อาเซียนศึกษา เล่ม 12

Page 1

1


2

อาเซียนศึกษา (ASEAN Study)

จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่ศึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีในฐานะประชากรอาเซียน 3. เพื่อตระหนักในความเป็นประชากรอาเซียน เพื่อการดารงตนและการพัฒนาสังคมประเทศชาติ

สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. ดารงตนเป็นประชากรอาเซียนที่ดี

คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา และพัฒนาการของประชาคมอาเซียน ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในประชาคมอาเซียนกับภูมิภาคอื่นในโลก


3

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

หน่วยการเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน ประชาคมอาเซียน พัฒนาการของประชาคมอาเซียน ประเทศไทยกับอาเซียน บทบาทของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ประเทศกัมพูชา ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศไทย ประเทศเวียดนาม

ดารงตนเป็นประชากร อาเซียนที่ดี

หน่วยที่

แสดงความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานสมรรถนะ

               

               


4

คานา หนังสืออาเซียนศึกษาได้เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตร พุทธศักราช 2556 ที่พัฒนาให้สอดคล้องกับความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี และการเปิดเสรีทางการศึกษา รองรับการเป็นประชาคมอาเซียนร่วมกัน ซึ่ง จะต้องพัฒนาทั้งในด้านการศึกษา ด้านวัฒนธรรม และวิถีชีวิต และให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความเป็นมา พัฒนาการ และความร่วมมือต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงความสาคัญของ องค์กรแห่งนี้ และเข้าใจความเป็น “อาเซียน” และร่วมกันเพื่อการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมที่เข้มแข็ง ตลอดไป เนื้อหามีทั้งหมด 15 เล่ม ประกอบด้วย พัฒนาการอาเซียน โครงสร้างและกลไกการดาเนินงาน อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เขตการค้าเสรีอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศไทยสู่การ เป็นสมาชิกอาเซียน หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและบุคคลทั่วไป ในการเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจ และเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันตามที่หลักสูตรต้องการ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิดได้ สมดังเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาอย่างครบถ้วนทุก ประการ

นิตยา วรวงษ์


5

สารบัญ หน้า ประเทศอินโดนีเซีย

7

12.1 ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน

8

12.2 สภาพทางภูมิศาสตร์

8

12.3 ประวัติความเป็นมา

9

12.4 การเมืองการปกครอง

10

12.5 เศรษฐกิจ

11

12.6 สังคมและวัฒนธรรม

11

12.7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย

12

แบบทดสอบ

13

เฉลยแบบทดสอบ

16

บรรณานุกรม


6

ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippines)

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้

1. ประเทศฟิลิปปินส์

1. บอกสาระสาคัญของประเทศฟิลิปปินส์

ได้

สมรรถนะประจาหน่วย แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศฟิลิปปินส์


7

ฟิลิปปินส์ ชื่ออย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์

(Republic of the Philippines)

ขนาดพื้นที่

299,536 ตารางกิโลเมตร

ที่ตั้งและอาณาเขต

ตั้งอยู่นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของคาบสมุทรอินโดจีน ทิศเหนือและทิศ ตะวันตกจดกับทะเลจีนใต้ ทิศใต้และทิศตะวันออกจกกับมหาสมุทรแปซิฟิก

เมืองหลวง

มะนิลา (Manila)

จานวนประชากร

98 ล้านคน (พ.ศ. 2553)

ชาติพันธุ์

ร้อยละ 90 ของประชากรทั้งหมดเป็นชาวคริสต์มาเลย์ รองลงมาเป็นชาว มุสลิมมาเลย์และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ

ภาษา

ภาษาฟิลิปปิโนหรือตากาล็อกและภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ

ศาสนา

ร้อยละ 83 นับถือคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก รองลงมาเป็นคริสต์ ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์และศาสนาอิสลาม

