1
2
อาเซียนศึกษา (ASEAN Study)
จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่ศึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีในฐานะประชากรอาเซียน 3. เพื่อตระหนักในความเป็นประชากรอาเซียน เพื่อการดารงตนและการพัฒนาสังคมประเทศชาติ
สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. ดารงตนเป็นประชากรอาเซียนที่ดี
คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา และพัฒนาการของประชาคมอาเซียน ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศในประชาคมอาเซียนกับภูมิภาคอื่นในโลก
3
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
หน่วยการเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน ประชาคมอาเซียน พัฒนาการของประชาคมอาเซียน ประเทศไทยกับอาเซียน บทบาทของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ประเทศกัมพูชา ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศไทย ประเทศเวียดนาม
ดารงตนเป็นประชากร อาเซียนที่ดี
หน่วยที่
แสดงความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานสมรรถนะ
4
คานา หนังสืออาเซียนศึกษาได้เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตร พุทธศักราช 2556 ที่พัฒนาให้สอดคล้องกับ ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี และการเปิดเสรีทางการศึกษา รองรับการเป็นประชาคมอาเซียนร่วมกัน ซึ่งจะต้องพัฒนาทั้งในด้านการศึกษา ด้านวัฒนธรรม และวิถีชีวิต และให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความเป็นมา พัฒนาการ และความร่วมมือต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงความสาคัญของ องค์กรแห่งนี้ และเข้าใจความเป็น “อาเซียน” และร่วมกันเพื่อการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมที่เข้มแข็ง ตลอดไป เนื้อหามีทั้งหมด 15 เล่ม ประกอบด้วย พัฒนาการอาเซียน โครงสร้างและกลไกการดาเนินงาน อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เขตการค้าเสรีอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศไทยสู่ การเป็นสมาชิกอาเซียน หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและบุคคลทั่วไป ในการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันตามที่หลักสูตรต้องการ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิดได้ สมดังเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาอย่างครบถ้วนทุก ประการ
นิตยา วรวงษ์
5
สารบัญ หน้า พัฒนาการของประชาคมอาเซียน
6
4.1 การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
7
4.2 ความพร้อมของประเทศเพื่อนบ้าน
9
4.3 ความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์ของไทย
10
4.4 ความพร้อมด้านเศรษฐกิจของไทย
10
4.5 ความพร้อมด้านสังคมและวัฒนธรรม
11
4.6 นโยบายเตรียมความพร้อมโดยภาครัฐ
14
4.7 ประโยชน์ของไทยด้านเศรษฐกิจกับอาเซียน
15
4.8 บทบาทของไทยในอาเซียน
16
แบบทดสอบ
21
ใบงาน
26
เฉลยแบบทดสอบ
29
เฉลยใบงาน
32
บรรณานุกรม
6
พัฒนาการของประชาคมอาเซียน
สาระการเรียนรู้
1. การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคม อาเซียนของไทย 2. ความพร้อมของประเทศเพื่อนบ้าน 3. ความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์ของ
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเตรียมความพร้อมเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนของไทยด้ 2. ระบุความพร้อมของประเทศเพื่อนบ้าน
ได้ 3. ระบุความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์
ไทย 4. ความพร้อมด้านเศรษฐกิจของไทย 5. ความพร้อมด้านสังคมและวัฒนธรรม 6. นโยบายเตรียมความพร้อมโดยภาครัฐ 7. ประโยชน์ของไทยด้านเศรษฐกิจกับ อาเซียน 8. บทบาทของไทยในอาเซียน
ของไทยได้ 4. ระบุความพร้อมด้านเศรษฐกิจของไทย
ได้ 5. ระบุความพร้อมด้านสังคมและ
วัฒนธรรมได้ 6. บอกนโยบายเตรียมความพร้อมโดย
ภาครัฐได้ 7. บอกประโยชน์ของไทยด้านเศรษฐกิจ
กับอาเซียน 8. อธิบายบทบาทของไทยในอาเซียนได้
สมรรถนะประจาหน่วย แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทประเทศไทยกับอาเซียน
7 ประเทศไทยเป็น 1 ใน 5 ของสมาชิกผู้ก่อตั้งและเป็นจุดกาเนิดของอาเซียน ไทยมีบทบาทความตั้งใจที่ดี ในการดาเนินกิจกรรมของอาเซียนตลอดมา และยังมีส่วนผลักดันให้อาเซียนมีโครงการความร่วมมือในด้าน ต่างๆ ที่ทันกาล และสอดคล้องกันสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ระหว่างประเทศ เช่น การจัดตั้งเขต การค้าเสรีอาเซียน การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมือง และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะเดียวกัน อาเซียนก็ มีความสาคัญต่อประเทศไทย โดยนอกจากจะสร้างพันธมิตรและความเป็นปึกแผ่น ตลอดจนเสถียรภาพและ สันติภาพในภูมิภาคแล้วยังช่วยเพิ่มอานาจต่อรองในการเจรจาระหว่างประเทศ และร่วมมือกันในการ แก้ปัญหาข้ามชาติและการพัฒนาขั้นพื้นฐานต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนั้น ความร่วมมือทางด้าน เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมภายในอาเซียน ได้เปิดโอกาสให้มีการขยายตัวด้านการค้าและการลงทุนใน ประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งนาผลดีมาสู่เศรษฐกิจของประเทศไทยและของประเทศสมาชิกอาเซียนโดยส่วนรวม 4.1 การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย ประเทศไทยต้องร่วมมือร่วมใจทุกภาคส่วนของสังคมในการขับเคลื่อนนโยบายการเตรียมความ พร้อม เพื่อสร้างอาเซียนให้เป็นประชาคมที่มั่นคง เอื้ออาทร และร่วมแบ่งปันกันตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ในปี พ.ศ. 2558
รูปที่ 4.1 8 อาชีพเสรีในอาเซียน ที่มา : www.kapook.com/campus.sanook.com/infographicthailand
