1
2
อาเซียนศึกษา (ASEAN Study)
จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่ศึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีในฐานะประชากรอาเซียน 3. เพื่อตระหนักในความเป็นประชากรอาเซียน เพื่อการดารงตนและการพัฒนาสังคมประเทศชาติ
สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. ดารงตนเป็นประชากรอาเซียนที่ดี
คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา และพัฒนาการของประชาคมอาเซียน ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในประชาคมอาเซียนกับภูมิภาคอื่นในโลก
3
ดี
ดารงตนเป็นประชากรอาเซียนที่
หน่วยการเรียน
อาเซียน
หน่วยที่
แสดงความรู้เกี่ยวกับประชาคม
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานสมรรถนะ
1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน
2
ประชาคมอาเซียน
3
พัฒนาการของประชาคมอาเซียน
4
ประเทศไทยกับอาเซียน
5
บทบาทของอาเซียน
6
ประเทศสมาชิกอาเซียน
7
ประเทศบรูไนดารุสซาลาม
8
ประเทศกัมพูชา
9
ประเทศอินโดนีเซีย
10
ประเทศลาว
11
ประเทศมาเลเซีย
12
ประเทศพม่า
13
ประเทศฟิลิปปินส์
14
ประเทศสิงคโปร์
15
ประเทศไทย
16
ประเทศเวียดนาม
4
คานา หนังสืออาเซียนศึกษาได้เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตร พุทธศักราช 2556 ที่พัฒนาให้สอดคล้องกับความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี และการเปิดเสรีทางการศึกษา รองรับการเป็นประชาคมอาเซียนร่วมกัน ซึ่ง จะต้องพัฒนาทั้งในด้านการศึกษา ด้านวัฒนธรรม และวิถีชีวิต และให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความเป็นมา พัฒนาการ และความร่วมมือต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงความสาคัญของ องค์กรแห่งนี้ และเข้าใจความเป็น “อาเซียน” และร่วมกันเพื่อการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมที่เข้มแข็ง ตลอดไป เนื้อหามีทั้งหมด 15 เล่ม ประกอบด้วย พัฒนาการอาเซียน โครงสร้างและกลไกการดาเนินงาน อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เขตการค้าเสรีอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศไทยสู่การ เป็นสมาชิกอาเซียน หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและบุคคลทั่วไป ในการเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจ และเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันตามที่หลักสูตรต้องการ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิดได้ สมดังเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาอย่างครบถ้วนทุก ประการ
นิตยา วรวงษ์
5
สารบัญ หน้า ประชาคมอาเซียน
9
2.1 สภาพภูมิศาสตร์ของอาเซียน
7
2.2 การตั้งถิ่นฐานของผู้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
8
2.3 ทรัพยากรธรรมชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
10
2.4 ปัจจัยการรวมตัวของประเทศสมาชิกอาเซียน
11
2.5 วัตถุประสงค์การก่อตั้งอาเซียน
12
2.6 เสาหลักแห่งความร่วมมือประชาคมอาเซียน
12
2.7 เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
15
2.8 สานักงานขององค์กรอาเซียน
16
2.9 โครงสร้างและกลไกการดาเนินงานขององค์กรอาเซียน
17
2.10 การรวมกลุ่มอาเซียน
19
แบบทดสอบ
26
ใบงาน
31
เฉลยแบบทดสอบ
35
เฉลยใบงาน
39
บรรณานุกรม
6
ประชาคมอาเซียน
สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สภาพภูมิศาสตร์ของอาเซียน
1. อธิบายสภาพภูมิศาสตร์ของอาเซียนได้
2. การตั้งถิ่นฐานของตัวผู้คนในเอเชียตะวันออก
2. อธิบายการตั้งถิ่นฐานของผู้คนในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้
เฉียงใต้
3. ทรัพยากรธรรมชาติในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้
4. ปัจจัยการรวมตัวของประเทศสมาชิกอาเซียน 5. วัตถุประสงค์การก่อตั้งอาเซียน 6. เสาหลักแห่งความร่วมมือประชาคมอาเซียน 7. เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
8. สานักงานขององค์กรของอาเซียน 9. โครงสร้างและกลไกการดาเนินงานของ องค์กรของอาเซียน
10. การรวมกลุ่มอาเซียน
3. อธิบายทรัพยากรธรรมชาติในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้ 4. บอกปัจจัยการรวมตัวของประเทศสมาชิก อาเซียนได้ 5. บอกวัตถุประสงค์การก่อตั้งอาเซียนได้ 6. อธิบายเสาหลักแห่งความร่วมมือประชาคม อาเซียนได้ 7. บอกถึงเลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ 8. บอกถึงสานักงานขององค์กรของอาเซียนได้ 9. อธิบายโครงสร้างและกลไกการดาเนินงาน ขององค์กรของอาเซียนได้ 10. บอกพัฒนาการของการรวมกลุ่มอาเซียนได้
สมรรถนะประจาหน่วย แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
7
2.1 สภาพภูมิศาสตร์ของอาเซียน สภาพภูมิศาสตร์ของอาเซียนหรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางตะวันออกเฉียงใต้ ของทวีปเอเชีย ตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกและการปะทุของ ภูเขาไปอยู่อย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วยดินแดนและหมู่เกาะด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของ แผ่นดินใหญ่ ซึ่งเขตแดนหมู่เกาะอันดามันจะเป็นของอินเดีย แต่ทางภูมิศาสตร์แล้วถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2.1.1 ทาเลที่ตั้งและอาณาเขต ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ทางซีกโลกตะวันออกและทางตะวันออกเฉียงใต้ของ ทวีปเอเชีย โดยทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศตะวันออกติดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศใต้ติดมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดประเทศอินเดียและบังคลาเทศ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 10 องศาใต้ถึงละติจูดที่ 28 องศาเหนือ และระหว่างลองจิจูดที่ 92 องศาตะวันออก ถึง 141 องศาตะวันตก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพื้นที่แบ่งตามภูมิศาสตร์ออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. ส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีป โดยส่วนที่เป็นภาคพื้นแผ่นดินใหญ่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของทวีปเอเชีย และอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยประทศไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา และบางส่วนของประเทศมาเลเซีย 2. ส่วนที่เป็นหมู่เกาะ ได้แก่ ประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บรูไน สิงคโปร์ บางส่วน ของประเทศมาเลเซีย และติมอร์ตะวันออก 2.1.2 ลักษณะภูมิประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แบ่งได้ดังนี้ 1. บริเวณเทือกเขาและที่ราบลาดเนินตะกอนเชิงเขา เทือกเขาภายในแผ่นดินใหญ่วางตัวในแนว เหนือ-ใต้ แผ่กระจายออกมาจากชุมเขายูนนาน โดยมี 3 แนวได้แก่ แนวทิศตะวันตก คือ เทือกเขาอะระกัน ในพม่า ต่อเนื่องไปในทะเลอันดามัน เป็นภูเขาหินใหม่ จึงมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นบ่อยครั้ง แนวกลางเป็น เทือกเขาด้านทิศตะวันออกของพม่าต่อเนื่องลงไปถึงภาคเหนือของไทยจนถึงภาคใต้ แนวทิศตะวันออกคือ เทือกเขาในลาวและเวียดนาม เทือกเขาตามแนวกลางและตะวันออกเป็นภูเขายุคหินกลาง จึงไม่มี ปรากฏการณ์อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงเหมือนแนวทิศตะวันตก
8
2. บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้า พบอยู่สองฝั่งของแม่น้าสายต่างๆ ที่ราบสาคัญ ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้าอิร วดีในพม่า ที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาในไทย ที่ราบลุ่มแม่น้าแดงของเวียดนาม ที่ราบลุ่มแม่น้าโขงในประเทศ กัมพูชาและเวียดนาม ส่วนที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าที่สาคัญ เช่น ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าโขง แม่น้าเจ้าพระยา และแม่น้าอิรวดี เป็นต้น 3. ที่ราบชายฝั่งทะเล ได้แก่ บริเวณที่เป็นหาดทรายที่เกิดจากการทับถมของทรายจากการกระทา ของคลื่นในทะเลบริเวณที่เป็นดินเลน ซึ่งประเทศลาวเป็นประเทศเดียวในภูมิภาคที่ไม่มีที่ราบชายฝั่งทะเล เพราะไม่มีอาณาเขตติดกับทะเล 4. หมู่เกาะ ส่วนใหญ่เป็นเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟ ทั้งที่ยังมีพลังและที่ดับสนิทแล้ว ซึ่งภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยเกาะขนาดใหญ่และเล็กมากมาย ประเทศที่มีเกาะจานวนมาก ได้แก่ อินโดนีเซีย ซึ่งมีเกาะมากกว่า 17,000 เกาะ และฟิลิปปินส์มีเกาะประมาณ 7,000 เกาะ 2.1.3 สภาพภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีลักษณะอากาศแบบร้อนชื้นหรือเขตร้อน ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ มีสภาพภูมิอากาศชุ่มชื้นในฤดูฝน และแห้งแล้งในฤดูแล้งอย่างชัดเจนและอีกลักษณะหนึ่งคือ มี ฝนตกชุ่มชื้นเกือบตลอดทั้งปี เนื่องจากภูมิภาคนี้ตั้งอยู่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตร ดังนั้นจึงมีอุณหภูมิเฉลี่ยรายวัน หรือรายเดือนสูงสม่าเสมอตลอดทั้งปี ลักษณะภูมิอากาศที่สลับระหว่างความชุ่มชื่นในฤดูฝน และแห้งแล้งในฤดูแล้งอย่างชัดเจน จะพบได้ ในบริเวณประเทศที่มีส่วนต่อกับแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย ได้แก่ พม่า ไทย ลาว เวียดนาม และกัมพูชา ที่ อยู่เหนือละติจูด 10 องศา เหนือขึ้นไป ในฤดูฝนจะได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ รวมทั้งพายะที่ พัดมาจากทิศตะวันออก ทาให้มีฝนตกชุกในระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ส่วนในช่วงระหว่างเดือน พฤศจิกายนถึงเมษายน จะมีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากประเทศจีนพัดพาเอาความแห้งแล้งเข้ามาสู่ พื้นที่ ทาให้เห็นความแตกต่างของทั้งสองฤดู ในบางปีอาจมีพายุหมุนพัดเข้าสู่แผ่นดินใหญ่ ทาให้มีฝนตกหนัก อย่างต่อเนื่อง บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากพายุคือ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และลาว ทาให้เกิดภัยพิบัติ น้าท่วม และแผ่นดินถล่ม สาหรับประเทศที่เป็นหมู่เกาะจานวนมาก ได้แก่ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ จะได้รับ อิทธิพลจากลมทะเลและพายุแบบต่างๆ เกือบตลอดทั้งปี 2.2 การตั้งถิ่นฐานของผู้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การดาเนินชีวิตและการตั้งถิ่นฐานของประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีลักษณะเป็นไปตาม สภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังต่อไปนี้
9
ประชาคมอาเซียนมีประชากรทั้งหมด 601 ล้านคน อินโดนีเซียมีประชากรมากที่สุด 241 ล้านคน ลาวมีสัดส่วนของประชากรวัยเด็ก (อายุน้อยกว่า 15 ปี) สูงที่สุด (38%) สิงคโปร์มีสัดส่วนประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15 -64 ปี) สูงที่สุด (74%) ไทยมีสัดส่วนประชากรสูงอายุ (อายุ 65 ปีขึ้นไป) สูงที่สุด (10 %) ประเทศ
ร้อยละ
ประชากร(ล้านคน) อายุน้อยกว่า 15 ปี
15-64 ปี
65 ปีขึ้นไป
อินโดนีเซีย
241.0
27
67
6
ฟิลิปปินส์
96.2
35
61
4
เวียดนาม
89.0
24
69
7
ไทย
64.3
19
71
10
พม่า
54.6
28
67
5
มาเลเซีย
29.0
27
68
5
กัมพูชา
15.0
33
63
4
ลาว
6.5
38
58
4
สิงคโปร์
5.3
17
74
9
บรูไน
0.4
26
70
4
รวม
601.3
27
67
6
การดาเนินชีวิตและการตั้งถิ่นฐานของประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีลักษณะเป็นไปตาม สภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังต่อไปนี้ 1. การเพาะปลูก เป็นอาชีพหลักที่สาคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน เช่น - การเพาะปลูกเพื่อเลี้ยงชีพ ซึ่งเป็นการเพาะปลูกที่จะทาให้พื้นที่ขนาดเล็ก ใช้เครื่องมือหรือวิธีการ แบบง่ายๆ
10
- การเพาะปลูกเพื่อการค้า มีลักษณะการเพาะปลูกโดยใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ และปลูกเพื่อการค้าเป็น หลัก ใช้วิชาการเทคโนโลยีที่ทันสมัย ใช้แรงงานและใช้ต้นทุนสูง มุงเน้นปลูกพืชเฉพาะอย่าง เช่น ข้าว ยางพารา อ้อย ชา กาแฟ และพริกไทย เป็นต้น 2. การเลี้ยงสัตว์
มักจะทาควบคู่ไปการเพาะปลูก โดยเลี้ยงเพื่อใช้งาน ได้แก่ ช้าง ม้า โค และ
กระบือ นอกจากนี้ยังเลี้ยงเพื่อการค้า ได้แก่ ไก่ เป็ด โค และสุกร เพื่อเป็นอาหารและส่งขาย 3. การประมง ด้วยสภาพภูมิประเทศที่มีพื้นที่ติดกับชายฝั่งทะเลและแม่น้าไหลผ่าน จึงทาประมงกัน เป็นส่วนมาก โดยประเทศไทยจับปลาได้มากเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคนี้ รองลงมา คือ อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ 4. การทาเหมืองแร่ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุมาก ได้แก่ ดีบุก น้ามันปิโตรเลียม วุลแฟรม พลวง ถ่านหิน ทองแดง เหล็ก และนิกเกิล 5. การอุตสาหกรรม
ในภูมิภาคนี้ยังไม่มีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมากนัก จึงทาให้การ
อุตสาหกรรมเจริญค่อนข้างช้า ยกเว้นประเทศสิงคโปร์ และส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้มีทั้งประเภทอุตสาหกรรมใน ครัวเรือน ซึ่งเป็นแบบหัตถกรรมคือ ใช้วัตถุดิบภายในท้องถิ่นของตัวเองมาประดิษฐ์ขึ้น เช่นการทอ และการทา ร่ม เป็นต้น ส่วนอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ยังมีไม่มาก ได้แก่ โรงต่อเรือ โรงผลิตรถยนต์ และโรงกลั่นน้ามัน 6. การค้า สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ ผลผลิตจากการเกษตรกรรมเป็นหลัก เช่น ข้าว ยางพารา ปาล์มน้ามัน อ้อย สับประรด ข้าวโพด ฯลฯ สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรม เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ ฯลฯ 2.3 ทรัพยากรธรรมชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทรัพยากรธรรมชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นภูมิภาคที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วย ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ปุาไม้ สัตว์ปุา แหล่งน้า ดินที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก และแร่ธาตุ (ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผลิตดีบุกได้มากที่สุดของโลก และได้รับการขนานนามว่า “สุวรรณภูมิ”) แต่เนื่องจากประชากรมีจานวนมาก และมีการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ทาให้ทรัพยากร ลดลงไปอย่างรวดเร็วและอยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรม ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพื้นที่ปุาไม้ประมาณ ร้อยละ 60 ของ พื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นปุาดงดิบซึ่งไม้มีขนาดสูง ไม้ผลัดใบขึ้นปะปนอย่างหนาแน่นใบสีเขียวตลอดปี และด้นล่างมี เถาวัลย์เลื้อยปกคลุมเป็นจานวนมาก เช่น ปุาไม้คาบสมุทรภาคใต้ของไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเกาะ บอร์เนียว เป็นต้น ส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ พืชพันธุ์ธรรมชาติเป็นปุาเบญจพรรณ (ปุาผลัดใบในเขตร้อน) โดยพื้นที่บางบริเวณมีทุ่งหญ้าขึ้นแทรกปะปนอยู่ด้วย
11
รูปที่ 2.1 ปุาไม้และสัตว์ปุาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มา : fotolia.com 2.4 ปัจจัยการรวมตัวของประเทศสมาชิกอาเซียน ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการรวมตัวของประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นกลุ่มอาเซียนมีดังนี้ 1. ภัยคุมคามจากการขยายอานาจของประเทศมหาอานาจและระบอบคอมมิวนิสต์ 2. การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3. แนวคิดที่จะเพิ่มอานาจการต่อรองทางด้านเศรษฐกิจ 4. ความมุ่งมั่นของแต่ละประเทศที่จะพัฒนาประเทศของตนให้มีความเจริญ การรวมกลุ่มของประเทศสมาชิกอาเซียนขึ้นอยู่กับปัจจัยสาคัญหลายประการ แต่การดาเนินงานให้ ประสบความสาเร็จในการรวมกลุ่มอาเซียนนั้น มีปัจจัยสาคัญคือ ความเป็นหนึ่งเดียวกันของประเทศสมาชิก ภายในกลุ่มที่จะต้องยึดมั่นและถือมั่นเปูาหมายในระดับภูมิภาคร่วมกันอย่างจริงจัง และปัจจัยอื่นๆ ที่จะช่วย ส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจให้เห็นผลเป็นรูปธรรมและสร้างขีดความสามารถทางด้านเศรษฐกิจในระดับ ภูมิภาคให้โดดเด่น ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานภายในภูมิภาค โดยเฉพาะระบบการขนส่งที่จะต้องเชื่อมโยงถึงกัน ในระดับภูมิภาค เพื่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายสินค้าและผู้คนได้อย่างสะดวกตลอดเส้นทาง รวมถึงการอานวย ความสะดวก ณ จุดผ่านแดนต่างๆ และส่งเสริมความร่วมมืออย่างจริงจังในสาขาที่มีผลเชื่อมโยงต่อการ พัฒนาด้านอื่นๆ ในอาเซียน เช่น ด้านพลังงาน ด้านคมนาคม และการศึกษา เป็นต้น
