1
2
อาเซียนศึกษา (ASEAN Study)
จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่ศึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีในฐานะประชากรอาเซียน 3. เพื่อตระหนักในความเป็นประชากรอาเซียน เพื่อการดารงตนและการพัฒนาสังคมประเทศชาติ
สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. ดารงตนเป็นประชากรอาเซียนที่ดี
คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา และพัฒนาการของประชาคมอาเซียน ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในประชาคมอาเซียนกับภูมิภาคอื่นในโลก
3
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
หน่วยการเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน ประชาคมอาเซียน พัฒนาการของประชาคมอาเซียน ประเทศไทยกับอาเซียน บทบาทของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ประเทศกัมพูชา ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศไทย ประเทศเวียดนาม
ดารงตนเป็นประชากร อาเซียนที่ดี
หน่วยที่
แสดงความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานสมรรถนะ
4
คานา หนังสืออาเซียนศึกษาได้เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตร พุทธศักราช 2556 ที่พัฒนาให้สอดคล้องกับความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี และการเปิดเสรีทางการศึกษา รองรับการเป็นประชาคมอาเซียนร่วมกัน ซึ่ง จะต้องพัฒนาทั้งในด้านการศึกษา ด้านวัฒนธรรม และวิถีชีวิต และให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความเป็นมา พัฒนาการ และความร่วมมือต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงความสาคัญของ องค์กรแห่งนี้ และเข้าใจความเป็น “อาเซียน” และร่วมกันเพื่อการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมที่เข้มแข็ง ตลอดไป เนื้อหามีทั้งหมด 15 เล่ม ประกอบด้วย พัฒนาการอาเซียน โครงสร้างและกลไกการดาเนินงาน อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เขตการค้าเสรีอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศไทยสู่การ เป็นสมาชิกอาเซียน หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและบุคคลทั่วไป ในการเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจ และเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันตามที่หลักสูตรต้องการ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิดได้ สมดังเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาอย่างครบถ้วนทุก ประการ
นิตยา วรวงษ์
5
สารบัญ หน้า บทบาทของอาเซียน
6
5.1 บทบาทอาเซียนต่อไทย
7
5.2 บทบาทอาเซียนต่อสมาชิกอื่น
8
5.3 บทบาทของอาเซียนในสังคมโลก
9
5.4 บทบาทด้นสิทธิมนุษยชนของอาเซียน
12
5.5 บทบาทในการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ
14
5.6 อาเซียน +3
16
5.7 อาเซียน +6
18
แบบทดสอบ
24
ใบงาน
29
เฉลยแบบทดสอบ
31
เฉลยใบงาน
34
บรรณานุกรม
6
บทบาทของอาเซียน
สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บทบาทอาเซียนต่อไทย
1. อธิบายบทบาทอาเซียนต่อไทยได้
2. บทบาทของอาเซียนต่อสมาชิกอื่น
2. อธิบายบทบาทของอาเซียนต่อสมาชิก
3. บทบาทของอาเซียนในสังคมโลก 4. บทบาทด้านสิทธิมนุษยชนของอาเซียน 5. บทบาทในการแก้ปัญหาอาชญากรรม ข้ามชาติ 6. อาเซียน +3 7. อาเซียน +6
อื่นได้ 3. อธิบายบทบาทของอาเซียนในสังคม
โลกได้ 4. อธิบายบทบาทด้านสิทธิมนุษยชนของ
อาเซียนได้ 5. อธิบายบทบาทในการแก้ปัญหา
อาชญากรรมข้ามชาติได้ 6. อธิบายอาเซียน +3 ได้ 7. อธิบายอาเซียน +6 ได้
สมรรถนะประจาหน่วย แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทประเทศไทยกับอาเซียน
7
อาเซียนเป็นกลุ่มประเทศที่มีความสาคัญ จากการที่ประชากรรวมกันแล้วเกือบ 600 ล้านคน ซึ่งเป็นทั้ง ตลาดที่มีกาลังสูง มีแนวโน้มขยายตัวได้มาก และเป็นตลาดแรงงานราคาถูกซึ่งนักลงทุนต่างชาติโดยเฉพาะ ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาเข้ามาลงทุน ซึ่งปัจจุบันอาเซียนมีบทบาทสาคัญในเวทีโลก โดยได้ดาเนินการเสริมสร้าง ความร่วมมือกับประเทศสมาชิก และกลุ่มประเทศนอกประเทศอาเซียน การสร้างความร่วมมือในประเทศ สมาชิกอาเซียนในเวทีการค้าโลกคือ การเสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจในหมู่ประเทศสมาชิกอย่าง ต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายหลักคือ เพื่อให้เกิดการรวมเป็นตลาดเดียวกันโดยการริเริ่มก่อตั้งเขตการค้าเสรีอา เวียน หรืออาฟตา (AFTA) เมื่อ พ.ศ. 2535 ซึ่งมีส่วนช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและอานาจต่อรองของอาเซียน อาเซียนมีเป้าหมายสูงสุดคือ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจทางการเงินและการคลัง ซึ่งจะนาไปสู่การ เปิดเสรีทางเศรษฐกิจ เพื่อรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจภายในอาเซียนและสร้างความเข้มแข็งแก่อาเซียนในเวที เศรษฐกิจโลก และการสร้างความร่วมมือกับประเทศหรือกลุ่มประเทศ นอกอาเซียน เช่น
ความร่วมมือ
อาเซียน+3 (ASEAN Plus Three) คือ ความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วมกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ความร่วมมืออาเซียน+ 6 (เพิ่มอีก 3 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ อินเดีย) ซึ่งจะส่งผลให้มีขนาดผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) ใหญ่เป็น 1 ใน 4 ของโลก มีจานวน ประชากรมากเป็นครึ่งหนึ่งของโลก 5.1 บทบาทอาเซียนต่อไทย ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมภายในอาเซียน ได้เปิดโอกาสให้มีการขยายตัวด้าน การค้าและการลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งนาผลดีมาสู่เศรษฐกิจของประเทศไทย และของประเทศ สมาชิกอาเซียนโดยส่วนรวม ทั้งนี้ประเทศไทยได้รับสิทธิพิเศษทางด้านการค้าดังนี้ 1. การได้ลดหย่อนอัตราภาษีศุลกากร 2. ด้านอุตสาหกรรม ไทยได้รับสิทธิในการผลิตเกลือหิน โซดาแอช และตัวถังรถยนต์ 3. ด้านการธนาคาร จัดตั้งบรรษัทการเงินของอาเซียน จัดตั้งคณะกรรมาธิการว่าด้วยการ ประกันภัยแห่งอาเซียน 4. ด้านการเกษตร การสารองอาหารเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โครงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า โครงการปลูกป่า 5. ด้านการเมือง สมาชิกของอาเซียนช่วยแบ่งเบาภาระของประเทศไทยเกี่ยวกับปัญหาผู้อพยพ 6. ด้านวัฒนธรรม มีโครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิก ทาให้แต่ละประเทศมี ความเข้าใจดีต่อกัน
8