ระบอบการปกครอง วันชาติ สกุลเงิน GDP รายได้ประชาชาติ อุตสาหกรรม

ประชาธิปไตยแบบสาธารณรับ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ และเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล 12 มิถุนายน เปโซ (1 เปโซ เท่ากัน 0.7 บาท โดยประมาณ) 194,300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2553) 3,600 ดอลลาร์สหรัฐต่อหัว (พ.ศ. 2553) สิ่งทอ เสื้อผ้า การแปรรูปอาหาร การแปรรูปไม้ เยื่อกระดาษ ปูนซีเมนต์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ถุงเท้าและรองเท้า เคมีภัณฑ์

สินค้านาเข้า

เครื่องจักรกล เหล็ก เชื้อเพลิง สิ่งทอ และอุปกรณ์การขนส่ง

สินค้าส่งออก

เนื้อมะพร้าวแห้ง น้ามันมะพร้าว น้าตาล ผ้าพื้นเมือง ไม้แกะสลัก เครื่องประดับ เครื่องเงิน ป่าน และแร่โครไมต์


8

12. เมียน์มา (Myanmar) 12.1 ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 1. ธงชาติ ใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2441 เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีสามเหลี่ยมสีขาวทางด้านซ้าย หมายถึง ความเสมอภาคและภราดรภาพ ด้านในมีรูปดวงอาทิตย์มีรัศมี 8 แฉก หมายถึง 8 จังหวัดแรกของประเทศในช่วงการเรียกร้องเอกราช และ ดาว 3 ดวง หมายถึง เกาะลูซอน เกาะมินดาเนา และหมู่เกาะวีซายัน พื้นสีน้าเงินด้านบน หมายถึง สันติภาพ สัจจุ และความยุติธรรม พื้นสีแดงด้านล่าง หมายถึง ความรักชาติ 2. ตราประจาแผ่นดิน ใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 3กรกฎาคม พ.ศ. 2489 มีลักษณะเป็นโล่ตรงกลางเป็นวงรีวางตัวในแนวตั้ง ภายในบรรจุรูปดวงอาทิตย์ 8 แฉก ด้านบนมีรูปดาว 5 แฉก 3 ดวงเรียงรายล้อมรูปวงรี พื้นที่ด้านล่างประมาณ 3 ใน 5 ของโล่ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ด้านซ้าย เป็นพื้นสีน้าเงินบรรจุรูปนกอินทรี ซึ่งแทนประเทศสหรัฐอเมริกา ด้านขวาเป็นพื้นสีแดงบรรจุรูป สิงโตซึ่งแทนประเทศสเปน ด้านล่างของโล่มีแพรแถบจารึกชื่อ ประเทศอย่างเป็นทางการ 12.2 สภาพทางภูมิศาสตร์ 1. ที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขต เป็นหมู่เกาะที่ตั้งอยู่นอก ชายฝั่งด้านตะวันออกของคาบสมุทรอินโดจีน ทิศเหนือและทิศ ตะวันตกจดกับทะเลจีนใต้ทิศใต้และทิศตะวันออกจดกับ มหาสมุทรแปซิฟิก มีเนื้อที่ประมาณ 299,536 ตารางกิโลเมตร 2. ลักษณะภูมิประเทศ เป็นหมู่เกาะที่วางตัวในแนวเหนือใต้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ เกาะลูซอน เกาะมินดาเนา และหมู่ เกาะวีซายัน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและภูเขาไฟมีที่ราบกว้างใหญ่ที่สุด คือ ที่ราบมะนิลาบนกาะลูซอน ที่ราบลุ่มแม่น้าที่สาคัญ ได้แก่ ที่ราบลุ่ม แม่น้ากากายันบนเกาะลูซอนที่ราบลุ่มแม่น้าอากูซานและที่ราบลุ่ม แม่น้ามินดาเนาบนเกาะมินดาเนา มีทะเลสาบที่สาคัญ ได้แก่

แผนที่ประเทศฟิลิปปินส์


9

ทะเลสาบลาเนาบนเกาะมินดาเนาและทะเลสาบ ตาอัลบนเกาะลูซอน นอกจากนี้ยังมีเกาะอื่นๆ อีก เช่นเกาะปาลาวัน เนโกรส เลย์เต ปาไนย์ เซบู หมู่เกาะซูลู 3.

