คานา แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา เล่มนี้เป็นสื่อการเรียนรู้ที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็น แนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด
Backward Design
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Child – Centered) ตามหลักการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มบทบาท ของครูมีหน้าที่อานวยความสะดวกให้นักเรียนประสบผลสาเร็จโดยสร้างสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งในห้องเรียน และนอกห้องเรียน ทาให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ได้ในเชิงบูรณาการด้วย วิธีการที่หลากหลาย เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปความรู้ด้วยตนเอง ทาให้นักเรียนได้รับ การพัฒนาทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี นาไปสู่การอยู่ ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา เล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้ครูนาไปใช้ในองค์การเรียนรู้ได้สะดวกยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการ วัดผลประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม และด้าน ทักษะ/กระบวนการ ทาให้ทราบผลการเรียนรู้ของนักเรียนได้ทันที
นางนิตยา วรวงษ์
สารบัญ หน้า 1. แผนการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน
1
2. แผนการเรียนรู้ที่ 2 ประชาคมอาเซียน
5
3. แผนการเรียนรู้ที่ 3 พัฒนาการของประชาคมอาเซียน
9
4. แผนการเรียนรู้ที่ 4 ประเทศไทยกับอาเซียน
13
5. แผนการเรียนรู้ที่ 5 บทบาทอาเซียน
17
6. แผนการเรียนรู้ที่ 6 ประเทศสมาชิกอาเซียน บรูไนดาวุสซาลาม
22
7. แผนการเรียนรู้ที่ 7 ประเทศสมาชิกอาเซียน กัมพูชา
26
8. แผนการเรียนรู้ที่ 8 ประเทศสมาชิกอาเซียน อินโดนีเซีย
30
9. แผนการเรียนรู้ที่ 9 ประเทศสมาชิกอาเซียน ลาว
34
10. แผนการเรียนรู้ที่ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน มาเลเซีย
38
11. แผนการเรียนรู้ที่ 11 ประเทศสมาชิกอาเซียน เมียนมาร์
42
12. แผนการเรียนรู้ที่ 12 ประเทศสมาชิกอาเซียน ฟิลิปปินส์
46
13. แผนการเรียนรู้ที่ 13 ประเทศสมาชิกอาเซียน สิงค์โปร์
50
14. แผนการเรียนรู้ที่ 14 ประเทศสมาชิกอาเซียน ไทย
54
15. แผนการเรียนรู้ที่ 15 ประเทศสมาชิกอาเซียน เวียดนาม
58
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานอาเซียน
เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งมี 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ในเวลา ต่อมาได้มีประเทศต่างๆ เข้าเป็นสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม เวียดนาม ลาว เมียน์มา และ กัมพูชา ซึ่งปัจจุบันอาเซียนมีสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานอาเซียนในเรื่องประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน สมาชิกอาเซียน การบริหารและขั้นตอนการดาเนินงานของอาเซียน อัตลักษณ์และสัญลักษณ์อาเซียน ปฏิญญาอาเซียน วิสัยทัศน์อาเซียน และกฎบัตรอาเซียน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และสมาชิกอาเซียนได้ (K) 2. เห็นความสาคัญของประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และสมาชิกอาเซียน (A) 3. สืบค้น วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และสมาชิกอาเซียนได้ (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ทดสอบก่อนเรียน 2.ซักถามความรู้เรื่องความ เป็นมาของอาเซียนและสมาชิก อาเซียน
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านความรู้ (K)
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 3.ตรวจผลงาน/กิจกรรม เป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
5. สาระการเรียนรู้ 1. ประวัติความเป็นมาของอาเซียน 2. การก่อตั้งอาเซียน 3. สมาชิกอาเซียน 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และสมาชิกอาเซียน
ศิลปะ
ออกแบบและตกแต่งเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และสมาชิกอาเซียนเพื่อจัดป้ายนิเทศ
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้ง อาเซียน และสมาชิกอาเซียน
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
3. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยแจกแบบทดสอบให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียน ทาแบบทดสอบ โดยเขียนเครื่องหมาย ทับตัวอักษร (ก-ง) หน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว จากนั้นตรวจให้คะแนน แต่ยังไม่ต้องเฉลยคาตอบ 4. ครูให้นักเรียนดูวีดีทัศน์เรื่อง กาเนิดอาเซียน : The Birth of ASEAN แล้วซักถามนักเรียนใน ประเด็นต่างๆ เช่น 1) วีดีทัศน์ที่ดูเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร 2) นักเรียนได้ความรู้อะไรบ้าง 5. ครูสรุปความรู้แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม กลุ่มละ 4-6 คน มอบหมายให้แต่ละกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และสมาชิกอาเซียน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. และจากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น เอกสาร อินเทอร์เน็ต ตาม หัวข้อต่อไปนี้ 1) ประวัติความเป็นมาของอาเซียน 2) การก่อตั้งอาเซียน 3) สมาชิกอาเซียน 7. หลังจากได้ข้อมูลเพียงพอแล้ว ครูให้แต่ละกลุ่มอภิปราย บันทึกผล พร้อมทั้งเตรียมตัวนาเสนอผล การอภิปราย 8. แต่ละกลุ่มสรุปผลการอภิปรายในรูปแบบต่างๆ เช่น Mind Mapping PowerPoint แผ่นใส แผ่นพับ ใบความรู้ แล้วส่งตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานที่กลุ่มของตนดาเนินการ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้เพื่อน กลุ่มอื่นๆ ซักถามข้อสงสัยและวิจารณ์ผลงาน 9. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 10. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารรายงานผลการอภิปรายเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของ อาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และสมาชิกอาเซียนของทุกกลุ่มไว้ศึกษาในชั้นเรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 11. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้ง อาเซียน และสมาชิกอาเซียน พร้อมคาแปล เช่น Association of Southeast Asian Nations (สมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
The
ASEAN Declaration
(ปฏิญญาอาเซียน) Bangkok
Declaration (ปฏิญญากรุงเทพฯ) Brunei Darussalam (บรูไนดารุสซาลาม) Cambodia (กัมพูชา) Indonesia (อินโดนีเซีย) Laos (ลาว) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน 12. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และ สมาชิกอาเซียน และช่วยกันเฉลยคาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 13. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง ประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และสมาชิก อาเซียน ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 14. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และ สมาชิกอาเซียน โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปในแบบบันทึกความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโน ทัศน์ลงในสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ครูให้นักเรียนสืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้ง อาเซียน และสมาชิกอาเซียน แล้วนาความรู้ที่ได้มาร่วมกันจัดป้ายนิเทศ 2. ครูให้นักเรียนทาแผ่นพับเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียน และสมาชิก อาเซียนเพื่อเผยแพร่ความรู้ 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. วีดีทัศน์เรื่อง กาเนิดอาเซียน
: The Birth of ASEAN ของกรมอาเซียน กระทรวงการ
ต่างประเทศ (แหล่งที่มา :
http://www.mfa.go.th/asean/asean_web/showmovie.php?movname=ASEAN_1-
1.wmv) 3. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 4. แบบบันทึกความรู้ 5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ประชาคมอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ประชาคมอาเซียน
เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประชาคมอาเซียนถือกาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการจากที่ผู้นาอาเซียนได้มีการลงนามในปฏิญญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord) เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 ซึ่งปัจจัยที่ผลักดันให้ผู้นาอาเซียนจัดตั้งประชาคมอาเซียน
คือ สภาพแวดล้อมทั้งในด้านการเมือง
เศรษฐกิจและสังคมและระหว่างประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้อาเซียนต้องเผชิญกับปัญหา เช่น อาชญากรรมข้ามชาติ ภัยพิบัติ สิ่งแวดล้อม ภาวะโรคร้อน โรคระบาด และความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ ไม่สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจกับประเทศอื่นๆ ได้ 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานอาเซียนในเรื่องการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและเสาหลักประชาคม อาเซียน รวมทั้งวิเคราะห์บทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน และนาไปใช้ในเมื่อเข้าสู่ประชาคม อาเซียน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายและวิเคราะห์ภาพรวมการจัดตั้งประชาคมอาเซียนได้ถูกต้อง (K , P) 2. เห็นความสาคัญการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนได้ (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ทดสอบก่อนเรียน 2.ซักถามความรู้เรื่องการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
3.ตรวจผลงาน/กิจกรรม เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
5. สาระการเรียนรู้ การจัดตั้งประชาคมอาเซียน - แนวทางในการสร้างความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนจากอินเทอร์เน็ต
ศิลปะ
จัดป้ายนิเทศเรื่องการจัดตั้งประชาคมอาเซียน พร้อมทั้งตกแต่งให้ สวยงาม
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้
