Kwanphayao Magazine@56000 : September 2012

Page 1


2

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

บรรณาธิการ

E - mail : kwan.magazine@gmail.com Facebook Fanpage : Kwanphayao Magazine@56000.com

นานมาแล้ว มนุษย์เราพยายามคิดค้นกลวิธีทุกรูปแบบพื่อเอาชีวิตรอด ภายใต้เงื่อนไขของธรรมชาติ ศรัทธา สติ ปัญญาและเทคโนโลยี ล้วนถูกขับเคี่ยว เป็นผลผลิตที่คงความจีรังของร่างกายในทุกมิติ ทั้งความอิ่มท้อง อิ่มใจ กระทั่งอิ่ม ปัญญาและในวันทีว่ ทิ ยาการได้กา้ วล�้ำไปกะเกณฑ์ให้ฝนื ธรรมชาติได้ตามอ�ำเภอใจ เช่นเปลี่ยนน�้ำเค็มเป็นน�้ำจืด เปลี่ยนไอแดดเป็นละอองฝน แต่ทุกอย่างต้องย้อน กลับมาที่ความจริง หลายคนอยากหนีแต่หนีได้ไม่นานต้องกลับมาที่ความจริง และเวลาอีก 2 ปีเศษข้างหน้าที่จะก้าวสู่ AEC ประชาคมอาเซียน ทุกวงการให้ ความส�ำคัญ ทั้งในเรื่องของโครงการที่เกี่ยวกับ AEC ทั้งในเรื่องของงบประมาณ การอบรมและสิ่งที่เห็น สิ่งที่ท�ำเดินถูกหรือเดินผิด ยังไม่รู้การประเมินเป็นระยะ ก่อนไปถึงเป้าหมาย ทางกองบก.กว๊านmagazine ขอเป็นส่วนหนึ่งทั้งก�ำลังใจ การถ่ายทอดของคอลัมน์นิสต์ทุกท่านพยายามรวบรวมเป็นเนื้อหาเพื่อขับเคลื่อน เริม่ ตัง้ แต่ครอบครัว ชุมชนและทุกๆมิติ และระยะตอนนีท้ ที่ ำ� ได้เลยมามองมิตขิ อง ตัวเอง อัตลักษณ์ ภาษาศาสนาวัฒนธรรม ความเป็นอยู่อดีต ปัจจุบันและอนาคต นักกีฬาต้องมีการฝึกซ้อม ฝึกฝนก่อนลงท�ำการแข่งขันและในเนือ้ หา ฯจะพยายาม สอดแทรกในเรือ่ งของ AEC ทีว่ า่ เสรีทกุ อย่างและอย่างไรและขอขอบพระคุณผูอ้ า่ นทุกๆทีส่ มัครเป็นสมาชิก ส่งตรงถึงบ้านเกินความคาดหมายเป็นก�ำลังใจของกอง บก.ทุกๆท่านและขออภัยในการวางแผงล่าช้าเนือ่ งด้วยมีการผิดพลาดทางเทคนิค อยู่ในการปรับปรุงครับอย่าลืมติดตามร่วมกันไปทุกๆฉบับแบบ free copy ทุก พื้นที่ที่จัดวาง ธีรศักดิ์ สิทธิชัยธนะกิจ บรรณาธิการ โทร. 081 - 884 - 8824

กองบรรณาธิการ ธีระศักดิ์ ดร.ปราณี ดร.นภนันต์ ดร.ประกอบศิริ ผศ.ดร.สุขทัย ผศ.ก�ำธร อ.อุเทน กนกวรรณ พฤหัส ทรงวุฒิ จรัส ธิดาเดือน กัญญาณี

สิทธิชัยธนะกิจ pop_eye16@hotmail.com อยู่ศิริ pranee_usiri@hotmail.com ศุภศิริพงษ์ชัย noppanun@hotmail.com ภักดีพินจิ prakobsirip@hotmail.com พงศ์พัฒนศิริ sukthai_p@hotmail.com ธรรมพิทักษ์ thorn97@yahoo.com ธัชศฤงคารสกุล uthen@hotmail.co.uk ประภากรณ์ ann194@hotmail.com ใจลา paruhat0292@hotmail.com หาญธัญพงศ์ ptyk@hotmail.com สุทธิกุลบุตร jr.asia@hotmail.com อุตยานะ nanamcha@hotmail.com พันธุวัฒน์ kapom_10@hotmail.com

กลุ่มพะเยาโฟโต้คลับ www.phayaophotoclub.com ---------------------------------------ศุภพงษ์ ชัยทัศน์ นพดล เชี่ยวพาณิชย์กุล ณรงค์ชัย สุทธิกุลบุตร ปิยะพงษ์ ตุลาชม ชาคริส พรหมโมบล ไปยวัตร ยะตา เกรียงศักดิ์ ขวัญสง่า np.phayao@gmail.com

e-mail : e-asta@hotmail.com

จากพะเยาแดนปลาส้ม สู่เยอรมันแดนไส้กรอก (2) ก

ริมทะเลสาบทีเ่ มืองฮาลสตาร์ท (Hallstatt)

ารเดินทางโดยขับรถไปชมทิวทัศน์ไปเผลอแปร๊บเดียวเกือบ 4 ชั่วโมง ในที่สุดก็มาถึงเมืองฮาลสตาร์ท (Hallstatt) เมืองมรดกโลกในประเทศ ออสเตรีย ซึ่งเคยเกริ่นไว้ในฉบับที่แล้ว เมืองอะไรก็ไม่รู้ช่างแสนสวยน่ารักและโรแมนติกราวกับเมืองในเทพนิยาย ไม่คิดว่าจะมีอยู่จริงในโลกใบนี้ ความ ตื่นตาตื่นใจเมื่อเริ่มเห็นเมืองอยู่ไกลๆ ซึ่งอยู่ติดกับริมทะเลสาบ โดยมีภูเขาล้อมรอบเป็นฉากหลัง จะเหลียวซ้ายแลขวาทุกมุมมองสวยไปหมด สิ่งที่เห็น เหมือนกับเมืองโอแบร์อัมมาเกา (Oberammergau) ที่เคยไปพักคือ ความสะอาด ความเป็นระเบียบของบ้านเมือง สิ่งที่ชื่นชอบที่สุดเห็นจะเป็นการที่ ไม่มีรถยนต์วิ่งแล่นไปมาให้น่าร�ำคาญลูกตา และมลพิษจากควันรถ ทุกอย่างอยู่ในระเบียบ รถจอดในสถานที่ควรจอด อยากจะดูเมืองดูทะเลสาบก็ต้อง เดิน ธรรมชาติมักจะคู่กับความสงบ ที่นี่แหล่ะใช่เลย ! ในระหว่างที่เดินอยู่ในเมืองไปเรื่อยๆ ก็อดคิดถึงกว๊านพะเยาของเราไม่ได้ ธรรมชาติสร้างสรรค์ มาให้เหมือนกัน คือ เมืองอยู่ติดทะเลสาบ มีภูเขาเป็นฉากหลัง แต่บรรยากาศกับสิ่งแวดล้อมนั้น ช่างแตกต่างกันอย่างลิบลับ นักท่องเที่ยวอยากจะชม กว๊านพะเยา ก็สามารถขับรถมาจอดริมกว๊านฯ ได้เลย ถ้าขับรถลงน�ำ้ กว๊านฯ ได้กค็ งจะขับ ความสงบกับความสะอาดไม่ตอ้ งถามหา ทุกวันนีย้ งั กับตลาด ติดน�้ำ รอบถนนชายกว๊านเต็มไปด้วยร้านอาหารและที่ขายของ ยิ่งบรรยากาศตอนเย็นคลาคล�่ ำไปด้วยผู้คนและรถราดูจนเวียนหัว ช่างน่าเสียดาย บรรยากาศเก่าๆ ของกว๊านฯ เมือ่ 60 ปีทแี่ ล้ว คล้ายๆ กับเมืองฮาลสตาร์ท (Hallstatt) ณ ตอนนี้ การไม่มแี ผนในอนาคตของเมืองกับการบริหารจัดการ เมืองไม่ดี ท�ำให้กว๊านพะเยาเสื่อมโทรมลงไปทุกวัน และใครล่ะ ? จะเป็นผู้แก้ไข เมื่อสติกลับคืนมาถึงรู้ว่า ตนเองก�ำลังเดินอยู่ในเมืองฮาลสตาร์ท (Hallstatt) จึงต้องใช้เวลาดื่มด�ำ่ กับธรรมชาติให้เต็มอิ่มก่อนกลับ โดยยึดหลัก ค่อยๆ ดู ค่อยๆ ชม ด้วยอารมณ์สุนทรียะ ชีวิตไม่ต้องรีบเร่งไปตามครรลองธรรมชาติ เหนื่อยนักก็พัก แค่นี้ชีวิตก็เป็นสุขได้ (เพราะการเที่ยว) มีค�ำกล่าวไว้ว่า “ความสวยงามเป็นมายา แต่ข้าวปลาสิ ! เป็นของจริง” เห็นจะไม่ผิดเพี้ยนในค�ำพูดนี้ เมื่อท้องเริ่มหิวและแรงเริ่มหมด ผู้เขียนกับ คณะเพื่ อ นร่ ว มทางจึ ง ไปกิ น มื้ อ เที่ ย งที่ ภั ต ตาคารริ ม ทะเลสาบ ด้ ว ยเมนู เ ลิ ศ รส ปลาเทร้าส์ราดซอส แต่ราคาซิบๆ 20 ยูโร ถ้าคิดเป็นเงินไทย ก็เอา 40 คูณ หลั ง กิ น อาหารมื้ อ เที่ ย งเสร็ จ ตอนบ่ า ยแก่ ๆ จึ ง โบกมื อ ลาเมื อ งฮาลสตาร์ ท (Hallstatt) ด้วยความประทับใจที่เจือปนด้วยความอาลัย (เพราะไม่อยากกลับ) แต่จ�ำ ใจต้องกลับเพราะยังมีอกี เมืองทีร่ อให้ไปเยือนในวันรุง่ ขึน้ คือ เมืองซอลบวร์ก (Salzburg) ซึ่งเป็นเมืองถิ่นเกิดของคีตกวีเอกก้องโลกชาวออสเตรียนาม โมสาร์ท (Mozart) ที่นี่ถือ เป็นเมืองแห่งดนตรีที่แท้จริง เดินไปทางไหนในเมืองก็มีแต่เสียงเพลงคลาสสิคและเห็น เด็กวัยหนุ่มวัยสาวเดินถือเครื่องดนตรีมากกว่าถือแทปเล็ท (Tablet) ที่ส�ำคัญเมืองแห่ง นีม้ สี ถาบันดนตรีระดับโลกสอนกันจนถึงระดับมหาวิทยาลัย โดยรัฐบาลให้การสนับสนุน อย่างจริงจัง ท�ำให้อดนึกถึงไม่ได้ว่า เมื่อหลายปีก่อนจังหวัดเราเคยมีนโยบาย กว๊านพะเยาในอดีตเมื่อ 60 ปีที่แล้ว