5.2 บทบาทอาเซียนต่อสมาชิกอื่น เสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจในหมู่ประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อให้เกิดการรวมเป็นตลาดเดียวกัน โดยการเริ่มก่อตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา เมื่อ พ.ศ. 2535 ซึ่งมีส่วนช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและอานาจต่อรองของอาเซียน แต่อาเซียนมีเป้าหมายสูงสุด คือ การ เป็นประชาคมเศรษฐกิจทางการเงินและการคลัง ซึ่งจะนาไปสู่การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ เพื่อรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจภายในอาเซียน และสร้างความเข้มแข็งแก่อาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก อาเซียนได้ร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกลุ่มน้าโขงคือ จีน พม่า เวียดนาม ลาว กัมพูชา และ ไทย โดยรณรงค์ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2553 เป็นทศวรรษแห่งความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศ ลุ่มน้าโขง เพื่อยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน และเพื่อสนับสนุนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศเหล่านี้ให้สอดคล้องกับตลาดอาเซียน อาเซียนสร้างความร่วมมือในการสร้างสันติภาพและความมั่นคงให้เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ โดยมุ่งเน้นความร่วมมือทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งการเป็นประชาคมอาเซียนมีความใกล้ชิด กันมากขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม จากความเข้มแข็งของอาเซียนและความสาคัญ ทางด้านเศรษฐกิจ อาเซียนจึงผลักดันให้ประเทศสมาชิกก้าวสู่เวทีการค้าระดับโลกดังนี้ 1. อาเซียนสร้างความเข้มแข็งของแหล่งเกษตรกรรมที่สาคัญของโลก โดยมีการผลิตอาหารและ สินค้าเกษตรจานวนมาก เช่น ข้าวหอมมะลิ น้ามันปาล์ม และมะพร้าว เป็นต้น 2. อาเซียนให้ความสาคัญด้านแหล่งทรัพยากรที่สาคัญ โดยเฉพาะทรัพยากรเชื้อเพลิงซึ่งมีมากใน ประเทศบรูไนและมาเลเซีย ส่งผลให้ประเทศมีฐานะทางเศรษฐกิจดี และไม่ได้รับผลกระทบจากการขึ้นราคา น้ามันของโลกมากนัก โดยในพม่ามีแหล่งน้ามันและแก๊สธรรมชาติจานวนมาก 3. อาเซียนส่งเสริมการลงทุนในภูมิภาคแห่งนี้ เช่น ประเทศสิงคโปร์ที่มีเศรษฐกิจมั่นคงและเป็น ศูนย์กลางทางการเงินการลงทุนของภูมิภาค 4. อาเซียนมุ่งพัฒนาฝีมือแรงงานมีคุณภาพ ค่าแรงไม่สูง เช่น ไทย เวียดนาม และฟิลิปปินส์ 5. อาเซียนมีความลงตัวในด้านศาสนาและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และมีประเทศอินโดนีเซียซึ่ง เป็นประเทศมุสลิมที่ใหญ่ที่สุดของโลกและมีความใกล้ชิดกับประเทศมุสลิมอื่นๆ ในโลก ซึ่งเป็นผลดีต่อการ ขยายตลาดของอาเซียนในประเทศมุสลิมทั่วโลก 6. อาเซียนสนับสนุนการดาเนินงานเพื่อสร้างสันติภาพของสหประชาชาติ เช่น การเข้าร่วมกับกอง กาลังสหประชาชาติในปฏิบัติการต่างๆ การให้ความร่วมมือช่วยเหลือผู้อพยพจากการขัดแย้งทางการเมือง เช่น ในสงครามเวียดนาม ในสงครามการเมืองกัมพูชา หรือ ผู้อพยพที่เป็นชนกลุ่มน้อยในพม่า เป็นต้น
9
5.3 บทบาทของอาเซียนในสังคมโลก อาเซียนสถาปนาความสัมพันธ์ประเทศคู่เจรจากับประเทศต่างๆ ทั้งในทวีปเดียวกันและต่างทวีป หลายประเทศ ดังนี้ พ.ศ. 2517 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศออสเตรเลียเป็นประเทศแรก ซึ่งเป็น ประเทศที่ได้สถาปนาความสัมพันธ์กับอาเซียนในฐานะประเทศคู่เจรจา และดาเนินความสัมพันธ์อย่างราบรื่น มาโดยตลอด มีความร่วมมือกันในหลายๆ ด้าน เช่น การลงนามในปฏิญญาร่วมอาเซียน-ออสเตรเลีย เพื่อ ต่อต้านการก่อการร้าย (ASEAN-Australia Joint Declaration for to Combat International Terrorism) ในปี พ.ศ. 2547 ได้ตกลงเรื่องเขตการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
(ASEAN-
Australia-New Zealand Free Trade Agreement; AANZFTA) และปี พ.ศ. 2552 ออสเตรเลียได้เสนอ ให้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน – ออสเตรเลียเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2553 เพื่อยกระดับความสัมพันธ์กับ อาเซียนให้ดียิ่งขึ้น พ.ศ. 2518 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศนิวซีแลนด์ ซึ่งเดิมนิวซีแลนด์กับ อาเซียนมีความสัมพันธ์ในฐานะผู้ให้และผู้รับ ต่อมาจึงสถาปนาความสัมพันธ์ในฐานะคู่เจรจากับอาเซียนเป็น ลาดับที่สองต่อจากประเทศออสเตรเลีย อาเซียนและนิวซีแลนด์ร่วมมือกันในหลายๆ ด้านเช่นเดียวกับประเทศ ออสเตรเลีย เช่น การลงนามในปฏิญญาร่วมอาเซียน-นิวซีแลนด์เพื่อต่อต้านการก่อการร้าย
(ASEAN-New
Zealand Joint Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism) ในปี พ.ศ. 2548 ความตกลงเรื่องเขตการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ (ASEAN-Australia-New Zealand Free Trade Agreement; AANZFTA) ในปี พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2520 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศญี่ปุ่น หลังจากมีความสัมพันธ์อย่าง ไม่เป็นทางการกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2516 และสถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2520 ในฐานะที่ ญี่ปุ่นเป็นคู่ค้าอันดับหนึ่งและผู้ลงทุนอันดับสองของอาเซียน จึงได้แต่งตั้งศูนย์อาเซียน-ญี่ปุ่นเพื่อส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2523 นอกจากความร่วมมือทางด้าน การเมืองและเศรษฐกิจแล้ว ญี่ปุ่นยังให้ความสาคัญกับการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม โดยจัดตั้งโครงการ แลกเปลี่ยนเยาวชนระหว่างประเทศญี่ปุ่นและกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออก (Japan East Network of Students and Youths; JENESYS) โดยเชิญเยาวชนจากประเทศในเอเชียตะวันออกมาแลกเปลี่ยนที่ญี่ปุ่นปี ละประมาณ 6,000 คน ต่อเนื่องกันเป็นเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2550 – 2555) พ.ศ. 2520 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศแคนาดา แม้ว่าอาเซียนและแคนาดา ได้สถาปนาความสัมพันธ์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 แต่ก็ประสบปัญหาในปี พ.ศ. 2540 เนื่องจากอาเซียนรับเมียน
10
มาร์ (หรือชื่อเดิมในเวลานั้นคือ พม่า) เข้าเป็นสมาชิก ซึ่งแคนาดาไม่เห็นด้วยและคว่าบาตรพม่า เนื่องจาก พม่าปกครองด้วยระบอบเผด็จการทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิเสธผลการเลือกตั้งที่พรรคฝ่ายค้านได้รับ ชัยชนะ รวมทั้งได้กักขังนางออกซาน ซูจี หัวหน้าพรรคมาอย่างต่อเนื่องยาวนา อาเซียนและแคนาดารื้อฟื้น ความสัมพันธ์อีกครั้งในปี พ.ศ. 2547 จนกระทั่งมีการจัดประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับแคนาดา (ASEAN Post Ministerial Conference; (PMC) + 1) ในปี พ.ศ. 2552 โดยที่ประชุมให้ความเห็นชอบ ปฏิญญาร่วมว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนที่เพิ่มพูนระหว่างอาเซียน กับแคนาดา (Joint Declaration on the ASEAN-Canada Enhanced Partnership) ซึ่งเป็นแผนแม่บทในการดาเนินความสัมพันธ์กันในอนาคตโดย ประเทศไทยรับหน้าที่ประเทศผู้ประสานงานความสัมพันธ์อาเซียน-แคนาดาเป็นเวลา 3 ปี (พ.ศ. 2552-2554) พ.ศ. 2520 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับสหรัฐอเมริกา ในระยะแรกสหรัฐอเมริกาเน้น การหารือและส่งเสริมด้านการเมืองและความมั่นคงกับอาเซียนในขณะที่อาเซียนต้องการความช่วยเหลือด้าน การพัฒนาและเศรษฐกิจ ปัจจุบันสหรัฐอเมริกายังคงให้ความสาคัญกับอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์ โดยมีการแถลงวิสัยทัศน์ว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนที่เพิ่มพูนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยทาหน้าที่ประสานงานความสัมพันธ์อาเซียน-สหรัฐอเมริกาอาเซียน และสหรัฐอเมริกาได้ จัดทาปฏิญญาร่วมอาเซียน-สหรัฐอเมริกา เพื่อความร่วมมือในด้านการต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศ (ASEAN-United
