อาเซียนศึกษา เล่ม 10

Page 1

1


2

อาเซียนศึกษา (ASEAN Study)

จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่ศึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีในฐานะประชากรอาเซียน 3. เพื่อตระหนักในความเป็นประชากรอาเซียน เพื่อการดารงตนและการพัฒนาสังคมประเทศชาติ

สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. ดารงตนเป็นประชากรอาเซียนที่ดี

คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา และพัฒนาการของประชาคมอาเซียน ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในประชาคมอาเซียนกับภูมิภาคอื่นในโลก


3

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

หน่วยการเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน ประชาคมอาเซียน พัฒนาการของประชาคมอาเซียน ประเทศไทยกับอาเซียน บทบาทของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ประเทศกัมพูชา ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศไทย ประเทศเวียดนาม

ดารงตนเป็นประชากร อาเซียนที่ดี

หน่วยที่

แสดงความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานสมรรถนะ

               

               


4

คานา หนังสืออาเซียนศึกษาได้เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตร พุทธศักราช 2556 ที่พัฒนาให้สอดคล้องกับความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี และการเปิดเสรีทางการศึกษา รองรับการเป็นประชาคมอาเซียนร่วมกัน ซึ่ง จะต้องพัฒนาทั้งในด้านการศึกษา ด้านวัฒนธรรม และวิถีชีวิต และให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความเป็นมา พัฒนาการ และความร่วมมือต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงความสาคัญของ องค์กรแห่งนี้ และเข้าใจความเป็น “อาเซียน” และร่วมกันเพื่อการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมที่เข้มแข็ง ตลอดไป เนื้อหามีทั้งหมด 15 เล่ม ประกอบด้วย พัฒนาการอาเซียน โครงสร้างและกลไกการดาเนินงาน อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เขตการค้าเสรีอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศไทยสู่การ เป็นสมาชิกอาเซียน หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและบุคคลทั่วไป ในการเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจ และเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันตามที่หลักสูตรต้องการ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิดได้ สมดังเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาอย่างครบถ้วนทุก ประการ

นิตยา วรวงษ์


5

สารบัญ หน้า ประเทศอินโดนีเซีย

7

10.1 ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน

8

10.2 สภาพทางภูมิศาสตร์

8

10.3 ประวัติความเป็นมา

9

10.4 การเมืองการปกครอง

10

10.5 เศรษฐกิจ

10

10.6 สังคมและวัฒนธรรม

11

10.7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย

12

แบบทดสอบ

13

เฉลยแบบทดสอบ

16

บรรณานุกรม


6

ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)

สาระการเรียนรู้

1. ประเทศมาเลเซีย

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกสาระสาคัญของประเทศมาเลเซีย

ได้

สมรรถนะประจาหน่วย แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศมาเลเซีย


7

มาเลเซีย ชื่ออย่างเป็นทางการ มาเลเซีย (

Malaysia)

ขนาดพื้นที่

333,403 ตารางกิโลเมตร

ที่ตั้งและอาณาเขต

มีพื้นที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ บริเวณคาบสมุทรมลายูที่ตั้งอยู่ทาง ตอนใต้ของประเทศไทย เรียกว่า มาเลเซียตะวันตก และบริเวณที่ตั้งอยู่บน เกาะบอร์เนียว เรียกว่า มาเลเซียตะวันออก

เมืองหลวง

กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur)

จานวนประชากร

28.9 ล้านคน (พ.ศ. 2553)

ชาติพันธุ์

ร้อยละ 60 ของประชากรทั้งหมดเป็นชาวมาเลย์ และชนพื้นเมืองเดิม รองลงมาเป็นชาวจีนและชาวอินเดีย

ภาษา

ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ

ศาสนา

ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ แต่ผู้นับถือพระพุทธศาสนา คริสต์ ศาสนา และศาสนาฮินดูมากขึ้นในปัจจุบัน