ภูมิอากาศ มีอากาศแบบร้อนชื้น

ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตลอดทั้งปี มีปริมาณ ภูเขาไฟมาโยน บนเกาะลูซอน

ฝนมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่มีช่วงฤดูแล้งมีฝนน้อยยกเว้นเกาะมินาเน

ได้รับอิทธิพลจากพายุไต้ฝุ่นทุกปี เพราะมีพื้นที่ตั้งอยู่ใกล้ศูนย์กลางความกดอากาศต่า มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี ประมาณ 26 องศาเซลเซียส 4. ทรัพยากรธรรมชาติ มีป่าไม้ชนิดป่าดิบชื้นที่อุดมสมบูรณ์มาก มีป่าสนและป่าผลัดใบบางชนิด ขึ้นอยู่บ้างตามยอดเขาในเกาะลูซอน มีดินภูเขาไฟที่อุดมสมบูรณ์ แต่มีการชะล้างค่อนข้างสูง แร่ที่สาคัญ ได้แก่ โครโมต์และทองแดง ถ่านหินมีคุณภาพต่า และมีน้ามันน้อย 12.3 ประวัติความเป็นมา ฟิลิปปินส์มีประวัติความเป็นมายาวนานมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ต่อมาได้มีการอพยพ เคลื่อนย้ายของคนเชื้อสายลูกผสมออสเตรเลีย (Austronesian) ในบางเกาะและคนจากประเทศเพื่อนบ้าน อย่างอินโดนีเซียเข้ามาตั้งรกรากอยู่อย่างยาวนาน ต่อมา เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน (Ferdinand Magellan) นักสารวจชาวโปรตุเกสเป็นคนแรกที่เดินทางมาถึงดินแดนหมู่เกาะฟิลิปปิน ใน พ.ศ. 2064 หลังจากนั้นนัก เดินทางชาวสเปนได้เดินทางมาถึงดินแดนนี้และเริ่มก่อตั้งชุมชนชาวสเปนขึ้น ชาวสเปนได้นาคริสต์ศาสนา นิกายโรมันคาทอลิกเข้ามาสั่งสอนชนพื้นเมือง ซึ่งทาให้คริสต์ศาสนา แพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน หมู่เกาะฟิลิปปินตกอยู่ภายใต้การ ปกครองของสเปนอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2364 ในสงคราม 7 ปีกับอังกฤษ สเปนได้รับความสูญเสียเป็นอย่างมาก จนกระทั่ง ในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2441 สเปนจึงยกฟิลิปปินส์ให้กับ สหรัฐอเมริกาตามสนธิสัญญาปารีส 1898 เนื่องมาจากกรณีพิพาท การประท้วงเพื่อล้างอานาจนายมาร์กอส บนเกาะคิวบา ต่อมาใน พ.ศ. 2478 สหรัฐอเมริกา ให้ฟิลิปปินส์ ได้