States
of America
Joint
Declaration for Cooperetion to Combat
International Terrorism) ในปี พ.ศ. 2545 รวมทั้งร่วมลงนามในความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ในกรอบความ ตกลงการค้าและการลงทุน (ASEAN-US Trade and Investment Framework Arrangement; TIFA) ใน ปี พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2520 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับสหภาพยุโรป นับคู่เจรจาอย่างไม่เป็น ทางการของอาเซียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาทั้งสองฝ่ายมีความร่วมมือกันในทุกด้าน และ เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปีการสถาปนาความสัมพันธ์อาเซียน ทั้งสองฝ่ายจึงจัดให้มีการประชุมสุดยอดสมัย พิเศษอาเซียน-สหภาพยุโรป (ASEAN-EU Commemorative Summit) เมื่อปี พ.ศ. 2550 ที่สิงคโปร์ ซึ่ง ปัจจุบันสหภาพยุโรปให้ความสาคัญกับอาเซียนมากขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2550 ทั้งสองฝ่ายได้รับรองปฏิญญานูเร มเบิร์ก ว่าด้วยการเป็นหุ้นส่วนที่เพิ่มพูนระหว่างสหภาพยุโรปกับอาเซียน (Nuremberg Declaration on an WU-ASEAN Enhanced Partnership) เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินความสัมพันธ์และความร่วมมือทั้งใน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ ความมั่นคง สังคม และวัฒนธรรมในอนาคต พ.ศ. 2534 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศจีน เริ่มมีความสัมพันธ์กันเมื่อปี พ.ศ. 2534 และยกสถานะเป็นคู่เจรจาอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2549 มีความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดในทุกด้าน โดย
11
เมื่อปี พ.ศ. 2546 จีนเป็นประเทศที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ประเทศแรกที่แสดงความพร้อมในการลงนาม พิธีการต่อสนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ประเทศแรกที่แสดงความพร้อมในการลงนาม พิธีการต่อ สนธิสัญญาว่าด้ายเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Protocol to the Treaty on Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone) นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2553 อาเซียนกับจีนยังได้ลงนามใน แผนพัฒนาร่วมกันในอนาคต โดยประเทศไทยได้เสนอแนะในเรื่องสาคัญ เช่น การพัฒนาโครงการสร้าง พื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งและการปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินในเหตุการณ์ภัยพิบัติ เป็นต้น พ.ศ. 2534 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศเกาหลีใต้ หลังจากสถาปนา ความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2534 อาเซียนและเกาหลีใต้ได้ร่วมลงนามปฏิญญาว่าด้วยความ ร่วมมือการเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2547 เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือรอบด้าน ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 อาเซียนและเกาหลีใต้ได้ลงนามจัดตั้งศูนย์อาเซียนเกาหลีที่กรุงโซล เพื่อ ส่งเสริมความร่วมมือด้านการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 อาเซียน-เกาหลีใต้ได้ยกระดับความสัมพันธ์ด้วยการจัดทาปฏิญญาว่าด้วยการ เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ เพื่อกาหนดทิศทางการส่งเสริมความร่วมมืออาเซียน-เกาหลีใต้ ในอนาคต พ.ศ. 2535 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศอินเดีย อาเซียนกับอินเดียมี ความสัมพันธ์กันอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2535 โดยมีเอกสารความเป็นหุ้นส่วนระหว่างอาเซียน-อินเดีย เพื่อสันติภาพความก้าวหน้า และความเจริญรุ่งเรืองร่วมกัน (ASEAN-India Partnership for
Peace,
Progress and Shared Prosperity) ปัจจุบันอยู่ภายใต้แผนการปฏิบัติการ พ.ศ. 2553-2558 โดยทั้งสอง ฝ่ายได้จัดตั้งกองทุนอาเซียน-อินเดีย และได้ตั้งเป้าหมายขยายการค้าเป็น 700,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี พ.ศ. 2555 อีกด้วย และอินเดียยังแสดงความพร้อมในการสนับสนุนการเชื่อมโยงระหว่างกันด้วยการขยาย ทางหลวง 3 ฝ่ายคือ ไทย-พม่า-อินเดีย ไปยังลาวและกัมพูชา รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาการเชื่อมโยงด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศแก่ประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศละ 100 ทุน เป็นระยะเวลา 5 ปี พ.ศ. 2539 สถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศรัสเซีย อาเซียนและรัสเซียสถาปนา ความสัมพันธ์ในฐานะคู่หารือ (Consultative Ralations) กับอาเซียนในปี พ.ศ. 2534 และพัฒนามาเป็นคู่ เจรจาในปี พ.ศ. 2539 มีความร่วมมือกันในหลายๆ ด้าน เช่น ปฏิญญาร่วมอาเซียน-รัสเซีย ว่าด้วยความเป็น หุ้นส่วนเพื่อสันติภาพ ความมั่นคง ความมั่งคั่ง และการพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ในปี พ.ศ. 2546 แถลงการณ์ร่วมอาเซียน-รัสเซีย ว่าด้วยความร่วมมือในการต่อต้านการก่อการร้าย
(ASEAN-Russia Joint
Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism) นอกจากนั้นรัสเซียยังได้มอบเงิน
12
ประมาณ 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพื่อจัดตั้งกองทุน ASEAN-Russia Dialogue Partnership Financial Fund (DPFF) เพื่อใช้ดาเนินกิจกรรมความร่วมมือต่างๆ อีกด้วย 5.4 บทบาทด้านสิทธิมนุษยชนของอาเซียน อาเซียนกับสหประชาชาติเริ่มต้นความสัมพันธ์กันในปี พ.ศ. 2513 โดยเป็นความร่วมมือด้านวิชาการ ต่อมาสหประชาชาติพยายามส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนกับองค์กรระดับภูมิภาคทั่วโลก เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาระดับ ภูมิภาค โดยอาเซียนและสหประชาชาติเคยจัดการประชุมสุดยอดอาเซียน-สหประชาชาติมาแล้ว 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2513 มีการประชุมระหว่างรัฐบาลเอเชีย (Asia Intergovernmental Meeting) และที่ ประชุมก็ได้มีการประกาศ “ปฏิญญาสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชียแปซิฟิก ค.ศ. 1993
(the
Asia-Pacific