ระบอบการปกครอง วันชาติ สกุลเงิน GDP รายได้ประชาชาติ อุตสาหกรรม

สหพันธรัฐ มีสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นประมุข มีนายกรัฐมนตรีเป็น หัวหน้ารัฐบาลแห่งสหพันธรัฐ และมีมุขมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งรัฐ 31 สิงหาคม ริงกิต (1 ริงกิต เท่ากับ 10 บาทโดยประมาณ) 191,300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2553) 1,760 ดอลลาร์สหรัฐต่อหัว (พ.ศ. 2553) ผลิตภัณฑ์จากยางพารา น้ามันปาล์ม ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ปุ๋ยเคมี เครื่องใช้ไฟฟ้า การต่อเรือ รถยนต์ เครื่องจักร สินแร่เหล็ก สบู่ รองเท้า ผ้าบาติก เครื่องจักสาน

สินค้านาเข้า

ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ อุปกรณ์การขนส่งโลหะ และอาหาร

สินค้าส่งออก

เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ น้ามันปาล์ม น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติเหลว ยางพารา ไม้ เหล็ก และแร่ดีบุก


8

10. มาเลเซีย

(Malaysia)

10.1 ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 1. ธงชาติ ใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 มีแถบสีแดงสลับสีขาว ทุกแถบมีความกว้างเท่ากัน หมายถึง ความเสมอ ภาคของรัฐสมาชิก 13 รัฐและรัฐบาลกลางที่กรุงกัวลาลัมเปอร์มีพื้น สีน้าเงินที่มุมซ้ายบน หมายถึง ความสามัคคี ในพื้นสีน้าเงินมีดาว 14 แฉก เรียกว่า “ดาราสหพันธ์” หมายถึง ความเป็นเอกภาพของหมู่รัฐ และมีพระจันทร์เสี้ยวทางซ้ายของดาว หมายถึง ศาสนาอิสลาม ในพระจันทร์เสี้ยวและดาวมีสีเหลืองซึ่งเป็นสีแห่งสมเด็จพระราชาธิบดี (ยังดี เปอร์ตวน อากง) 2. ตราประจาแผ่นดิน มียอดเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวและดาว 14 แฉกสีเหลือง ตรงกลางเป็นโล่แบ่ง ออกเป็นส่วนๆ ส่วนบนมีพื้นสีแดงบรรจุกริช 5 เล่ม แสดงถึงรัฐมลายูนอก สหพันธรัฐมลายา 5 รัฐ ส่วนกลางซ้ายเป็นรูปต้นปาล์มอยู่เหนือแพร ประดับสีฟ้า-ขาว หมายถึง รัฐปีนัง ตรงกลางเป็นช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า 4 แถวมี 4 สี ได้แก่ สีแดง ดา ขาว และเหลือง ซึ่งเป็นสีประกอบธงประจา รัฐสมาชิกในสหพันธรัฐมลายากลางขวาเป็นรูปต้นมะขามป้อม หมายถึง รัฐมะละกา ส่วนล่างซ้ายเป็นรูปตราอาร์มประจารัฐซาบาห์ ล่า กลางเป็นรูปดอกชบา ดอกไม้ประจาชาติ และล่างขาวเป็นรูปตราอาร์มประจารัฐซารารัก ประคองข้างด้วย เสือโคร่ง หมายถึง กาลังและความกล้า ด้านล่างสุดมีแพรแถบบรรจุข้อความภาษามาเลย์ เขียนเป็นอักษร โรมันและอักษรยาวีมีความหมายว่า “ความเป็นเอกภาพคือพลัง” ใช้ครั้งแรกใน พ.ศ. 2508 10.2 สภาพทางภูมิศาสตร์ 1. ที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขต มีที่ตั้งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ คาบสมุทรมลายู อยู่ทางตอนใต้ ของประเทศไทย เรียกว่า มาเลเซียตะวันออก และทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว ซึ่งมีอาณาเขต ล้อมรอบประเทศบรูไนดารุสซาลาม เรียกว่า มาเลเซียตะวันตก มีเนื้อที่ประมาณ 333,403 ตารางกิโลเมตร 2. ลักษณะภูมิประเทศ บริเวณคาบสมุทรมลายูมีพื้นที่ทางตอนกลางเป็นแนวทิวเขาสูงที่ทอดลงมา จากประเทศไทย มีแนวชายฝั่งทะเลทางด้านตะวันออกกว้างขวางกว่าทางด้านตะวันตก ส่วนบริเวณมาเลเซีย ตะวันออกมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสูง มีที่ราบชายฝั่งทะเลและที่ราบลุ่มเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ที่ราบ ชายฝั่งส่วนใหญ่เป็นหนองและบึง