12
2.5 วัตถุประสงค์การก่อตั้งอาเซียน ประชาคมอาเซียนก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ อันนามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ เมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น ทาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้น กระชัย และ ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังนี้ 1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม และวัฒนธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค 3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการบริหาร 4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย 5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และ ปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต 6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ 2.6 เสาหลักแห่งความร่วมมือประชาคมอาเซียน เสาหลักแห่งความร่วมมือประชาคมอาเซียน
APSC
AEC
ASCC
ประชาคม
ประชาคม
ประชาคม
การเมืองความมัน่ คงอาเซียน
เศรษฐกิจอาเซียน
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
ASEAN Political-Securty Community
ASEAN Economic Community
ASEAN Socio-Cultural Community
13
2.6.1 ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ 1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community หรือ APSC)ความมั่นคงและเสถียรภาพทางการเมืองเป็นพื้นฐานสาคัญในการพัฒนาด้านอื่นๆ ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียนจึงเป็นเสาหลักความร่วมมือ 1 ใน 3 เสาหลัก ที่เน้นการรวมตัวของอาเซียนเพื่อสร้าง ความมั่นใจ เสถียรภาพ และสันติภาพ ในภูมิภาค เพื่อให้ประชาชนในอาเซียนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และ ปราศจากภัยคุกคามด้านการทหาร และภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ เช่น ปัญหายาเสพติด และปัญหา อาชญากรรมข้ามชาติประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนมีเปูาหมาย 3 ประการ ได้แก่ 1. สร้างประชาคมให้มีค่านิยมร่วมกันในเรื่องของการเคารพความหลากหลายของแนวคิด และส่งเสริมให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางของนโยบายและกิจกรรมภายใต้เสาหลักและความมั่นคง 2. ให้อาเซียนสามารถเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่และ ส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์ 3. ให้อาเซียนมีปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟูนและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก โดยอาเซียนมี บทบาทเป็นผู้นาในภูมิภาค และจะช่วยส่งเสริมความมั่นคงของภูมิภาค นอกจากการมีเสถียรภาพทาง การเมืองของภูมิภาคแล้ว ผลลัพธ์ประการสาคัญที่จะเกิดขึ้นจากการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียนก็คือ การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนจะมีกลไกและเครื่องมือที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพในการ แก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับความมั่นคงต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความขัดแย้งด้านการเมืองระหว่างรัฐสมาชิกกับรัฐ สมาชิกด้วยกันเอง ซึ่งจะต้องแก้ไขโดยสันติวิธี หรือปัญหาภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ๆ ซึ่งประเทศใดประเทศ หนึ่งไม่สามารถแก้ไขได้โดยลาพัง เช่น การก่อการร้าย การลักลอบค้ายาเสพติด ปัญหาโจรสลัด และ อาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community หรือ AEC) การค้าและ
การลงทุนระหว่างประเทศที่มีการแข่งขันสูง อันส่งผลให้ประเทศต่างๆ ต้องปรับตัวเองเพื่อให้ได้รับประโยชน์ จากระบบเศรษฐกิจโลก รวมถึงการรวมกลุ่มการค้ากันของประเทศต่างๆ อาทิ สหภาพยุโรป และเขตการค้า เสรีอเมริกาเหนือ ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนได้เห็นขอบให้จัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน” ภายใน ปี 2558 โดยมีประสงค์ที่จะให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับ ภูมิภาคอื่นๆ ได้โดย
14
1. มุ่งที่จะจัดตั้งให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน 2. มุ่งให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุน สินค้า การบริการ การลงทุน และแรงงานฝีมือระหว่าง ประเทศสมาชิกโดยเสรี 3. ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน (กัมพูชา ลาว พม่า และ เวียดนาม หรือ CLMV) เพื่อลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน และช่วยให้ ประเทศสมาชิกเหล่านี้เข้าร่วมในกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ส่งเสริมให้อาเซียนสามารถ รวมตัวเข้ากับประชาคมโลกได้อย่างไม่อยู่ในภาวะที่เสียเปรียบ และส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของ อาเซียน 4. ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและการคมนาคม กรอบความร่วมมือด้านกฎหมาย การพัฒนาความร่วมมือด้านการเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือ ประชาคม เศรษฐกิจของอาเซียนจะเป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยขยายปริมาณการค้าและการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการ พึ่งพาตลาดในประเทศที่สาม สร้างอานาจการต่อรองและศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจ โลก เพิ่มสวัสดิการและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนของประเทศสมาชิกอาเซียน 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Com-munity หรือ
ASCC) มีเปูาหมายให้อาเซียนเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียน โดยมีแผนปฏิบัติการด้าน สังคมและวัฒนธรรมอาเซียนระบุอยู่ในแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่ 1. การพัฒนามนุษย์
(Human Development)
2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) 4. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) 5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
(Building and ASEAN Identity)
6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)
15
2.7 เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีรายนามดังต่อไปนี้ รายนามเลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันดับ
7
ชื่อ
สัญชาติ
1
Hartono Dharsono
2
Umarjadi Notowijono
3
Datuk Ali Bin Abdullah
มาเลเซีย
4
Narciso G. Reyes
ฟิลิปปินส์
5
Chan Kai Yau
สิงคโปร์
6
แผน วรรณเมธี
ไทย
Roderick Yong
บรูไน
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
เริ่มวาระ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2519
(ค.ศ. 1976)
9 10 11 12 13
Rusli Noor Dato Ajit Singh Rodolfo C. Severino Jr. Ong Keng Yong สุรินทร์ พิศสุวรรณ เล เลือง มินห์
อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม
18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978)
19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 30 มิถุนายน พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1976)
(ค.ศ. 1978)
10 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 30 มิถุนายน พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1978)
(ค.ศ. 1980)
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980)