Declaration on Human Rights 1993)” หรือ “ปฏิญญากรุงเทพ (รัฐบาล) ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (the Bangkok (Governmental) Human Rights Declaration)” ขึ้น ประกอบด้วย มาตราทั้งสิ้น 30 มาตรา โดยในปฏิญญาดังกล่าวก็ได้กล่าวถึงสิทธิในด้านต่างๆ ไว้มากมาย เช่น สิทธิในการพัฒนา เป็นต้น กฎบัตรนี้ไม่เพียงแต่ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน แต่ยังสนับสนุนให้มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดารงชีพ โดย เน้นสิทธิในการมีชีวิต สิทธิในสันติภาพ สิทธิในประชาธิปไตย และสิทธิที่จะพัฒนาซึ่งไปไกลกว่า มาตรฐานสากลที่วางสิทธิต่างๆ ไว้อย่างมากมายและยังไม่พบอย่างชัดเจนในระดับสากล ดังจะเห็นได้จากการ ที่กฎบัตรนี้ส่งเสริมสิทธิในเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของเอเชีย ดังนี้ “ขนบธรรมเนียมประเพณีของเอเชียนั้น เน้นความสาคัญของเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมร่วม ซึ่ง เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมจะช่วยทั้งปัจเจกบุคคลและชุมชนในการสู้กับแรงกดดันทางเศรษฐกิจและการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม ให้ความหมายแก่ชีวิตในช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว” ในการปฏิบัติตาม ขนบธรรมเนียมเหล่านั้น หากขัดแย้งกับหลักการทางสากลแห่งสิทธิมนุษยชนจะต้องถูกกาจัดออกไป เช่น การ เหยียดหยามทางเพศ ทางเชื้อชาติ รวมทั้งระบบชั้นวรรณะ สิทธิของกลุ่มที่อาจถูกละเมิดได้ง่ายที่สุด ได้แก่ เด็ก สตรี คนพิการ คนไข้ติดเชื้อ HIV ผู้ใช้แรงงาน นักเรียน นักศึกษา นักโทษ และผู้ถูกคุมขัง นอกจากนี้ กฎบัตรยังได้สนับสนุนมาตรการต่างๆ เพื่อให้เป็นมาตรการที่เป็นรูปธรรมจากภูมิภาค ดังนี้ 1. ส่งเสริมการรับประกันสิทธิมนุษยชนในรัฐธรรมนูญแห่งชาติ 2. ให้สัตยาบันในสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนนานาชาติ 3. ทบทวนกฎหมายในประเทศและการปฏิบัติทางการบริหาร เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล 4. ขยายบทบาททางกฎหมายในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน 5. ให้องค์การทางสังคมสามารถแก้ต่างแทนเหยื่อได้
13
6. ก่อตั้งคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและสถาบันพิเศษอื่นๆ เพื่อการพิทักษ์สิทธิมนุษยชน 7. รับรองศาลประชาชน ซึ่งไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของการตัดสินชี้ขาด หากจะช่วยในการยกระดับ จิตสานึกของปัญหาประชาชนที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของศีลธรรมและจิตวิญญาณ ต่อมาใน “การประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียนครั้งที่ 26” เมื่อวันที่ 23-24 กรกฎาคม โดยครั้งล่าสุดจัดเมื่อปี พ.ศ. 2553 ซึ่งทั้งสองฝ่าย ได้หารือกันในเรื่องความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติ เพื่อช่วยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถ บรรลุเป้าหมายการพัฒนา โดยเฉพาะการลดช่องว่างระหว่างประเทศสมาชิก รวมถึงการให้ความสาคัญเรื่อง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทั้งในด้านสาธารณสุข การศึกษา และสิทธิมนุษยชน การป้องกันปัญหาอาชญากร ข้ามชาติ การก่อการร้าย และยาเสพติด การเสริมสร้างศักยภาพประเทศสมาชิกอาเซียนในการปฏิบัติ การ รักษาสันติภาพ และการบริหารจัดการภัยพิบัติที่ประเทศสิงคโปร์ ก็ได้ออกแถลงการณ์ร่วมระหว่างรัฐบาลโดยมี การกล่าวถึงกลไกสิทธิมนุษยชน อันเป็นจุดเริ่มต้นของการจะก่อตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนขึ้นในอาเซียนอย่างเป็น ทางการคือ แถลงการณ์ร่วมกันในการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนครั้งที่ 26 (Joint Twenty-Sixth ASEAN Ministerial
Communique : The
Meeting) เพื่อแสดงความยินดีต่อความสาเร็จในการประชุมสิทธิ
มนุษยชนระดับโลกที่กรุงเวียนนา และยืนยันว่าจะผูกพันและเคารพต่อ “ปฏิญญากรุงเวียนนา ค.ศ. 1993 (the Vienna Declaration and Programme of Action of 25 June 1993)” อันเป็นคาประกาศด้าน สิทธิมนุษยชนที่มีเนื้อหาขยายความปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน โดยอาเซียนได้มีถ้อยแถลงร่วมกัน (Joint Communique) ดังนี้ เพื่อการเคารพและสนับสนุนปฏิญญาเวียนนาและแผนปฏิบัติการเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2536 ทุกฝ่ายเห็นพ้องว่าควรจัดตั้งกลไกด้านสิทธิมนุษยชนของอาเซียนที่เหมาะสมระดับภูมิภาคขึ้น โดยพวกเขาเน้น ว่า สิทธิมนุษยชนมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และประกอบกัน ไม่สามารถแบ่งแยกได้ สิทธิพลเมือง สิทธิ ทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมนั้นมีความสาคัญเท่าเทียมกัน โดยมีวิธีปกป้องและ ส่งเสริมด้วยการเคารพในสภาพแวดล้อมทางด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองโดยเฉพาะด้วย และจะต้องไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง ข้อ 17 รัฐมนตรีต่างประเทศเห็นพ้องว่า อาเซียนควรจะเชื่อมโยงให้เข้าใกล้ร่วมกันถึงสิทธิมนุษยชน และการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง และเผยแพร่การนาไปประยุกต์ใช้ การส่งเสริมและการปกป้องสิทธิมนุษยชน การส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในประชาคมระหว่างประเทศ และควรจะยอมรับหลักการเคารพในเรื่องอานาจ อธิปไตยของรัฐ ความมั่นคงในเขตแดน และการไม่เข้าแทรกแซงในกิจการภายในของรัฐ
14
ข้อ 18 “อาเซียนควรจะประสานงานแนวทางพื้นฐานด้านสิทธิมนุษยชน และกระตือรือร้นที่จะเข้า ร่วมและเผยแพร่เอกสารการส่งเสริมและการป้องกันสิทธิมนุษยชน” ดังนั้นการปฏิเสธความรับผิดชอบต่อ ปัญหาสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นในภูมิภาคนี้โดยบรรดาผู้นาอาเซียนต่างๆ จึงปราศจากเหตุผลและไม่สอดคล้อง ต่อภาระผูกพันระหว่างประเทศดังกล่าว โดยครั้งล่าสุดจัดในปี พ.ศ. 2553 ซึ่งทั้งสองฝ่ายได้หารือกันในเรื่องความร่วมมือระหว่างอาเซียน กับสหประชาชาติ เพื่อช่วยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถบรรลุเป้าหมายการพัฒนาโดยเฉพาะการลด ช่องว่างระหว่างประเทศสมาชิก รวมถึงการให้ความสาคัญเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทั้งในด้าน สาธารณสุข การศึกษา และสิทธิมนุษยชน การป้องกันปัญหาอาชญากรข้ามชาติ การก่อการร้าย และยา เสพติด การเสริมสร้างศักยภาพประเทศสมาชิกอาเซียนในการปฏิบัติการรักษาสันติภาพและการบริหาร จัดการภัยพิบัติ 5.5 บทบาทในการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ประชาคมอาเซียน หรือ ASEAN Community แบ่งการทางานออกเป็น 3 เสาหลักสาคัญคือ เสาที่ 1 ด้านประชาคมความมั่นคง หรือ ASEAN Security Community (ASC) เสาที่ 2 ด้านประชาคมเศรษฐกิจ หรือ ASEAN Economic Community (AEC) เสาที่ 3 ด้านประชาสังคมและวัฒนธรรม หรือ ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) บทบาทในการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ตามหลักการของเสาที่ 1 ด้านประชาคมความมั่นคง หรือ ASEAN Security Community (ASC) เนื่องจากว่าประเทศสมาชิกอาเซียนเองนั้นได้มีการทา ข้อตกลงไว้ในเรื่องของการเมืองและความมั่นคงอยู่หลายข้อ และข้อที่สาคัญประการหนึ่งคือ การไม่ยุ่งเกี่ยว การเมืองภายในของประเทศสมาชิกด้วยกัน หรือ Non-Interference Doctrine ดังนั้นเสาประชาคมความ มั่นคงจึงมีข้อจากัดในการปฏิบัติงานของอาเซียน ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคในการจัดตั้งเสาประชาคมความมั่นคง แต่อาเซียนพยายามหาวิธีในการสร้างเสา ด้านนี้ขึ้นมาตามเจตนารมณ์ของประชาคมอาเซียน 2015 ให้ได้ ในปัจจุบันผู้เชี่ยวชาญด้านอาเซียน รวมถึง ผู้เกี่ยวข้องด้านความมั่นคงในอาเซียน ได้แสวงหาปัจจัยที่จะสามารถดึงเอาประเทศสมาชิกต่างๆ ของอาเซียน เข้ามาร่วมมือกัน เพื่อก่อให้เกิดประชาคมในเสาหลักดังกล่าวโดยการมุ่งเน้นในเรื่องการต่อต้านภัยคุกคามต่อ ความมั่นคงร่วมกัน (Common Threat) โดยเฉพาะภัยด้านความมั่นคงนอกรูปแบบ (Non-traditional Security) ซึ่งถือเป็นอาชญากรรมรูปแบบใหม่ที่เกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนปัจจุบัน เช่น การก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ โรคระบาด และภัยธรรมชาติที่รุนแรง เป็นต้น โดยหวังว่าประเทศสมาชิกจะสามารถ แสวงหาจุดยืนร่วมกันในการแก้ปัญหาภัยด้านความมั่นคงนอกรูปแบบนี้ได้อย่างทันท่วงที ก็จะสามารถช่วยให้
15
ภัยคุกคามดังกล่าวไม่แผ่ขยายจนส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อประเทศในภูมิภาค และนามาสู่การสร้างความมั่นคง ของเสาหลักด้านความมั่นคงในประชาคมอาเซียนต่อไป ภัยด้านความมั่นคงนอกรูปแบบประเภทหนึ่งที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในกลุ่มผู้บังคับใช้ กฎหมายคือ ภัยคุกคามจากอาชญากรรมข้ามชาติ ในปัจจุบันอาชญากรรมข้ามชาติส่งผลร้ายแรงและมีความ ซับซ้อนมากกว่าอดีต สาหรับในพิมพ์เขียวของเสาประชาคมความมั่นคงนั้นได้กล่าวถึงอาชญากรรมข้ามชาติที่ สาคัญหลายประการ เช่น 1. การก่อการร้าย 2. การลักพาตัวและการค้ามนุษย์ 3. การค้ายาเสพติด 4. การประมงผิดกฎหมาย 5. การค้าอาวุธเถื่อนขนาดเล็ก 6. อาชญากรรมทางไซเบอร์ 7. โจรสลัด หมายเหตุ : อาชญากรรมที่ต้องการจัดการอย่างเร่งด่วนในภูมิภาคคือ การค้ามนุษย์ยาเสพติด และ ปัญหาโจรสลัด นอกจากเครื่องมือและกลไกต่างๆ ภายในอาเซียนเองแล้ว การสร้างความร่วมมือจากประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียเองนั้น ก็ยังเป็นปัจจัยสาคัญในการแก้ปัญหาอาชญากรรมความมั่นคงนอก รูปแบบ รวมทั้งอาชญากรรมข้ามชาติด้วยเช่นกัน ความช่วยเหลือจากประเทศนอกกลุ่มสมาชิก เช่น ญี่ปุ่น จีน และเกาหลีนั้น จะช่วยผลักดันนโยบายต่างๆ ให้สาเร็จมากขึ้น ยกตัวอย่าง เช่น ปัญหาโจรสลัด ประเทศญี่ปุ่นซึ่งต้องสินค้าผ่านน่านน้าทะเลจีนใต้ได้รับความ เดือดร้อนจากการแผ่ขยายอิทธิพลของโจรสลัด จึงได้เสนอให้แก้ไขปัญหาโจรสลัดในน่านน้าบริเวณเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้อย่างจริงจัง ประเทศญี่ปุ่นจึงได้ผลักดันให้เกิดการประชุมเรื่องภัยจากโจรสลัดในปี พ.ศ. 2543 กับประเทศสมาชิกอาเซียน และยังได้เชิญตัวแทนจากประเทศอื่นๆ เช่น จีน ฮ่องกง อินเดีย และศรี ลังกาเข้าร่วมด้วย 5.6 อาเซียน +3 อาเซียน +3 (ASEAN Plus Three) คือ ความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วมกับจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้
16
อาเซียนมีการร่วมมือทางเศรษฐกิจกับภายนอกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายการเชื่อมโยงกับ ประเทศหรือกลุ่มประเทศนอกอาเซียน ทั้งนี้ “อาเซียน +3” ยกระดับความร่วมมือขึ้นในปี พ.ศ. 2540 หลัก จากหลายประเทศใดเอเชียเผชิญกับวิกฤตทางเศรษฐกิจ หรือที่เรียกว่า “ต้มยากุ้งดีชีส” ในช่วงกลางปี ครั้งนั้น ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้เข้าร่วมพบปะหารือกับผู้นาของประเทศจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี ใต้ ในการประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียน ที่ประเทศมาเลเซียเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และหาแนวทางรับมือ กับภาวะตกต่าทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น รวมถึงการกระชัยความสัมพันธ์กับประเทศในเอเชียตะวันออก และ ต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่จัดขึ้นทุกครั้ง ผู้นาของทั้ง 10 ชาติสมาชิกอาเซียนก็จะเข้าร่วมประชุมกับ ผู้นาของประเทศจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ด้วย โดยใช้ชื่อว่า “การประชุมสุดยอดอาเซียน +3” ซึ่งในการ ประชุมครั้งที่ 2 ได้มีการหารือกันถึง 2 ประเด็นหลักคือ 1. ความร่วมมือในการฟื้นฟูเศรษฐกิจในภูมิภาค 2. ความร่วมมือสู่ศตวรรษที่ 21 ในการรักษาส่งเสริมสันติภาพ ความมั่นคง ความมีเสถียรภาพ และ การพัฒนา 5.6.1 การจัดตั้ง East Asian Vision Group (EAVG) ในปี พ.ศ. 2542 ซึ่ง EAVG นี้ ประกอบไปด้วยนักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิจากประเทศ อาเซียน +3 ซึ่งจะร่วมกันระดมความคิดและแสวงหาวิธีการขยายความร่วมมือในด้านต่างๆ ของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก ต่อมา EAVG ได้เสนอแนวความคิดในการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก (East
Asian
Community; EAC) รวมถึงการจัดการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit; EAS)ด้วย และในการประชุมสุดยอดอาเซียน +3 ครั้งที่ 9 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ในปี พ.ศ. 2548 ผู้นาก็ได้ลงนามใน ปฏิญญา กัวลาลัมเปอร์กาหนดให้การจัดตั้งประชาคมอาเซียนตะวันออเป็นเป้าหมายระยะยาว และให้กรอบ อาเซียน +3 เป็นกลไกหลักในการนาไปสู่เป้าหมายดังกล่าวด้วย
17
5.6.2 วัตถุประสงค์ของกรอบความร่วมมืออาเซียน +3 การรวมกลุ่มอาเซียน + 3 เป็นการนาไปสู่การจัดตั้งประชาคมอาเซียนตะวันออก โดยชาติ สมาชิกจะร่วมมือและสนับสนุนกันในด้านต่างๆ รวมทั้งการสร้างเขตความร่วมมือทางความมั่นคงและการเมือง ที่ไม่ใช้ความรุนแรง ทั้งนี้ ความร่วมมือต่างๆ จะอยู่ภายใต้กรอบความร่วมมือสาคัญ 6 ด้านที่เร่งผลักดัน คือ 1. การร่วมกันกาหนดกฎระเบียนในภูมิภาค 2. การตั้งเขตการค้าเสรี 3. ข้อตกลงความร่วมมือและมิตรภาพเพื่อหลีกเลี่ยงการสะสมอาวุธ 4. การคมนาคมและเครือข่ายการสื่อสาร 5. ด้านสิทธิมนุษยชนและพันธกรณีต่างๆ สาหรับกรอบความร่วมมือต่างๆ เหล่านี้ จะเป็นกลไกสาคัญในการผลักดันให้เกิดประชาคม เอเชียตะวันออกได้อย่างแท้จริง แต่ถึงกระนั้น แต่ละประเทศก็ต้องเร่งแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อภูมิภาค อย่างเร่งด่วนเสียก่อน เช่น ปัญหาดินแดนทับซ้อนที่ยังเป็นอุปสรรคในการสร้างประชาคมเอเชียตะวันออก 5.6.3 ความสาคัญของอาเซียน +3 ต่อประเทศไทย ประเทศจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ถือเป็นประเทศผู้นาด้านเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย และมี บทบาทสาคัญในเวทีโลก ดังนั้นการที่อาเซียนสามารถดึงให้ทั้ง 3 ประเทศ เข้ามาร่วมในกรอบความร่วมมือ ของอาเซียนได้ จึงทาให้เกิดความร่วมมือในด้านต่างๆ มากขึ้นอย่างแน่นอน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศ สมาชิก รวมทั้งประเทศไทยที่มีการประเมินว่า ประเทศไทยจะได้รับผลประโยชน์จากความร่วมมือในกรอบของ เขตการค้าเสรีอาเซียนบวก +3 (FTA Asian +3) เป็นอย่างมาก 5.7 อาเซียน +6 ความร่วมมืออาเซียน +6 คือ อาเซียนมีการร่วมมือทางเศรษฐกิจกับภายนอกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อขายการเชื่อมโยงกับประเทศนอกอาเซียน (เพิ่มอีก 3 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ อินเดีย) ซึ่งจะส่งผลให้มีขนาดผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ประชากรมากเป็นครึ่งหนึ่งของโลก