9

3. ภูมิอากาศ อยู่ในเขตอาการร้อนชื้นแบบศูนย์สูตร ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตลอดทั้งปีมีฝนตก ชุกตลอดทั้งปี ปริมาณฝนประมาณ 2,750 มิลลิเมตรต่อปี ในรัฐเประอาจจะมีปริมาณสูงถึง 5,800 มิลลิเมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่อปีประมาณ 25 องศาเซลเซียส 4. ทรัพยากรธรรมชาติ มีป่าไม้ ชนิดป่าดิบชื้นอยู่เป็นจานวนมาก โดยเฉพาะ ทางตอนกลางของคาบสมุทรมลายูและในรัฐ ซาบาห์ อุดมไปด้วยแร่ดีบุก เหล็ก บ็อกไซต์ น้ามันและก๊าซธรรมชาติและมีปริมาณน้าผิวดิน ที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ แผนที่ประเทศมาเลเซีย

10.3 ประวัติความเป็นมา แต่เดิมนั้นดินแดนคาบสมุทรมลายูถูกยึดครองโดยอาณาจักรศรีวิชัยและกลายเป็นของอาณาจักรมัช ปาหิตในเวลาต่อมา จนกระทั่ง พ.ศ. 1944 ดินแดนแหลมมลายูก็ตกเป็นของอาณาจักรมะละกา ซึ่งปกครอง โดยศาสนาอิสลาม ในช่วงนี้ดินแดนบางส่วนของแหลมมลายูยังคงตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรสยาม ต่อมา ใน พ.ศ. 2284 มะละกาก็ถูกฮอลันดาเข้ายึดครองได้สาเร็จแต่เมื่อถึง พ.ศ. 2367 ฮอลันดาก็ขอแลกดินแดนมะ ละกากับเกาะสุมาตราจากอังกฤษ จนกระทั่ง พ.ศ. 2452 อาณาจักรสยามก็ยกดินแดนไทรบุรี ปะลิส กลัน ตัน และตรังกานูให้อังกฤษเพื่อแลกกับเอกราช อังกฤษจึงได้ครอบครองดินแดนในแหลมมลายูทั้งหมด หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวจีนและชาวมาเลย์ที่อยู่ในดินแดนแหลมมลายูเกิดข้อพิพาทและความ ขัดแย้งอย่างรุนแรง อังกฤษจึงเข้ามาแก้ไขปัญหาโดยได้จัดตั้งสหภาพมลายาขึ้น แต่ชาวมาเลย์ไม่พอใจ จึงได้ มีการเจรจากันใหม่และในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 จึงได้ประกาศจัดตั้งเป็นสหพันธรัฐมลายา ซึ่งชาว จีนและชาวอินเดียในดินแดนนี้ส่วนใหญ่ไม่พอใจและเกิดปัญหาข้อขัดแย้งเรื่อยมา จนกระทั่งวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2500 อังกฤษจึงประกาศให้เอกราชกับสหพันธรัฐมลายา และเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2506 จึงได้เกิดประเทศสหพันธ์มาเลเซียขึ้นโดยรวมเอาสิงคโปร์ ซาราวัก และซาบาห์เข้ามาร่วมด้วย แต่ต่อมา สิงคโปร์ซึ่งมีชาวจีนอาศัยอยู่มากและมีปัญหาความขัดแย้งเรื่องเชื้อชาติกับมาเลเซียมายาวนานได้ประกาศ แยกตัวออกจาสหพันธ์มาเลเซีย ในวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2518