8 โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้นาเสนอยุทธศาสตร์ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558 ในการประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน ซึ่งประกอบด้วย 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้าและการ ลงทุนที่ครอบคลุมตั้งแต่การส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ การอานวยความสะดวกการตลาด การ พัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน การพัฒนาปรับปรุงมาตรฐาน และการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนให้ได้รับการคุ้มครองทางสังคมและการประกันความเสี่ยง และมีสภาพแวดล้อมความ เป็นอยู่ที่มั่นคง ปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้มีมาตรฐานการศึกษาอาเซียน รวมทั้งทักษะ ฝีมือ และภาษา เช่น การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียนสาหรับแรงงานวิชาชีพ 8 วิชาชีพ เช่น วิชาชีพที่เกี่ยวกับการรักษาหรือการแพทย์ (Medical Services) วิชาชีพที่เกี่ยวกับทันตกรรม (Dental Services) วิชาชีพพยาบาล (Nursing Services) วิชาชีพด้านวิศวกรรม (Engineering Services) วิชาชีพด้านสถาปัตยกรรม (Architectural Services) วิชาชีพเกี่ยวกับการสารวจ หรือนักสารวจ (Surveying Qualification) วิชาชีพบัญชี (Accountancy Services) วิชาชีพด้านการโรงแรมและการท่องเที่ยว (Hotel Services and Tourism) เพื่อตอบสนองความต้องการแรงงานของเทศไทยอาเซียน และพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน และนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาเสริม และมีการปฏิรูปการศึกษา เพื่อตอบสนองความต้องการของ อุตสาหกรรมและโลก ผลิตแรงงานให้มีปริมาณเพียงพอกับความต้องการ และพัฒนาระบบรับรองมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ เพื่ออานวยความสะดวกด้านการค้า การ ลงทุน และสอดรับกับพันธกรณีและข้อตกลงอาเซียน
9 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสาคัญของอาเซียน เน้นให้ประชาชนทั่วไป ผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้าใจและตระหนักรู้ถึงความสาคัญของการ เป็นประชาคมอาเซียน พร้อมกับเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 7 การเสริมสร้างความมั่นคง เน้นสร้างความร่วมมือ สร้างพันธมิตร สร้างสันติภาพ ร่วมกัน ด้านการเมืองและความมั่นคง เพื่อนาไปสู่ภูมิภาคที่มีบรรทัดฐานร่วมที่มีเอกภาพและสันติภาพ ร่วมกัน ยุทธศาสตร์ที่ 8 การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน เพื่อทาให้เมืองมี ศักยภาพเพิ่มขึ้น เพื่อจะเชื่อมโยงกับสมาชิกอาเซียน ทั้งในด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว บริการ การ ลงทุน และการค้าชายแดน ซึ่งมีการกาหนดยุทธศาสตร์ของเมืองสาคัญในด้านต่างๆ อาทิ เมืองหลวง เมืองเกษตร เมืองอุตสาหกรรม เมืองท่องเที่ยว เมืองการค้าชายแดน ตลอดจน Green City เนื่องจากถือ เป็นยุทธศาสตร์สาคัญในการสร้างจุดขาย (Branding) และดึงดูดประเทศในกลุ่มอาเซียน 4.2 ความพร้อมของประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์สาคัญในการจัดตั้งอาเซียน โดยมีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยเฉพาะอย่างย่าง การขับเคลื่อนการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558 ตาที่ผู้นาอาเซียนได้ตกลงกันไว้ โดยแนวทางร่วมกันในการเตรียม ความพร้อมของประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มสมาชิกอาเซียน มีดังนี้ 1. ทาความเข้าใจในเรื่องการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน 2. เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงบนพื้นฐานความ มั่นคงของมนุษย์ ตลอดจนการประสานจัดทาข้อมูลกลางในเรื่องอาชญากรรมข้ามชาติในอาเซียน เพื่อใช้ แก้ไขปัญหาการก่อการร้าย การค้ายาเสพติด การประพฤติผิดกฎหมาย และอาชญากรรมข้ามชาติ 3. สร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่างๆ เช่น ค่านิยมว่าด้วยการไม่ใช้ กาลัง ยึดหลักสันติวิธี และการไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อสร้างความสงบสันติ ภายในภูมิภาค 4. ศึกษาข้อมูลต่างๆ โดยเฉพาะตัวบทกฎหมายของสมาชิกแต่ละประเทศ เนื่องจากมีความ แตกต่างกัน เพื่อประโยชน์ในการเสริมสร้างความร่วมมือ และป้องกันความขัดแย้งระหว่างประเทศ เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการทหาร เพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและป้องกันความขัดแย้งที่ รุนแรง
10 5. เตรียมความพร้อมสาหรับบุคลากรในสาขาต่างๆ อาทิ ภาษาอังกฤษ และภาษาท้องถิ่น เนื่องจากอาเซียนใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการประสานงาน ส่วนภาษาท้องถิ่น ใช้สาหรับการ ติดต่อสื่อสาร และอานวยความสะดวกต่อประชาชน และนักท่องเที่ยวของสมาชิก 6. ศึกษาวัฒนธรรมของสมาชิก โดยเฉพาะประเทศที่มีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาทิ ชาวมุสลิม เพื่อสร้างความเข้าใจและการปฏิบัติต่อประชาชนเหล่านั้นได้อย่างถูกต้อง 7. จัดตั้งสานักงานและส่วนงาน เพื่อดูแลรับผิดชอบงานด้านอาเซียนโดยเฉพาะ ภายใต้องค์กร กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ 4.3 ความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์ของไทย การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยสิ่งสาคัญที่สุดคือ การทาให้ประชาชนในอาเซียนมี ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และตระหนักถึงการเป็นประชากรของอาเซียนร่วมกัน ตระหนักรู้การเป็น มนุษย์ (We Belong to the One Species) เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันอย่างปรองดองและด้วยความ เข้าใจอย่างสันติภาพสงบสุข โดยเสริมสร้างอัตลักษณ์หรือคุณลักษณะร่วมกันของประชาชนในอาเซียน โดย การพัฒนาประเด็นสาคัญดังนี้ 1. การศึกษา 2. การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม 3. ภาษา 4. ศิลปะ 5. สิ่งแวดล้อม 6. สาธารณสุข 7. เสริมสร้างความเข้าใจระหว่างประชาชนให้ยอมรับถึงความแตกต่าง และความ หลากหลายของมนุษยชาติ 4.4 ความพร้อมด้านเศรษฐกิจของไทย จากการที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ
AEC (ASEAN
Economic