: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555 ให้พะเยาเป็นเมืองแห่งดนตรีและวัฒนธรรม ถึงขั้นมีนักวิชาการทางด้านดนตรีระดับประเทศออกมาสัมภาษณ์และ สนับสนุน จนเป็นข่าวเกรียวกราวในโทรทัศน์และหน้าหนังสือพิมพ์ ประหนึ่งว่า พะเยาจะกลายเป็นเมืองแห่งดนตรี คลาสสิคและเป็นแหล่งผลิตนักดนตรีคลาสสิคของประเทศในอนาคต ได้สร้างความฝันให้กับคนพะเยาพอสมควร แต่ ในที่สุดนโยบายนี้ไม่ต่างกับการผายลม การคิดนโยบายอะไรออกมาโดยไม่เข้าใจข้อเท็จจริงพื้นฐานทางสังคมและ วัฒนธรรมของท้องถิ่นก็นับว่าแย่อยู่แล้ว แต่การที่ไม่ศึกษาข้อมูลให้ถ่องแท้เสียก่อนกลับแย่ยิ่งเสียอีก ระบบความคิด เช่นนี้ ส่วนใหญ่มีอยู่ในแทบทุกองค์กรของสังคมไทย ความคิดต้องวกกลับมาอีกครั้ง เมื่อร่างกายเริ่มเหนื่อยล้าในการเดินมาทั้งวันและความหิวเข้ามาแทนที่จึงได้ วางแผนกันว่า รายการอาหารมื้อค�่ำนี้จะไปกินอาหารไทยที่เมืองลินเดา (Lindau) ในเยอรมัน ชื่อร้าน ไทย เฮ้าสเรสทัวรอง (Thai House Restaurant) ซึง่ เจ้าของเป็นคนไทยชือ่ คุณแหม่ม ผูม้ อี ธั ยาศัยดี เป็นกันเอง และทีส่ ำ� คัญ อาหารอร่อยม๊ากกก..มาก ท�ำให้หายคิดถึงบ้านเลยล่ะ ! สนนราคาก็ไม่แพงนัก ยิ่งคนไทยด้วยกันแล้ว แถมอาหารโน่น อาหารนี่ จนอิ่มแปล้ไปเลย นี่แหล่ะ ! น�้ำใจคนไทย (ที่ดี) ในต่างแดนเมื่อยามเจอกัน หลังจากอิ่มแล้วต้องรีบร�่ำลาคุณ แหม่มเพื่อกลับที่พัก เพราะพรุ่งนี้เช้ามีโปรแกรมใหญ่ต้องเดินทางไปเมืองเชสกี้ คลุมลอฟ (Cesky Krumlov) และ

ลานเมืองถนนคนเดิน เมืองซอลบวร์ก (Salzburg)

ปราก (Prague) ซึ่งทั้งสองเมืองเป็นเมืองมรดกโลกในประเทศ สาธารณรัฐเชค (Czech) โดยเฉพาะทีเ่ มืองปราก งานนีพ้ ลาดไม่ได้ เด็ดขาดเพราะว่าสมาชิกเรียกร้อง เป็นทริป (Trip) ย้อนรอยละคร ซีรีส์ดังทางช่อง 3 เรื่อง กลรักลวงใจ ที่เคยมาถ่ายท�ำในเมืองนี้ ส่วนเมืองเชสกี้ คลุมลอฟ (Cesky Krumlov) เป็นเมืองในสมัย ยุคกลาง (Renaissance) อายุกว่า 600 ปี มีแม่นำ�้ วัลทาว่า (Vltava) ไหลผ่านระเรื่อโอบกอดเมืองประดุจอุ่นไอรัก ที่เห็นแล้วน่าชื่นใจก็ คือ การรักษาสภาพเมืองเก่าไว้ได้เป็นอย่างดี จนได้รับการยกย่อง เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติจากยูเนสโก (UNESCO) ในปี ค.ศ.1992 อาคารร้านค้าในตัวเมืองถูกตกแต่งสีสันสวยงาม

กลมกลืนไปกับสภาพเมืองเก่า มีสินค้ากระจุ๊กกระจิ๊กดูน่ารักน่าซื้อไปหมด ผู้เขียนยังอดใจไม่ไหวต้องซื้อตุ๊กตาน่ารัก ดีไซน์สวยงามมาตัวหนึ่งไว้เป็นที่ระลึก ของที่นี่ราคาไม่แพงนัก หาซื้อได้สบายกระเป๋า และที่นี่ใช้สกุลเงินโครน่า อัตรา การแลกเปลีย่ นเงินอยูท่ ี่ 1 โครน่า : 23 บาท แต่นา่ เสียดายเวลามีไม่มากนักยังเดินดูไม่ทวั่ เมือง ยังมีของน่ารักๆ มากมาย โดยเฉพาะขาช๊อป รับรองชอบที่นี่แน่ๆ อย่างไรก็ตามรักแค่ไหนก็ต้องท�ำใจเมื่อเวลาหมด จ�ำต้องเดินออกจากเมืองไป ด้วยหัวใจทีโ่ หยหา (เพราะยังซือ้ ของไม่เสร็จ) ผูเ้ ขียนและคณะเพือ่ นเดินทางจะต้องรีบขับรถต่อไปยังเมืองปราก (Prague) เพื่อให้ทันเวลาไม่มืดค�่ำนัก เพราะจะต้องเช็คอินเข้าโรงแรมตามเวลานัดหมายไม่เกิน 1 ทุ่ม ในที่สุดการเดินทางวันนี้ก็มาสิ้นสุดที่เมืองปราก (Prague) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐเชค (Czech) ในเวลา พลบค�่ำพอดี ตามโปรแกรมคณะของเราจะต้องพักค้างคืนอยู่ที่เมืองปราก (Prage) 2 คืน แต่เมื่อมาถึงความรู้สึกว่ามัน ไม่เพียงพอเสียแล้ว เมืองทัง้ เมืองช่างงดงามยิง่ ใหญ่อลังการเหลือเกิน เมือ่ กวาดสายตาดูเต็มไปด้วยตึกเก่าและปราสาท ที่มีศิลปะและสถาปัตยกรรมยุโรปชั้นยอดทั้งนั้น ไม่เป็นการกล่าวเกินเลยว่า ที่นี่คือ เมืองหลวงสวยงามที่สุดแห่งหนึ่ง ของโลก ยิง่ ย่านเขตเมืองเก่าแล้วเสมือนเป็นหัวใจของเมืองทีถ่ กู อาบด้วยเสน่ห์ ตึกแต่ละตึก อาคารแต่ละหลังสอดแทรก ความงามไว้ทกุ มุมมอง มินา่ เล่าชาวเชคถึงมีรสนิยมดีเหลือเกินและจึงไม่แปลกใจเลยว่าศิลปินระดับโลกจะมีชาวเชค อยู่ แถวหน้า อย่างเช่น อัลฟองเซ่ มูชา (Alphonse Mucha) ผู้สร้างสรรค์ศิลปะอาร์ตนูโว (Art Nouveau) อันลือชื่อ