10

10.4 การเมืองการปกครอง 1. รูปแบบการเมืองการปกครอง ปกครองด้วยระบอบสหพันธรัฐ มีสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นประมุข องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลวาทิก ตวนกู มิซาน ไซนัล อบิดิน อิบนีอัลมาร์ฮุม สุลต่านมะห์มูด อัลมุดาฟี บิลลาห์ ซาห์ (His Majesty Al-Wathiqu Tuanku Mizan Zainal Abidin Ibni Al-Marhum Sultan Mahmud Al-Muktafi Billah Shah) ซึ่งได้มาจากการเลือกตั้งเจ้าผู้ปกครองรัฐ 9 แห่งและจะดารง ตาแหน่งหมุนเวียนกันไปวาระละ 5 ปี มีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลแห่งสหพันธรัฐ คนปัจจุบันคือ ดาโต๊ะ ซรี มูห์ฮัมหมัด นาจิบ บิน ตุน อับดุล ราซัก (Dato’ Sri Mohd Najib bin Tun Abdul Razak) แบ่งการปกครองออกเป็น 13 รัฐ ได้แก่ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์ ปะลิส ซาบาห์ และซาราวัก และ 3 ดินแดน ได้แก่ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมืองปุตราจายาและ เกาะลาบวน 2. ความมั่นคงและนโยบายต่างประเทศ การเมืองในมาเลเซียยังคงมีความวุ่นวายจากความขัดแย้ง ระหว่างพรรครัฐบาลกับพรรคฝ่ายค้านและฝ่ายตุลาการกับสถาบันสุลต่าน สาหรับนโยบายต่างประเทศ มาเลเซียได้สร้างเสริมความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศจีนและสหรัฐอเมริกามากขึ้น โดยได้ให้ความ ช่วยเหลือสหรัฐอเมริกา ในการฟื้นฟูอัฟกานิสถานและการเจรจาเพื่อลดอาวุธนิวเคลียร์ในคาบสมุทรเกาหลี ส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ ในอาเซียน โดยเฉพาะอินโดนีเซียที่มีปัญหาขัดแย้งในเรื่องแรงงาน เขตแดน และวัฒนธรรม รัฐบาลได้พยายามแก้ไขปัญหาร่วมกับรัฐบาลอินโดนีเซีย เพื่อลดข้อขัดแย้งที่มีมา อย่างยาวนาน 3. สิทธิมนุษยชน ยังคงมีปัญหาการค้ามนุษย์และแรงงานผิดกฎหมาย นอกจากนี้ นโยบายภูมิบุตร ของรัฐบาลยังทาให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันของประชาชนที่อยู่ในประเทศ เนื่องจากชาวมาเลย์ในฐานะภูมิบุตร จะได้รับทุนการศึกษา เงินสาหรับการคลอดบุตร การแต่งงาน การทาศพ และมีระบบสาธารณสุขที่ดี ซึ่ง ประชาชนที่เป็นชนชาติอื่นๆ ในประเทศจะไม่ได้รับ 10.5 เศรษฐกิจ 1. ระบบเศรษฐกิจ มีการเพาะปลูกพืชทั้งแบบเพื่อการค้าและยังชีพ พืชที่สาคัญ ได้แก่ ยางพารา ปาล์มน้ามัน มะพร้าว ชา กาแฟ อ้อย พริกไทย และข้าว มีการทาป่าไม้และส่งไม้เป็นสินค้าออก มีการทา เหมืองแร่ดีบุก เหล็ก บ็อกไซต์ ถ่านหิน และน้ามัน มีน่านน้าที่มีปลาชุกชุมเหมาะแก่การทาประมงทะเล มีอุตสาหกรรมที่สาคัญ ได้แก่ การทาผ้าบาติก สบู่ รองเท้า รถยนต์ การต่อเรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และ


11

ปิโตรเลียม ระบบเศรษฐกิจของมาเลเซียส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับภาวะทางการเมืองภายในประเทศมากกว่าภาวะ เศรษฐกิจของโลก 2. ระบบเงินตรา ใช้สกุลเงินริงกิต โดย 1 ริงกิตมีค่าประมาณ 10 บาท 3. ปัจจัยการผลิต แรงงาน และอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เป็นปัจจัยที่สาคัญในการ ผลิตทั้งในภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม เช่น การมีดินและน้าที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของ ยางพารา ทาให้มาเลเซียเป็นแหล่งผลิตยางพาราที่สาคัญ แห่งหนึ่งของโลก ประชากรส่วนใหญ่ยังคงประกอบ อาชีพทางการเกษตรและการทาป่าไม้ แต่ในปัจจุบันมี แรงงานในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น ทั้งแรงงานที่มา กระบวนการผลิตยางพาราแผ่นใน ประเทศมาเลเซีย