Community) ในปี พ.ศ. 2558 การพยายามทาความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมรับมือกับการเข้าเป็น ส่วนหนึ่งของ AEC จึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง จุดแข็งของประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นของ
AEC มีความได้เปรียบในหลาย
ประเด็น ซึ่งจุดแข็งเหล่านี้ทาให้ไทยมีศักยภาพสูงในการเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจการค้า และการลงทุน ของ AEC จึงเป็นความพร้อมที่ประเทศไทยจะก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในด้านต่างๆ ดังนี้
11 1. ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ประเทศไทยตั้งอยู่บนศูนย์กลางของภูมิภาค และมีพรมแดนติดตับ ประเทศเพื่อนบ้านมากที่สุดในภูมิภาค นอกจากนี้ที่ตั้งของประเทศไทยยังมีความเสี่ยงภัยธรรมชาติค่อนข้าง ต่าเมื่อเทียบกับเพื่อนบ้านหลายประเทศ แม้ปีที่ผ่านมาไทยต้องเผชิญวิกฤตน้าท่วมใหญ่แต่เป็นภัยพิบัติที่ สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้ และสามารถเตรียมการป้องกันได้ 2. ระดับการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยมีระดับการพัฒนาประเทศสูงกว่าประเทศส่วนใหญ่ใน อาเซียน ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แรงงานมีฝีมือและบุคลากรระดับสูงมีจานวยมาก พอสมควร และประเทศไทยยังมีระบบสาธารณสุขที่มีคุณภาพและทั่วถึง โครงสร้างพื้นฐานได้รับการพัฒนา ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะถนน ขณะที่สถาบัน กฎระเบียบ และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ มีการพัฒนา มากพอสมควร นอกจากนี้เงินบาทยังได้รับการยอมรับจากประเทศเพื่อนบ้าน ทาให้การค้าขายแดน สามารถซื้อขายเป็นเงินบาทได้ 3. ขนาดของประเทศและตลาดเศรษฐกิจ ไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากอินโดนีเซีย และยังมีประชากรจานวนมากใกล้เคียงกับจานวนประชากรของพม่าและเวียดนามแต่คนไทยมีระดับรายได้ และมีกาลังซื้อสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้ไทยยังมีพื้นที่เพียงพอสาหรับการพัฒนาและรองรับการ ลงทุนในภาคการผลิต ซึ่งแตกต่างจากสิงคโปร์ที่มีพื้นที่จากัด 4. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับอาเซียน ไทยมีมูลค่าการส่งออกและนาเข้ากับอาเซียนนับเป็น อับดับ 3 รองจากสิงคโปร์และมาเลเซีย 5. ความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทยมีความเชื่อมโยงด้านการค้าและการลงทุนกับ ต่างประเทศสูงมาก ซึ่งจะทาให้ประเทศไทยมีโอกาสได้รับประโยชน์จากการค้าและการลงทุนจากประเทศ นอกกลุ่ม AEC มากกว่าประเทศสมาชิก AEC ส่วนใหญ่ 4.5 ความพร้อมด้านสังคมและวัฒนธรรม ความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคม สังคม และวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-
Cultural Community หรือ ASCC) โดยมุ่งเน้นการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชียให้มีความเท่าเทียม และเสมอภาคยิ่งขึ้น ตามเป้าประสงค์ในการสร้างประชาคมอาเซียนที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งการ ดาเนินการใดๆ ของภาครัฐจะต้องเน้นให้ประชาชนเป็นศูนย์การกลางมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความ เข้าใจที่ดีระหว่างกัน และสร้างความรู้เป็นประชาคมร่วมกัน จึงมุ่งเน้นการดาเนินการให้สอดคล้องกับ แผนปฏิบัติการด้านสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนด้านต่างๆ ดังนี้ 1. การพัฒนามนุษย์ (Human Development) 2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection)
12 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) 4. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) 5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building and ASEAN Identity) 6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้มีการกาหนดโครงการและดาเนินโครงการ ต่างๆ เช่น 1. โครงการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จาเป็นสาหรับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ในการดาเนิน ความร่วมมือระหว่างประเทศ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษแก่บุคลากรกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 เพื่อให้บุคลากรกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เกิดความคล่องตัวใน การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องภายในภูมิภาคอาเซียน เพื่อให้บุคลากรกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีทักษะที่จาเป็นใน การเข้าร่วมเจรจาต่อรอง และการประชุมในระดับนานาชาติ 2. โครงการสร้างความตระหนักรับรู้อาเซียน และมีความรู้สึกถึงการเป็นประชาคมของภาค ประชาชน มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการสร้างประชาคมอาเซียน สะท้อนเสียงและ ความคาดหวังของประชาชน เพื่อให้ประชาคมอาเซียนสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน และ มีประชาชนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง พัฒนาความคิดเห็นของประชาชนจากประเด็นต่างๆ มาทาการวิเคราะห์ เพื่อผลักดันต่อ ในเชิงนโยบายไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้มีอานาจหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง หาแนวทางร่วมกันในการปรับปรุง และพัฒนากลไกการทางานระดับชาติร่วมกัน เพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน สร้างความตระหนักรับรู้ที่กว้างขวางขึ้น รวมทั้งความเป็นไปได้ในการพัฒนาความร่วมมือในด้านอื่นในอนาคต สร้างปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์ ระหว่างภาครัฐกับภาคประชาสังคม หารืออย่างใกล้ชิดกับภาคประชาสังคม รับทราบสถานการณ์ปัจจุบัน เกี่ยวกับภารกิจและความรับผิดชอบ รวมทั้งความคืบหน้าการดาเนินงาน รับรู้ถึงสภาพปัญหาและอุปสรรค ด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนของภาคประชาสังคม
13 เพื่อสร้างความเข้าใจและพัฒนาเครือข่ายติดต่อ ขยายกลุ่มเป้าหมายเพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วม ของประชาชนให้ครอบคลุม เข้าถึงในทุกๆ สาขาอาชีพและช่วงอายุที่หลากหลาย และเยาวชนได้มีส่วนร่วม ในการพัฒนาสังคม ซึ่งเป็นพื้นฐานของการสร้างประชาคมอาเซียน 3. โครงการจัดทายุทธศาสตร์และแผนการดาเนินงาน
(Roadmap) และการติดตาม มี
วัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อจัดทายุทธศาสตร์ แผนดาเนินงาน แผนปฏิบัติการ แผนการติดตามผลการดาเนินงาน ด้านสังคมและวัฒนธรรมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อให้หน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ และภายใต้ แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ได้ร่วมกันกาหนดเป้าหมายและทิศทางการ ดาเนินงานในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถกาหนดทิศทางการดาเนินงาน คาดการณ์ รวมถึงวางแผนเพื่อ รองรับสถานการณ์ทางสังคมอันเนื่องมาจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึง ผลประโยชน์สูงสุดของประเทศไทย เพื่อให้ผู้แทนจากองค์กรเอกชน และนักวิชาการผู้เชี่ยวชาย
NGOs และประชาชนที่
ทางานด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ได้ร่วมระคมความคิดเห็นและหาแนวทางร่วมกันในการ ปรับปรุง และพัฒนากลไกที่มีอยู่ให้สามารถแปลงไปสู่ภาคปฏิบัติได้ 4. โครงการศึกษาผลกระทบทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันเป็นประชาคมอาเซียนมี วัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อทาการศึกษา ประมวล และประเมินผลกระทบอันเกิดจากการรวมตัวเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ที่มีต่อประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community : ASCC) สถานภาพการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน การวิเคราะห์โอกาสและภัยคุกคาม ปัญหาและ อุปสรรค ข้อควรระวัง แนวทางการปรับตัว การปรับตัวเชิงรุก การปรับตัวเชิงรับ มาตรการรองรับ ผลกระทบของภาครัฐ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคของประเทศไทย อันเป็นผลจากการรวมตัวกันของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมสาหรับรัฐบาล และมาตรการรองรับ ผลกระทบที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม สามารถนาไปปฏิบัติได้โดยจัดทาเป็นฐานข้อมูลเพื่อการสร้างความ ร่วมมือระหว่างภูมิภาค โดยทาการศึกษาเชิงเปรียบเทียบแบบคู่ขนาน
14 เพื่อจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายให้รัฐบาลไทย ทาการจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบาย พร้อม จัดทา Scenario
Planning (การวางแผนรับสถานการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น) ประเด็น มาตรการกลไก
รองรับผลกระทบก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนให้กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ 4.6 นโยบายเตรียมความพร้อมโดยภาครัฐ ในการเตรียมความพร้อมของภาครัฐ กรมอาเซียนให้ความสาคัญกับการดาเนินการในหลายมิติ ทั้ง การปรับส่วนราชการให้รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน การพัฒนาบุคลากร และการสร้างศักยภาพแก่ คณะกรรมการ/อนุกรรมการสาหรับการดาเนินการตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมการดาเนินการของกรม อาเซียนในการเตรียมความพร้อมของภาคส่วนต่างๆ เช่น 1. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้นาเสนอยุทธศาสตร์ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558 ในการประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน ซึ่งประกอบด้วย 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ 2. การส่งเสริมการปฏิบัติตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในทั้ง 3 เสาหลัก คือ ประชาคม การเมืองความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อย่างมีประสิทธิภาพ ผลักดันให้มีการจัดตั้งกลุ่มงานหรือส่วนงานที่รับผิดชอบประเด็นเกี่ยวกับอาเซียน โดยตรง เพื่อให้สามารถดาเนินการและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน 3. การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนแก่ข้าราชการ พัฒนาทักษะการทางานและการ เจรจาระหว่างประเทศ รวมทั้งทักษะภาษาอังกฤษและภาษาเพื่อนบ้านให้แก่ข้าราชการ 4. ประสานกับสานักงานคณะกรรมการพัฒนาข้าราชการพลเรือน เพื่อให้มีการจัดโครงการ เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนให้แก่ข้าราชการหรือพนักงานหน่วยงานของรัฐ 5. การศึกษาดูงานภายในประเทศ โดยเฉพาะจังหวัดที่เป็นจุดเชื่อมโยงหรือเป็นจุดยุทธศาสตร์ของ ไทยต่ออาเซียนในด้านต่างๆ และการดูงานในต่างประเทศ ได้แก่ สานักเลขาธิการอาเซียน ณ กรุง จาการ์ตา 6. จัดทาหลักสูตรฝึกอาเซียนร่วมกับสถานบันการต่างประเทศ เพื่อฝึกอบรมทั้งภาครัฐหรือ หน่วยงานภาคเอกชน
15 4.7 ประโยชน์ของไทยด้านเศรษฐกิจกับอาเซียน ผลประโยชน์ที่ประเทศไทยคาดว่าจะได้รับจาก AEC ตลาดขนาดใหญ่ -ประชาชนกว่า 600 ล้านคน
เพิ่มกาลังการต่อรอง
ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิน
-คานวณการต่อรองเพิ่มขึ้น
-ประโยชน์จากทรัพยากรใน อาเซียน
-ต้นทุนการผลิตลดลง
-มีแนวร่วมในการเจรจาในเวทีโลก -วัตถุดินและต้นทุนต่าลงขีด ความสามารถสูงขึ้น
-ดึงดูดการลงทุนและการค้า
-ดึงดูดการทา FTA
-สามารถเลือกหาที่ได้เปรียบที่สุด
โอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ภาคการค้า
: ขยายตลาดส่งออกสินค้า เช่น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและ ชิ้นส่วนยานยนต์ :
วัตถุดิบ/สินค้าขั้นกลางนาเข้าราคาต่าลง เช่น เม็ดพลาสติก/ผลิตภัณฑ์ อัญมณี/เครื่องประดับ ยาง/ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ/เสื้อผ้า อาหารทะเล แปร รูป/กระป๋อง วัสดุก่อสร้าง
ภาคการลงทุน
:
โอกาสออกไปลงทุนต่างประเทศ โดยการลดเงื่อนไขภาคบริการ/การ ลงทุนภายใต้ FTA
:
โอกาสดึงดูด FDI (Foreign Direct Investment (การลงทุนระหว่าง ประเทศ)) เข้าไทย ซึ่งนักลงทุนนอกอาเซียนเข้ามาตั้งฐานการผลิตใน ไทย และใช้วัตถุดิบนาเข้าจากประเทศสมาชิก เพื่อได้ประโยชน์ทาง ภาษีภายใต้กรอบอาเซียน และส่งออกไปยังประเทศอาเซียนหรือ ประเทศที่จัดทา FTA (ASEAN Free Trade Area (เขตการค้าเสรี)) กับอาเซียนส่งผลให้ธุรกิจไทยที่เกี่ยวข้อง เช่น อสังหาริมทรัพย์ และวัสดุ ก่อสร้างมีโอกาสเติบโต
16 ภาคบริการ
:
สุขภาพ
เปิดเสรีการค้าการบริการทางด้านสุขภาพ โดยเป็นศูนย์กลางด้านบริการ (Medical Hub) ในประชาคมอาเซียน
:
การเคลื่อนย้ายฝีมือแรงงานอย่างเสรี
4.8 บทบาทของไทยในอาเซียน ประเทศไทยมีบทบาทเชิงรุกในการก่อตั้งและการพัฒนาให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีความสาเร็จ เพื่อให้เป็นกลไกขับเคลื่อนที่สาคัญของภูมิภาคนี้ เพราะในส่วนของการก่อตั้งไทยเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้ง อาเซียนในปี พ.ศ. 2510 และในส่วนของการพัฒนาไทยยังมีบทบาทที่สาคัญ ดังนี้ มีส่วนร่วมในกระบวนการสันติภาพในกัมพูชา การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) ในปี พ.ศ. 2535 ความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปชิฟิก หรือ
ARF-ASEAN
Regional Forum ซึ่งเป็นเวทีที่ใช้พูดคุยปัญหาความมั่นคงในภูมิภาค ในปี พ.ศ. 2537 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อบรรเทาผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางการเงินในปี พ.ศ. 2540 การก่อตั้งในช่วงนั้นเกิดขึ้นท่ามกลางความคุกรุ่นของสงครามเย็นในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างประเทศมหาอานาจในโลกเสรีประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์ ท่ามกลางความ หวาดวิตกของประเทศไทยในโลกเสรีประชาธิปไตยอย่างสหรัฐอเมริกา ที่หวั่นเกรงถึงการแพร่ขยายของ แนวคิดคอมมิวนิสต์ของรัฐเซียนและจีน ที่จะครอบคลุมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตามทฤษฎีโดมิโน สิ่งเหล่านี้นามาซึ่งการพัฒนาอาเซียนให้มีบทบาทสาคัญในการแก้ไขปัญหาสาคัญในภูมิภาคนี้ เช่น กรณีเวียดนามรุกรานกัมพูชาเมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) โดยอาเซียนได้ปฏิเสธความชอบ ธรรมของรัฐบาลในพนมเปญ ที่ตั้งคณะรัฐบาลด้วยการยึดครองของกองทัพเวียดนาม พร้อมกับเรียกร้องให้ เวียดนามถอนทหารออกจากกัมพูชาในเดือนกันยายน ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2532) หรือการก่อตั้งการประชุม อาเซียนว่าด้วยการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก หรือ ARE ภายหลังความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ในกัมพูชาในปี ค.ศ. 1993 (พ.ศ. 2536) เพื่อให้เป็นเวทีที่ขยายกว้างขึ้นในการหารือประเด็นเรื่องความมั่นคง หลังจากนั้นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนก็ได้กาหนดวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 ที่จะให้ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ โดยมุ่งให้เกิดการไหลเวียน อย่างเสรีของสินค้า การบริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการลดปัญหาความ ยากจนและความเหลื่อมล้าทางสังคมภายในปี 2020 (พ.ศ. 2563) พร้อมมุ่งที่จะจัดตั้งให้อาเซียนเป็นตลาด
17 เดียวและเป็นฐานการผลิต โดยจะริเริ่มกลไกและมาตรการใหม่ๆ ในการปฏิบัติตามข้อริเริ่มทาง เศรษฐกิจที่มีอยู่แล้ว และให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน อันได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม เพื่อลดช่องว่างของระดับการพัฒนา และช่วยให้ประเทศเหล่านี้เข้าร่วมใน กระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและ เศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงิน และตลาดเงินทุน การประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและการคมนาคม กรอบความร่วมมือด้านกฎหมายการพัฒนาความร่วมมือด้านการเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
18
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม www.mfa.go.th th.wikipedia.org www.bic.moe.go.th www.nesdb.go.th www.kapook.com/campus.sanook.com/infographicland
19
กิจกรรม 1. ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มจานวน 10 กลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการประชุมผู้นาอาเซียน ในการทาความ ร่วมมือด้านต่างๆ และอภิปรายหน้าชั้นเรียน 2. ให้ผู้เรียนตอบคาถามเกี่ยวกับประโยชน์ที่ไทยจะได้รับในการเป็นสมาชิกอาเซียน 3. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข่าว/เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับอาเซียน
20
คาถามมีคาตอบ
ไทยยังสนับสนุนให้อาเซียนขยายความร่วมมือด้านความมั่นคงในกรอบการประชุมอาเซียนว่าด้วย ความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ARF) ซึ่งไทยรับหน้าที่ประธานในช่วง ปี 2542 – 2543 และผลักดันให้เพิ่มบทบาทของประธานที่สามารถทาหน้าที่ส่งเสริมความมั่นคงในภูมิภาค ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการส่งเสริมแนวคิด “การทูตเชิงป้องกัน” เพื่อช่วยลดปัญหาความ ขัดแย้งที่จะส่งผลกระทบต่อภูมิภาคโดยรวม ไทยมีบทบาทด้านเศรษฐกิจในอาเซียนอย่างไร ไทยได้เสนอและผลักดันให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ตามแนวคิดของนายอานันท์ ปันยา รชุน อดีตนายกรัฐมนตรี เพื่อให้อาเซียนรวมตัวเป็นตลาดเดียว มีการลดหรือยกเลิกภาษีสินค้าส่งออก ระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อให้เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพสินค้า รวมถึง เทคโนโลยีต่างๆ ตลอดจนเพิ่มปริมาณและคุณภาพของสินค้าและการบริการผู้บริโภคให้มีประสิทธิภาพมาก ขึ้นด้วย ไทยมีบทบาทด้านสังคมและวัฒนธรรมในอาเซียนอย่างไร ไทยสนับสนุนและส่งเสริมความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์ในภูมิภาคทั้งยัง ผลักดันให้อาเซียนมีปฏิญญาเกี่ยวกับโรคเอดส์ และเป็นผู้นาในการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของ โรคติดต่อ รวมถึงการแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและเตรียมการสร้างระบบเตือนภัยพิบัติต่างๆ ตลอดจนการ ส่งเสริมความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและสภาวะโลกร้อน ไทยได้รับประโยชน์จากการเป็นสมาชิกอาเซียนอย่างไร ปัจจุบันอาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย โดยมีมูลค่าการค้ากว่า 1.75 ล้านล้านบาทต่อปี หรือ ร้อยละ 19.2 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทย ในจานวนนี้เป็นการส่งออกจากไทยไปอาเซียนร้อยละ 20.7 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด โดยไทยเป็นฝ่ายได้ดุลการค้ามาตลอด การรวมตัวกันอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้นทางเศรษฐกิจ บวกกับการขยายความร่วมมือเพื่อเชื่อมโยง โครงสร้างพื้นฐาน เช่น เส้นทางคมนาคมขนส่ง ระบบจ่ายไฟฟ้า เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ฯลฯ จะเป็นปัจจัย สาคัญในการเพิ่มโอกาสทางการค้าและการลงทุน
21
แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ บทที่ 4 ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยเขียนเครื่องหมาย ทับตัวเลือกที่ต้องการ 1. ตามที่สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้นาเสนอยุทธศาสตร์การเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558 มีประเด็นยุทธศาสตร์กี่ประเด็น ก. 4 ประเด็น ข. 5 ประเด็น ค. 6 ประเด็น ง. 7 ประเด็น จ. 8 ประเด็น 2. “We belong to the one species” คือข้อใด ก. ความตระหนักถึงการเป็นประชากรของอาเซียนร่วมกน ตระหนักรู้การเป็นมนุษย์ ข. การมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยเป็นสิ่ สาคัญที่สุด ค. การอยู่อย่างสันติภาพสงบสุข ง. การเสริมสร้างอัตลักษณ์หรือคุณลักษณะร่วมกัน จ. การปรองดองด้วยความเข้าใจ 3. หน่วยงานใดที่ประเทศไทยจัดตั้งสานักงานเพื่อดูแลงานรับผิดชอบงานด้านอาเซียน ก. ข. ค. ง. จ.
สานักนายกรัฐมนตรี กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงคมนาคม กระทรวงพาณิชย์
22 4. ในทางภูมิศาสตร์ จุดแข็งของประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นของ AEC มีความ ได้เปรียบที่จะก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือข้อใด ก. ตั้งอยู่ศูนย์กลางของภูมิภาค และมีพรมแดงติดกับประเทศเพื่อนบ้านมากที่สุดในภูมิภาค ข. มีระดับการพัฒนาประเทศสูงกว่าประเทศส่วนใหญ่ในอาเซียน ค. ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. มีแรงงานมีฝีมือและบุคลากรระดับสูง จ. มีรัฐบาลที่มั่นคง มีเสถียรภาพ 5. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของโครงการสร้างความตระหนักรับรู้อาเซียน และความรู้สึกถึงการเป็นประชาคม ของภาคประชาชน ก. เพื่อให้บุคลากรเกิดความคล่องตัวในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานในภูมิภาคอาเซียน ข. เพื่อให้บุคลากรมีทักษะที่จาเป็นในการเข้าร่วมเจรจาต่อรอง และการประชุมในระดับนานาชาติ ค. เพื่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการสร้างประชาคมอาเซียน สะท้อนความคาดหวังของ ประชาชน ง. เพื่อจัดทายุทธศาสตร์ แผนดาเนินงาน แผนปฏิบัติการ และแผนการติดตามผล จ. เพื่อดาเนินงานด้านสังคมและวัฒนธรรมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 6. สศช. คืออะไร ก. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาอาเซียน ข. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาความมั่นคง ค. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ ง. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จ. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการค้าเสรี 7. โอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ในภาคการบริการคือข้อใด ก. ขยายตลาดส่งออกสินค้า ข. การลดเงื่อนไขภาคบริการ/การลงทุนภายใต้ FTA ค. เพื่อได้ประโยชน์ทางภาษีภายใต้กรอบอาเซียน ง. ส่งผลให้ธุรกิจไทยที่เกี่ยวข้อง เช่น อสังหาริมทรัพย์ และวัสดุก่อสร้างมีโอกาสเติบโต จ. การเคลื่อนย้ายฝีมือแรงงานอย่างเสรี
23 8. โอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ในภาคการลงทุนคือข้อใด ก. ขยายตลาดส่งออกสินค้า ข. การลดเงื่อนไขภาคบริการ/การลงทุนภายใต้ FTA ค. เพื่อได้ประโยชน์ทางภาษีภายใต้กรอบอาเซียน ง. วัตถุดิบ/สินค้าขั้นกลางนาเข้าราคาต่าลง จ. การเคลื่อนย้ายฝีมือแรงงานอย่างเสรี 9. ประเทศไทยมีส่วนในการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) ในปี พ.ศ. ใด ก. พ.ศ. 2531 ข. พ.ศ. 2532 ค. พ.ศ. 2533 ง. พ.ศ. 2534 จ. พ.ศ. 2535 10. FDI (Foreing Direct Investment) คืออะไร ก. การลงทุนระหว่างประเทศ ข. การค้าเสรี ค. กรอบการค้า ง. การส่งออกสินค้า จ. การนาเข้าสินค้า
24 ตอนที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธิบายแนวทางร่วมกันในการเตรียมความพร้อมของประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มสมาชิกอาเซียน .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 2. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้นาเสนอยุทธศาสตร์การเข้า สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ซึ่งประกอบด้วย 8 ประเด็นยุทธศาสตร์คือ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 3. จงอธิบายจุดแข็งของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นของ AEC .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 4. จงอธิบายโครงการของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งจัดทาขึ้นเพื่อความ พร้อมของประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 5. ประเทศไทยมีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของภาครัฐอย่างไร จงอธิบาย .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 6. จงอธิบายประโยชน์ที่ประเทศไทยคาดว่าจะได้รับจาก AEC .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................