(GDP) ใหญ่เป็น 1 ใน 4 ของโลก มีจานวน
18
แนวคิด “อาเซียน +6” เริ่มขึ้นครั้งแรกในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
(AEM-
ZMETI) และ AEM +3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 โดยญี่ปุ่นเสนอให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาควิชาการ (Track II) ของกลุ่มประเทศ East Asia Summit (EAS ประกอบด้วยอาเซียน จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย) ทาการศึกษาความเป็นไปได้ ในการจัดตั้ง Comprehensive Economic Partnership in East Asia (CEPEA) ซึ่งเป็น FTA ระหว่าง ประเทศอาเซียน +6 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) จากนั้นในการประชุม
East Asia Summit ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2550 ณ เมือง
เชบู ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ประชุมก็มีมติเห็นชอบให้ดาเนินการศึกษาเรื่องดังกล่าว โดยประเทศญี่ปุ่นได้จัด ประชุมร่วมกันระหว่างนักวิชาการ ซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละประเทศครั้งแรก ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 เพื่อศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการจัดทาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศอาเซียน +6 (CEPEA) ทั้งนี้ กลุ่มนักวิชาการได้ประชุมร่วมกันทั้งหมด 6 ครั้ง ระหว่างปี พ.ศ. 2550
– 2551 ก่อนจะได้ผล
สรุปว่า หากมีการจัดทาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศอาเซียน +6 (CEPEA) จะทาให้เกิดความสะดวก ในด้านการค้าและการลงทุน ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ พลังงาน สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อได้ข้อสรุปดังนี้ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญจึงมีมติให้ศึกษาความเป็นไปได้เกี่ยวกับการจัดทาความตกลง การค้าเสรีระหว่างประเทศอาเซียน +6 (CEPEA) ในระยะที่ 2 โดยเน้นเรื่องความร่วมมือ (Cooperation), การอานวยความสะดวก (Facilitation) และการเปิดเสรี (Liberalization) ที่จะช่วยสร้างความสามารถของ ประเทศสมาชิก เพื่อรองรับการเปิดเสรีภายใต้อาเซียน +6 (CEPE) 5.7.1 ประโยชน์ของการรวมกลุ่มอาเซียน +6 ในปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2552 พบว่า การจัดทาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศ อาเซียน +6 (CEPEA) จะทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศเอเชียตะวันออกเพิ่มขึ้น เฉลี่ย 2.11 %
หรือหากวัดเฉพาะประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศจะเพิ่มขึ้น
19
3.83% และเมื่อดูเฉพาะของประเทศไทยแล้วจะพบว่า ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศจะเพิ่มขึ้นถึง 4.78 % ในขณะที่ประเทศ +6 มีค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้น 2.6% นอกจากนี้ อาเซียน +6 จะช่วยปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศ ไทยสมาชิก ดังนี้ 1. ขยายอุปสงค์ภายในภูมิภาค (Domestic Demand Within the Region) 2. เพิ่มประสิทธิผลทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเน้นความชานาญในการผลิตสินค้าของแต่ ละประเทศ (Product Specialization) 3. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้มีการเชื่อมโยงกันระหว่างประเทศสมาชิก โดยเฉพาะ เรื่องโลจิสติกส์ ซึ่งการพัฒนาเหล่านี้จะนาไปสู่การลดช่องว่างของระดับการพัฒนาในแต่ละประเทศสมาชิก รวมถึงการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น นอกจานี้ CEPEA จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินธุรกรรมทางการค้าลง อันเนื่องมาจาก กฎระเบียบที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (Harmonized Market Rules) ดังจะเห็นได้ว่า หัวใจสาคัญที่ทาให้ เกิดการรวมกลุ่มกันเป็นอาเซียน +6 ก็คือ ผลประโยชน์ทางด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจรวมทั้งการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์เป็นหลัก ซึ่งแน่นอนว่า การรวมกลุ่มกันเช่นนี้จะช่วยให้ประเทศสมาชิกได้ประโยชน์มหาศาล อีกทั้งยังเป็นการยกระดับขีดความสามารถของแต่ละประเทศให้สูงขึ้น เพื่อแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้อีกด้วย
20
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
www.mfa.go.th
21
กิจกรรม 1. ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มจานวน 2 กลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความร่วมมือของอาเซียน อาเซียน +3 และ อาเซียน +6 2. ให้ผู้เรียนตอบคาถามเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การทาความร่วมมือในด้านต่างๆ ของอาเซียน 3. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข่าว/เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับอาเซียน
22
คาถามมีคาตอบ
อาเซียนเป็นพันธมิตรทางการทหารหรือไม่ การก่อตั้งอาเซียนในปี พ.ศ. 2510 ได้รับแรงกดดันจากการเมือง ระหว่างประเทศในภูมิภาค แต่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง พันธมิตรทางการทหารระหว่างกัน โดยเน้นประเด็น การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันเป็นหลัก ปัจจุบันความร่วมมืออาเซียนในกรอบการทหารเป็นไปใน ลักษณะของการหารือ เพื่อเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจเป็นหลัก โดยมีการ ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defense Ministerial Meeting; ASMM) เป็นกลไกสาคัญในการ กระชับความร่วมมือนี้ การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาเอเชีย-แปซิฟิก คืออะไร การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอานาจทางการเมืองในภูมิภาพภายหลังยุคสงครามเย็นทาให้อาเซียน สร้างกลไกการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum; ARE) เพื่อเป็นเวทีสาหรับการหารือเกี่ยวกับประเด็นการเมืองและความมั่นคงใน ภูมิภาคที่มีประเทศผู้สังเกตการณ์ ประเทศคู่เจรจาและหุ้นส่วนที่เป็นที่ปรึกษาร่วมอยู่ในกระบวนการ โดยมี วัตถุประสงค์หลักในการเสริมสร้างความไว้วางใจกันระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ทั้งนี้ ปัจจุบันมี สมาชิกในกระบวนการ 27 ประเทศ และกลุ่มประเทศ ได้แก่ อาเซียน 10 ประเทศ ออสเตรเลีย บังกลาเทศ แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลีเหลือ เกาหลีใต้ มองโกเลีย นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ปาปัวนิวกินี รัสเซีย ติมอร์เลสเต ศรีลังกา สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป
23
คาถามมีคาตอบ
สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สาคัญอย่างไร ผู้นาอาเซียนลงนามในสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation; TAC) หรือแท็ค เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 ซึ่งช่วยวางรากฐาน สาคัญสาหรับการดาเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในภูมิภาคคือ 1. เคารพในเอกราช การมีอานาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน ความมั่นคงทางดินแดนและ เอกลักษณ์แห่งชาติของทุกประเทศ 2. ปราศจากการแทรกแซงจากภายนอก การโค่นล้ม และการใช้กาลังโดยการบีบบังคับ 3. การไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน 4. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี 5. การยกเลิกการใช้การคุกคามและกองกาลัง 6. การมีความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพระหว่างวัน จะเห็นได้ว่าสนธิสัญญาฉบับนี้ กาหนดให้ประเทศภาคีร่วมมือกันเพื่อส่งเสริมสันติภาพในภูมิภาค ยิ่ง มั่นในหลักสันติวิธี ไม่มีการแทรกแซงกิจการภายใน หรือทาสิ่งใดที่คุกคามประเทศอื่น สันติสุขในภูมิภาคจะ นามาซึ่งความมั่นคงที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและความมั่งคั่งที่เป็นประโยชน์สาหรับประชาชนในภูมิภาค โดยรวม ในกรณีที่เกิดความขัดแย้งขึ้น สนธิสัญญามอบอานาจให้คณะมนตรีของสภาสูงพิจารณาหาข้อยุติผ่าน การเจรจา พร้อมกับเสนอแนะแนวทางหรือมาตรการที่เหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้สถานการณ์เลวร้ายลง ทั้งนี้ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2530 มีการแก้ไขสนธิสัญญาเพื่อเปิดทางให้ประเทศที่อยู่นอก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สามารถเข้าร่วมเป็นภาคีได้ ซึ่งช่วยเสริมสร้างโครงสร้างความมั่นคง และสันติภาพให้มี ความเข้มแข็งยิ่งขึ้น ทีม่ า : ข้อมูลจากกรมอาเซียน
24
แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ บทที่ 4 ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยเขียนเครื่องหมาย ทับตัวเลือกที่ต้องการ 1. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. มีการกาหนดเขตการค้าเสรีในอาเซียน ข. เศรษฐกิจหลักในอาเซียนคือ เกษตรกรรม ค. อาเซียนมุ่งเน้นพัฒนาเศรษฐกิจเพียงด้านเดียว ง. สมาชิกอาเซียนคือประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จ. อาเซียนมุ่งส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศ 2. AFTA เกี่ยวข้องกับข้อใด ก. เขตการค้าเสรี ข. เขตปกครองพิเศษ ค. เขตส่งเสริมการท่องเที่ยว ง. เขตพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ จ. เขตความมั่นคง 3. AFTA จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ใด ก. พ.ศ. 2535 ข. พ.ศ. 2536 ค. พ.ศ. 2537 ง. พ.ศ. 2541 จ. พ.ศ. 2542 4. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ในการร่วมกลุ่มของอาเซียน ก. เพื่อพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ ข. เพื่อร่วมกันต่อต้านการเข้ามาลงทุนของต่างชาติ ค. เพื่อส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัยทางการเมือง ง. เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศ จ. เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชากรอาเซียน
25
5. ข้อใดเป็นความสาคัญของไทยที่มีต่ออาเซียน ก. เป็นผู้นาในกลุ่มอาเซียน ข. เป็นหึ่งในประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน ค. เป็นที่ตั้งสานักงานใหญ่อาเซียน ง. เป็นตัวแทนติดต่อค้าขายกับตะวันตก จ. เป็นประเทศที่ดีต่อต้านการลงทุนกับชาติตะวันตก 6. ข้อใดไม่ใช่สิทธิพิเศษทางด้านการค้าที่ประเทศไทยได้รับจากการเป็นสมาชิกอาเซียน ก. เป็นประเทศที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ประเทศแรก ข. ด้านอุตสาหกรรม ไทยได้รับสิทธิ์ในการผลิตเกลือหิน โซดาแอช และตัวถังรถยนต์ ค. ด้านการธนาคาร จัดตั้งบรรษัทการเงินของอาเซียน ง. ด้านการเกษตร การสารองอาหารเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จ. การได้ลดหย่อนอัตราภาษีศุลกากร 7. The Asia-Pacific Declaration on Human Rights 1993 คือข้อใด ก. การประชุมระหว่างรัฐบาลเอเชีย ค.ศ. 1993 ข. ปฏิญญาสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชียแปซิฟิก ค.ศ. 1993 ค. การส่งเสริมการรับประกันสิทธิมนุษยชนในรัฐธรรมนูญแห่งชาติ ค.ศ. 1993 ง. สัตยาบันในสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนนานาชาติ ค.ศ. 1993 จ. องค์กรทางสังคม ค.ศ. 1993 8. เสาหลักในข้อใดของอาเซียนที่มีบทบาทด้านการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ก. เสาหลักที่ 1 ASEAN Security Community (ASC) ข. เสาหลักที่ 2 ASEAN Economic Community (AEC) ค. เสาหลักที่ 3 ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) ง. เสาหลักที่ 2 ASEAN Security Community (ASC) จ. เสาหลักที่ 2 ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC)
26
9. สถานการณ์วิกฤตทางเศรษฐกิจ หรือที่เรียกว่า “ต้มยากุ้งซีล” เกิดขึ้นเมื่อใด ก. ปี พ.ศ. 2510 ข. ปี พ.ศ. 2520 ค. ปี พ.ศ. 2530 ง. ปี พ.ศ. 2540 จ. ปี พ.ศ. 2550 10. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้อง ก. อาเซียน + 3 ร่วมกันระดมความคิดและแสวงหาวิธีการขยายความร่วมมือในด้านต่างๆ ข. อาเซียน + 3 เป็นการนาไปสู่การทาสงครามและการแข่งขันทางเศรษฐกิจที่มีความรุนแรง ค. อาเซียน + 6 จะช่วยขยายอุปสงค์ภายในภูมิภาค (Domestic Demand Within the Region) ง. อาเซียน + 6 ช่วยเพิ่มประสิทธิผลทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้านการผลิตสินค้า จ. อาเซียน + 6 ช่วยพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้มีการเชื่อมโยงกันระหว่างประเทศสมาชิก
27
ตอนที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธิบายบทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. 2. จงอธิบายบทบาทของอาเซียนต่อสมาชิกอื่นๆ ในภูมิภาคอาเซียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. 3. จงอธิบายบทบาทของอาเซียนในสังคมโลก ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. 4. จงอธิบายบทบาทด้านสิทธิมนุษยชนของอาเซียน ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. 5. จงอธิบายบทบาทในการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. 6. จงบอกวัตถุประสงค์ของกรอบความร่วมมืออาเซียน +3 ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................