3

เป็ น โชคของชาวเชคที่ ช ่ ว ง สงครามโลกครั้งที่ 2 อด็อฟ ฮิตเลอร์ ผูน้ ำ� เผด็จการเยอรมัน สัง่ กองทัพบุก เชค โชคดีที่เมืองปรากไม่ถูกบอมบ์ จนเละเทะและอีกครั้งหนึ่งช่วงยุค สงครามเย็ น ในปี ค.ศ. 1968 ประธานาธิบดี ลีโอนิค เบรสเนฟ ผูน้ ำ� เผด็จการรัสเซีย สัง่ กองทัพรถถัง กรีฑาทัพเข้ายึดกรุงปราก แต่โชคดี อีกครัง้ ทีเ่ มืองไม่โดนถล่ม มิฉะนัน้ จะ เมืองเชสกี้ คลุมลอฟ (Cesky Krumlov) ไม่เหลืออะไรให้เราได้ดูตอนนี้ ดูเขาแล้วย้อนดูตัวเรา นึกถึงเมื่อไหร่ ? ห่อเหี่ยวใจเมื่อนั้น เมื่อนึกถึงงานอนุรักษ์ศิลปะของไทย ส่วน ใหญ่คนไทยยังแยกแยะไม่ออกระหว่างอนุรักษ์กับท�ำลาย มีการรื้อเอาของเก่าออกแล้วสร้างใหม่ ก็ด้วย เพราะเหตุนี้เองท�ำให้ศิลปะดีๆ ของไทยเราต้องสูญเสียไปเพราะความโง่เขลาแท้ๆ การได้มาเที่ยวเมืองปราก (Prague) ไฮไลท์อยู่ที่การไปชมมหาวิหารเซนต์วิตุส (St.Vitus Cathedral) เป็นงานสถาปัตยกรรมที่สวยงามยิ่งใหญ่อลังการที่พลาดชมไม่ได้ จากนั้นไปดูหอนาฬิกาดาราศาสตร์ ซึ่งตั้ง อยู่ทางก�ำแพงด้านใต้ของศาลาว่าการในจัตุรัสเมืองเก่า นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มักจะไปยืนรอดูนาฬิกาตีทุก 1 ชั่วโมง เพราะช่วงนาฬิกาตีจะมีตุ๊กตาหุ่นซึ่งเป็นสาวกของพระเยซูโผล่ออกมาจากช่องหน้าต่างและที่ลืม ไม่ได้จะต้องไปเดินทอดน่องบนสะพานชาร์ลส์ (Charles Bridge) พร้อมกับถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก ก่อนจะมาเมืองปราก เพือ่ นทีเ่ ยอรมันได้เตือนไว้วา่ ให้ระวังกระเป๋าสตางค์ เพราะทีน่ มี่ แี ก๊งค์ฉกกระเป๋า ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นพวกมิจฉาชีพมาจากยุโรปตะวันออก อย่างไรก็ตามผูเ้ ขียนยึดหลักค�ำสอนของกูรแู ห่งการ ท่องเที่ยวว่า “กระเป๋าอยู่ด้านหลังเป็นของเขา ถ้ากระเป๋าอยู่ด้านข้างเป็นของเราครึ่งของเขาครึ่ง และถ้า กระเป๋าอยูด่ า้ นหน้าเป็นของเรา ด้วยเหตุนผี้ เู้ ขียนและคณะจึงรอดพ้นจากการถูกล้วงกระเป๋า และเทีย่ วเมือง ปรากอย่างสุขใจ เวลาช่างหมุนรวดเร็วเหลือเกิน อยากจะหยุดเวลาไว้ตรงนี้ที่ปราก แต่ก็จ�ำใจต้องลาจาก เพราะมี โปรแกรมประเทศสวิตเซอร์แลนด์รออยู่ ลาก่อนนครแสนเสน่ห์ แล้วเราจะพบกันอีก

สะพานชาร์ล (Charles Bridge)

หอนาฬิกาดาราศาสตร์


4

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555 ประเทศจีนมายังเมืองฮานอย โดยเลือกได้ว่าจะเป็นเส้นทาง เลียบชายทะเล หรือเส้นทางในทวีป เส้นทางสายตะวันตก (Western Subcorridor: R3) เส้นทางที่ส�ำคัญคือสายตะวันตก ซึ่งเชื่อมต่อประเทศจีนตอน ใต้กบั กรุงเทพฯ มีรหัสว่าเส้นทาง R3 แบ่งเป็นเส้นทางย่อยทาง ตะวันออก (R3E หรือ R3A) ที่ผ่านประเทศลาว และเส้นทาง ย่อยทางตะวันตก (R3W หรือ R3B) ที่ผ่านพม่า เส้น ทางสาย R3E(R3A) ส่วนของกรุงเทพ-เชียงราย ยาว 830 กิโลเมตรนัน้ เป็นทาง 4 เลนหมดแล้ว (ข้อมูลจากกระทรวง คมนาคม เดือนธันวาคม 2553) ยังเหลือส่วนของ จ. เชียงราย ไปยัง อ. เชียงของ (ซึ่งอยู่ติดกับพรมแดน) ยาว 115 กิโลเมตร ยังเป็นเส้นทาง 2 เลนอยู่ และยังต้องสร้างสะพานข้ามแม่น�้ำโขง ที่ อ. เชียงของ ซึ่งไทยและจีนจะร่วมสร้าง ก�ำหนดแล้วเสร็จน่า จะปี 2556ส่วนเส้นทางในประเทศลาว 228 กิโลเมตรนั้นเสร็จ แล้ว โดยได้รับเงินอุดหนุนจาก ADB ไทยและจีน เส้ น ทาง R3W (R3B) ในส่ ว นของประเทศไทยคื อ กรุงเทพ-แม่สาย และสะพานข้ามแม่น�้ำสาย เสร็จสมบูรณ์ หมดแล้ว เส้นทาง R3 ทั้ง 2 เส้น จะช่วยให้การค้าตามแนวชายแดนเพิ่ม ขึน้ อีกมาก โดยเฉพาะเขต “สีเ่ หลีย่ มมรกต” ระหว่างไทย-ลาวพม่า-จีน เพิ่มขึ้น บทความฉบับนี้จะขอพูดถึงเฉพาะแนวระเบียงเศรษฐกิจ เหนือ – ใต้ (North-South Economic Corridor ) ในส่วน ที่เกี่ยวข้องเส้นทางสายตะวันตก (Western Subcorridor: R3) เท่านั่นส�ำหรับผู้อ่านที่สนใจแนวระเบียงเศรษฐกิจใน กลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงอื่นๆสามารถติดตามได้ในโอกาส ต่อๆไป ขอขอบคุณข้อมูลจาก “ศูนย์ศึกษาอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง มหาวิทยาลัยนครพนม”

ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง บทความฉบับนี้จะแนะน�ำให้รู้จักกับค�ำว่า “ ระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridors) ซึ่งระเบียงเศรษฐกิจที่ส�ำคัญและใกล้ชิด กับกลุ่มจังหวัดล้านนาตะวันออก (เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน) มาก ที่สุดน่าจะเป็น “ ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง ( GMS Economic Corridors ) ” GMS Economic Corridors หรือแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า “ระเบี ย งเศรษฐกิ จ อนุ ภู มิ ภ าคลุ ่ ม แม่ น�้ ำ โขง” มี เ ป้ า หมายเพื่ อ พัฒนาการค้า การลงทุน ในภูมิภาคนี้โครงการนี้ได้รับเงินอุดหนุน จาก ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย หรือ ADB (Asian Development Bank) ในการพัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานหลาย แขนง โดยเฉพาะเส้นทางคมนาคมทางถนน แต่ก็รวมถึงระบบไฟฟ้า โทรคมนาคม สิ่งแวดล้อม และกฎหมายด้วย โครงการ เริ่มขึ้นตั้งแต่ ปี 1998 ในที่ประชุมรัฐมนตรีของประเทศลุ่มน�้ำโขงที่มะนิลา และ ประเทศไทยได้ลงนามในกรอบความร่วมมือตั้งแต่ปี 2535 เส้นทางคมนาคมใน GMS Economic Corridors ADB ได้แบ่งส่วนของเส้นทางการคมนาคมใน GMS Economic Corridors ออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ ตามภูมิภาค ได้แก่ 1. ระเบียงเศรษฐกิจเหนือ – ใต้ (North-South Economic Corridor ) 2. ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก (East-West Economic Corridor) 3. ระเบียงเศรษฐกิจใต้ (Southern Economic Corridor) เส้นทางในกลุ่มเหนือ-ใต้ แบ่งออกเป็น 3 เส้นทางย่อย ดังนี้ เส้นทางสายตะวันตก (Western Subcorridor) เริ่มจากคุนหมิง มายังเชียงราย และลงมาถึงกรุงเทพ โดยมี ส่วนที่ผ่านลาวและพม่าเล็กน้อย เส้นทางสายกลาง (Central Subcorridor) เริ่ม จากคุนหมิงแต่ไปสิ้นสุดที่ฮานอย เมืองหลวงของเวียดนาม โดยจะเชื่อมต่อกับทางหลวงสายเอเชีย A1 ที่วิ่งในทิศเหนือ-ใต้ของประเทศเวียดนามที่เมืองฮานอย เส้นทางสายตะวันออก (Eastern Subcorridor) เริ่ม จากเมืองหนานหนิง ในมณฑลกว่างสี (Guangxi) ของ