25 7. จงอธิบายโอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ภาคการค้า .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 8. จงอธิบายโอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ภาคการลงทุน .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 9. จงอธิบายโอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ภาคบริการ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 10. จงอธิบายบทบาทของไทยในอาเซียนมาพอสังเขป .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................
26
ใบงานที่ 4.1 เรื่อง : ข้อความที่ควรรู้เกี่ยวกับอาเซียน คาชี้แจง : ให้นักเรียนนาตัวอักษรทางขวามือมาใส่ลงในช่องว่างหน้าข้อความทางด้านซ้ายมือที่มี ความสัมพันธ์กัน ..............1. Medical Services
ก. เขตการค้าเสรี
..............2. Dental Services
ข. วิชาชีพด้านวิศวกรรม
..............3. Nursing Services
ค. การลงทุนระหว่างประเทศ
..............4. Engineering Services
ง. วิชาชีพด้านสถาปัตยกรรม
..............5. Architectural Services
จ. วิชาชีพเกี่ยวกับการสารวจหรือนักสารวจ
..............6. Surveying Qualification
ฉ. วิชาชีพบัญชี
..............7. Accountancy Services
ช. วิชาชีพที่เกี่ยวกับการรักษาหรือการแพทย์
..............8. We Belong to the One Species
ซ. วิชาชีพที่เกี่ยวกับทันตกรรม
..............9. FDI (Foreign Direct Investment)
ฌ. วิชาชีพพยาบาล
..............10.FTA (ASEAN Free Trade Area)
ญ. การร่วมกัน ความตระหนักรู้การเป็นมนุษย์
27
ใบงานที่ 4.2 เรื่อง : ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ที่ประเทศไทยคาดว่าจะได้รับจาก AE คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่าให้ถูกต้อง ประโยชน์ที่ประเทศไทยคาดว่าจะได้รับจาก AEC ตลาดขนาดใหญ่
เพิ่มกาลังการต่อรอง
ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ
……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………. ……………………………………………
28
ใบงานที่ 4.3 เรื่อง : ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ที่ประเทศไทยคาดว่าจะได้รับจาก AEC คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
จากยุทธศาสตร์ที่ 4 ว่าด้วยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้มีมาตรฐาน การศึกษา อาเซียน รวมทั้งทักษะฝีมือและภาษา เช่น พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และภาษาอาเซียน ประกอบด้วยแรงงานวิชาชีพ 8 วิชาชีพ
วิชาชีพ
29
เฉลยแบบทดสอบ ข้อ
เฉลย
ข้อ 1
จ
ข้อ 2
ก
ข้อ 3
ข
ข้อ 4
ก
ข้อ 5
ค
ข้อ 6
ง
ข้อ 7
จ
ข้อ 8
ข
ข้อ 9
จ
ข้อ 10
ก
30 ตอนที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธิบายพัฒนาการอาเซียนด้านเศรษฐกิจมาพอสังเขป 1.นาความเข้าใจในเรื่องการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน 2.เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงบนพื้นฐานความ มั่นคงของมนุษย์ ตลอดจนการประสานจัดทาข้อมูลกลางในเรื่องอาชญากรรมข้ามชาติในอาเซียนเพื่อ ใช้แก้ไขปัญหาการก่อการร้าย การค้ายาเสพติด การประพฤติผิดกฎหมาย และอาชญากรรมข้ามชาติ 3.สร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่างๆ เช่น ค่านิยมว่าด้วยการไม่ใช้กาลัง ยึดหลักสันติวิธี และการไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อสร้างความสงบสันติภายใน ภูมิภาค 2. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้นาเสนอยุทธศาสตร์การเข้า สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ซึ่งประกอบด้วย 8 ประเด็นยุทธศาสตร์คือ การส่งเสริมการปฏิบัติตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในทั้ง 3 เสาหลัก คือ ประชาคม .. การเมือง ความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน .. อย่างมีประสิทธิภาพผลักดันให้มีการจัดตั้งกลุ่มงานหรือส่วนงานที่รับผิดชอบ. 3. จงอธิบายจุดแข็งของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นของ AEC มีความได้เปรียบในหลายประเด็นซึ่งจุดแข็งเหล่านี้ทาให้ไทยมีศักยภาพสูงในการเป็นศูนย์กลางทาง เศรษฐกิจการค้าและการลงทุนของ AEC จึงเป็นความพร้อมที่ประเทศไทยจะก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในด้านต่างๆ 4. จงอธิบายโครงการของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งจัดทาขึ้นเพื่อความ พร้อมของประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community : ASCC) โดยมุ่งเน้นการพัฒนาประเทศในภูมิภาค อาเซียนให้มีความเท่าเทียมและเสมอภาคยิ่งขึ้นตามเป้าประสงค์ในการสร้างประชาคมอาเซียนที่มี ประชาชนเป็นศูนย์กลางซึ่งการดาเนินการใดๆ 5. ประเทศไทยมีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของภาครัฐอย่างไร จงอธิบาย ประเทศไทยต้องร่วมมือร่วมใจทุกภาคส่วนของสังคมในการขับเคลื่อนนโยบายการเตรียมความ พร้อมเพื่อสร้างอาเซียนให้เป็นประชาคมที่มั่นคงเอื้ออาทร และร่วมแบ่งปันกันตามเป้หมายที่กาหนดไว้ ในปี
31 6. จงอธิบายประโยชน์ที่ประเทศไทยคาดว่าจะได้รับจาก AEC -ตลาดขนาดใหญ่ ประชากรกว่า 600 ล้าน -ต้นทุนการผลิตลดลงดึงดูดการลงทุนและการค้า -เพิ่มกาลังการต่อรอง -คานวณการต่อรองเพิ่มขึ้น -มีแนวร่วมในการเจรจาในเวทีโลก -ดึงดูดการทา FTA -ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ -ประโยชน์จากทรัพยากรในอาเซียน -วัตถุดิบและต้นทุนต่าลงขีดความสามารถสูงขึ้น -สามารถเลือกหาที่ได้เปรียบที่สุด 7. จงอธิบายโอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ภาคการค้า วัตถุดิบ/สินค้าขั้นกลางนาเข้าราคาต่าลง เช่น เม็ดพลาสติก/ผลิตภัณฑ์ /อัญมณี/เครื่องประดับ/ ยาง/ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ/เสื้อผ้า อาหารทะเล แปรรูป/กระป๋อง วัสดุก่อสร้าง 8. จงอธิบายโอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ภาคการลงทุน โอกาสออกไปลงทุนต่างประเทศ โดยการลดเงื่อนไขภาคบริการ/การลงทุนภายใต้
FTA โอกาส
ดึงดูด FDI (Foreign Direct Investment (การลงทุนระหว่างประเทศ)) เข้าไทย ซึ่งนักลงทุนนอก อาเซียนเข้ามาตั้งฐานการผลิตในไทย และใช้วัตถุดิบนาเข้าจากประเทศสมาชิก 9. จงอธิบายโอกาสที่ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ภาคบริการ เปิดเสรีการค้าการบริการทางด้านสุขภาพ โดยเป็นศูนย์กลางด้านบริการสุขภาพ (Medical Hub) ในประชาคมอาเซียน : การเคลื่อนย้ายฝีมือแรงงานอย่างเสรี 10. จงอธิบายบทบาทของไทยในอาเซียนมาพอสังเขป ประเทศไทยมีบทบาทเชิงรุกในการก่อตั้งและการพัฒนาให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีความสาเร็จ เพื่อให้เป็นกลไกขับเคลื่อนที่สาคัญของภูมิภาคนี้ เพราะในส่วนของการก่อตั้งไทยเป็นหนึ่งในสมาชิก ผู้ก่อตั้งอาเซียนในปี พ.ศ. 2510 และในส่วนของการพัฒนาไทยยังมีบทบาทที่สาคัญ..