28
7. “การประชุมสุดยอดอาเซียน +3” ซึ่งในการประชุมครั้งที่ 2 ได้มีการหารือกันถึงประเด็นใด ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. 8. จงอธิบายการสถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. 9. Non-Interference Doctrine คือ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. 10. อาเซียน +6 คือ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................
29
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง : อาเซียน +3 คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมชื่อกลุ่มประเทศนอกอาเซียนที่มีการร่วมมือทางเศรษฐกิจ (อาเซียน 3+) ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ..........................................................................................................................................................................
30
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง : อาเซียน +3 คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมชื่อกลุ่มประเทศนอกอาเซียนที่มีการร่วมมือทางเศรษฐกิจ (อาเซียน 3+) ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ..........................................................................................................................................................................
31
เฉลยแบบทดสอบ ข้อ
เฉลย
ข้อ 1
ค
ข้อ 2
ก
ข้อ 3
ก
ข้อ 4
ข
ข้อ 5
ง
ข้อ 6
ก
ข้อ 7
ข
ข้อ 8
ก
ข้อ 9
ง
ข้อ 10
ข
32
ตอนที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธิบายบทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย ประเทศไทยเป็นหนึ่งในห้าประเทศผู้ก่อตั้งสมาคมอาเซียนและได้มีบทบาทเข้มแข็งเสมอมาในการ ผลักดันให้สมาคมอาเซียนปรับเปลี่ยนโครงสร้างและการดาเนินการให้สอดคล้องกับเงื่อนไขและ สภาพการณ์ของความเป็นจริง และข้อเท็จจริงด้านเศรษฐกิจการเมืองที่ปรากฏทั้งระดับภูมิภาคและระดับ โลก 2. จงอธิบายบทบาทของอาเซียนต่อสมาชิกอื่นๆ ในภูมิภาคอาเซียน เสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจในหมู่ประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อให้เกิดการรวมเป็นตลาดเดียวกัน โดยการเริ่มก่อตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา เมื่อ พ.ศ. 2535 3. จงอธิบายบทบาทของอาเซียนในสังคมโลก อาเซียน เป็นเวทีที่ร่วมมือในการสร้างสันติภาพและความมั่นคงให้เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ หลังสงครามเย็นอาเซียนได้หันมาเน้นความร่วมมือทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม 4. จงอธิบายบทบาทด้านสิทธิมนุษยชนของอาเซียน สิทธิในด้านต่างๆ เช่น สิทธิในการพัฒนา สนับสนุนให้มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดารงชีพ โดยเน้น สิทธิในการมีชีวิต สิทธิในสันติภาพ สิทธิในประชาธิปไตยและสิทธิ 5. จงอธิบายบทบาทในการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การก่อการร้ายและภัยธรรมชาติที่รุนแรง เช่น การค้ามนุษย์ การค้ายาเสพติด และปัญหาโวรสลัด ควรสร้างความมั่นคงของเสาความมั่นคงในประชาคมอาเซียนต่อไป 6. จงบอกวัตถุประสงค์ของกรอบความร่วมมืออาเซียน +3 การรวมกลุ่มอาเซียน +3 เป็นการนาไปสู่การจัดตั้งประชาคมอาเซียนตะวันออก มี 6 ด้านเร่งผลักดัน คือ 1. ร่วมกันกาหนดกฎระเบียบในภูมิภาค 2. ตั้งเขตการค้าเสรี 3.ความร่วมมือทางการเงิน 4.ความ ร่วมมือและมิตรภาพเสี่ยงการสะสมอาวุธ 5. คมนาคมและการสื่อสาร 6. ด้านสิทธิมนุษยชน 7. “การประชุมสุดยอดอาเซียน +3” ซึ่งในการประชุมครั้งที่ 2 ได้มีการหารือกันถึงประเด็นใด 1.ความร่วมมือในการฟื้นฟูเศรษฐกิจในภูมิภาค 2.ความร่วมมือสู่ศตวรรษที่ 21 ในการรักษาส่งเสริมสันติภาพ ความมั่นคง ความมีเสถียรภาพ และ การพัฒนา
33
8. จงอธิบายการสถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป นับคู่เจรจาอย่างไม่เป็นทางการของอาเซียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 ตลอดเวลาที่ผ่านมาสองปีทั้งสองฝ่าย ร่วมมือกันในทุกด้าน มีการจัดประชุมเพื่อเป็นแนวทางการดาเนินความสัมพันธ์และความร่วมมือทั้งในด้น การเมือง เศรษฐกิจ ความมั่นคง สังคม และวัฒนธรรมในอนาคต 9. Non-Interference Doctrine คือ การไม่ยุ่งเกี่ยวการเมืองภายในของสมาธิด้วยกัน 10. อาเซียน +6 คือ อาเซียนมีการร่วมมือทางเศรษฐกิจกับภายนอกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายการเชื่อมโยงกับ ประเทศหรือกลุ่มประเทศนอกอาเซียน
34
เฉลยใบงาน
35
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง : อาเซียน +3 คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมชื่อกลุ่มประเทศนอกอาเซียนที่มีการร่วมมือทางเศรษฐกิจ (อาเซียน 3+)
จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย ถือเป็นผู้นาด้านเศรษฐกิจใน ทวีปเอเชีย มี
บทบาทสาคัญในเวทีโลก คือ 3 ประเทศ เข้ามาร่วมในกรอบความ
ร่วมมือของอาเซียนได้
36
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง : อาเซียน +3 คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมชื่อกลุ่มประเทศนอกอาเซียนที่มีการร่วมมือทางเศรษฐกิจ (อาเซียน 3+)
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย ส่งผลให้มีขนาดผลิตภัณฑ์ที่มวลรวมประชาชาติ (GDP) ใหญ่ เป็น 1 ใน 4 โลก มีจานวนประชากรมากเป็นครึ่งหนึ่งของโลก
37
บรรณานุกรม กรมประชาสัมพันธ์. ประเทศไทยกับอาเซียน. กรุงเทพฯ : สานักนายกรัฐมนตรี, 2554. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2553. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. แผนจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC). กรุงเทพฯ : กรมอาเซียน, 2552. กรมอาเซียน. สื่อวีดีทัศน์กรุงเทพฯ. กรมอาเซียน, 2556. กระทรวงการต่างประเทศ กรมอาเซียน. 20 อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี, 2530. คณาจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เมื่อกรุงเทพมหานครเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. สานัก ยุทธศาสตร์และประเมินผล, 2556. ชัยวัฒน์ สีแก้ว. รอบรู้อาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์หอสมุดกลาง 09, 2556. ประภัสสร์ เทพชาตรี, รศ.ดร. สู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2552.
38
รูปประกอบจากเว็บไซต์ http://asean4kids.blogspot.com http://image.baidu.co.th http://mekaje.wordpress.com http://siriporn1997.wordpress.com http://thai.cri.cn/ http://travel.mthai.com http://www.alro.go.th http://www.aseangreenhub.in.th/ http://www.hooninside.com/ http://www.manager.co.th http://www.mcot.net/ http://www.thaigov.go.th/ pirun.ku.ac.th th.wikipedia.org www.bic.moe.go.th www.fotolia.com www.kapook.com/campus.sanook.com/infographicland www.mfa.go.th www.muaypattaraporn.wordpress.com www.nesdb.go.th www.oknation.net
39