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982)
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1982)
(ค.ศ. 1984)
16 กรกฎาคม พ.ศ. 2527
15 กรกฎาคม พ.ศ. 2529
(ค.ศ. 1984)
(ค.ศ. 1986)
16 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989)
8
สิ้นสุดวาระ
(ค.ศ. 1989)
17 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 1 มกราคม พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1989)
(ค.ศ. 1993)
1 มกราคม พ.ศ. 2536
31 ธันวาคม พ.ศ. 2540
(ค.ศ. 1993)
(ค.ศ. 1997)
1 มกราคม พ.ศ. 2541
31 ธันวาคม พ.ศ. 2545
(ค.ศ. 1998)
(ค.ศ. 2002)
1 มกราคม พ.ศ. 2546
31 ธันวาคม พ.ศ. 2550
(ค.ศ. 2003)
(ค.ศ. 2007)
1 มกราคม พ.ศ. 2551
31 ธันวาคม พ.ศ. 2555
(ค.ศ. 2008)
(ค.ศ. 2012)
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2561
16
2.8 สานักงานขององค์กรอาเซียน สานักงานเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 โดยรัฐบาลอินโดนีเซียได้มอบอาคารทางตอนใต้ของกรุงจาการ์ตา เพื่อใช้เป็นสานักงานอาคารดังกล่าว ตั้งอยู่ เลขที่ 70 A JI.Sisingamangaraja Jakarta Indonesia เป็นสานักงานใหญ่ถาวรของอาเซียนนับตั้งแต่ก่อตั้ง มาจนถึงปัจจุบัน สานักงานเลขาธิการอาเซียนมีเลขาธิการอาเซียน (Secretary General of ASEAN) เป็น หัวหน้าสานักงาน ที่ผ่านมาผู้แทนจากประเทศไทยดารงตาแหน่งเลขาธิการอาเซียนมาแล้ว 2 ท่านคือ นาย แผน วรรณเมธี (ระหว่างปี พ.ศ. 2527 – 2529) และ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ (พ.ศ. 2551 – 2555) หน้าที่ของสานักงานเลขาธิการอาเซียน คือ ประสานงานระหว่างหน่วยงานของอาเซียนในการดาเนิน โครงการและกิจกรรมของอาเซียนให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่ว่า “ภายในปี 2558 การสร้างประชาคมอาเซียนที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง มีกฎเกณฑ์กติกาที่ชัดเจน และมี ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” แต่ละประเทศสมาชิกมีสานักงานเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ (Nationanl ASEAN Secretariat) เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวงต่างประเทศของประเทศนั้นๆ มีหน้าที่ประสานกิจการ อาเซียนและติดตามผลการดาเนินงานของอาเซียนภายในประเทศของตน สาหรับประเทศไทยหน่วยงานที่ รับผิดชอบ คือ กรมอาเซียนกระทรวงการต่างประเทศ นอกจากนั้นยังมีคณะกรรมการผู้แทนถาวรประจาอาเซียน
(Committee
of
Permanent
Representatives; CPR) ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนระดับเอกอัครราชทูตที่ได้รับการแต่งตั้งจากประเทศสมาชิก มีภารกิจในการสนับสนุนการทางานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียน และองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา รวมทั้งประสานงานกับสานักเลขาธิการอาเซียนและสานักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ ตลอดจน ดูแลความร่วมมือของอาเซียนกับหุ้นส่วนภายนอกประเทศไทยได้แต่งตั้งเอกอัคราชทูตผู้แทนถาวรประจา อาเซียน และมีคณะผู้แทนถาวรไทยประจาอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา
รูปที่ 2.2 สานักเลขาธิการอาเซียน ที่มา : nttp://Asean4kids.blogspot.com
17
2.9 โครงสร้างและกลไกการดาเนินงานขององค์กรอาเซียน กฎบัตรอาเซียนซึ่งเปรียบเสมือนกฎหมายสูงสุดของอาเซียน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เป็นเอกสารหลักที่กาหนดโครงสร้างองค์กรของอาเซียนไว้ในหมวดที่ 4 ดังนี้ 1. การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ประกอบด้วย ประมุขหรือหัวหน้ารัฐบาล มี อานาจหน้าที่ในการกาหนดนโยบายสูงสุดและแนวทางความร่วมมือของอาเซียน และตัดสินใจในเรื่องสาคัญ โดยให้ประเทศสมาชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียนเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม 2 ครั้งต่อปี หรือเรียกประชุมพิเศษ หรือเฉพาะกิจเมื่อมีความจาเป็น 2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils; ACCS) ประกอบด้วย รัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ทาหน้าที่เตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงาน ความตกลงและข้อตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนประสานงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดาเนินงาน และกิจการต่างๆ ของอาเซียนในภาพรวมคณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะมีการประชุมกันอย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อปี 3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) ประกอบด้วย คณะมนตรี ประชาคม 3 เสาหลัก อันได้แก่ คณะมนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประเทศสมาชิกแต่งตั้งให้เป็น ผู้รับผิดชอบแต่ละเสาหลัก มีอานาจหน้าที่ในการประสานงานและติดตามการทางานตามนโยบายโดยเสนอ รายงานและข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมผู้นา มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ประธานการประชุมเป็น รัฐมนตรีที่เหมาะสมจากประเทศสมาชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียน 4. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial Bodies) องค์กร ระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (เช่น ด้านสาธารณสุข ด้านกลาโหม ด้านการศึกษา ฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อตกลงและข้อตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่ อยู่ในขอบข่ายการดาเนินงานของตน และเสริมสร้างความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้มแข็งขึ้น เพื่อ สนับสนุนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน 5. เลขาธิการอาเซียนและสานักเลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) สานักเลขาธิการอาเซียนได้จัดตั้งขึ้นตามข้อตกลงที่ลงนามโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนใน ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2519 เพื่อทาหน้าที่ประสานงานและดาเนินงานตาม โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมอาเซียน และเป็นศูนย์กลางในการติดต่อระหว่างสมาคมอาเซียน
18
6. คณะกรรมการ ตลอดจนสถาบันต่างๆ และรัฐบาลของประเทศสมาชิก สานักเลขาธิการอาเซียน ตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีหัวหน้าสานักงานเรียกว่า “เลขาธิการอาเซียน
(ASEAN
Secretary-General)” ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีวาระการดารงตาแหน่ง 5 ปี และต้องได้รับเลือกจากคนในชาติของรัฐสมาชิก โดยหมุนเวียนตามลาดับตัวอักษร เลขาธิการสมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียนคนปัจจุบันคือ นายเลอ เลือง มินห์ จากประเทศ เวียดนามเป็นเลขาธิการอาเซียนคนที่ 13 โดยเริ่มดารงตาแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 มีกาหนด ครบวาระในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 7. คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจาอาเซียน (Committee of Permanent Representatives to ASEAN)
เป็นผู้แทนระดับเอกอัคราชฑูตที่แต่งตั้งจากประเทศสมาชิกให้ประจาที่สานักงานใหญ่อาเซียน
กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย มีหน้าที่สนับสนุนการทางานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กร ระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการสานักงานอาเซียนและสานักงานเลขาธิการอาเซียนใน เรื่องที่เกี่ยวข้อง และประสานงานกับสานักงานเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติและองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา 8. สานักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat) เป็นหน่วยงาน ระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งแต่ละประเทศได้จัดตั้งขึ้นเพื่อทาหน้าที่ รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและความร่วมมือต่าง ๆ เกี่ยวกับอาเซียนในประเทศนั้น ๆ สาหรับ ประเทศไทยหน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ 9. องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body) เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยความ ประสงค์และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้น พื้นฐาน ซึ่งคณะทางานและอานาจหน้าที่จะได้กาหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนต่อไป 10.มูลนิธิอาเซียน ( ASEAN