2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยแจกแบบทดสอบให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียน ทาแบบทดสอบ โดยเขียนเครื่องหมาย ทับตัวอักษร (ก-ง) หน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว จากนั้นตรวจให้คะแนน แต่ยังไม่ต้องเฉลยคาตอบ 4. ครูเขียนคาศัพท์ภาษอังกฤษว่า “community” แล้วซักถามนักเรียนว่าคาศัพท์คานี้มีความหมาย ว่าอย่างไร นักเรียนช่วยกันตอบ ครูเฉลยความหมายแล้วอธิบายเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 5. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการจัดตั้งประชาคมอาเซียน 6. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม กลุ่มละ 4-6 คน มอบหมายให้แต่ละกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดตั้งประชาคมอาเซียน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. และจากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น เอกสาร อินเทอร์เน็ต 7. ครูให้แต่ละกลุ่มนาข้อมูลที่ได้มาอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม จากนั้นสรุปผลการอภิปรายในรูปแบบ ต่างๆ เช่น Mind Mapping PowerPoint แผ่นใส แผ่นพับ ใบความรู้ แล้วส่งตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานที่ กลุ่มของตนดาเนินการพร้อมทั้งเปิดโอกาสให้เพื่อนกลุ่มอื่นๆ ซักถามข้อสงสัย และวิจารณ์ผลงาน 8. ในขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 9. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารการรายงานผลการสืบค้นข้อมูลเรื่อง การจัดตั้งประชาคม อาเซียน ของทุกกลุ่มไว้ศึกษาในชั้นเรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 10. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนพร้อมคาแปล เช่น declaration (คาประกาศ , ปฏิญาณ) concord (ความร่วมมือ) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน 11. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและช่วยกันเฉลยคาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 12. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง การจัดตั้งประชาคมอาเซียน ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนใน ครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 13. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การจัดตั้งประชาคมอาเซียน โดยให้นักเรียนบันทึก ข้อสรุปลงในแบบบันทึกความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงในสมุด พร้อมตกแต่งให้ สวยงาม
8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ครูให้นักเรียนจัดทารายงานเกี่ยวกับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนหรือร่วมกันจัดป้ายนิเทศหน้าชั้น เรียน 2. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเรื่อง การดาเนินงานและแนวทางในการสร้างความรู้เพื่อเตรียมความ พร้อมสู่ประชาคม แล้วจัดทาเป็นแผ่นพับตกแต่งให้สวยงาม 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 3. แบบบันทึกความรู้ 4. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 พัฒนาการของประชาคมอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประชาคมอาเซียน
เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ การรวมกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและระหว่าง ภูมิภาคให้สูงขึ้น โดยมีบทบาทต่อทั้งประเทศไทยและต่อประเทศสมาชิกอื่น สาหรับบทบาทต่อประเทศไทย ได้แก่ ทาให้การค้าของไทยกับต่างประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็ว มูลค่าการส่งออกของไทยสูงขึ้น ทาให้ไทยต้อง ปรับโครงสร้างอัตราภาษีศุลกากรให้สอดคล้องกับนโยบายของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน ผู้บริโภคได้บริโภคสินค้า ในราคาที่ถูกลง และการลงทุนในไทยเพิ่มขึ้น ส่วนบทบาทต่อประเทศสมาชิกอื่นๆ ได้แก่ ช่วยให้การค้าการ ลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียนขยายตัวสูงขึ้น ลดการพึ่งพาตลาดในประเทศที่ 3 สร้างอานาจต่อรองของ อาเซียนในเวทีโลก ยกระดับความเป็นอยู่และเพิ่มสวัสดิการแก่ผู้บริโภคในประเทศสมาชิก พัฒนาขีด ความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน และช่วยให้ใช้ทรัพยากรต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนกับความสัมพันธ์ภายนอกอาเซียนในเรื่องการรวมกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน และความสัมพันธ์ภายนอกของอาเซียน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนได้ (K) 2. เห็นคุณค่าในบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนที่มีต่อประเทศไทยและประเทศสมาชิก (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนที่มีต่อประเทศ ไทยและประเทศสมาชิกได้ (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่อง บทบาท
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
5. สาระการเรียนรู้ บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน 1) บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนต่อประเทศไทย 2) บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนต่อประเทศสมาชิกอาเซียน 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด
อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจ
อาเซียน การงานอาชีพฯ ศิลปะ
สืบค้นข้อมูลเรื่อง บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน จากอินเทอร์เน็ต จัดทาแผนที่ความคิดเรื่อง บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนพร้อม ตกแต่งให้สวยงาม
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสต ทัศนศึกษา สนามหญ้า ใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูอ่านข่าวเกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน เช่น ข่าวเกี่ยวกับเขตการค้าเสรีอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ให้นักเรียนฟัง แล้วซักถามนักเรียนให้ประเด็นต่อไปนี้ 1) ข่าวนี้เกี่ยวกับอะไร 2) นักเรียนคิดว่าการดาเนินการตามข่าวที่นาเสนอมานี้ประเทศไทยได้รับประโยชน์อย่างไรบ้าง 3) หากไม่มีการดาเนินการเช่น ในข่าวนี้จะส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร 4. ครูสรุปความรู้แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 5. ครูอธิบายเรื่อง บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน ให้นักเรียนฟัง 6. เมื่ออธิบายจบแล้ว ครูสนทนาซักถามความรู้กับนักเรียนในเรื่องที่ครูอธิบาย 7. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม กลุ่มละ 4-6 คน มอบหมายให้แต่กลุ่มศึกษา รายละเอียดเกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนจากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. และจากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น เอกสาร อินเทอร์เน็ต 8. ครูให้นักเรียนเล่นเกมมุมสนทนา โดยให้แต่ละกลุ่มไปนั่งตามมุมต่างๆ ของห้องเรียนแล้วช่วยกัน คิดคาตอบจากคาถามของครู เช่น 1) บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนต่อประเทศไทยมีอะไรบ้าง 2) บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนต่อประเทศสมาชิกอาเซียนมีอะไรบ้าง 3) บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนที่มีต่อประเทศไทยและประเทศสมาชิกอื่นๆ มีความ เหมาะสมกับสภาพสังคมในปัจจุบันหรือไม่ อย่างไร ให้แต่ละกลุ่มเขียนคาตอบลงในแบบบันทึกคาถาม – คาตอบ เรื่อง บทบาทของกลุ่ม เศรษฐกิจอาเซียน เมื่อเขียนคาตอบเสร็จแล้ว ให้ส่งตัวแทนนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน แล้วรวบรวมส่งครู 9. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
10. ครูเฉลยคาตอบให้นักเรียนฟัง โดยกลุ่มที่ตอบถูก 1 ข้อ จะได้ 1 คะแนน 11. ครูสรุปคะแนนที่แต่ละกลุ่มได้รับลงบนกระดานดา จากนั้นกล่าวชมเชยกลุ่มที่ได้คะแนนมากที่สุด 12. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมแบบบันทึกคาถาม – คาตอบของทุกกลุ่มไว้ศึกษาในชั้นเรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 13. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียนพร้อม ทั้งคาแปล เช่น Economy of scale (การประหยัดต่อขนาด) division of labor (การแบ่งงานกันทา) specialization (การพัฒนาความชานาญในการผลิต) นามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน จัดทาเป็นบัตรคาแล้ว ติดเป็นป้ายนิเทศ 14. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน และช่วยกันเฉลยคาตอบ ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 15. ครูให้นักเรียนนาประโยชน์จากการเรียนเรื่อง บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน ขั้นที่ 5 สรุป 16. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน โดยให้นักเรียนบันทึก ข้อสรุปลงในแบบบันทึกความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงในสมุด พร้อมตกแต่งให้ สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน นาข้อมูลมาอภิปราย ร่วมกัน สรุปผล จัดทาเป็นแผนที่ความคิด พร้อมทั้งตกแต่งให้สวยงาม แล้วนาไปติดเป็นป้ายนิเทศ 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. ข่าวเกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน 2. แบบบันทึกคาถาม – คาตอบ เรื่อง บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน 3. แบบบันทึกความรู้ 4. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ประเทศไทยกับอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประชาคมอาเซียน
เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ไทยมีบทบาทสาคัญในอาเซียน คือ ไทยเป็น 1 ในประเทศสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียน และไทยได้ดารง ตาแหน่งประธานอาเซียนในช่วงระยะที่มีการลงนามในกฎบัตรอาเซียนซึ่งทาให้ต้องมีการปรับโครงสร้างของ อาเซียนเพื่อวางรากฐานการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน การดาเนินงานมีความคืบหน้าเรื่อยมาจากการหารือ ในการประชุมสุดยอดอาเซียนแต่ละครั้ง และครั้งล่าสุด คือ ครั้งที่ 19 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในเรื่องการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและเสาหลักประชาคม อาเซียน รวมทั้งวิเคราะห์บทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน และนาไปใช้ในเมื่อเข้าสู่ประชาคม อาเซียน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายและวิเคราะห์บทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนได้ถูกต้อง (K) 2. เห็นความสาคัญของบทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ทดสอบก่อนเรียน
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
2.ซักถามความรู้เรื่องบทบาท ของไทยในการจัดตั้งประชาคม อาเซียน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
3.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
5. สาระการเรียนรู้ บทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน 1) ภูมิหลังบทบาทไทยในอาเซียน 2) ไทยกับการเป็นประธานอาเซียน 3) การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 14 - 19 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด
อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทของไทยในการจัดตั้ง
ประชาคมอาเซียน การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลเรื่อง บทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนจาก อินเทอร์เน็ต จัดทาป้ายนิเทศเรื่อง การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14-19 และ
ศิลปะ
ตกแต่งให้สวยงาม ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับบทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสต ทัศนศึกษา สนามหญ้า ใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูให้นักเรียนดูภาพการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งใดครั้งหนึ่ง แล้วซักถามนักเรียนในประเด็น ต่างๆ เช่น 1) เป็นภาพอะไร 2) กิจกรรมในภาพเกี่ยวข้องกับไทยหรือไม่ อย่างไร 3) ถ้าเกี่ยวข้องกับไทย ไทยมีบทบาทอย่างไรในกิจกรรมนั้น 4. นักเรียนช่วยกันตอบ ครูสรุปคาตอบและเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 5. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับบทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน 6. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน และ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน จากหนังสือเรียนรายวิชา เพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. และจากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น เอกสาร อินเทอร์เน็ต ตามประเด็น ที่กาหนด ดังนี้ 1) ไทยมีบทบาทในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนอย่างไร 2) การเป็นประธานอาเซียนของไทยมีความสาคัญต่อประชาคมอาเซียนอย่างไรบ้าง 3) ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศสมาชิกอาเซียนหรือไม่ อย่างไร 7. ครูให้นักเรียนบันทึกผลการสืบค้นข้อมูลแล้วเขียนสรุปเป็นบทความสั้น ๆ ไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4 ส่งครุ 8. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม โดยการจับสลากหมายเลข 1-6 นักเรียนที่จับสลาก หมายเลขเดียวกันอยู่กลุ่มเดียวกัน มอบหมายให้แต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลด้านเนื้อหา คาศัพท์ภาษาอังกฤษและ ผลสรุปการประชุมสุดยอดอาเซียน ตามหัวข้อที่กาหนดให้ กลุ่มที่ 1 การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 14 กลุ่มที่ 2 การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 กลุ่มที่ 3 การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 16 กลุ่มที่ 4 การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 17 กลุ่มที่ 5 การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 18 กลุ่มที่ 6 การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม รวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้ จัดทาและตกแต่งเป็นแผ่นพับ 2 ภาษา (ไทย-อังกฤษ) ให้ความรู้แลกเปลี่ยนกันในชั้นเรียน 9. ในขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 10. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับบทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคม อาเซียนพร้อมคาแปล เช่น summit (การประชุมสุดยอดผู้นา) chairman (ประธาน) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน
11. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับบทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน และช่วยกัน เฉลยคาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 12. ครูแนะนาให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการเรียนเรื่อง บทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคม อาเซียน ไปเผยแพร่ให้แก่บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 13. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง บทบาทของไทยในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนโดยให้ นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึกความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงในสมุดพร้อม ตกแต่งให้สวยงาม 14. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน โดยจากแบบทดสอบให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียน ทาแบบทดสอบ โดยเขียนเครื่องหมาย ทับตัวอักษร (ก-ง) หน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว จากนั้นตรวจให้คะแนน พร้อมเฉลยคาตอบของแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ ของนักเรียน 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-6 คน แต่ละกลุ่มหาภาพข่าวการประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียนครั้งที่ 14-19 แล้วจัดทาเป็นป้ายนิเทศ 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 14-19 2. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 3. แบบบันทึกความรู้ 4. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 บทบาทของอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 บทบาทของอาเซียน
เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ นอกจากความสัมพันธ์ภายในกลุ่มสมาชิกแล้ว อาเซียนยังให้ความสาคัญกับภายนอกกลุ่ม โดยมีความ ร่วมมือกันในรูปแบบต่างๆ เช่น อาเซียน +3 ความร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ความสัมพันธ์อันดีระหว่างอาเซียนกับองค์การระหว่างประเทศหรือประเทศที่อยู่นอกกลุ่มสมาชิกจะช่วยสร้าง เสริมความเข้มแข็งให้แก่อาเซียนรวมทั้งประเทศและองค์การระหว่างประเทศเหล่านั้น 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนกับความสัมพันธ์ภายนอกอาเซียนในเรื่องการรวมกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน บทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน และความสัมพันธ์ภายนอกของอาเซียน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับอาเซียน +3 , อาเซียน +6 และความร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชีย ตะวันออกได้ (K) 2. เห็นคุณค่าและประโยชน์ของอาเซียน+3, อาเซียน +6 และความร่วมมือในเวทีการประชุมสุด ยอดเอเชียตะวันออก (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทของอาเซียน+3 และความร่วมมือในเวทีการ ประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกได้ (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่อง อาเซียน
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
+3 , อาเซียน +6 และความ
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ร่วมมือในเวทีการประชุมสุด
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
ยอดเอเชียตะวันออก
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
5. สาระการเรียนรู้ 1. อาเซียน+3 , อาเซียน +6 2. ความร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียน +3 และความร่วมมือ ในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก
การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียน+3 ,อาเซียน+6 และความร่วมมือในเวที การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก จากอินเทอร์เน็ต ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับอาเซียน+3 , อาเซียน+6 และความร่วมมือในเวที การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสต ทัศนศึกษา สนามหญ้า ใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูให้นักเรียนดูภาพการประชุมสุดยอดอาเซียน+3 , อาเซียน +6 หรือการประชุมสุดยอดเอเชีย ตะวันออกแล้วซักถามนักเรียนในประเด็นต่อไปนี้ 1) เป็นภาพเกี่ยวกับอะไร 2) เกี่ยวข้องกับประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร 3) ประโยชน์ของกิจกรรมตามภาพนี้คืออะไร 4. ครูสรุปความรู้แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 5. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม กลุ่มละ 4 คน โดยแต่ละกลุ่มกาหนด หมายเลขประจาตัวของสมาชิกในกลุ่มแต่ละคนเป็น 1,2,3 และ 4 6. ครูมอบหมายให้สมาชิกของแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอาเซียน +3 , อาเซียน +6 และ ความร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.46 ของ วพ. และจากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น เอกสาร อินเทอร์เน็ต ตามประเด็นที่กาหนด คนละ 1 ประเด็น ดังนี้ 1) อาเซียน+3 คืออะไร 2) อาเซียน +6 คืออะไร 3) อาเซียน +3 ให้ประโยชน์แก่อาเซียนอย่างไร 4) ความร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกให้ประโยชน์แก่อาเซียนอย่างไร 7. ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มจับกลุ่มกันเล่าเรื่องราวหรือประเด็นที่ตนศึกษา โดยผลัดกันเล่าตามลาดับ ดังนี้ 1) สมาชิกหมายเลข 1 จับคู่หมายเลข 2 และหมายเลข 3 จับคู่กับหมายเลข 4 โดยให้หมายเลข 1 และ 3 เป็นผู้เล่า หมายเลข 2 และ 4 เป็นผู้ฟัง