DTAC Center สาขาพะเยา โทร. 054 - 480919


: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

5

ประเพณีเดินเข้า ม.พะเยา ปี 2555 “นาคาเทวะวารี สุขสหรี ยินดีเวียงแก้ว”

วิทย์-แพทย์ ม.พะเยา ชวนนิสิตลงชุมชนร่วมสืบสานและทำ�นุบำ�รุงศาสนา ถวายเทียนพรรษาและปฏิบัติธรรม ศึกษาความเป็นมาสถานที่สำ�คัญของชุมชนบ้านถ้ำ�

พิธีเปิดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ณ มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 18 ส.ค.55

ม.พะเยา ร่วมงานลีลาศลีลาผ้าไทย เทิดไท้องค์ราชินี ครบ 80 พรรษา วันที่ 9 สิงหาคม 2555

เมื่อเร็วๆ นี้ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ม.พะเยา ร่วมกับเทศบาลต� ำบลบ้านถ�้ำ จัดโครงการ“ท�ำนุบ�ำรุงศาสนา และศิลปวัฒนธรรม ถวายเทียนพรรษาและปฏิบัติธรรม” ชวนนิสิตชั้นปีที่ 1 และ 4 บุคคลากรในคณะฯ กว่า 150 คน ลง ชุมชนเพื่อร่วมถวายเทียนพรรษา ปฏิบัติธรรม รับฟังธรรมในหัวข้อ “ธรรมะกับการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน” จากท่านพระครู สุนทรวุฒิคุณ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุจอมศีลเจ้าคณะต�ำบลบ้านถ�้ำ-คือเวียง ณ วัดพระธาตุจอมศีล ต.บ้านถ�้ำ อ.ดอกค�ำใต้

การจัดแสดงโขน กรมศิลปากร เนื่องในวันสถาปนามหาวิทยาลัยพะเยาครบรอบ 2 ปี วันที่ 17 ก.ค.55


6

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

สิ้นแล้ว จิตรกรกวีแก้ว ของแผ่นดิน

“อังคาร กัลยาณพงศ์” คือ นามอุโฆษของมหาจิตรกรกวี แผ่นดินยุครัตนโกสินทร์ได้สิ้นลมอย่างสงบด้วยวัย 86 ปี เมื่อ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา นับเป็นการสูญเสียครั้ง ใหญ่ของวงการวรรณศิลป์และจิตรกรรมไทย เพราะสูญเสียบุคคล อั น ทรงคุ ณ ค่ า ที่ มี ฝ ี มื อ ล�้ ำ เลิ ศ ทางด้ า นกวี นิ พ นธ์ แ ละจิ ต รกรรม จนได้รับการยกย่องให้เป็นกวีซีไรท์และศิลปินแห่งชาติ สาขา วรรณศิลป์ ช่วงชีวิตของท่านอังคารครั้งหนึ่งเคยใช้ชีวิตพ�ำนักอยู่ที่เมือง พะเยาเพื่อมาท�ำงานสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมบนฝาผนังอุโบสถ วัดศรีโคมค�ำเป็นผลงานชิ้นเยี่ยมเขียนฝากไว้กับแผ่นดิน แม้เป็น ช่วงเวลาไม่นานนักแต่ก็ได้สร้างคุณูปการไว้ให้กับเมืองพะเยา อย่างมหาศาล ท�ำให้เมืองพะเยาเป็นที่รู้จักแก่นักท่องเที่ยวมากขึ้น นอกจากจะมีกว๊านพะเยาและพระเจ้าตนหลวงแล้ว ยังมีผลงาน จิตรกรรมของบรมครูท่านอังคารอีกที่เป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว วันนี้แม้จะไม่มีท่านอังคารอีกแล้ว แต่จิตวิญญาณของท่านยัง คงอยู่คู่เมืองพะเยาไปตราบนานแสนนาน ด้วยความอาลัยอย่างสุดซึ้งและขอให้ดวงวิญญาณไปสู่สรวง สวรรค์ ทิ พ ย์ วิ ม านได้ สุ ข ส� ำ ราญกั บ การแต่ ง บทกวี ใ ห้ ม วลเหล่ า เทพยดาชั้นฟ้าฟัง เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ แก้วมณีพราวรุ้งร้อยพันล้านเม็ด มิอาจเทียบเทียมค่า กับความดีพิสุทธิ์ของบุคคลเพียงหนึ่งคนที่ให้ไว้กับแผ่นดิน จิตรกรรมฝาผนัง อุโบสถวัดศรีโคมค�ำ ฝีมือท่านอังคาร กัลยาณพงศ์

นางสาวพะเยาคนแรก ต�ำนานชีวิตบนถนนแห่งความงาม

ย้อนรอยการประกวดนางงามในประเทศไทย เริ่มมีเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.

2477 ที่กรุงเทพมหานคร สมัยนั้นเรียกว่า การประกวดนางสาวสยาม รัฐบาล คณะราษฎรจัดขึน้ ในงานเฉลิมฉลองรัฐธรรมนูญ ภายหลังการจัดงานประกวดนางงาม ได้นิยมแพร่หลายไปสู่ต่างจังหวัด ท�ำให้ตามจังหวัดใหญ่ๆ เริ่มมีการจัดประกวด นางงามเช่นเดียวกับส่วนกลาง กระทั่งปี พ.ศ. 2484 ได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 และประเทศไทยเข้าสู่ภาวะ สงคราม รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม สั่งให้ยกเลิกการจัดงานประกวดนางงาม รวมทั้งงานรื่นเริงทุกชนิด ภายหลังเมื่อสงครามโลกยุติลง บ้านเมืองเข้าสู่ภาวะปกติ การจัดงานประกวดนางงามก็เริ่มมีการรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2491 และถือ เป็นการเปิดศักราชใหม่ของการจัดประกวดนางงามทั่วประเทศทั้งส่วนกลางและ ภูมภิ าค ซึง่ ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการจัดงาน ไม่วา่ จะเป็นงานฤดูหนาวประจ�ำปี หรืองานรืน่ เริงประเพณีอนื่ ๆ มักจะต้องมีการจัดประกวดนางงามหรือเทพีตา่ งๆ แทบ ทุกครั้ง เพราะเป็นสีสันที่ขาดไม่ได้ เช่นเดียวกับเมืองพะเยา ก็ได้มีการจัดประกวดนางงามตามสมัยนิยม โดยเริ่ม จากการประกวดนางสาวพะเยาครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2495 ในงานฤดูหนาวประจ�ำ ปีของอ�ำเภอ สมัยนั้นจังหวัดพะเยายังมีฐานะเป็นอ�ำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงราย ซึ่งทางอ�ำเภอฯ เป็นผู้ริเริ่มจัดงาน ขณะนั้นนายผลิ ศรุตานนท์ เป็นนายอ�ำเภอ เมืองพะเยา โดยสถานที่จัดงานใช้บริเวณสนามเวียงแก้ว (ปัจจุบันคือศาลหลักเมือง จังหวัดพะเยา) งานจะจัดในช่วงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ รวมเวลา 7 วัน 7 คืน บรรยากาศภายในงานจะมีมหรสพหลายอย่าง เช่น มีการฉายหนัง,ชกมวย,ลิเก และ ร�ำวง นอกจากนัน้ จะมีพวกแม่คา้ มาขายของ ส�ำหรับค่าตัว๋ เข้าชมงาน 1 บาทส่วนการ ประกวดนางงามจะเริ่มประกวดกันประมาณวันที่ 4 ของงาน ไปจนถึงวันประกาศ ผลในคืนสุดท้าย และผลการตัดสินครั้งนั้น สาวงามอายุ 17 ปี จากอ�ำเภอดอกค�ำใต้ เป็นผู้คว้าต�ำแหน่งนางสาวพะเยาคนแรกไปครอง ชื่อ นางสาวเรวดี วงศ์มา หรือชื่อ จริง คือ นางสาวทองดี วงศ์มา ต�ำนานชีวิตบนถนนแห่งความงาม ป้าเรวดีอดีตนางสาวพะเยาคนแรกได้เล่า ให้ฟังว่า เมื่ออายุย่างเข้า 17 ปี ก็เหมือนกับสาวแรกรุ่นทั่วๆ ไป ในชนบทที่มีความ ใฝ่ฝันอยากจะเป็นช่างตัดเสื้อหรือไม่ก็ช่างเสริมสวย ซึ่งสมัยนั้นหญิงสาวในชนบทมี ทางเลือกไม่มากนัก ส่วนใหญ่มักจะช่วยพ่อแม่ทำ� นาและอีกไม่นานนักก็แต่งงานไป มีครอบครัว ชีวิตจะเรียบง่ายไปตามประสาของชาวชนบท ชีวิตได้มาพลิกผันเพราะ