Foundation)
มูลนิธิอาเซียนสนับสนุนเลขาธิการอาเซียนและ
ดาเนินการร่วมกับองค์กรของอาเซียนที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเซียน โดยการส่งเสริม ความสานึกที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของอาเซียน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน การดาเนินงาน ร่วมกันที่ใกล้ชิดระหว่างภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ในอาเซียน
19
2.10 การรวมกลุ่มอาเซียน การรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในระยะแรกเกิดขึ้นภายหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 โดยเริ่มจาการก่อตั้งองค์การสนธิสัญญาปูองกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South
East
Asian
Treaty Organization ; SEATO) ปี ค.ศ. 1949 โดยมี 8 ประเทศ อันได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ และไทย โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อต่อต้านการแผ่ขยายตัวของลัทธิ คอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยหลักการยับยั้งทางการทหารควบคู่ไปกับการกระชัยความ มั่นคงและความร่วมมือด้านสังคม เศรษฐกิจ และการศึกษาระหว่างกัน ปี ค.ศ. 1977 การฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกาที่ทาให้ความตึงเครียดทาง การทหารในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บรรเทาเบาบางลง กลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ได้แก่ สหพันธ์รัฐมาลายา ฟิลิปปินส์ และไทย ได้ร่วมกันก่อตั้งสมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asia; ASA) ปี ค.ศ. 1961 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้า ความเจริญทางเศรษฐกิจและ วัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นับได้ว่า Associate of Southeast Asia (ASA) เป็น องค์การระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แห่งแรกที่ได้รับการก่อตั้งจากการริเริ่มของสมาชิก ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ โดยในการริเริ่มของ ตนกู อับดุล ราห์มาน (Tunku Abdul Rahman) นายกรัฐมนตรีสหพันธรัฐมาลายาในสมัยนั้น อย่างไรก็ตาม เพียง 2 ปี หลังการก่อตั้งก็เกิดเหตุการณ์ความ ขัดแย้งระหว่างฟิลิปปินส์และมาเลยเซียในกรณีซาบาห์ (Sabah) ปี 1966 ความสัมพันธ์ระหว่างฟิลิปปินส์กับมาเลเซียจะกลับคืนเข้าสู่สภาวะปกติในระดับ หนึ่ง แต่ Associate
of
Southeast
Asia
(ASA) ก็ถูกมองว่าไม่สามารถดาเนินต่อไปได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เนื่องจากการมีสมาชิกเพียงไม่กี่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และถูกมองว่าเป็น เครื่องมือของสหรัฐอเมริกาในการต่อต้านการแผ่ขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใน ท้ายที่สุด Associate of Southeast Asia (ASA) ก็ได้ยุติบทบาทลงในปี พ.ศ. 2510 หลังการก่อตั้งอาเซียน ปี ค.ศ. 1967 จานวนสมาชิกของอาเซียนที่เริ่มจาก 5 ประเทศ ก็ได้ขยายเป็น 6 ประเทศใน ปี ค.ศ. 1989 เมื่อบรูไนได้รับเอกราชจากอังกฤษ และเมื่อสงครามเย็นจบลงในต้นทศวรรษที่ 90 เวียดนามได้ เป็นสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็นครั้งแรกที่อาเซียนให้การยอมรับประเทศที่มีระบอบการปกครองแบบสังคมนิยม เข้าเป็นสมาชิก ต่อมาลาวและพม่าได้เข้ามาเป็นสมาชิกในปี ค.ศ. 1997 และกัมพูชาในปี ค.ศ. 1999
20
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of
South
East
Asian
Nations) หรืออาเซียน เป็นองค์กรทางภูมิรัฐศาสตร์และองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือในการเพิ่มอัตราการ เติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม และวัฒนธรรม ในกลุ่มประเทศสมาชิก และการดารงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ สรุปเหตุการณ์สาคัญ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510
ก่อตั้งอาเซียน (ASEAN) 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย ประกาศปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)
พ.ศ. 2510
ปฏิญญาวาด้วยเขตสันติภาพ อิสรภาพ และการวางตัวเป็นกลาง (ZOPFAN)
พ.ศ. 2519
สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC)
พ.ศ. 2522
ปีแรกที่มีการมอบรางวัลซีโรต์ให้แก่นักเขียนในกลุ่มประเทศสมาชิก อาเซียนที่กรุงเทพมหานคร
8 มกราคม พ.ศ. 2527
บรูไนดารุสซาลามเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนลาดับที่ 6
พ.ศ. 2535
เขตการค้าเสรี (AFTA) และปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยทะเลจีนใต้
พ.ศ. 2537
มีการประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมือง และความมั่นคงใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
พ.ศ. 2538
วันที่ 28 กรกฎาคม เวียดนามเข้าเป็นสมาชิกลาดับที่ 7 และวันที่ 15 ธันวาคม ลงสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
พ.ศ. 2540
สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มี ผลบังคับใช้ และวันที่ 23 กรกฎาคม ลาวและพม่า เข้าเป็น สมาชิกอาเซียนพร้อมกัน
21
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม www.mfa.go.th www.wikpedia.org www.bic.moe.go.th www.fotolia.com http://asean4kids.blogspot.com
22
กิจกรรม
1. ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มจานวน 10 กลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของอาเซียน และอภิปราย หน้าชั้นเรียน 2. ให้ผู้เรียนตอบคาถามเกี่ยวกับปัจจัยการจัดตั้งอาเซียน 3. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข่าวและ/หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับอาเซียน
23
คาถามมีคาตอบ ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนคืออะไร และมีเปูาหมายอย่างไร อาเซียนตระหนักว่า สันติภาพ ความมั่นคง และเสถียรภาพทางการเมือง เป็นพื้นฐานสาคัญต่อการ พัฒนาในด้านอื่นๆ ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนจึงเป็นเสาหลักความร่วมมือ 1 ใน 3 เสาหลักของ ประชาคมอาเซียนที่เน้นการรวมตัวของอาเซียนเพื่อสร้างความมั่นใจ (Confidence Building) เสถียรภาพ (Stability) และสันติภาพ (Peace) ในภูมิภาคนี้ เพื่อให้ประชาชนในอาเซียนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และ ปราศจากภัยคุกคามจากด้านการทหารและภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ เช่น ปัญหายาเสพติด หรือปัญหา อาชญากรรมข้ามชาติ ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน มีเปูาหมาย 3 ประการ ได้แก่ (1) สร้างประชาคมใหม่ให้มี ค่านิยมร่วมกันในเรื่องของการเคารพความหลากหลายของแนวความคิด และส่งเสริมให้ประชาชนเป็น ศูนย์กลางของนโยบายและกิจกรรมภายใต้เสาหลักการเมืองและความมั่นคง (2) ให้อาเซียนสามารถเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงใน รูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่และส่งเสริมความมั่นคงของ มนุษย์ (3) ให้มีปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟูนและสร้างสรรค์กับ ประชาคมโลก โดยอาเซียนซึ่งมีบทบาทนาในภูมิภาคจะ ช่วยส่งเสริมเสถียรภาพและความมั่นคงของภูมิภาค ทั้งนี้ อาเซียนกาลังจัดทาแผนงานสาหรับการจัดตั้งประชาคม การเมือง ความมั่นคงอาเซียน (ASEAN
Political
Security Community Blueprint-APSC Blueprint) ซึ่งมีความคาดหวังให้เสร็จภายในปลายปี 2551 ที่มา : ข้อมูลจากกรมอาเซียน