จากภายในประเทศและจากภายนอกประเทศ โดยเฉพาะ แรงงานที่มาจากประเทศอินโดนีเซียและประเทศพม่า

4. การค้าเสรีและความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ มีนโยบายทางเศรษฐกิจในการเปิดเสรีภาคธุรกิจ บางส่วน เช่น การท่องเที่ยว การขนส่ง คอมพิวเตอร์ เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีบทบาทในกลุ่มอาเซียนและเขตการค้าเสรีอาเซียนมาก โดยการดึงประเทศต่างๆ ในเอเชีย ตะวันออกให้เข้ามามีส่วนร่วมในเขตการค้าเสรีอาเซียนในปัจจุบัน 10.6 สังคมและวัฒนธรรม 1. ชาติพันธุ์ ภาษา และศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 60 เป็นชาวมาเลย์และชนพื้นเมืองเดิม ซึ่งถือเป็น “ชาวภูมิบุตร” ตามกฎหมายมาเลเซีย รองลงมาเป็นชาวจีนและชาวอินเดีย ใช้ภาษามาเลย์เป็น ภาษาราชการ และมีศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ 2. ประเพณีและวัฒนธรรม มีลักษณะคล้ายคลึงกับประเทศอินโดนีเซีย การแต่งกายชุดประจาชาติ ผู้ชายจะสวมบาจู (โสร่งที่มีลายเป็นตาๆ)

และสวมหมวกสีดา ผู้หญิงจะสวมเสื้อแขนยาวถึงข้อมือ ปล่อย

ชายเสื้อไว้ด้านนอก และนุ่งโสร่งที่มีสีสันสดใส ชาวมาเลย์นิยมรับประทานอาหารที่ปรุงด้วยเครื่องเทศมีกลิ่น ค่อนข้างรุนแรง มีวัฒนธรรมการแห่ขันหมากโบราณ ซึ่งสิ่งของที่นามาสู่ขอเจ้าสาวจะต้องนาไปเป็นเลขคี่ เท่านั้น


12

การฟ้อนราแบบศิลปะของมาเลเซีย (ซ้าย) และพิธีการแต่งงานแบบโบราณของชาวมาเลเซีย (ขวา)

3. บุคคลสาคัญ ได้แก่ นายกรัฐมนตรีนาจิบ อับดุล ราซัก นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน และ ดร.มหา เธร์ มูห์ฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรี 10.7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย ประเทศไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศมาเลเซีย เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2500 โดยความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ มีดังนี้ 1. ด้านการเมืองและความมั่นคง มีความสัมพันธ์ในระดับทวิภาคีผ่านคณะกรรมาธิการ

JC

คณะกรรมการ GBC และมีความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น การปักปันเขตแดน การป้องกันสินค้า เถื่อนและยาเสพติด ปัญหาบุคคลสองสัญชาติ ปัญหาชายแดนภาคใต้ของไทย 2. ด้านเศรษฐกิจ การค้า และการท่องเที่ยว มาเลเซียเป็นประเทศคู่ค้าอันดับที่ 5 ของประเทศไทย มีมูลค่าการค้าระหว่างกันมากกว่า 21,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเฉพาะการค้าชายแดนที่มีมูลค่าการค้าสูง มาก ใน พ.ศ. 2553 ทางการมาเลเซียได้อนุมัติโครงการจากประเทศไทยให้เข้าไปลงทุนในด้านชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ การบริการ และภาคการเกษตร ขณะที่จานวนนักท่องเที่ยวระหว่างทั้ง 2 ประทศมีจานวน เพิ่มมากขึ้นทุกปี 3. ด้านสังคม วัฒนธรรม และการศึกษา มีการเชื่อมเส้นทางคมนาคมเพื่ออานวยความสะดวกแก่ ประชาชนตามแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย อนุญาตให้ประชาชนในพื้นที่แนวชายแดนไทย-มาเลเซียถือ 2 สัญชาติได้ และมีความร่วมมือกันส่งเสริมวิชาการและการศึกษาทางด้านศาสนาอิสลาม กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ติดตามข่าวเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในประเทศมาเลเซีย นามาสรุปและวิเคราะห์วา่ มีผลกระทบต่อ ความสัมพันธ์กบั ประเทศไทยหรื อไม่อย่างไร แล้ วจัดทาเป็ นรายงานส่งครู