10

ปกครองตนเองภายใต้การดูแลของสหรัฐอเมริกา มีชื่อประเทศว่า เครือจักรภพฟิลิปปินส์ ภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกายึดฟิลิปปินส์คืนมาจากญี่ปุ่นได้สาเร็จและได้ตั้งกองกาลังอารักชาดินแดนไว้ จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 จึงได้มอบเอกราชคืนให้แก่ชาวฟิลิปปินส์ ในช่วงปี พ.ศ. 2515 ประธานาธิบดีเฟอร์ดินานด์ มาร์กอส ได้ประกาศใช้กฎอัยการศึกและปกครองประเทศด้วยระบอบเผด็จการ จนกระทั้งเกิดการโค่นล้มอานาจของมาร์กอสใน พ.ศ. 2529 และเปลี่ยนการปกครองกลับมาสู่ระบอบ ประชาธิปไตยมาจนถึงปัจจุบัน 12.4 การเมืองการปกครอง 1. รูปแบบการเมืองการปกครอง ปกครองด้วยระบออบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐมี ประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าคณะรัฐบาล อยู่ในตาแหน่งคราวละ 6 ปี และอยู่ได้ 1 วาระเท่านั้น ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือ นายเบนิกโน เอส อาคีโน ที่ 3 (Benigon S. Aquino III) แบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น 17 เขต รวมทั้งหมด 80 จังหวัด มีหน่วยการปกครองย่อยออกเป็นเมือง เทศบาล และบางรังไก (ตาบลหรือหมู่บ้าน) 2. ความมั่นคงและนโยบายต่างประเทศ มีความมั่นคงทางการเมืองสูงด้วยนโยบายการปราบปราม การคอรัปชันอย่างจริงจัง การแก้ปัญหาความยากจน การปรับปรุงระบบข้าราชการ และการปรับปรุงระบบ การศึกษา มีความร่วมมือกับต่างประเทศในด้านการป้องกันการก่อการร้ายอาชญากรรม และโรคระบาด ฟิลิปปินส์มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศสหรัฐอเมริกาที่ดีมากเป็นคนกลางในการเจรจาระหว่าง สหรัฐอเมริกา กับกลุ่มอาเซียน นอกจากนี้ยังสนับสนุนด้านตลาดแรงงานผ่นการเจรจากับประเทศในภูมิภาค ตะวันออกกลางและประเทศไต้หวัน 3. สิทธิมนุษชน ภาครัฐสร้างเสริมสิทธิมนุษยชนให้แก่ประชาชนทุกคนให้ได้รับสิทธิเท่าเทียมกัน เช่น สิทธิในการเลือกตั้ง ประชาชนทุกคนสามารถตัดสินใจเลือกได้เองว่าจะมาลงคะแนนเสียงหรือไม่ ผ่านการ ลงทะเบียน ถ้าไม่ต้องการก็ถือว่าไม่ผิดกฎหมาย ความ พยายามแก้ไขปัญหาชนกลุ่มน้อยด้วยสันติวิธี เช่น การ เจรจาสันติภาพกับกลุ่มแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโร (Moro National Liberation Front : MNLF)


11

12.5 เศรษฐกิจ 1. ระบบเศรษฐกิจ มีการเพาะปลูกพืชตามเขตท

ี่ราบแคบๆ และที่ราบชายฝั่งทะเล พืชที่สาคัญ

ได้แก่ มะพร้าว อ้อย ยาสูบ ป่านอบากา ป่านมนิลา ข้าวเจ้า ข้าวโพด มันเทศ มีการทานาแบบขั้นบันไดตามเขตที่สูงและที่ ลาดเชิงเขา นอกจากนี้ยังมีการทาประมงทะเล การทาป่าไม้ เนื้อแข็ง เช่น ไม้มะฮอกกานี การทาเหมืองแร่โครไมต์และ ทองแดง อุตสาหกรรมที่สาคัญ ได้แก่ สิ่งทอ เสื้อผ้า การแปรรูปอาหาร การแปรรูปไม้ เยื่อกระดาษ ปูนซีเมนต์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ถุงเท้าและรองเท้า เคมีภัณฑ์ เศรษฐกิจ ส่วนใหญ่เจริญเติบโตได้ดี จะมีปัญหามากเมื่อประสบกับภัยพิบัติ

การทานาแบบขั้นบันไดบนเกาะลูซอนแสดง ให้เห็นถึงความพยายามในการแก้ไขปัญหา พื้นที่เพื่อใช้ในการเพาะปลูกของชาว