24
คาถามมีคาตอบ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนคืออะไร มีเปูาหมายอย่างไร และไทยได้ประโยชน์อย่างไร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเปูาหมายด้านเศรษฐกิจหลักที่สาคัญในการขับเคลื่อนความร่วมมือ ระหว่างประเทศอาเซียน ภายหลังการลงนามจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนก็มีความคืบหน้าที่ดีในความร่วมมือ ต่างๆ เป็นลาดับ และในที่สุดอาเซียนได้มุ่งหวังที่จะจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจในปี 2558 ซึ่งมีองค์ประกอบ สาคัญคือ การเป็นตลาดและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน โดยมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมืออย่างเสรี และเงินลงทุนที่เสรีมากขึ้น มีความสามารถในการแข่งขันสูง มุ่งสร้างความเท่าเทียมใน การพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศอาเซียน และการส่งเสริมการรวมกลุ่มอาเซียนเข้ากับประชาคมโลก ขนาดของตลาดอาเซียนที่ใหญ่ขึ้นทาให้อาเซียนอานาจซื้อสูงขึ้นตามมา เช่นเดียวกับความสามารถในการแข่ง กับภูมิภาคอื่นที่เพิ่มขึ้น ซึ่งช่วยให้สมาชิกสามารถปรับตัวเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ได้ เป็นอย่างดี การคมนาคมขนส่งเป็นปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นประโยชน์กับ ประชาชนอย่างแท้จริง อาเซียนจึงมีโครงการเชื่อมโยงเส้นทางหลวงอาเซียน มีความร่วมมือระหว่างประเทศ ในการเชื่อมโยงเส้นทางรถไฟจากสิงคโปร์ผ่านไปยัง มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม และสิ้นสุดที่เมือง คุนหมิง ประเทศจีน นอกจากนี้ การปรับมาตรฐานของเส้นทางคมนาคมทางบกและทางรถไฟให้มีมาตรฐาน เดียวกัน ก็จะส่งเสริมความร่วมมือของอาเซียนดานการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้นด้วย ขณะที่การเจรจาเพื่อเปิดตลาดในระดับหพุคีภายใต้องค์การการค้าโลกยังมีท่าที่ว่าจะไม่สามารถสรุป ผลได้ในอนาคตอันใกล้ ประเทศต่างๆ จึงได้พยายามที่จะทาข้อตกลงการค้าเสรี ไม่ว่าจะในระดับทวิภาคีหรือ ระดับภูมิภาค ในส่วนของอาเซียนมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค โดยการจัดทาเขตการค้า เสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area; AFTA) หรืออาฟต้ามาแล้ว 15 ปี และรวมตัวกับประเทศหรือ กลุ่มคู่ค้าสาคัญ เช่น ญี่ปุน จีน เกาหลี สหภาพยุโรป ฯลฯ
25
คาถามมีคาตอบ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนคืออะไร และมีเปูาหมายอย่างไร อาเซียนมุ่งหวังประโยชน์จากการรวมตัวกันเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนเพื่อให้ ประชาชนมีความอยู่ดีกินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกัน โดย เน้นการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ระหว่างประเทศสมาชิกในด้านความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์ มรดก ทางวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ระดับภูมิภาคร่วมกัน ทั้งนี้ การเสริมสร้างรากฐานและความเชื่อมโยงระหว่างกันที่แข็งแกร่งนาไปสู่ความเข้าใจของการเป็น เพื่อนบ้านที่ดี การรู้เขารู้เรา และมีความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกภายใต้สังคมที่เอื้ออาทร โดยแผนปฏิบัติการเพื่อนาไปสู่การจัดตั้งประชาคม สังคม และวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community; ASCC) ได้กาหนดกิจกรรมความร่วมมือที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นความร่วมมือใน ด้านต่างๆ ได้แก่ 1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development) 2. ความคุ้มครองและสวัสดิการ 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Righis) 4. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Ensuring Environmental Sustainability) 5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building ASEAN Identity) 6. การลดช่องว่างการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) และเน้นให้มีการส่งเสริม ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน นักคิด และศิลปินในภูมิภาค ตลอดจนการเสริมสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับ อาเซียนในภูมิภาค โดยเฉพาะในระดับประชาชน ทั้งนี้ ไทยจะได้ประโยชน์อย่างมากจากการที่รากฐาน สาคัญของประชาคมอาเซียนที่ประชาชนมีความเข้าใจซึ่งกันและ เข้าใจถึงผลประโยชน์ที่มีร่วมกัน ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการสร้าง ประชาคมอาเซียนสามารถประสบความสาเร็จด้วย
ที่มา : ข้อมูลจากกรมอาเซียน
26
แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ บทที่ 2 ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยเขียนเครื่องหมาย ทับตัวเลือกที่ต้องการ 1. ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีทิศเหนือติดกับประเทศใด ก. จีน ข. ญี่ปุน ค. อินเดีย ง. บังคลาเทศ จ. ฟิลิปปินส์ 2. ประเทศใดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีลักษณะภูมิประเทศเป็นหมู่เกาะ ก. ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บรูไน สิงคโปร์ ข. สิงคโปร์ พม่า ลาว บรูไน ค. เวียดนาม พม่า ลาว กัมพูชา ง. ไทย พม่า ลาว อินโดนีเซีย จ. ไทย พม่า เวียดนาม อินโดนีเซีย 3. ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีลักษณะภูมิอากาศแบบใด ก. ภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตอบอุ่น ข. ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นหรือเขตร้อน ค. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ง. ภูมิอากาศแบบที่สูงและภูเขา จ. ภูมิอากาศแบบที่ราบสูงและภูเขา 4. ประเทศใดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีประชากรมากที่สุด ก. สิงคโปร์ ข. มาเลเซีย ค. อินโดนีเซีย ง. พม่า จ. ลาว
27
5. ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการรวมตัวเป็นกลุ่มอาเซียน ก. ภัยคุกคามการขยายอานาจของประเทศมหาอานาจและระบอบคอมมิวนิสต์ ข. การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ค. แนวคิดที่จะเพิ่มอานาจการต่อรองทางด้านเศรษฐกิจ ง. ความมุ่งมั่นของแต่ละประเทศที่จะขยายอานาจ และล่าอาณานิคม จ. ภัยคุกคามการขยายอานาจทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้าน 6. APSC คือข้อใด ก. ประชาคมสันติอาเซียน ข. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ค. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ง. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน จ. ประชาคมวัฒนธรรมอาเซียน 7. ASEAN Political Security Community หรือ APSC เป็นเสาหลักหนึ่งของความร่วมมือเพื่อให้ ประชาชนในอาเซียนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เพื่อร่วมกันพัฒนาและแก้ไขปัญหาในด้านใด ก. ปัญหายาเสพติดและปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ข. ปัญหาด้านการเกษตร พลังงาน และการท่องเที่ยว ค. ปัญหาการคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ง. ปัญหาความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม จ. ปัญหาความยั่งยืน พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 8. สานักงานเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ก่อตั้งขั้นเมื่อใด ก. 25 กุมภาพันธ์ 2520 ข. 25 กุมภาพันธ์ 2519 ค. 24 กุมภาพันธ์ 2520 ง. 24 กุมภาพันธ์ 2519 จ. 24 กุมภาพันธ์ 2518
28
9. ผู้แทนจากประเทศไทยดารงตาแหน่งเลขาธิการอาเซียมาแล้วกี่ท่าน ก. 1 ท่าน ข. 2 ท่าน ค. 3 ท่าน ง. 4 ท่าน จ. 5 ท่าน 10. South East Asian Treaty Organization (SEATO) คืออะไร ก. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา ข. องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน ค. องค์การสนธิสัญญาปูองกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ง. องค์การความร่วมมือทางสังคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จ. องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