13

แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ บทที่ 10 ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยเขียนเครื่องหมาย  ทับตัวเลือกที่ต้องการ 1. เมืองหลวงของมาเลเซีย มีชื่อว่าอะไร ก. กรุงกัวลาลัมเปอร์ ข. มาเลเซีย ค. เบอร์เนียว ง. พนมเปญ 2. Ringgit คืออะไร ก. เมืองหลวง ข. สกุลเงินของมาเลเซีย ค. ถนน ง. แม่น้า 3. ศาสนาประจาชาติมาเลเซียคือศาสนาใด ก. ศาสนาอิสลาม ข. ศาสนาคริสต์ ค. ศาสนาซิกส์ ง. ศาสนาพุทธ 4. สินค้าที่มาเลเซียส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลกคืออะไร ก. น้ามัน ข. แร่ดีบุก ค. ข้าว ง. อัญมณี


14

5. ดอกไม้ประจาชาติของมาเลเซียคือดอกอะไร ก. ดอกชบา ข. ดอกแก้ว ค. ดอกจาปี ง. ดอกมะล 6. กีฬายอกนิยมของชาวมาเลเซียคือกีฬาชนิดใด ก. เป่ากบ ข. ฟุตบอล ค. วอลเลย์บอล ง. ตะกร้อ 7. มาเลเซียใช้ภาษาใดเป็นภาษาประจาชาติ ก. ภาษาฝรั่งเศส ข. ภาษามาเลย์หรือภาษามลายู ค. ภาษาไทย ง. ภาษาอังกฤษ 8. วันชาติมาเลเซียตรงกับวันใด ก. 31 สิงหาคม ข. 31 มกราคม ค. 31 ตุลาคม ง. 31 ธันวาคม 9. เพลงชาติของมาเลเซียมีชื่อว่าอะไร ก. เนการากู ข. บาบาซู ค. โปรเกม่อน ง. คิวซู


15

10. มาเลเซียมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นลาดับที่เท่าใดในอาเซียน ก. ลาดับที่ 1 ข. ลาดับที 3 ค. ลาดับที่ 5 ง. ลาดับที่ 4


16

เฉลยแบบทดสอบ ข้อ

เฉลย

ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4

ข้อ 5

ข้อ 6

ข้อ 7

ข้อ 8

ข้อ 9

ข้อ 10


17

บรรณานุกรม กรมประชาสัมพันธ์. ประเทศไทยกับอาเซียน. กรุงเทพฯ : สานักนายกรัฐมนตรี, 2554. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2553. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. สื่อวีดีทัศน์กรุงเทพฯ. กรมอาเซียน, 2556. กระทรวงการต่างประเทศ กรมอาเซียน. 20 อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี, 2530. คณาจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เมื่อกรุงเทพมหานครเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. สานัก ยุทธศาสตร์และประเมินผล, 2556. ชัยวัฒน์ สีแก้ว. รอบรู้อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์หอสมุดกลาง 09, 2556. ประภัสสร์ เทพชาตรี, รศ.ดร. สู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2552.


18

รูปประกอบจากเว็บไซต์ http://asean4kids.blogspot.com http://image.baidu.co.th http://mekaje.wordpress.com http://siriporn1997.wordpress.com http://thai.cri.cn/ http://travel.mthai.com http://www.alro.go.th http://www.aseangreenhub.in.th/ http://www.hooninside.com/ http://www.manager.co.th http://www.mcot.net/ http://www.thaigov.go.th/ pirun.ku.ac.th th.wikipedia.org www.bic.moe.go.th www.fotolia.com www.kapook.com/campus.sanook.com/infographicland www.mfa.go.th www.muaypattaraporn.wordpress.com www.nesdb.go.th www.oknation.net


19


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.