เหตุบังเอิญ วันหนึ่ง ป้าเรวดีได้ไปซื้ออุปกรณ์เสริมสวยที่ ร้านเสริมสวยทัศนีย์ อยู่ในตัวเมืองพะเยา เจ้าของร้าน ชื่อคุณทัศนีย์ ขณะนั้นก�ำลังหาคนไปประกวดนางงาม ในงานฤดูหนาว เผอิญได้พบกับป้าเรวดีจึงได้ทาบทาม ให้ไปประกวดนางงาม ตอนหลังมีผู้ใหญ่ไปขอพ่อแม่ ใน ที่สุดก็อนุญาตให้มาประกวด และเจ้าของร้านเสริมสวย ทัศนีย์ได้พามาเก็บตัวอยู่ที่ร้านประมาณ 2 เดือนก่อน การประกวด ช่วงเก็บตัวต้องฝึกการเดิน การไหว้ และมี ข้อห้ามอย่างหนึ่งคือ ห้ามออกแดด ปกติป้าเรวดีเป็นคน นางสาวพะเยาปี 2495 ผิวขาวสวยอยู่แล้วจึงแทบไม่ต้องขัดผิว แต่ถ้าจะขัดผิวก็ ใช้มะขามเปียกถู ซึ่งเป็นสูตรเสริมความงามเก่าแก่ดั้งเดิม การประกวดสมัยนั้นนางงามไม่ได้ แต่งหน้ามากนัก ทุกคนจะสวยอย่างธรรมชาติ ไม่เหมือนกับในสมัยนี้ที่เสริมแต่งกันมาก และ ไม่มีสปอนเซอร์สนับสนุน ดังนั้นจึงไม่มีเรื่องผลประโยชน์ทางธุรกิจเข้ามาเกี่ยวข้อง เมื่อถึงวัน ประกวดจะมีการแห่นางงามโดยนั่งรถสามล้อจากบ้านแม่ต�๋ำมาบริเวณงาน ที่สนามเวียงแก้ว จ�ำนวนผูเ้ ข้าประกวดมีประมาณ 20 กว่าคน นางงามแต่ละคนจะต้องเดินวันละ 2 รอบ คือ รอบ กลางวันจะใส่ชดุ ราตรีเดินถือร่ม ส่วนรอบกลางคืนจะใส่ชดุ ประกวดขาสัน้ เย็บด้วยผ้าก�ำมะหยี่ และเดินถือลูกโป่ง ส�ำหรับต�ำแหน่งนางงามจะมีแค่ 3 ต�ำแหน่ง คือ ต�ำแหน่งนางสาวพะเยา และรองอีกสองคน ส่วนรางวัลต�ำแหน่งนางสาวพะเยาจะได้รับ สลุงเงินใบใหญ่พร้อมจารึกชื่อ ไว้เป็นเกียรติและเงินรางวัลอีก 1,500 บาท ป้าเรวดีได้เล่าให้ฟังต่อว่า เงินรางวัลที่ได้รับได้น�ำ ไปซือ้ ทอง 1 บาท สมัยนัน้ ราคาทองบาทละ 250 บาท และอีกส่วนหนึง่ ไปซือ้ ข้าวของเครือ่ งใช้ ในครัวเรือนให้พอ่ แม่ ส�ำหรับภารกิจในระหว่างเป็นนางงามทีต่ อ้ งท�ำ คือ ไปร่วมงานเลีย้ งต่างๆ ทัง้ ของราชการและเอกชน บางครัง้ ก็ไปต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองหรือไม่กไ็ ปร่วมงานการกุศล อย่างไรก็ตามการประกวดนางสาวพะเยาในยุคต่อๆมา ก็เริม่ มีการปรับเปลีย่ นให้ทนั สมัย ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งกายหรือรูปแบบของการจัดงาน บางปีก็สนุก แต่บางปีก็กร่อย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับผูัจัดงาน เมื่อพะเยาเป็นจังหวัด สถานที่จัดงานฤดูหนาวจึงย้ายไปจัดที่สนามหน้า ศาลากลาง กระทั่งปัจจุบันได้ย้ายมาจัดที่สนามหน้าสถานีขนส่ง บขส. แต่ไม่มีการประกวด นางสาวพะเยาอีกต่อไป ปัจจุบันป้าเรวดี วงศ์มา อดีตนางสาวพะเยาคนแรก ได้ใช้ ชีวิตอย่างสงบสุขกับลูกชายซึ่งเปิดกิจการซุปเปอร์มาเก็ตอยู่ที่ บ้านสว่างอารมณ์ อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา แม้ชีวิตจะอยู่ ในวัยชรา อายุ 78 ปี แต่สุขภาพยังแข็งแรง สิ่งหนึ่งที่ไม่อาจพราก จากป้าไปได้ คือ รอยยิ้มอันอิ่มเอิบที่มิอาจลืมเลือน เพราะนี่คือ รอยยิ้มของนางสาวพะเยาและเป็นอีกหนึ่งต�ำนานของชาวพะเยา ที่ควรค่าแก่การบันทึกไว้ อดีตนางสาวพะเยาคนแรก งามแต้ๆ น้อ........สาวดอกค�ำใต้ (ป้าเรวดี วงศ์มา) ในปัจจุบัน


: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

IT

7

พฤหัส ใจลา

Apple Logo กระแสข่าวลือเรื่อง iPhone 5 มีไม่เว้นแต่ละวัน ไหนจะข่าว iPad Mini อีก ใครรอได้ก็รอไป ใคร รอไม่ไหวก็ซื้อมาใช้ก่อนละกันครับ แต่แฟนๆ Apple รู้บ้างรึปล่าวว่า โลโก้ที่เห็นกันในทุกวันนี้มีที่มาจาก ไหน? ว่ารอยแหว่งบนโลโก้แอปเปิ้ลมาจากสาเหตุใด? บ้างว่าไอเดียมาจากคัมภีร์ไบเบิ้ล Adam กับ EVE ซึ่ง Apple แสดงถึงต้นไม้แห่งความรู้ ตอนแรกเป็นผลเกลี้ยง สตีฟ จอบส์ไม่ค่อยปลื้มเพราะมันดูเหมือน ส้มเกินไป จึงเพิ่มรอยกัดเข้ามา บ้างก็ว่า Apple นัน้ เป็นพยัญชนะตัวแรกในภาษาอังกฤษ คนที่ค้นหาชื่อผลิตภัณฑ์จาก directory ทั้งหลาย จะพบกับ Apple ก่อน IBM ซึ่งเป็นยักษ์ใหญ่ตลอดกาลในช่วงที่สตีฟ จอบส์ เริ่มเข้าสู่วงการ อีกเหตุผลหนึง่ คนดีไซน์กลัวไม่รู้ว่าเป็นแอปเปิ้ล อาจดูเป็นลูกเชอร์รี่ เลยใส่รอยแหว่งเข้าไป เหมือนโดน กัด Bite ออกเสียงว่าByte และบังเอิญไปเป็นหน่วยข้อมูลของคอมพิวเตอร์ด้วยในยุคนัน้ จึงเป็นโลโก้ที่ แพงที่สุดเท่าที่เคยมีมา ขณะเดียวกันก็บอกกันว่า Apple อุทิศโลโก้นี้ให้กับ Alan Turing นักคณิตศาสตร์ระดับโลก และเป็น หนึง่ ในบิดาของวงการคอมพิวเตอร์ ซึ่งตัดสินใจฆ่าตัวตายด้วยการกัดลูก Apple เคลือบสารไซยาไนต์ จนเสียชีวิตเลียนแบบนิทานเรื่อง Snow White อย่างไรก็ดเี ทคโนโลยีกา้ วล�ำ้ ไปไกลมาก ตามเท่าไหร่กไ็ ม่ทนั ใช้ตามความเหมาะสมละกัน เท่าทีเ่ ราจ�ำเป็น และไม่เดือดร้อนเงินในกระเป๋า (คนข้างๆ) เจอกันฉบับหน้าครับ

การจัดงานวันที่ 28 เมษายน 2555 งาน ALL NEW ISUZU FAMILY DAY มีดารามาร่วมงาน 2 คน คือ 1) คุณเวียร์ ศุกลวัฒน์ คณารส 2) คุณมิค บรมวุฒิ

ฉบับนี.้ ขอพาผูอ้ า่ นไปเยีย่ มโชว์รมู ค่ายรถอีซซู เุ ก็บบรรยากาศงานขอบคุณลูกค้าตอนสิน้ ไตรมาสแรกของ ปี55 กับงาน ALL NEW ISUZU FAMILY DAY ภายในงานมีการประกวด การเล่นเกมส์แจกของรางวัล รวม ถึงการคืนก�ำไรมอบโปรโมชั่นดีๆให้กับลูกค้าและที่ผ่านทางอีซูซุพะเยาให้ความส�ำคัญในการบริการหลังการขาย เป็นอันดับแรก โดยมีการจัดการอบรมพนักงานและเจ้าหน้าทีท่ กุ ระดับจ�ำนวนร้อยกว่าคนทัง้ 3 สาขาในเรือ่ งการ รองรับบริการให้ลูกค้าเกิดความพึ่งพอใจ ประทับใจให้เป็นเลิศ ณ.สหกรณ์การเกษตรเมืองพะเยา ในหลักสูตร ของ ดร.สุทธิชยั ปัญญโรจน์ ไปสัมผัสกับโชว์รมู ทีไ่ ด้มาตรฐาน บริการหลังการขายทีไ่ ม่เป็นรองใครกับISUZU) ปิกอัพส�ำหรับคนทัง้ โลกคอลัมน์ยานยนต์ให้คะแนนเต็ม 10กับการบริการ มัน่ ใจได้โชว์รมู อีซซู ุ หจก.ล�ำปางศิรชิ ยั (ศูนย์บริการอีซูซุพะเยา) สาขาพะเยา 054-484777-431075 เชียงค�ำ.054-454222,งาว.054-329621