29
ตอนที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC) มีเปูาหมายสาคัญอย่างไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. ทาเลที่ตั้งและอาณาเขตของอาเซียนมีลักษณะอย่างไร ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 3. จงอธิยายลักษณะภูมิประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาพอสังเขป ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 4. สภาพภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีลักษณะเช่นไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 5. การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ประกอบด้วยอะไรบ้าง ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 6. ผู้แทนจากประเทศไทยดารงตาแหน่งเลขาธิการอาเซียนมาแล้วกี่ท่าน ชื่ออะไร และดารงตาแหน่งเมื่อใด ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................
30
7. การจัดตั้งสานักงานอาเซียนแห่งชาติในแต่ละประเทศ เพื่อทาหน้าที่ประสานงาน สนับสนุนภารกิจและ ความร่วมมือต่างๆ สาหรับประเทศไทยหน่วยงานที่รับผิดชอบคือหน่วยงานใด ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 8. วัตถุประสงค์เริ่มแรกในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนคืออะไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 9. สานักงานเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ตั้งอยู่ที่ใด ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 10. เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียนคนปัจจุบันคือใคร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................
31
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง : สภาพภูมิศาสตร์ของอาเซียน คาชี้แจง : ให้นักเรียนบอกสภาพภูมิศาสตร์ของอาเซียน
………………………………….......... ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. .............................................
………………………………….......... ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. .............................................
ทาเลที่ต้ งั และอาณาเขต
ลักษณะภูมิประเทศ
ของอาเซียน
ของอาเซียน
………………………………….......... ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. .............................................
สภาพภูมิอากาศ ของอาเซียน
32
ใบงานที่ 2.2 เรื่อง : การดาเนินชีวิตของประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนอธิบายการดาเนินชีวิตของประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทีเป็นไปตามสภาพ ภูมิศาสตร์ของพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังต่อไปนี้
การเพาะปลูก
การเลี้ยงสัตว์
การประมง
เพื่อเลี้ยงชีพ เช่น
เพื่อใช้งาน เช่น
จับปลาได้มาก
..........................
..........................
อันดับ 1 คือประเทศ
..........................
..........................
................................
....
....
เพื่อการค้า เช่น
เพื่อการค้า เช่น
..........................
..........................
อันดับ 2 คือประเทศ
..........................
..........................
................................
....
....
การเพาะปลูก
การเพาะปลูก
ได้แก่ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................
จับปลาได้มาก
การเพาะปลูก
อุตสาหกรรมในครัวเรื อน
สิ นค้าส่ งออก ได้แก่
เช่น...................................
.........................................
.........................................
.........................................
.
.
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่
สิ นค้านาเข้า ได้แก่
เช่น...................................
.........................................
.........................................
.........................................
.
.
33
ใบงานที่ 2.3 เรื่อง : ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการรวมตัวขงอประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นกลุ่มอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนอธิบายปัจจัยให้เกิดการรวมตัวเป็นกลุ่มอาเซียน
ปั จจัยที่ก่อให้เกิดการรวมตัวของประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เป็ นกลุ่มอาเซี ยน มีดงั นี้ 1....................................
2................................. 3................................ 4................................
......................................
................................... .................................. ..................................
......................................
................................... .................................. ..................................
......................................
................................... .................................. ..................................
......................................
................................... .................................. ..................................
......................................
................................... .................................. ..................................
......................................
................................... .................................. ..................................
......................................
................................... .................................. .................................
......................................
................................... .................................. ..................................
......................................
................................... .................................. ..................................
34
ใบงานที่ 2.4 เรื่อง : เสาหลักแห่งความร่วมมือประชาคมอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของข้อความด้านล่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
APSC ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… …………………………………
AEC ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… …………………………………
ASCC ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… …………………………………
35
เฉลยแบบทดสอบ
ข้อ
เฉลย
ข้อ 1
ก
ข้อ 2
ก
ข้อ 3
ข
ข้อ 4
ค
ข้อ 5
ง
ข้อ 6
ค
ข้อ 7
ก
ข้อ 8
ง
ข้อ 9
ข
ข้อ 10
ค
36
ตอนที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC) มีเปูาหมายสาคัญอย่างไร 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน ........................................................................... ................... 2.สร้างขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ ...
.... .
3.สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ...
.....
4.การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก .....
....
2. ทาเลที่ตั้งและอาณาเขตของอาเซียนมีลักษณะอย่างไร ตั้งอยู่ทางซีกโลกตะวันออกและทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ทิศเหนือ ติดกับประเทศจีน ทิศตะวันออกติดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศใต้ติดมหาสมุทรอินดีย และทิศตะวันตกติดประเทศอินเดีย และ บังคลาเทศ 3. จงบอกผู้แทนทั้ง 5 ประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ และประกอบด้วยประเทศใดบ้าง 1.บริเวณเทือกเขาและที่ราบลาดเนินตะกอนเชิงเขา วางตัวแนวเหนือใต้ .....