2) เปลี่ยนผู้เล่าและผู้ฟัง โดยให้สมาชิกหมายเลข 2 และ 4 เป็นผู้เล่า หมายเลข 1และ3 เป็น ผู้ฟัง 8. เมื่อสมาชิกของแต่ละกลุ่มผลัดกันเล่าจบแล้ว ครูซักถามปัญหาตามประเด็นที่ศึกษา และสุ่ม หมายเลขประจาตัวของสมาชิกภายในกลุ่มเป็นผู้ตอบ 9. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานของนักเรียนตามแบบ ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 10. ครูกล่าวคาชมเชยนักเรียน แล้วอธิบายเพิ่มเติมในส่วนที่นักเรียนยังไม่เข้าใจ 11. ครูและนักเรียนสรุปคาตอบที่ได้จากการศึกษาเรื่อง อาเซียน +3 , อาเซียน +6 และความร่วมมือ ในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก โดยหนักเรียนบันทึกลงในแบบบันทึกผลการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเซียน +3 , อาเซียน +6 และความร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก 12. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมแบบบันทึกผลการศึกษาค้นคว้าไว้ศึกษาในชั้นเรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 13. ครูให้นักเรียนรวบรวมคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับอาเซียน +3 , อาเซียน +6 และความ ร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เช่น East Asia Vision Group – EAVG (กลุ่มวิสัยทัศน์ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก) East Asian Community-EAc (ประชาคมเอเชียตะวันออก) East Asia SummitEAS (การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก) นามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน แล้วบันทึกลงในสมุด 14. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับอาเซียน+3 , อาเซียน +6 และความร่วมมือในเวทีการ ประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก และช่วยกันเฉลยคาตอบ ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 15. ครูแนะนาให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาเรื่อง อาเซียน+3 , อาเซียน +6 และความ ร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คน ในชุมชนได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 16. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง อาเซียน +3 , อาเซียน +6 และความร่วมมือในเวทีการ ประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึกความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงในสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ครูให้นักเรียนติดตามข่าวเกี่ยวกับอาเซียน+3 , อาเซียน +6 และความร่วมมือในเวทีการประชุม สุดยอดเอเชียตะวันออก บันทึกผล แล้วนามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในชั้นเรียน
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-5 คน แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับอาเซียน+3 , อาเซียน +6 และความร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก แล้วส่งตัวแทนนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน จากนั้นร่วมกันสรุปสาระสาคัญ แล้วบันทึกผล 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบบันทึกผลการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเซียน+3 , อาเซียน +6 และความร่วมมือในเวทีการ ประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก 2. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 3. แบบบันทึกความรู้ 4. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 บรูไนดารุสซาลาม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศบูรไนดารุสซาลาม มีเมืองหลวงชื่อ บันดาร์เสรีเบกาวัน ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว มีทรัพยากร น้ามันและก๊าซธรรมชาติมาก เคยตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษก่อนที่จะได้รับเอกราชในภายหลัง ปกครองด้วย ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มีปัญหาทางการเมืองและสิทธิมนุษย์ชนน้อยมาก ใช้สกุลเงินดอลลาร์บรูไน มี น้ามันและก๊าซธรรมชาติเป็นปัจจัยการผลิตที่สาคัญ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลย์และนับถือศาสนา อิสลาม 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทสบรูไนดารุสซาลาม และ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศบรูไนดารุสซาลามได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ทดสอบก่อนเรียน 2.ซักถามความรู้เรื่องบรูไนดา รุสซาลาม
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
3.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
5. สาระการเรียนรู้ บรูไนดารุสซาลาม 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศบรูไนดารุสซาลาม
ศิลปะ
เขียนและออกแบบตกแต่งแผนที่ความคิดเกี่ยวกับประเทศบรูไนดารุสซา ลาม
การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ
สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศบรูไนดารุสซาลามจาก อินเทอร์เน็ต ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศบรูไนดารุสซาลาม
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยแจกแบบทดสอบให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียน ทาแบบทดสอบ โดยเขียนเครื่องหมาย ทับตัวอักษร (ก-ง) หน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว จากนั้นตรวจให้คะแนน แต่ยังไม่ต้องเฉลยคาตอบ 4. ครูให้นักเรียนดูภาพเกี่ยวกับการเสด็จเยือนประเทศไทยของสมเด็จพระราชาธิบดี ฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาละห์ พร้อมซักถามนักเรียนในประเด็นต่อไป 1) องค์พระประมุขในภาพนี้คืออะไร 2) องค์พระประมุขในภาพนี้ทรงเป็นประมุขของประเทศอะไรในอาเซียน 5. ครูกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถามและเฉลยคาตอบแล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นข่าวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทสบรูไนดารุสซาลามกับ ประเทศไทยจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร จากนั้นครูให้นักเรียนนาข่าวสารที่ได้มา วิเคราะห์และสรุป แล้วนามาอภิปรายร่วมกัน 7. ครูให้นักเรียนสรุปผลการอภิปรายเป็นแผนที่ความคิด ครูช่วยสรุปและเพิ่มเติมให้ถูกต้องสมบูรณ์ จากนั้นครูตั้งประเด็นคาถามว่า “นักเรียนคิดว่าสภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรมของประเทศบรูไนดารุสซาลามมีความเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศกับประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร” ให้นักเรียนศึกษารายละเอียดจากหนังสือเรียน รายวิชา เพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของวพ. 8. ครูให้เวลาในการศึกษารายละเอียดแก่นักเรียน 15 นาที จากนั้นให้ร่วมกันวิเคราะห์และสรุปแล้ว เติมข้อมูลลงในแผนที่ความคิด ครูสรุปและเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ แล้วให้นักเรียนบันทึกแผนที่ความคิดลงสมุด 9. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 10. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศบรูไนดารุสซาลาม ไว้ศึกษาในชั้นเรียน
ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 11. ครูให้นักเรียนฝึกสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และสรุปความรู้เกี่วกับประเทศบรูไนดารุสซาลามและ ช่วยกันประเมินผล 12. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศบรูไนดารุสซาลามพร้อมคาแปล เช่น Brunei Darussalam (บรูไนดารุสซาลาม) concern (ความสัมพันธ์) Absolute
Monarchy
(สมบูรณาญาสิทธิราชย์) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน 13. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศบรูไนดารุสซาลามกับประเทศ ไทยและช่วยกันเฉลยคาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 14. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง บรูไนดารุสซาลาม ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 15. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง บรูไนดารุสซาลาม โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงใน แบบบันทึกความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนช่วยกันทาแผนที่ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ซึ่งในแผนที่ต้องมีรายละเอียดของ ตาแหน่งที่ตั้งของเมือง เส้นทางคมนาคม และสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญ ออกแบบและตกแต่งให้สวยงามแล้ว นาไปติดบนป้ายนิเทศ หน้าชั้นเรียน หรือสถานที่ที่ครูกาหนด 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ภาพการเสด็จเยือนประเทศไทยของสมเด็จพระราชาธิบดี ฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาละห์ 3. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 4. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 5. แบบบันทึกความรู้
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กัมพูชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศกัมพูชา มีเมืองหลวงชื่อ พนมเปญ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีน มีทะเลสาบ เขมร ทะเลสาบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศมี ทรัพยากรป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์มาก ในอดีตเคยเป็นอาณาจักรเขมรที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากในคาบสมุทรอิน โดจีน ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีความมั่นคงทางการเมืองสูงภายใต้การปกครองของพรรคประชาชน กัมพูชา ใช้สกุลเงินเรียล ประชากรส่วนใหญ่ยังประกอบอาชีพทางการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นชาวเขมรและนับ ถือพระพุทธศาสนา แต่ประเพณีและวัฒนธรรมได้รับอิทธิพลมากจากศาสนาพราหมณ์ 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทศกัมพูชา และความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศกัมพูชาได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่องกัมพูชา 2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู้ กัมพูชา 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา
การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศกัมพูชาจากอินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูเล่าขาวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกัมพูชากับประเทศไทย เช่น กรณีปราสาทเขา พระวิหาร ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูชี้แนะให้นักเรียนเห็นว่า “ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชาเกิด จากความไม่เข้าใจถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมา ของกันและกัน” แล้วแนะนาให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประเทศกัมพูชาจากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. และจากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ เอกสาร 5. ครูให้เวลานักเรียนในการศึกษาข้อมูล 20 นาที จากนั้นให้นักเรียนนาข้อมูลที่ได้มาแลกเปลี่ยน เรียนรู้กันในชั้นเรียน แล้วช่วยกันเขียนสรุปความรู้ที่ได้เป็นแผนที่ความคิดลงบนกระดาน 6. ครูร่วมสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหาให้ถูกต้อง แล้วครูกระตุ้นให้นักเรียนสังเกตว่าข้อมูลใดบ้างที่ เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของประเทศไทยกับประเทศกัมพูชากรณีปราสาทเขาพระวิหารและเรื่องอื่นๆ ให้ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น ครูช่วยสรุปเนื้อหาและบันทึกเพิ่มเติมลงในแผนที่ความคิด นักเรียนบันทึกแผนที่ ความคิดลงในสมุด 7. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 8. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศกัมพูชาไว้ศึกษาใน ชั้นเรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 9. ครูให้นักเรียนฝึกสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และสรุปความรู้เกี่ยวกับประเทศกัมพูชา และช่วยกัน ประเมินผล 10. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศกัมพูชาพร้อมคาแปล เช่น Cambodia (กัมพูชา) boundary (เขตแดน) Temple of Preah Vihear (ปราสาทเขาพระวิหาร) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน
11. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกัมพูชากับประเทศไทยและ ช่วยกันเฉลยคาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 12. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง กัมพูชา ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 13. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง กัมพูชา โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึก ความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนศึกษาศิลปะและวัฒนธรรมเขมรเพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ วิเคราะห์ และสรุป แล้วจัดทาเป็นรายงานส่งครู 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพหรือข่าวเกี่ยวกับกรณีปราสาทเขาพระวิหาร 2. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 3. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 4. แบบบันทึกความรู้ 5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 อินโดนีเซีย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 1 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศอินโดนีเซีย มีเมืองหลวงชื่อ จาการ์ตา เป็นหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนใหญ่เป็นเกาะภูเขาไฟและที่ราบสูง ปกครองด้วยระบบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มี เสถียรภาพทางการเมืองสูงขึ้นหลังจากมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนแรก ใช้สกุลเงินรูเปียห์ระบบเศรษฐกิจมี ความเจริญก้าวหน้ามาก แต่ประชากรส่วนใหญ่ยังประกอบอาชีพทางการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นชาวชวาและนับ ถือศาสนาอิสลาม 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทศอินโดนีเซีย และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่องอินโดนีเซีย ประเมินพฤติกรรมในการ 2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู้ อินโดนีเซีย 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซีย
ศิลปะ
ออกแบบและตกแต่งป้ายนิเทศและแผ่นพับเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซีย สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียจากอินเทอร์เน็ต
การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซีย
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูสนทนาซักถามนักเรียนในประเด็นคาถามเกี่ยวกับปัญหาการก่อการร้ายและความร่วมมือ ระหว่างประเทศไทยกับประเทศอินโดนีเซียในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ครูสรุปความรู้แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตามความเหมาะสม มอบหมายให้แต่ละกลุ่มศึกษา รายละเอียดเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียจากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. และ จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร ตามหัวข้อต่อไปนี้ 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) ประวัติความเป็นมา 3) สภาพทางภูมิศาสตร์ 4) ระบบการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ 5) สังคมและวัฒนธรรม 6) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 5. ครูให้แต่ละกลุ่มนาภาพและข้อมูลที่ได้มาสรุปให้ตรงกับประเด็นคาถามข้างต้น แล้วนาเสนอ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา โดยครูกาหนดให้ กลุ่มที่ 1 นาเสนอด้วยการจัดป้ายนิเทศ กลุ่มที่ 2 นาเสนอด้วยการทาแผ่นพับ แต่ละกลุ่มต้องออกแบบวิธีการนาเสนอและตกแต่งป้ายนิเทศและทาแผ่นพับของกลุ่มตนเองให้มี ความน่าสนใจและสวยงาม 6. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 7. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียไว้ศึกษา ในชั้นเรียน
ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 8. ครูให้นักเรียนฝึกการจัดป้ายนิเทศและทาแผ่นพับเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซีย และช่วยกัน ประเมินผล 9. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียพร้อมคาแปล เช่น Indonesia (อินโดนีเซีย) Island (เกาะ , หมู่เกาะ) Terrorism ( การก่อการร้าย) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน 10. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับปัญหาการก่อการร้ายและความร่วมมือระหว่างประเทศไทย กับประเทศอินโดนีเซียในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวและช่วยกันเฉลยคาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 11. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง อินโดนีเซีย ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อน บ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง อินโดนีเซีย โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบ บันทึกความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูจัดกิจกรรมเรื่อง “อินโดนีเซียวันนี้” โดยให้นักเรียนติดตามและสืบค้นข่าวสารเกี่ยวกับประเทศ อินโดนีเซีย แล้วนามาเล่าให้เพื่อนนักเรียนฟังหน้าชั้นเรียน เป็นเวลา 1 เดือน 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 2. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 3. แบบบันทึกความรู้ 4. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ลาว กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 1 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศลาว มีเมืองหลวงชื่อ เวียงจันทร์ เป็นประเทศเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไม่มี อาณาเขตจดกับทะเล มีแม่น้าโขงเป็นแม่น้าสายสาคัญของประเทศ มีอดีตที่รุ่งเรืองภายใต้อาณาจักรล้านช้าง ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ มีความมั่นคงทางการเมืองสูง ใช้สกุลเงินกีบระบบเศรษฐกิจ เจริญเติบโตด้วยอุตสาหกรรมเขื่อนไฟฟ้าพลังน้า เหมืองแร่ทองคา และทองแดงประชากรส่วนใหญ่เป็นชาว ลาวและนับถือพระพุทธศาสนา มีแคนเป็นเครื่องดนตรีประจาชาติ 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทศอินโดนีเซีย และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่อง ลาว 2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู้ ลาว 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศลาว
ศิลปะ
เขียนและออกแบบตกแต่งแผนที่เกี่ยวกับประเทศลาว
การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศลาวจากอินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซีย
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูให้นักเรียนศึกษาแผนที่รัฐกิจของประเทศลาวและสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับสภาพทาง ภูมิศาสตร์ของประเทศลาว แล้วสรุปความรู้และเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง และระบบ เศรษฐกิจของประเทศลาวว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไรจากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม. 4-6 ของ วพ. และจากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร 5. ครูให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาร่วมกันวิเคราะห์และจัดทาเป็นแผนที่ภูมิประเทศ ของประเทศลาว พร้อมออกแบบตกแต่งแผนที่ให้สวยงาม โดยกาหนดให้ในแผนที่ต้องมีภาพธงชาติ ตรา ประจาแผ่นดิน ลักษณะภูมิประเทศ ตาแหน่งที่ตั้งของเมืองต่างๆ และเมืองหลวง เส้นทางคมนาคม และ สถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญปรากฏอยู่ในแผนที่ด้วย กาหนดเวลาในการทาแผนที่ไม่เกิน 25 นาที 6. ครูคอยชี้แนะและควบคุมการทางานของนักเรียนให้ถูกต้องและเหมาะสม 7. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 8. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศลาวไว้ศึกษาในชั้น เรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 9. ครูให้นักเรียนฝึกการทาแผนที่เกี่ยวกับประเทศลาว และช่วยกันประเมินผล 10. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศลาว พร้อมคาแปล เช่น