ISUZU SERVICE CENTER


8

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

ดร.ประกอบสิริ ภักดีพินจิ สาขาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยพะเยา prakobsirip@hotmail.com

ครกบ้านงิ้ว

สวัสดีคะ ผู้อ่านทุกท่าน ฉบับนี้อยากจะพาผู้อ่านทุกท่านได้ไปรู้จักชุมชนบ้านงิ้ว ต�ำบลบ้านสาง

ซึง่ เป็นชุมชนทีต่ งั้ อยูห่ ล่ายกว๊าน หรือกว๊านพะเยาฝัง่ ตะวันตก ชุมชนแห่งนีเ้ ป็นแหล่งผลิตครกหินทีม่ ชี อื่ เสียงของจังหวัดพะเยา และส่งไปจ�ำหน่ายทั่วประเทศไทย (ใครที่ไปเยือนชุมชนนี้ ลองถามดูนะคะว่า แหล่งจ�ำหน่ายครกที่มีชื่อเสียงของประเทศไทยแถวภาคตะวันออกรับสินค้าจากที่นี่ไปด้วยรึเปล่า แล้ว บอกต่อด้วยนะคะ) จากการที่ดิฉันและคณะวิจัย ได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลงานวิจัย “การสืบค้นและการจัดการมรดกทาง วัฒนธรรมเมืองพะเยาเพื่อการพัฒนาเมืองยั่งยืนอย่างสร้างสรรค์” ในช่วงเวลาที่ผ่านมา ก็ได้ไปเยือน ชุมชนบ้านงิ้ว ท�ำให้ทราบว่าการแกะสลักหินของชาวชุมชนบ้านงิ้ว ต�ำบลบ้านสาง ได้เริ่มมากว่า 100 ปี โดย เริ่มแรก สล่าโป สมเครือ (ค�ำว่า “สล่า” ในภาษาล้านนา หมายถึง ช่างที่มีฝีมือในการท�ำงาน สร้างสรรค์ต่าง ๆ เช่น การสร้างบ้าน การสร้างวัด พระพุทธรูป เป็นต้น) ท�ำการแกะสลักหินให้เป็นครก และเครื่องใช้อื่น ๆ โดยสืบทอดมาจากผู้เป็นพ่อ และต่อมาได้มีการพัฒนาไปสู่การแกะสลักพระพุทธรูป หินทราย โดยได้แรงบันดาลใจมาจากการได้พบเห็นพระพุทธรูปหินทรายทีม่ อี ยูม่ ากมายในจังหวัดพะเยา นอกจากนีก้ ารสกัดครกหินยังเป็นอาชีพทีแ่ พร่หลายในชุมชน เดิมทีในอดีตการสกัดครกหินจะเป็นหน้าที่ ของผูช้ าย แต่ในปัจจุบนั ผูห้ ญิงก็สามารถท�ำได้ และในชุมชนบ้านงิว้ ครัวเรือนส่วนใหญ่จะท�ำครกหินเป็น

อาชีพเสริม ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์ทที่ ำ� จากหินมีหลากหลาย ชนิ ด มากขึ้ น เช่ น พระพุ ท ธรู ป ใบเสมา ลู ก นิ มิ ต อ่างอาบน�้ำ อ่างล้างหน้า หม้อน�้ำ หรือเครื่องประดับ ตกแต่งต่าง ๆ โดยในปัจจุบันได้มีลูกค้าได้เข้ามาสั่ง ผลิตภัณฑ์หินจากชุมชนมากขึ้น ซึ่งส่วนมากแล้วมักอยู่ ในรูปแบบของสิง่ ของทีใ่ ช้ในการตกแต่งรีสอร์ท โรงแรม หรื อ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วต่ า ง ๆ โดยน� ำ ตั ว อย่ า งหรื อ ออกแบบมาให้ ครกหินและผลิตภัณฑ์จากหินของ ชุมชนบ้านงิ้วมีการส่งออกไปจ�ำหน่ายทั่วประเทศตาม จ�ำนวนที่มีคนสั่งหรือมีพ่อค้าคนกลางเข้ามารับซื้อซึ่ง จากการพูดคุยและสอบถามผูท้ ำ� อาชีพแกะสลักหินและ ชาวบ้านในชุมชน พบว่า ส่วนใหญ่ต้องการให้มีนักท่อง เทีย่ วเดินทางเข้าไปท่องเทีย่ วในหมูบ่ า้ น เพราะต้องการ แสดงให้นกั ท่องเทีย่ วเห็นศักยภาพในการท�ำผลิตภัณฑ์ ของชุมชน เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชน และ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชน เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับ คนในชุมชน ได้ทราบอย่างนีแ้ ล้ว ดิฉนั ขอเชิญชวนทุกท่านให้ไป เยือนชุมชนแห่งนี้ ได้ไปดูวิธีการท�ำครกหิน ที่เชื่อว่าใน ห้องครัวของบ้านส่วนใหญ่ต้องมี ถึงจะมีแล้วใช้บ้าง ไม่ ใช้บา้ งก็ไม่เป็นไร เพราะวิถชี วี ติ และสภาพสังคมของเรา เปลี่ยนแปลงไป เป็นการซื้ออาหารส�ำเร็จรูป หรือทาน กันนอกบ้านมากขึน้ (ซึง่ ของครอบครัวของดิฉนั ก็จดั อยู่ ในกลุ่มนี้) แต่ถ้าท่านได้ไปเยือน ท่านจะได้เห็นความ เหนือ่ ยยาก ความพยามยาม และความอดทนของผูเ้ ป็น สล่าท�ำครก ที่ต้องใช้ทั้งแรงกายและแรงใจแลกมาอาจ ท�ำให้รสู้ กึ ว่าอยากต�ำน�ำ้ พริกทานเองขึน้ มาทันทีกไ็ ด้นะ คะ และใช้โอกาสนี้เป็นการแสดงฝีมือในการประกอบ อาหารให้กบั คนในครอบครัวได้ลมิ้ รส และเลิกบ่นซักที ว่าทานแต่อาหารถุง หากไปเยือนแล้วก็ชว่ ยซือ้ ครกหรือ ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ติดไม้ติดมือมาด้วย จะได้เป็นการสร้าง งานและกระจายรายได้ให้กับคนท้องถิ่นคะ


: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

โรงพยาบาลพะเยา โทร. 054 - 409300 - 3 ภญ.จิราภรณ์ หาญธัญพงศ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.พะเยา