......
2.บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้า พบอยู่สองฝั่งของแม่น้าสายต่างๆ ที่ราบสาคัญ 3.บริเวณที่ราบชายฝั่งทะเล บริเวณที่เป็นหากทรายที่เกิดจากการทับถม ....... 4.บริเวณหมู่เกาะส่วนใหญ่เป็นเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟ ทั้งที่ยังมีพลังและที่ดับสนิทแล้ว ...
............
4. สภาพภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีลักษณะอย่างไร . ลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้นหรือเขตร้อน....
.........................
5. การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ประกอบด้วยอะไรบ้าง ประมุขหรือหัวหน้ารัฐบาล มีอานาจหน้าที่ในการดาหนดนโยบายสูงสุดและแนวทางความร่วมมือ ของอาเซียน และตัดสินใจในเรื่องสาคัญ.......
................. ......
6. ผู้แทนจากประเทศไทยดารงตาแหน่งเลขาธิการอาเซียนมาแล้วกี่ท่าน ชื่ออะไร และดารงตาแหน่งเมื่อใด 2 ท่าน คือ ....................
..........
1. แผน วรรณเมธี เริ่มวาระ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 สิ้นสุดวาระ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 2.
สุรินทร์ พิศสุวรรณ เริ่มวาระ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 สิ้นสุดวาระ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555...
37
7. การจัดตั้งสานักงานอาเซียนแห่งชาติในแต่ละประเทศ เพื่อทาหน้าที่ประสานงาน สนับสนุนภารกิจและ ความร่วมมือต่างๆ สาหรับประเทศไทยหน่วยงานที่รับผิดชอบคือหน่วยงานใด กรมอาเซียนกระทรวงการต่างประเทศ ........
......................
8. วัตถุประสงค์เริ่มแรกในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนคืออะไร เพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ .......................................
.....
..
9. สานักงานเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ตั้งอยู่ที่ใด กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่เลขที่ 70 A Jl. Sisingamangaraja Jakarta ................. Indonesia.
.
10. เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียนคนปัจจุบันคือใคร ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ................................. ..... ..................................................
......
38
เฉลยใบงาน
39
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง : สภาพภูมิศาสตร์ของอาเซียน คาชี้แจง : ให้นักเรียนบอกสภาพภูมิศาสตร์ของอาเซียน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้.....
1.บริ เวณเทือกเขาและที่ราบ
ตั้งอยูท่ างซีกโลกตะวันออกและ....
2.บริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ า
ทางตะวันออกเฉี ยงใต้ของทวีป.....
3.ที่ราบชายฝั่งทะเล
เอเชีย..............................................
4.หมู่เกาะ.........
ทาเลที่ต้ งั และอาณาเขต
ลักษณะภูมิประเทศ
ของอาเซียน
ของอาเซียน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มี... ลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น...... หรื อเขตร้อน
สภาพภูมิอากาศ ของอาเซียน
...
... ......
.
..... ......
40
ใบงานที่ 2.2 เรื่อง : การดาเนินชีวิตของประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนอธิบายการดาเนินชีวิตของประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทีเป็นไปตามสภาพ ภูมิศาสตร์ของพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังต่อไปนี้
การเพาะปลูก
การเลี้ยงสัตว์
การประมง
เพื่อเลี้ยงชีพ เช่น
เพื่อใช้งาน เช่น
ข้าวโพด ข้าว.....
ช้าง ม้า โค .....
ผัก และผลไม้...
กระบือ
.....
จับปลาได้มาก อันดับ 1 คือประเทศ ......... ไทย...........
ผัก และผลไม้... เพื่อการค้า เช่น
เพื่อการค้า เช่น
จับปลาได้มาก
ข้าวโพด ข้าว.....
ข้าวโพด ข้าว.....
อันดับ 2 คือประเทศ
ผัก และผลไม้...
ผัก และผลไม้...
อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ ....................
การเพาะปลูก
ได้แก่
การเพาะปลูก
การเพาะปลูก
อุตสาหกรรมในครัวเรื อน
สิ นค้าส่ งออก ได้แก่
เช่น การทอผ้า การทาร่ ม
ข้าว ยางพารา อ้อย.. ...
ข้าว ข้าวโพด......... เผือก มัน ผัก......... ผลไม้......................
ข้าวโพด สับประรด .....
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่
สิ นค้านาเข้า ได้แก่
เช่น โรงงานผลิตรถยนต์
เครื่ องจักร เคมีภณั ฑ์ ...
41
ใบงานที่ 2.3 เรื่อง : ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการรวมตัวขงอประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นกลุ่มอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนอธิบายปัจจัยให้เกิดการรวมตัวเป็นกลุ่มอาเซียน
ปั จจัยที่ก่อให้เกิดการรวมตัวของประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เป็ นกลุ่มอาเซี ยน มีดงั นี้ 1.ภัยคุกคามจากการขยาย
2.การเปลี่ยนแปลง...... 3.แนวคิดที่จะเพิ่ม..... 4.ความมุ่งมั่นของแต่
...อานาจของประเทศ..
ของสถานการณ์ใน.....
อานาจการต่อรอง..... ละประเทศที่จะ.
...มหาอานาจและระบอบ..
ภูมิภาคเอเชีย..
ทางด้านเศรษฐกิจ .... .....พัฒนาประเทศ
...คอมมิวนิสต์
.... ตะวันออกเฉียง
ของ...ตนให้มีความ
.......................
ใต้
เจริญ....
.
42
ใบงานที่ 2.4 เรื่อง : เสาหลักแห่งความร่วมมือประชาคมอาเซียน คาชี้แจง : ให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของข้อความด้านล่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
APSC
AEC
ASCC
ประชาคมการเมืองความ
ประชาคมเศรษฐกิจ. .....
ประชาคม สังคมและ.. ...
มัน่ คงอาเซี ยน ASEAN...
อาเซียนASEAN.
....
วัฒนธรรมอาเซียน. .....
Political Securt..
....
Economic Community...
ASEAN Socio Cultural..
Community.
....
Community..
....
43
บรรณานุกรม กรมประชาสัมพันธ์. ประเทศไทยกับอาเซียน. กรุงเทพฯ : สานักนายกรัฐมนตรี, 2554. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2553. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. สื่อวีดีทัศน์กรุงเทพฯ. กรมอาเซียน, 2556. กระทรวงการต่างประเทศ กรมอาเซียน. 20 อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี, 2530. คณาจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เมื่อกรุงเทพมหานครเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. สานัก ยุทธศาสตร์และประเมินผล, 2556. ชัยวัฒน์ สีแก้ว. รอบรู้อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์หอสมุดกลาง 09, 2556. ประภัสสร์ เทพชาตรี, รศ.ดร. สู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2552.
44
รูปประกอบจากเว็บไซต์ http://asean4kids.blogspot.com http://image.baidu.co.th http://mekaje.wordpress.com http://siriporn1997.wordpress.com http://thai.cri.cn/ http://travel.mthai.com http://www.alro.go.th http://www.aseangreenhub.in.th/ http://www.hooninside.com/ http://www.manager.co.th http://www.mcot.net/ http://www.thaigov.go.th/ pirun.ku.ac.th th.wikipedia.org www.bic.moe.go.th www.fotolia.com www.kapook.com/campus.sanook.com/infographicland www.mfa.go.th www.muaypattaraporn.wordpress.com www.nesdb.go.th www.oknation.net
45