความหมายของธงอาเซียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................
34
ใบงานที่ 1.2 เรื่อง : ข้อความที่ควรรู้เกี่ยวกับอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนนาตัวอักษรทางขวามือมาใส่ลงในช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กัน ..............1. Association of South East Asian
ก. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
..............1. Nations ..............2. THE ASEAN CHARTER
ข. เพลง ดิอาเซียนเวียร์
..............3. The Bangkok Declaration
ค. คาขวัญอาเซียน
..............4. The ASEAN Vision 2020
ง. เพลงอาเซียน เพลงแห่งความสามัคคี
..............5. “One Vision, One Identity. One
จ. ปฏิญญากรุงเทพฯ
..............1. Community” ..............6. “The ASEAN Way”
ฉ. ปฏิญญาอาเซียน
..............7. ASEAN Declaration
ช. วิสัยทัศน์อาเซียน
..............8. ASEAN Community
ซ. ประชาคมอาเซียน
..............9. ASEAN
ฌ. อาเซียน
..............10.ASEAN Song of Unity
ญ. กฎบัตรอาเซียน
35
ใบงานที่ 1.3 เรื่อง : ประเทศสมาชิกอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนนาตัวอักษรทางขวามือมาใส่ลงในช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กัน ..............1. Brunei Darussalam
ก. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
..............2. Kingdom of Cambodia
ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา
..............3. Republic of Indonesia
ค. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
..............4. Lao People’s Democratic
ง. บรูไนดารุสซาลาม
Republice
จ. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
..............5. Malaysia
ฉ. สาธารณรัฐสิงคโปร์
..............6. Republice of Union of Myanmar
ช. มาเลเซีย
..............7. Republice of Philippines
ซ. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
..............8. Republice of Singapore
ฌ. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
..............9. Kingdom of Thailand
ญ. ราชอาณาจักรไทย
..............10.Socialist Republic of Vietnam
36
ใบงานที่ 1.4 เรื่อง : ความรู้เกี่ยวกับเพลงอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนเขียนเนื้อเพลงพร้อมอธิบายความหมาย เพลง ดิอาเซียนเวย์ (The ASEAN Way) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความหมายของเพลง The ASEAN Way .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
37
เฉลยแบบทดสอบ ข้อ
เฉลย
ข้อ 1
ง
ข้อ 2
ข
ข้อ 3
จ
ข้อ 4
ค
ข้อ 5
จ
ข้อ 6
ข
ข้อ 7
จ
ข้อ 8
ก
ข้อ 9
ก
ข้อ 10
ก
38
ตอนที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ความหมายของ “อาเซียน (ASEAN)” คือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยการจัดตั้งในครั้งแรกมีจุดประสงค์เพื่อ ........ .... ส่งเสริมและร่วมมือในเรื่อง สันติภาพ ความมั่นคง เศรษฐกิจ องค์ความรู้ สังคมวัฒนธรรม........ ....... 2. อาเซียน ASEAN หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations) ก่อตั้งขึ้นเมื่อใด เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยมีสมาชิกผู้ก่อตั้ง 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ..
.....
3. จงบอกผู้แทนทั้ง 5 ประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ และประกอบด้วยประเทศใดบ้าง ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ..
.....
4. ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) มีวัตถุประสงค์สาคัญอย่างไร 1) ส่งเสริมความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี
......
2) ส่งเสริมสันติภาพและมั่นคงส่วนภูมิภาค ....
...
3) สร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ
.
4) ส่งเสริมให้ประชาชนอาเซียนมีความเป็นอยู่ที่ดี ....... ....... ....... ......
. ....... ....... .......
5) ส่งเสริมการศึกษา ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ...... 6) เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรกรและอุตสาหกรรม ....... ....... ...
อ .... ....... ....... .......อ
7) เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอกองค์กร ....... ....... ....... ....... ....... ....... 5. กฎบัตรอาเซียน มีความสาคัญต่อประเทศไทยอย่างไร เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่จะทาให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคลเป็นการวางกรอบทาง กฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน ....... ....... ....... ....... ....
... ....... ....... .......อ
6. ตราสัญลักษณ์อาเซียนมีลักษณะอย่างไร -มีสัญลักษณ์เป็นรวงข้าวสีเหลือง 10 มัด ....... .......
....... ....... ....... ....... ....... .......อ
-พื้นที่วงกลมสีแดง ขอมสีขาวและสีน้าเงิน
.......
-มีตัวอักษรคาว่า “ asean” สีน้าเงินอยู่ใต้รูปรวงข้าว
.......
39
7. จงบอกเป้าหมายหลักในการกาหนดวิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 (The ASEAN Vision 2020) 1.วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2.มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก
....... ....... ....... ..... .. ....... ....... ....... ....... .......
....... ....... ....... .......
....... ....... ....... ....... .......ออ
3.อยู่ร่วมกันอย่างสันติ มั่นคง รุ่งเรือง เป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาอย่างมีพลวัต ..... ....... ....... ....... 4.เป็นชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร
.
8. คาขวัญอาเซียน คือ “
One Vision , One Identity , One Community” ....... ....... ....... ....... ....... ..... “หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม”....................
................
9. เพลงอาเซียนมีชื่อว่าอย่างไร - (ASEAN Song of Unity ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... . .............
......
-(The ASEAN Way).................................. ....... ....... ....... ....... .................................
10. ภาษาอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาราชการของอาเซียน ด้วยเหตุผลคือ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล และ
.
ใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก................................. ........................... .....................................................