32
เฉลยใบงาน
33
ใบงานที่ 4.1 เรื่อง : ข้อความที่ควรรู้เกี่ยวกับอาเซียน คาชี้แจง : ให้นักเรียนนาตัวอักษรทางขวามือมาใส่ลงในช่องว่างหน้าข้อความทางด้านซ้ายมือที่มี ความสัมพันธ์กัน .......ช.......1. Medical Services
ก. เขตการค้าเสรี
.......ซ.......2. Dental Services
ข. วิชาชีพด้านวิศวกรรม
.......ฌ.......3. Nursing Services
ค. การลงทุนระหว่างประเทศ
.......ข.......4. Engineering Services
ง. วิชาชีพด้านสถาปัตยกรรม
.......ง.......5. Architectural Services
จ. วิชาชีพเกี่ยวกับการสารวจหรือนักสารวจ
.......จ.......6. Surveying Qualification
ฉ. วิชาชีพบัญชี
.......ฉ.......7. Accountancy Services
ช. วิชาชีพที่เกี่ยวกับการรักษาหรือการแพทย์
.......ญ.......8. We Belong to the One Species ซ. วิชาชีพที่เกี่ยวกับทันตกรรม .......ค.......9. FDI (Foreign Direct Investment)
ฌ. วิชาชีพพยาบาล
.......ก.......10.FTA (ASEAN Free Trade Area)
ญ. การร่วมกัน ความตระหนักรู้การเป็นมนุษย์
34
ใบงานที่ 4.2 เรื่อง : ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ที่ประเทศไทยคาดว่าจะได้รับจาก AE คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่าให้ถูกต้อง ผลประโยชน์ที่ประเทศไทยคาดว่าจะได้รับจาก AEC ตลาดขนาดใหญ่ -ประชาชนกว่า 600 ล้านคน
เพิ่มกาลังการต่อรอง
ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิน
-คานวณการต่อรองเพิ่มขึ้น
-ประโยชน์จากทรัพยากรใน อาเซียน
-ต้นทุนการผลิตลดลง
-ดึงดูดการลงทุนและการค้า
-มีแนวร่วมในการเจรจาในเวที
-วัตถุดินและต้นทุนต่าลงขีด
โลก
ความสามารถสูงขึ้น
-ดึงดูดการทา FTA
-สามารถเลือกหาที่ได้เปรียบที่สุด
35
ใบงานที่ 4.3 เรื่อง : ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ที่ประเทศไทยคาดว่าจะได้รับจาก AEC คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
จากยุทธศาสตร์ที่ 4 ว่าด้วยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้มีมาตรฐาน การศึกษา อาเซียน รวมทั้งทักษะฝีมือและภาษา เช่น พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และภาษาอาเซียน ประกอบด้วยแรงงานวิชาชีพ 8 วิชาชีพ
วิชาชีพที่เกี่ยวกับการ
วิชาชีพที่เกี่ยวกับการ
รักษาหรือการแพทย์
ตรวจสอบ
วิชาชีพเกี่ยวกับการ สารวจหรือนักสารวจ
วิชาชีพพยาบาล
วิชาชีพบัญชี
วิชาชีพด้านการโรงแรม และการท่องเที่ยว
วิชาชีพด้านวิศวกรรม
วิชาชีพ
วิชาชีพด้าน สถาปัตยกรรม
36
บรรณานุกรม กรมประชาสัมพันธ์. ประเทศไทยกับอาเซียน. กรุงเทพฯ : สานักนายกรัฐมนตรี, 2554. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2553. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. สื่อวีดีทัศน์กรุงเทพฯ. กรมอาเซียน, 2556. กระทรวงการต่างประเทศ กรมอาเซียน. 20 อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี, 2530. คณาจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เมื่อกรุงเทพมหานครเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. สานัก ยุทธศาสตร์และประเมินผล, 2556. ชัยวัฒน์ สีแก้ว. รอบรู้อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์หอสมุดกลาง 09, 2556. ประภัสสร์ เทพชาตรี, รศ.ดร. สู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2552.
37 รูปประกอบจากเว็บไซต์ http://asean4kids.blogspot.com http://image.baidu.co.th http://mekaje.wordpress.com http://siriporn1997.wordpress.com http://thai.cri.cn/ http://travel.mthai.com http://www.alro.go.th http://www.aseangreenhub.in.th/ http://www.hooninside.com/ http://www.manager.co.th http://www.mcot.net/ http://www.thaigov.go.th/ pirun.ku.ac.th th.wikipedia.org www.bic.moe.go.th www.fotolia.com www.kapook.com/campus.sanook.com/infographicland www.mfa.go.th www.muaypattaraporn.wordpress.com www.nesdb.go.th www.oknation.net
38