ทางธรรมชาติแต่ก็ได้รับการช่วยเหลือและมีการลงทุนจากต่างประเทศอยู่เสมอ

ฟิลิปปินส์

2. ระบบเงินตรา ใช้สกุลเงินเปโซ โดย 1 เปโซมีค่าประมาณ 0.7 บาท 3. ปัจจัยการผลิต แรงงาน และอาชีพ ประชากร 3 ใน 4 ของประเทศยังประกอบอาชีพทางการ เกษตร ทั้งที่มีพื้นที่เพาะปลูกน้อยมาก แสดงให้เห็นถึงปัจจัยการผลิตคือ ดินและน้าที่อุดมสมบูรณ์ ขณะที่ แรงงานในภาคอุตสาหกรรมมีน้อย แรงงานชาวฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่มักจะเดินทางไปทางานในประเทศอื่นๆ มากกว่าการทางานในประเทศ 4. การค้าเสรีและความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ ฟิลิปปินส์มีการจัดการทาเขตการค้าเสรีกับ ประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ เข้าร่วมกลุ่มอาเซียนและเขตการค้าเสรีอาเซียน ทาให้มีการค้า ระหว่างประเทศเจริญเติบโตสูง มีความพยายามในการเพิ่มการลงทุนจากต่างประเทศให้มากขึ้นด้วยการแก้ไข กฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนจากต่างประเทศ 12.6 สังคมและวัฒนธรรม ในภาษาตากาล็อก กูมุสตา = สวัสดี

1. ชาติพันธุ์ ภาษา และศาสนา ร้อยละ 90 ของประชากร ทั้งหมดเป็นชาวมาเลย์ นอกจากนั้นเป็นชนกลุ่มน้อยต่างๆ ใช้ ภาษาฟิลิปปิโนหรือตากาล็อกและภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ

นับถือคริสต์ศาสนามากที่สุด รองลงมาเป็นศาสนาอิสลาม ประชากรมีความแตกต่างทางเชื้อชาติและภาษา มาก และมีอัตราการรู้หนังสือสูงถึงร้อยละ 80


12

2. ประเพณีและวัฒนธรรม มีวัฒนธรรมการแต่งกายและวิถีชีวิตประจาวันแบบชาวตะวันตกในช่วง เทศกาลนิยมแต่งกายชุดประจาชาติ ผู้ชายจะสวมเสื้อมีลายปักด้านหน้า ข้อมูลเสื้อมีปกคอตั้งสูง ปล่อย ชายเสื้อออกนอกกางเกง ผู้หญิงนุ่งกระโปรงยาว สวมเสื้อแขนสั้นจีบแล้วยกตั้งขึ้นเหนือไหล่ นิยม รับประทานข้าวและเนื้อไก่ อาหารมักมีรสออกหวาน มีไขมันมาก และไม่มีรสเผ็ด 3. บุคคลสาคัญ ได้แก่ นายเบนิกโน เอส อาคีโน ที่ 3 ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน 12.7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย ประเทศไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2492 โดยความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ มีดังนี้ 1. ด้านการเมืองและความมั่นคง ฟิลิปปินส์สนับสนุนการแก้ปัญหาชายแดนภาคใต้ของไทยและมี ความร่วมมือในการป้องกันอาชญากรรมข้ามชาติ ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน โดยมีกลไกความร่วมมือในระดับทวิ ภาคี 2. ด้านเศรษฐกิจ การค้า และการท่องเที่ยว ไทยเป็นประเทศคู่ค้าอันดับที่ 2 ของฟิลิปปินส์มีมูลค่า การค้าระหว่างกันมากกว่า 7,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยมีมติของคณะกรรมาธิการร่วมด้านการค้าใน ฟิลิปปินส์นาเข้าข้าวและกระจกจากไทยมากขึ้น ไทยมีการลงทุนทางด้านการโรงแรม ธนาคาร โรงพยาบาล และพลังงานในฟิลิปปินส์ มีนักท่องเที่ยวระหว่างกันเพิ่มขึ้น และร่วมมือกันในการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ แต่การค้าการลงทุนระหว่างกันยังคงมีปัญหาเรื่องการจัดเก็บภาษีซ้าซ้อน

การตรวจสุขภาพ

อนามัยที่เข้มงวด และการห้ามนาเข้าผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกสดจากไทย 3. ด้านสาธารณสุข มีการร่วมมือกันเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วิเคราะห์และสรุปความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ แล้ ว วิเคราะห์วา่ “ถ้ าเราจะเข้ าไปลงทุนในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ เราควรจะลงทุนในด้ านใดจึงจะเหมาะสมที่สดุ เพราะอะไร” จัดทาเป็ นรายงานส่งครู