40
เฉลยใบงาน
41
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง : ธงและตราสัญลักษณ์อาเซียน คาชี้แจง : ให้นักเรียนอธิบายความหมายของสัญลักษณ์และธงอาเซียน
ความหมายของสัญลักษณ์อาเซียน - รวงรวงข้าวสีเหลือง 10 มัด หมายถึงการที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศรวมกัน เพื่อมิตรภาพและความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน -พื้นที่วงกลมสีแดง ขอบสีขาวและน้าเงิน แสดงถึงความเป็นเอกภาพ -มีตัวอักษร คาว่า “
.. ...................................
......
asean” สีน้าเงินอยู่ใต้รูปรวงข้าว อันแสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะทางานร่วมกัน
เพื่อความมั่นคง สันติภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน
ความหมายของธงอาเซียน สิ่งที่แสดงถึงความมั่นคง สันติภาพ ความเป็นเอกภาพ และพลวัตของอาเซียน และเป็นที่มาของสี 4 สีที่ปรากฏอยู่บนธง.................................
.................................................................................
42
ใบงานที่ 1.2 เรื่อง : ข้อความที่ควรรู้เกี่ยวกับอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนนาตัวอักษรทางขวามือมาใส่ลงในช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กัน .......ก.......1. Association of South East Asian ก. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ..............1. Nations .......ญ.......2. THE ASEAN CHARTER
ข. เพลง ดิอาเซียนเวียร์
.......จ.......3. The Bangkok Declaration
ค. คาขวัญอาเซียน
.......ช.......4. The ASEAN Vision 2020
ง. เพลงอาเซียน เพลงแห่งความสามัคคี
.......ค.......5. “One Vision, One Identity. One
จ. ปฏิญญากรุงเทพฯ
..............1. Community” .......ข.......6. “The ASEAN Way”
ฉ. ปฏิญญาอาเซียน
.......ฉ.......7. ASEAN Declaration
ช. วิสัยทัศน์อาเซียน
.......ซ.......8. ASEAN Community
ซ. ประชาคมอาเซียน
.......ฌ.......9. ASEAN
ฌ. อาเซียน
.......ง.......10.ASEAN Song of Unity
ญ. กฎบัตรอาเซียน
43
ใบงานที่ 1.3 เรื่อง : ประเทศสมาชิกอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนนาตัวอักษรทางขวามือมาใส่ลงในช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กัน .......ง.......1. Brunei Darussalam
ก. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
.......ข.......2. Kingdom of Cambodia
ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา
.......จ.......3. Republic of Indonesia
ค. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
.......ค.......4. Lao People’s Democratic
ง. บรูไนดารุสซาลาม
Republice
จ. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
.......ช.......5. Malaysia
ฉ. สาธารณรัฐสิงคโปร์
.......ก.......6. Republice of Union of Myanmar
ช. มาเลเซีย
.......ฌ.......7. Republice of Philippines
ซ. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
.......ฉ.......8. Republice of Singapore
ฌ. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
.......ญ.......9. Kingdom of Thailand
ญ. ราชอาณาจักรไทย
.......ซ.......10.Socialist Republic of Vietnam
44
ใบงานที่ 1.4 เรื่อง : ความรู้เกี่ยวกับเพลงอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนเขียนเนื้อเพลงพร้อมอธิบายความหมาย เพลง ดิอาเซียนเวย์ (The ASEAN Way) Raise our flay high , sky high…………………………………………………………………………
….
Embrace the pride in our heart…………………………………………………………………
…………
ASEAN we are bonded as one………………………………………………… ………………
………
Looking our to the world……………………………………
………………………………
……….
For peace , our goal from the very start………………………………………………………
……………
And prosperity to last………………
………………………………………………………
We dare to dream we care to share…………………………………………………………………
……. ……
Together for ASEAN we dare to dream, ………………… ………………………………… ……… We care to share for it’s the way of ASEAN……………………………………………………… …… ความหมายของเพลง The ASEAN Way เพลง The
ASEAN Way
เสมือนเป็นตัวเลยแทนความอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาคม
……อาเซียน ที่กาลังจะก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน …………………………
……………………
45
บรรณานุกรม กรมประชาสัมพันธ์. ประเทศไทยกับอาเซียน. กรุงเทพฯ : สานักนายกรัฐมนตรี, 2554. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2553. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. สื่อวีดีทัศน์กรุงเทพฯ. กรมอาเซียน, 2556. กระทรวงการต่างประเทศ กรมอาเซียน. 20 อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี, 2530. คณาจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เมื่อกรุงเทพมหานครเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. สานัก ยุทธศาสตร์และประเมินผล, 2556. ชัยวัฒน์ สีแก้ว. รอบรู้อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์หอสมุดกลาง 09, 2556. ประภัสสร์ เทพชาตรี, รศ.ดร. สู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2552.
46
รูปประกอบจากเว็บไซต์ http://asean4kids.blogspot.com http://image.baidu.co.th http://mekaje.wordpress.com http://siriporn1997.wordpress.com http://thai.cri.cn/ http://travel.mthai.com http://www.alro.go.th http://www.aseangreenhub.in.th/ http://www.hooninside.com/ http://www.manager.co.th http://www.mcot.net/ http://www.thaigov.go.th/ pirun.ku.ac.th th.wikipedia.org www.bic.moe.go.th www.fotolia.com www.kapook.com/campus.sanook.com/infographicland www.mfa.go.th www.muaypattaraporn.wordpress.com www.nesdb.go.th www.oknation.net
47