Laos (ลาว)
Communist (คอมมิวนิสต์) Mekong (แม่น้าโขง) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน 11. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับการทาแผนที่ภูมิประเทศของประเทศลาวและช่วยกันเฉลย คาตอบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 12. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง ลาว ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 13. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ลาว โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึก ความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนศึกษาภาษาลาวแล้วนามาเปรียบเทียบว่ามีความเหมือนกันหรือแตกต่างกันกับภาษาไทย อย่างไร แล้วนามาจัดทาเป็นป้ายนิเทศ 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แผนที่รัฐกิจของประเทศลาว 2. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 3. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 4. แบบบันทึกความรู้ 5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 มาเลเซีย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 1 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศมาเลเซีย มีเมืองหลวงชื่อ กัวลาลัมเปอร์ แบ่งออกเป็นคาบสมุทรมลายูและบริเวณตอนเหนือ ของเกาะบอร์เนียว อุดมไปด้วยแร่ดีบุก เหล็ก น้ามันและก๊าซธรรมชาติ ในอดีตเป็นอาณาจักรมะละกาที่ รุ่งเรือง ก่อนตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ปกครองด้วยระบอบสหพันธรัฐ มีสมเด็จพระราชาธิบดีเป็น ประมุข การเมืองมีความวุ่นวายและความขัดแย้งค่อนข้างมาก ใช้สกุลเงินริงกิต เป็นแหล่งผลิตยางพาราที่ สาคัญแห่งหนึ่งของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลย์ที่เรียกว่า ชาวภูมิบุตร และนับถือศาสนาอิสลาม 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทศอินโดนีเซีย และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่อง มาเลเซีย 2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู้ มาเลเซีย 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศมาเลเซีย
การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศมาเลเซียจากอินเทอร์เน็ตและการ จัดทารายงาน
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศมาเลเซีย
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูเล่าข่าวเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของประเทศมาเลเซียให้นักเรียนฟัง จากนั้นให้นักเรียน ร่วมกันแสดงความคิดเห็น ครูบันทึกข้อคิดเห็นของนักเรียนลงบนกระดาน แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูตั้งประเด็นคาถามว่า “สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา เศรษฐกิจ และสังคมและ วัฒนธรรมมีผลต่อการเมืองการปกครองของประเทศมาเลเซียหรือไม่ อย่างไร แล้วการเมืองการปกครองของ ประเทศมาเลเซียส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทยอย่างไร” ให้นักเรียนศึกษา รายละเอียดเหล่านี้จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. และจากแหล่งการ เรียนรู้อื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร ครูให้เวลาในการศึกษา 25 นาที 5. ครูให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาวิเคราะห์และสรุป แล้วครูสุ่มนักเรียน 3-5 คน ให้ ออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนคนอื่นๆ กล่าวซักถามข้อสงสัย ครูช่วยสรุป เพิ่มเติมให้สมบูรณ์และกล่าวชมเชย 6. ครูให้นักเรียนนาข้อมูลที่ได้มาจัดทาเป็นรายงาน ให้มีความหนาไม่น้อยกว่า 10 หน้าส่งครู 7. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 8. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศมาเลเซียไว้ศึกษาใน ชั้นเรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 9. ครูให้นักเรียนฝึกการทาแผนที่เกี่ยวกับประเทศมาเลเซีย และช่วยกันประเมินผล 10. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศมาเลเซีย พร้อมคาแปล เช่น Malaysia (มาเลเซีย) Penninsula (คาบสมุทร) Hevea brasiliensis (ยางพารา) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน 11. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับการทาแผนที่ภูมิประเทศของประเทศมาเลเซียและช่วยกัน เฉลยคาตอบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 12. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง มาเลเซีย ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 13. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง มาเลเซีย โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึก ความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ “ภูมิบุตร” ของประเทศมาเลเซียว่ามีลักษณะเป็นอย่างไรแล้ว จัดทาเป็นรายงานความหนาไม่น้อยกว่า 20 หน้าส่งครู 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. ข่าวเกี่ยวกับการเมืองการปกครองอขงประเทศมาเลเซีย 2. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 3. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 4. แบบบันทึกความรู้ 5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เมียน์มา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 1 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศเมียน์มา มีเมืองหลวงชื่อ เนปิดอว์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรอินโดจีน มีแนว เทือกเขาสูงและที่ราบสูงล้อมรอบที่ราบลุ่มแม่น้าอิรวดีทางตอนกลาง มีป่าดิบชื้นที่อุดมสมบูรณ์ มีอาจาจักรใน อดีตที่รุ่งเรืองควบคู่กับอาณาจักรสยาม ก่อนตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ ระบอบสาธารณรัฐ หลังจากที่ปกครองด้วยระบอบเผด็จการมากว่า 50 ปี ยังคงมีปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนอยู่ มาก ใช้สกุลเงินจ๊าด ระบบเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับเกษตรกรรมและการทาป่าไม้ แรงงานส่วนใหญ่จะเดินทางใน ต่างประเทศ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเมียน์มาและชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ และนับถือพระพุทธศาสนาเป็น ส่วนใหญ่ 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทศอินโดนีเซีย และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศเมียน์มาได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่อง เมียน์มา 2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู้ เมียน์มา 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศเมียน์มา
การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศเมียน์มาจากอินเทอร์เน็ตและการ ทาแผนผังหรือแผนที่ความคิด
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศเมียน์มา
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูนาข่าวเกี่ยวกับการลงรับเลือกตั้งของนางอองซาน ซูจีมาเล่าให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของประเทศเมียน์มาในปัจจุบัน ครูบันทึกข้อคิดเห็นที่ได้ลงบน กระดาน และเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม กลุ่มละ 4-6 คน มอบหมายให้แต่ละกลุ่ม ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับ “การเมืองการปกครองในประเทศเมียน์มากับความสัมพันธ์กับประชาคมโลก” จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. และจากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร โดยศึกษาเพิ่มเติมตามหัวข้อต่อไปนี้ 1) สภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศเมียน์มา 2) ประวัติความเป็นมาทางการเมืองการปกครองของประเทศเมียน์มา 3) การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศเมียน์มา 4) สังคมและวัฒนธรรมของประเทศเมียน์มาในปัจจุบัน 5. ครูให้แต่ละกลุ่มสรุปผลการศึกษาตามประเด็นข้างต้นในรูปแบบแผนผังหรือแผนที่ความคิดแล้ว ส่งตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานที่กลุ่มของตนดาเนินการ 6. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 7. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศลาวไว้ศึกษาในชั้น เรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 8. ครูให้นักเรียนฝึกการทาแผนที่เกี่ยวกับประเทศเมียน์มา และช่วยกันประเมินผล 9. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศเมียน์มา พร้อมคาแปล เช่น Myanmar (เมียน์มา) authoritarian (เผด็จการ) Nay Pyi Taw (เนปิดอว์) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และ เขียน
10. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับการทาแผนที่ภูมิประเทศของประเทศเมียน์มากับ ความสัมพันธ์กับประชาคมโลกและช่วยกันเฉลยคาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 11. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง เมียน์มา ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง เมียน์มา โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึก ความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนศึกษาประวัติความเป็นมาของประเทศเมียน์มาที่มีความสัมพันธ์กับประเทศไทยสรุปและ เขียนเป็นเส้นเวลา แล้วนามาจัดป้ายนิเทศ พร้อมออกแบบและตกแต่งให้สวยงาม 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. ข่าวเกี่ยวกับการลงรับเลือกตั้งของนางอองซาน ซูจี 2. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 3. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 4. แบบบันทึกความรู้ 5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 ฟิลิปปินส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 1 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลวงชื่อ มะนิลา เป็นหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ ประกอบด้วยเกาะลูซอน เกาะมินดาเนา และหมู่เกาะวีซายัน มีปริมาณฝนสูงที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นประเทศ เดียวในภูมิภาคนี้ที่ตกเป็นอาณานิคมของประเทศสหรัฐอเมริกา ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบ สาธารณรัฐ มีนโยบายการปราบปรามการคอร์รัปชันอย่างจริงจัง ใช้สกุลเงินเปโซ ประชากร 3 ใน 4 ของ ประเทศยังประกอบอาชีพทางการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลย์ที่นับถือคริสต์ศาสนา 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทศอินโดนีเซีย และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่อง ฟิลิปปินส์ ประเมินพฤติกรรมในการ 2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู้ ฟิลิปปินส์ 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศลาว
การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศฟิลิปปินส์จากอินเทอร์เน็ตและ การจัดทารายงาน
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศฟิลิปปินส์
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูกาหนดหัวข้อการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนว่า “ถ้าเราจะเข้าไปลงทุนในประเทศฟิลิปปินส์ เราควร จะลงทุนในด้านใดจึงจะเหมาะสมที่สุด เพราะอะไร” ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ครูบันทึก ข้อคิดเห็นทั้งหมดลงบนกระดาน แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับประเทศฟิลิปปินส์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร จากนั้นให้นาความรู้ที่ได้มาศึกษาเปรียบเทียบกับเนื้อหาเกี่ยวกับประเทศฟิลิปปินส์ใน หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. 5. นาความรู้ที่ได้มาเปรียบเทียบกับข้อคิดเห็นที่ได้บันทึกไว้บนกระดาน จากนั้นครูสุ่มนักเรียน 3-5 คน เป็นตัวแทนออกมานาเสนอความคิดเห็นของตนเองตามหัวข้อการเรียนรู้หน้าชั้นเรียน ครูกล่าวชมเชยและ ซักถามความคิดเห็นจากนักเรียนคนอื่นๆ ในชั้นเรียน 6. ครูให้นักเรียนทุกคนนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาสรุปแล้วจัดทาเป็นรายงานให้ตรงตามหัวข้อ การเรียนรู้ โดยให้มีความหนาไม่น้อยกว่า 10 หน้าส่งครู 7. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 8. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศลาวไว้ศึกษาในชั้น เรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 9. ครูให้นักเรียนฝึกการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์
และสรุปความรู้เกี่ยวกับประเทศฟิลิปปินส์และ
ช่วยกันประเมินผล 10. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศฟิลิปปินส์ พร้อมคาแปล เช่น Philippines (ฟิลิปปินส์) investment (การลงทุน) Christianity (คริสต์ศาสนา) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน
11. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับการค้าและการลงทุนในประเทศฟิลิปปินส์และช่วยกันเฉลย คาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 12. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง ฟิลิปปินส์ ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อน บ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 13. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ฟิลิปปินส์ โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึก ความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศฟิลิปปินส์ เขียนสรุปความรู้เป็น ความเรียง มีความยาวไม่น้อยกว่า 1 หน้า 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 2. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 3. แบบบันทึกความรู้ 4. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 สิงคโปร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 1 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศสิงคโปร์ มีเมืองหลวงชื่อเดียวกัน เป็นเกาะทางตอนใต้ของคาบสมุทรมลายู มีพื้นที่น้อยที่สุด ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่มีแนวชายฝั่งที่เหมาะแก่การสร้างท่าเรือน้าลึกมากที่สุดในภูมิภาค ใน อดีตเคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษและเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมลายา ก่อนแยกตัวเป็นอิสระ ปกครอง ด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีรัฐบาลที่มีความโปร่งใสในการบริหารงานมากที่สุดแห่งหนึ่งของ โลก ใช้สกุลเงินดอลลาร์สิงคโปร์ มีระบบอุตสาหกรรมที่เจริญก้าวหน้ามากที่สุดในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งทาให้ เศรษฐกิจของประเทศเจริญเติบโตสูงมา ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวจีนและนับถือพระพุทธศาสนา และยังเป็น ประเทศที่มีความสะอาดมากที่สุดในโลก 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทศอินโดนีเซีย และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่อง สิงคโปร์ 2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู้ สิงคโปร์ 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศสิงคโปร์
ศิลปะ
เขียนและออกแบบตกแต่งแผนที่เกี่ยวกับประเทศสิงคโปร์
การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศลาวจากอินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศสิงคโปร์
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูให้นักเรียนดูภาพประชากรชาวสิงคโปร์ที่มีลักษณะเป็นชาวจีน พร้อมกับสนทนาซักถาม นักเรียนว่า “เพราะเหตุใดชาวสิงคโปร์ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นชาวจีน” ให้นักเรียนร่วนกันแสดงความคิดเห็น แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูให้นักเรียนศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมของประเทศสิงคโปร์จากแหล่งการ เรียนรู้ต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร แล้วให้นักเรียนช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้เป็นแผนผัง ให้เวลาในการ ทางาน 15 นาที 5. ครูช่วยสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหาให้ครบถ้วนสมบูรณ์ นักเรียนแก้ไขข้อมูลในแผนผังให้ถูกต้อง จากนั้นครูถามนักเรียนว่า “ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของประเทศสิงคโปร์มีความเกี่ยวข้องกับหรือมีผล มาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง และมีผลต่อระบบเศรษฐกิจของ ประเทศ และต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร” ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลจาก หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. 6. ครูให้เวลาในการศึกษาข้อมูลแก่นักเรียน 15 นาที
แล้วสุ่มนักเรียนตอบคาถาม ครูสรุปและ
เพิ่มเติมให้ถูกต้องและกล่าวชมเชย นักเรียนคนอื่นๆ ช่วยกันเขียนความรู้ที่ได้ลงในแผนผัง 7. ครูให้นักเรียนนาแผนผังติดไว้ในชั้นเรียนเพื่อเป็นความรู้ของชั้นเรียน 8. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 9. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศลาวไว้ศึกษาในชั้น เรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 10. ครูให้นักเรียนฝึกการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และสรุปความรู้เกี่ยวกับประเทศสิงคโปร์ และ ช่วยกันประเมินผล
11. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศสิงคโปร์ พร้อมคาแปล เช่น Singapore (สิงค์โปร์) port (ท่าเรือ) Chinese (ชาวจีน) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน 12. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับการทาแผนที่ภูมิประเทศของประเทศสิงคโปร์และช่วยกัน เฉลยคาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 13. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง สิงคโปร์ ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว
เพื่อน
บ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 14. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง สิงคโปร์ โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึก ความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศสิงคโปร์เพิ่มเติม จากนั้นให้ร่วมกัน จัดทาเป็นแผ่นพับสาหรับเผยแพร่หรือทาเป็นแผนที่ท่องเที่ยวติดที่ป้ายนิเทศ 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพประชากรชาวสิงคโปร์ 2. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 3. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 4. แบบบันทึกความรู้ 5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 ไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 1 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศไทย มีเมืองหลวงชื่อ กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ทางตอนกลางของคาบสมุทรอินโดจีนมีพื้นที่ ตั้งแต่แนวทิวเขาสูง ที่ราบลุ่มแม่น้า และคาบสมุทร ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์มากมี ประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่สมัยสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี มาจนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ เป็น ประเทศเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไม่ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก ปกครองด้วยระบอบ ประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข แต่มีความขัดแย้งทางการเมืองค่อนข้างสูงใช้สกุลเงินบาท ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบผสม แรงงานส่วนใหญ่ยังคงอยู่ในภาคการเกษตร โดยมีข้าวเป็นสินค้าออกสาคัญ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและนับถือพระพุทธศาสนา 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทศอินโดนีเซีย และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซียได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ซักถามความรู้เรื่อง ไทย 2.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู้ ไทย 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย
ศิลปะ
ออกแบบและตกแต่งสื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย
การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศลาวจากอินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศสิงคโปร์