9

â·ÅÙÍÕ¹ à¤ÁÕ㹡ÃÐáÊ

เมื่อวันเสาร์ที่ 5 พฤษภาคม 2555 ที่ผ่านมา เถือเป็นวันฤกษ์ดีของใครหลายคน

แต่สำ� หรับชาวมาบตาพุดวันนัน้ คงเป็นวันฤกษ์ไม่ดที ตี่ อ้ งจดจ�ำกันไปอีกนาน เชือ่ ว่าท่าน ผูอ้ า่ นหลายท่านคงยังจ�ำเหตุระเบิดอย่างรุนแรงภายในโรงงานบีเอสทีอลิ าสโตเมอร์สได้ ซึง่ จากผลการตรวจสอบสรุปว่าน่าจะมีสาเหตุมาจากการระเบิดของสาร “โทลูอนี ” ทีใ่ ช้ ในการผลิตยางสังเคราะห์ส�ำหรับอุตสาหกรรมยางรถยนต์ แล้วสารโทลูอีนที่ว่านี้มันคือ อะไร มันเป็นอันตรายต่อผู้ที่สัมผัสหรือไม่อย่างไร วันนี้จะได้รู้กัน โทลูอีน (Toluene) หรือ เมธิลเบนซิน เป็นของเหลว ฮีโมโกลบินลดลง เม็ดเลือดแดงแตกง่าย ความดันโลหิต ใส ไม่มีสี ระเหยได้ ติดไฟ และเกิดระเบิดได้ มีกลิ่นเฉพาะ ต�่ำ เป็นต้น ในผู้เสพติดที่เป็นหญิงอาจพบความผิดปกติ ตัว โดยปกติไม่พบในธรรมชาติ เนือ่ งจากเป็นสารสังเคราะห์ ของการมีประจ�ำเดือนได้ จากอุตสาหกรรมถ่านหินและปิโตรเคมี มักใช้เป็นตัวท�ำ อย่างไรก็ตามจากเหตุระเบิดในครั้งนี้ยังไม่มีความ ละลายในอุตสาหกรรม ยาง พลาสติก และสี ใช้เป็นสารตั้ง ไม่ชัดเจนจากภาครัฐว่านอกจากสารโทลูอีนแล้วยังมี ต้นในการผลิตสารเคมีหลายชนิด ใช้ในอุตสาหกรรมหนัง สารเคมีที่เป็นอันตรายอื่นรั่วไหลออกมาด้วยหรือไม่ ซึ่ง เทียม เส้นใย การเคลือบกระดาษ และหมึกพิมพ์ ใช้ใส่ใน ต่างจากกรณีโรงไฟฟ้าระเบิดในประเทศญี่ปุ่นที่มีการ น�้ำมันเชื้อเพลิง เป็นส่วนประกอบหลักของทินเนอร์ในสี ประกาศรายชือ่ สารเคมีและปริมาณทีต่ รวจพบ พร้อมทัง้ แลกเกอร์และน�้ำมันชักเงา ให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อให้เข้าใจและน�ำไปใช้ในการ โทลูอีน สามารถเข้าสู่ร่างกายโดยการสูดดม (40 - ปกป้องดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัว การเปิดเผย 60%) และการสัมผัสโดยตรง อาการพิษเฉียบพลันเมื่อได้ ข้อมูลทีแ่ ท้จริงของสารเคมีทเี่ กีย่ วข้องกับมลพิษโดยตรง รับโทลูอีนในปริมาณมากอาจท�ำให้หมดสติในระยะเวลา มีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ เพือ่ น�ำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจ ไม่กี่นาทีโดยไม่มีอาการเตือนใดๆ แต่หากได้รับโทลูอีน ปกป้องประชาชนของรัฐ และมีความส�ำคัญยิ่งต่อนาที เป็นระยะเวลานาน โดยเฉพาะในผู้เสพติดประเภทดมกาว ชีวิตของผู้ประสบภัย เพราะรายชื่อสารเคมีจ�ำเป็นต่อ ซึ่งสูดดมโทลูอีนเป็นเวลาตั้งแต่ 3 ถึง 15 ปี พบว่ามีผลต่อ การรักษาเพือ่ ลดความเป็นพิษของสารเคมีชนิดนัน้ หาก สติปัญญาและอารมณ์ผิดปกติ ท�ำให้มีอารมณ์เคลิบเคลิ้ม แพทย์ทราบชัดถึงชนิดสารเคมีที่เป็นต้นเหตุจะสามารถ มึนเมา คล้ายเมาเหล้า ฉุนเฉียวง่าย เซื่องซึม และยังส่งผล รักษาผู้ป่วยได้ตรงกับสาเหตุ ต่อระบบประสาทส่วนกลาง เช่น เบื่ออาหาร และต่อระบบ ประสาทอัตโมนัติ ท�ำให้การควบคุมการท�ำงานของระบบ กล้ามเนื้อเสียไป เช่น ไม่สามารถหยิบจับหรือไม่มีแรงก�ำ สิ่งของ นอกจากนี้ยังมีรายงานความเป็นพิษต่อปอด เกิด ภาวะถุงลมโป่งพอง (emphysema) ลมหายใจ มีกลิน่ เหม็น รวมถึงมีผลต่อระบบเลือด เช่น ปริมาณเม็ดเลือดแดงและ

อโรคยาปรมาลาภา

“Wealthy & Healthy”

โดย ผศ.กำ�ธร ธรรมพิทักษ์ คณะวิทยาการจัดการสารสนเทศศาสตร์ มหาวิยาลัยพะเยา ตำ�บลแม่กา อำ�เภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000

ความหลงไหลของคนปัน่ จักรยานไม่ใช่เพียงแต่ปน่ั จักรยาน สิ่งนี้แหละท�ำให้พวกเรา (รวมทั้งผู้เขียนด้วย) แตกต่างจากคนปั่นจักรยานทั่วไป เวลาเจอเพื่อนใหม่ หรือมีอะไรอะไหล่แปลกใหม่กบั จักรยานคันเดิม จะเป็น เช่นนี้ “โอ้ วันนีเ้ ล่นล้อใหม่ลา่ สุด รุน่ นีไ้ หลรืน่ หรือเปล่า” เพียงเท่านี้แหละความสดชื่นบังเกิดกับคนที่เพิ่งเสีย สตางค์ซื้ออะไหล่ใหม่มา จึงเป็นที่มาของเรื่องเล่าในวัน นี้ “สิ่งที่ยากส�ำหรับการเริ่มปั่นจักรยาน” เจี๊ยบชวน จ๊อตเข้ากลุม่ จักรยาน เดิมจ๊อตปัน่ จักรยานเก่าๆไปๆมาๆ เอาเพียงได้เหงื่อซึมๆ จ๊อตถามเจี๊ยบว่าปั่นยากไหม จักรยานแบบนี้ “ไม่ยากหรอก ปัน่ เหมือนจักรยานทัว่ ไป ไหลลื่นกว่า ปั่นขึ้นเขาก็มีระบบเกียร์ที่ช่วยผ่อนแรงไม่ ค่อยจะเหมื่อย ระบบเกียร์จานหน้าท�ำจากโลหะพิเศษ น�้ำหนักเบา

เขาว่าเป็น ไททีเนียม เช่นเดียวกับวัสดุท�ำยาน อวกาศเชียว นี่ดูตรงกระโหลกนี่ซิเขาเขียนว่า “Ceramic Baring” จะช่วยลดการเกิดความร้อนในตลับ ลูกปืน ช่วยยืดอายุปัญหาตลับลูกปืนแตก นี่ๆล้อรุ่น ใหม่ท�ำจากวัสดุน�้ำหนักเบาเขาเรียกว่า “คาร์บอน”

ความแข็งแกร่งสุดยอด เหมือน “เพชร” ดูตรงซีล่ อ้ ซิ นายเห็นไหมมี 1 ซี่ที่ขนาดใหญ่กว่าซี่อื่นๆ มันจะ ช่วยให้เกิดแรงเหวีย่ ง ล้อจะเกาะถนนมากขึน้ เออๆ แล้ว นายล๊ะ “จ๊อต” อะไรยากส�ำหรับการเริ่มต้น ปั ่ น จั ก รยานเราว่ า ..... เออ ส� ำ หรั บ เราน๊ ะ 2 อย่าง“ตั้ง 2 อย่าง”!!! อะไรหรือที่ยากอย่างแรก “เงินผ่อนจ่ายซื้อจักรยาน” สอง “เข้าใจสิ่งที่นาย พูด”


10

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

กับการคุ้มครองผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดพะเยา ดร. นภนันต์ ศุภศิริพงษ์ชัย อาจารย์ประจ�ำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ดังทีไ่ ด้กล่าวไปในฉบับทีแ่ ล้วว่าลวดลายผ้าโบราณทีต่ ก เป็นสมบัตสิ าธารณะไปแล้วอาจกลับมาเป็นงานอันมีลขิ สิทธิ์ ได้อีกครั้ง หากช่างทอผ้าท้องถิ่นของจังหวัดพะเยาท�ำการ ปรั บ ปรุ ง ลวดลายโบราณเสี ย ใหม่ ห รื อ ดั ด แปลงลวดลาย โบราณจนก่อให้เกิดเป็นลวดลายในรูปแบบใหม่ แล้วน�ำ ลวดลายผ้าโบราณทีป่ รับปรุงหรือดัดแปลงขึน้ ใหม่นนั้ ไปพิมพ์ ลายลงบนผืนผ้าไหม เช่นนี้ผ้าไหมพิมพ์ลายผ้าโบราณในรูป แบบใหม่ ก็ ส ามารถได้ รั บ การคุ ้ ม ครองในฐานะงานศิ ล ป ประยุกต์ซึ่งเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ได้ตามมาตรา 4 พระราช บัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ได้ นอกจากสามารถได้รับการ คุม้ ครองตามกฎหมายลิขสิทธิแ์ ล้ว ลวดลายโบราณของผ้าทอ พะเยาก็อาจได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสิ่งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 ได้เช่นกัน โดยพระราชบัญญัติสิ่ง บ่ ง ชี้ ท างภู มิ ศ าสตร์ ไ ด้ ใ ห้ ค� ำ จ� ำ กั ด ความ “สิ่ ง บ่ ง ชี้ ท าง ภูมศิ าสตร์” ไว้วา่ “ชือ่ สัญลักษณ์ หรือสิง่ อืน่ ใดทีใ่ ช้เรียกหรือ ใช้แทนแหล่งภูมศิ าสตร์ และทีส่ ามารถบ่งบอกว่าสินค้าทีเ่ กิด จากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ ชื่อเสียง หรือ คุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมศิ าสตร์ดงั กล่าว” โดยมาตรา 5 ของพระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า วก� ำ หนดให้ สิ่ ง บ่ ง ชี้ ท าง ภูมศิ าสตร์ทจี่ ะขอขึน้ ทะเบียนส�ำหรับสินค้าได้นนั้ ต้องไม่เป็น สิ่ ง บ่ ง ชี้ ท างภู มิ ศ าสตร์ ที่ ขั ด ต่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ยหรื อ ศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือนโยบายแห่งรัฐ และต้องไม่ เป็นชือ่ สามัญของสินค้าทีจ่ ะใช้สงิ่ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์นนั้ ทัง้ นี้ การไม่เป็นชื่อสามัญของสินค้า ก็คือต้องไม่เป็นชื่อที่รู้จักกัน โดยทั่วไปว่าเป็นชื่อที่ใช้เรียกขานสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ใน ส่วนของผูม้ สิ ทิ ธิขอขึน้ ทะเบียนสิง่ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์นนั้ พระ ราชบัญญัติสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ได้วางข้อจ�ำกัดไว้ในมาตรา 7 ว่า “ผูม้ สี ทิ ธิขอขึน้ ทะเบียนสิง่ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์มดี งั นี้ (1)