13

แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ บทที่ 10 ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยเขียนเครื่องหมาย  ทับตัวเลือกที่ต้องการ 1. ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในมหาสมุทรใด ก. มหาสมุทรแปซิฟิก ข. มหาสมุทรแอตแลนติก ค. มหาสมุทรสงขลา ง. มหาสมุทรอิ้งแลนด์ 2. เมืองหลวงของฟิลิปปินส์มีชื่อว่าอะไร ก. กรุงเทพ ข. กรุงมะนิลา ค. กรุงอันกามัน ง. กรุงกรัวลาลัมเปอร์ 3. สกุลเงินของฟิลิปปินส์คือสกุลเงินใด ก. กลีบ ข. หยวน ค. เปโซ ง. เยน 4. ฟิลิปปินส์มีชื่อย่างเป็นทางการว่าอย่างไร ก. ข. ค. ง.

สาธารณรัฐกรัวลาลัมเปอร์ สาธารณรัฐมะนิลา สาธารณรัฐเวนนีวา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์


14

5. ศาสนาประจาชาติของฟิลิปปินส์คือศาสนาใด ก. ศาสนาคริสตร์ ข. ศาสนาพุทธ ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาพราหมณ์ 6. ภาษาประจาชาติของฟิลิปปินส์คือภาษาใด ก. ภาษาอังกฤษ ข. ภาษาตากาล็อก ค. ภาษาฟิลิปปินส์ ง. ภาษาบาตอก 7. ดอกไม้ประจาชาติของฟิลิปปินส์คือดอกอะไร ก. ดอกดาวเรือง ข. ดอกบัว ค. ดอกพุดแก้ว ง. ดอกกุหลาบ 8. พืชเศรษฐกิจที่สาคัญของฟิลิปปินส์คืออะไร ก. มัน สับประรด ข. กล้วย มะละกอ ค. น้ามัน ง. มะพร้าว อ้อย 9. ที่ราบที่ใหญ่ที่สุดของฟิลิปปินส์มีชื่อว่าอะไร ก. ที่ราบมะนิลา ข. ที่ราบสูง ค. ที่ราบมะละกา ง. ที่ราบต่า


15

10. ลักษณะภูมิประเทศของฟิลิปปินส์เป็นอย่างไร ก. เป็นภูเขา ข. เป็นหมู่เกาะ ค. เป็นป่าไม้ ง. เป็นทะเล


16

เฉลยแบบทดสอบ ข้อ

เฉลย

ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4

ข้อ 5

ข้อ 6

ข้อ 7

ข้อ 8

ข้อ 9

ข้อ 10


17

บรรณานุกรม กรมประชาสัมพันธ์. ประเทศไทยกับอาเซียน. กรุงเทพฯ : สานักนายกรัฐมนตรี, 2554. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2553. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. สื่อวีดีทัศน์กรุงเทพฯ. กรมอาเซียน, 2556. กระทรวงการต่างประเทศ กรมอาเซียน. 20 อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี, 2530. คณาจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เมื่อกรุงเทพมหานครเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. สานัก ยุทธศาสตร์และประเมินผล, 2556. ชัยวัฒน์ สีแก้ว. รอบรู้อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์หอสมุดกลาง 09, 2556. ประภัสสร์ เทพชาตรี, รศ.ดร. สู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2552.


18

รูปประกอบจากเว็บไซต์ http://asean4kids.blogspot.com http://image.baidu.co.th http://mekaje.wordpress.com http://siriporn1997.wordpress.com http://thai.cri.cn/ http://travel.mthai.com http://www.alro.go.th http://www.aseangreenhub.in.th/ http://www.hooninside.com/ http://www.manager.co.th http://www.mcot.net/ http://www.thaigov.go.th/ pirun.ku.ac.th th.wikipedia.org www.bic.moe.go.th www.fotolia.com www.kapook.com/campus.sanook.com/infographicland www.mfa.go.th www.muaypattaraporn.wordpress.com www.nesdb.go.th www.oknation.net


19


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.