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูให้นักเรียนทักทายกันด้วยการไหว้ โดยครูแสดงท่าทางการไหว้ที่ถูกต้อง ครูกล่าวชมเชย นักเรียนที่ทาได้ถูกต้อง จากนั้นเสนอให้นักเรียนนาขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม รวมทั้งข้อมูลอื่นๆ ที่ เกี่ยวกับประเทศไทย เช่น สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา ไปเผยแพร่แก่เพื่อนักเรียนชั้นอื่นๆ หรือ เพื่อนนักเรียนชาวต่างชาติ ให้นักเรียนเสนอแนะวิธีการเผยแพร่ข้อมูลว่าสามารถทาได้โดยวิธีการใดบ้าง ครู บันทึกลงกระดาน แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม กลุ่มละ 4-6 คน มอบหมายให้แต่ละกลุ่ม ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับประเทศไทยจากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. และ จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร โดยให้ศึกษาข้อมูลที่หลากหลาย แต่ต้องมีข้อมูลที่ เกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมและ วัฒนธรรมเป็นพื้นฐาน 5. ครูให้แต่ละกลุ่มสรุปผลการศึกษาและจัดทาเป็นสื่อเพื่อเผยแพร่ข้อมูล เช่น Mind Mapping PowerPoint แผ่นใส แผ่นพับ ใบความรู้ หนังสือพ็อกเกตบุ๊ก แล้วส่งตัวแทนออกมานาเสนอรูปแบบสื่อที่ กลุ่มของตนดาเนินการ 6. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและให้นักเรียนนาไปปรับแก้ไขและจัดทาสื่อให้สมบูรณ์ แล้วครูแนะนาให้ นักเรียนนาสื่อที่ได้จัดทาไปเสนอแก่เพื่อนนักเรียนชั้นอื่นๆ หรือเพื่อนนักเรียนชาวต่างชาติ 7. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 8. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยไว้ศึกษาในชั้น เรียน
ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 9. ครูให้นักเรียนฝึกการจัดทาสื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย และช่วยกันประเมินผล 10. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศไทย พร้อมคาแปล เช่น
Thailand
(ไทย) king (พระมหากษัตริย์) abound (อุดมสมบูรณ์) แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน 11. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมของประเทศไทยและช่วยกันเฉลย คาตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 12. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง ไทย ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 13. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ไทย โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึก ความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนฝึกปฏิบัติตนเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยหรือฝึกการแสดงในศิลปะไทยอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อนาไปใช้แสดงหรือปฏิบัติตนให้เป็นที่พบเห็นแก่เพื่อนนักเรียนชาวต่างชาติ เมื่อได้เข้าร่วมโครงการต่างๆ ที่ เกี่ยวกับอาเซียน 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 2. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 3. แบบบันทึกความรู้ 4. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 เวียดนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
เวลา 1 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ ประเทศเวียดนาม มีเมืองหลวงชื่อ ฮานอย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของคาบสมุทรอินโดจีน มีแนวทิว เขาทางด้านตะวันตกและที่ราบชายฝั่งทะเลทางด้านตะวันออก มีที่ราบลุ่มแม่น้าแดงเป็นที่ราบลุ่มสาคัญของ ประเทศ ในอดีตเคยถูกแยกออกเป็นเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ ก่อนที่จะรวมประเทศกันได้เมื่อฝ่าย เวียดนามเหนือเป็นผู้ชนะในสงครามเวียดนาม ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล คอมมิวนิสต์ จึงมีเสถียรภาพทางการเมืองสูงมาก ใช้สกุลเงินด่ง ระบบเศรษฐกิจยังคงพึ่งพิงเกษตรกรรม แต่มี ระบบอุตสาหกรรมที่เจริญเติบโตมากขึ้นในปัจจุบัน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเวียดนาม 2. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของธงชาติ ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาของประเทศเวียดนาม และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศกับประเทศไทย (K) 2. เห็นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันกับประเทศสมาชิกอาเซียน และอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข (A) 3. สืบค้น นาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศเวียดนามได้อย่างถูกต้อง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A) 1.ทดสอบหลังเรียน 2.ซักถามความรู้เรื่อง สิงคโปร์ 3.ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
ประเมินพฤติกรรมในการ
ประเมินพฤติกรรมในการทางาน
ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน
เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มใน
ความมีวินัย ความใฝ่เรียน
ด้านการสื่อสาร การคิด การ
รู้ ฯลฯ
แก้ปัญหา ฯลฯ
รายบุคคลและเป็นกลุ่ม
5. สาระการเรียนรู้ เวียดนาม 1) ธงชาติและตราประจาแผ่นดิน 2) สภาพทางภูมิศาสตร์ 3) ประวัติความเป็นมา 4) การเมืองการปกครอง 5) เศรษฐกิจ 6) สังคมและวัฒนธรรม 7) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศไทย 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย
ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศเวียดนาม
การงานอาชีพฯ
สืบค้นข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับประเทศลาวจากอินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ
ค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษและฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศเวียดนาม
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ เช่น จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเป็นกลุ่ม นานักเรียนศึกษานอกห้องเรียน เช่น ห้องประชุม ห้องโสตทัศน ศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้ 2. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 3. ครูเล่าประวัติความเป็นมาของประเทศเวียดนามโดยเฉพาะประวัติสงครามเวียดนามหรือประวัติ บุคคลสาคัญของเวียดนาม เช่น โฮจิมินห์ แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของประเทศเวียดนามที่มีผลต่อประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียนจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสาร สรุปแล้วนามาเปรียบเทียบกับข้อมูลด้าน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศกับประเทศไทย จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 ของ วพ. เขียนบันทึกเป็น ความรู้ลงในสมุด 5. ครูสุ่มนักเรียน 3-5 คน ให้ออกนาเสนอหน้าชั้นเรียน ครูกล่าวชมเชยและสรุปเพิ่มเติมให้ ครบถ้วนสมบูรณ์ นักเรียนคนอื่นๆ บันทึกความรู้เพิ่มเติมที่ได้รับลงในสมุดแล้วส่งครู 6. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ให้ครูสังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอผลงาน ของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 7. ครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวมเอกสารจาการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศเวียดนามไว้ศึกษาใน ชั้นเรียน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 8. ครูให้นักเรียนฝึกการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และสรุปความรู้เกี่ยวกับประเทศเวียดนาม และ ช่วยกันประเมินผล 9. ครูให้นักเรียนค้นหาคาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศเวียดนาม พร้อมคาแปล เช่น Vietnam (เวียดนาม) Ho Chi Minh (โฮจิมินห์) war (สงคราม)
แล้วนามาฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน
10. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับการทาแผนที่ภูมิประเทศของประเทศเวียดนามและช่วยกัน เฉลยคาตอบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นาไปใช้ 11. ครูให้นักเรียนนาความรู้เรื่อง เวียดนาม ไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เช่น คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ได้รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรุป 12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง เวียดนาม โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปลงในแบบบันทึก ความรู้ หรือสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์ลงใจสมุด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 8. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเรื่องสงครามเวียดนาม แล้วนามาวิเคราะห์ว่ามีผลกระทบต่อประเทศไทย หรือไม่ อย่างไร เขียนเป็นแผนที่ความคิด และออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. แบบบันทึกผลการสนทนาซักถาม 3. แบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 4. แบบบันทึกความรู้ 5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม.4-6 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................................................... 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้................................................................................................... แนวทางแก้ไข...................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน.................................................................................................................... เหตุผล.................................................................................................................................................. 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..............................................................ผู้สอน ................./......................./...............