ตอนที่ 5

ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หรือ องค์กรอื่นของรัฐที่เป็นนิติบุคคลซึ่งมีเขต รับผิดชอบครอบคลุมบริเวณแหล่งภูมิศาสตร์ของสินค้า (2) บุคคลธรรมดา กลุ่มบุคคล หรือนิติบุคคลซึ่งประกอบกิจการ ค้าเกี่ยวข้องกับสินค้าที่ใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ และมีถิ่นที่ อยูใ่ นแหล่งภูมศิ าสตร์ของสินค้า (3) กลุม่ ผูบ้ ริโภคหรือองค์กร ผู้บริโภคสินค้าที่ใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์” เมื่อผู้มีสิทธิขอจด ทะเบียนได้ยนื่ ขอจดทะเบียนและสิง่ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์นนั้ ได้ รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการแล้ว ผลก็คือคนในท้อง ถิ่นนั้นจะสามารถน�ำชื่อที่ถูกขึ้นทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทาง ภูมศิ าสตร์ไปใช้ประกอบกับสินค้าชนิดดัง้ กล่าวของคนในท้อง ถิ่นนั้นได้ หากบุคคลภายนอกจะน�ำชื่อที่ขึ้นทะเบียนเป็นสิ่ง บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไปใช้ประกอบหรืออ้างอิงกับผลิตภัณฑ์ ของตนเองเพือ่ แสดงหรือท�ำให้บคุ คลอืน่ หลงเชือ่ ว่าผลิตภัณฑ์ หรือสินค้าทีไ่ ม่ได้มที มี่ าจากแหล่งภูมศิ าสตร์ทรี่ ะบุในค�ำขอขึน้ ทะเบียนเป็นผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่มาจากแหล่งภูมิศาสตร์ ดังกล่าว ก็จะถือเป็นการละเมิดได้ ตัวอย่างเช่นชื่อ “ผ้าทอ ตีนจกแม่แจ่ม” เมื่อได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการ แล้ว ผลก็คือผลิตภัณฑ์ผ้าทอตีนจกที่ผลิตโดยคนในพื้นที่ อ�ำเภอแม่แจ่มเท่านัน้ ทีม่ สี ทิ ธิใช้คำ� ว่า “ผ้าทอตีนจกแม่แจ่ม” ได้ หรือชื่อ “ผ้าไหมโฮลสุรินทร์” ก็เช่นกัน เมื่อได้รับขึ้น ทะเบียนอย่างเป็นทางการแล้ว จะมีผลให้ผลิตภัณฑ์ผ้าไหม โฮลทีผ่ ลิตขึน้ โดยคนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุรนิ ทร์เท่านัน้ ทีม่ สี ทิ ธิใช้ ค�ำว่า “ผ้าไหมโฮลสุรินทร์” ได้ หากบุคคลในพื้นที่อื่นหรือ จังหวัดอื่นจะน�ำชื่อดังกล่าวไปใช้ประกอบหรืออ้างอิงกับ ผลิตภัณฑ์ของตนเองที่ไม่ได้ผลิตขึ้นในพื้นที่อ�ำเภอแม่แจ่ม หรือในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุรนิ ทร์ ก็จะถือเป็นการกระท�ำโดยมิชอบ ซึ่งถือเป็นการละเมิดและจะต้องรับโทษตามมาตรา 39 และ มาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 ซึ่งก�ำหนดให้ผู้กระท�ำความผิดต้องระวางโทษปรับไม่ เกินสองแสนบาท

โตขึ้นหนูอยากเป็นอะไร...

เยาวชนเมือง

ธีระศักดิ์ สิทธิชัยธนะกิจ

บรรณาธิการ

”โตขึ้นมาหนูอยากเป็นอะไร “วันนั้นได้มีโอกาสไปร่วมงานโครงการ ท�ำ 1 ไร่ได้ 1 แสนเป็นอีก 1 โครงการหลักของสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รายละเอียดของโครงการคร่าวๆก็จะเป็นในเรือ่ ง ท�ำนา ปลูกผักสวนครัว เลีย้ ง หมูเ ลี้ยงปลา เป็ดไก่ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงและประเมินรายได้ 1 ไร่ ได้ 1 แสน มีการท�ำงานอย่างเป็นขั้นเป็นตอน มีการติดตามประเมินผลกับ ผูร้ ว่ มโครงการ หอการค้า.พะเยา ได้เปิดตัวโครงการในจังหวัดพะเยาจุดแรก ที่ไร่ของคุณสุรพล เต็มสวัสดิ์ รองประธานหอการค้าจ.พะเยา ต.ดงเจน อ.ภูกามยาว เป็นต้นแบบ และขยายโครงการ ในการนีท้ างหอการค้า จ.พะเยา ได้เล็งเห็นความส�ำคัญในการสร้างคนแถว 2 (เยาวชน ) ได้น�ำน้องๆระดับชั้น ม.4 ของโรงเรียนดงเจนวิทยาคม เข้าร่วมศึกษาดูงาน ดูการปลูกผักปลูกนา เลี้ยงปลาเลี้ยงไก่ และท่านประธานหอการค้า จ.พะเยา(คุณหัสนัย แก้วกุล) ได้ถามน้องๆอนาคตอยากเป็นอะไร ส่วนใหญ่ไม่มีใครตอบอาชีพท�ำนา ส่วน ใหญ่ตามมาตรฐานครับ ทหาร ต�ำรวจ พยาบาลแต่นอ้ งบางกลุม่ เลือกทีจ่ ะเป็น และลงมือท�ำลงทุนปลูก และเป็นการสะท้อนให้เห็นโครงการให้เยาวชนได้รู้ ถึงขบวนการผลิตในการท�ำไร่ทำ� สวน ท�ำนา ร่วมไปถึงการปลูกจิตส�ำนึก อาชีพ หลังสูฟ้ า้ หน้าสูด้ นิ และเป็นอาชีพทีส่ ร้างโลกให้นอ้ งๆ เหลียวหลังแลหน้าเพือ่ การแข่งขัน และการต้อนรับอีก 2 ปีเศษข้างหน้ากับ AEC สังคมประชาคม อาเซียน และหลายๆประเทศทีป่ ระกาศจะเป็นผูผ้ ลิตข้าวเป็นอันดับหนึง่ ของ โลก และหอการค้าจ.พะเยาจะพยายามท�ำทุกๆโครงการให้คขู่ นานไปกับการ สร้างคน (เยาวชน)ขยายทุกๆสถาบันและสร้างงานให้ชุมชน และสุขใจกับ น้องๆเลือกทีจ่ ะเป็น คิดดี ท�ำดี พอดี พอใจ พอเพียง เยาวชนภูกามยาว จริงๆ กับฉบับนี้ กับน้อง ร.ร.ดงเจนวิทยาคม…….


เก็บตก

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

11

ฟุตบอลยูโร 2012 อีกด้านของการเล่นฟุตบอลที่ต้องใส่ใจ ดร.ปราณี อยู่ศิริ

กระแสกีฬาอะไรก็คงไม่ดังเท่ากับกระแสฟุตบอลยูโร 2012 ที่ผ่านมาเป็นแน่ค่ะ ขณะที่ บุญศักดิ์ พลสนะ นัก แบดมินตันมือ 1 ของไทย คว้าแชมป์หลี่ หนิง สิงคโปร์ โอเพ่น 2012 ในการแข่งขันแบดมินตัน ซูเปอร์ซีรีส์ รายการสะสม คะแนน ทีป่ ระเทศสิงคโปร์ ก็ยงั ไม่ดงั เท่าหรือแม้แต่ทมี วอลเล่ย์ บอลสาวไทย ไปแข่งในรายการ World Grand Prix 2012 และผ่านเข้ารอบสุดท้ายยังดังต้านกระแสฟุตบอลยูโรไม่ได้ ฉบับนีเ้ ราก็จะตามกระแสของฟุตบอล ในอีกด้านทีต่ า่ งออกไปนะคะ โดยเฉพาะเรือ่ งของการบาดเจ็บของนักกีฬาฟุตบอล โดยเฉพาะนักฟุตบอลไทยว่า เจ็บบริเวณอวัยวะไหนบ่อยสุด และควรจะป้องกันอย่างไร 1พบว่าส่วนใหญ่แล้วบาดเจ็บที่หัวเข่า 29.1% ข้อเท้า 14.6% หลัง 10.5% ต้นขา 10% น่อง/หน้าแข้ง 5.9% เท้า 5.8% ศรีษะ ใบหน้า และต้นคอโดยประมาณ 2.7% อาการบาดเจ็บของนักฟุตบอลส่วนใหญ่ เกิดจากการปะทะกันในเกมฟุตบอล และมักจะมีอาการบาดเจ็บที่พบมากที่สุด คือ ข้อ เคล็ดข้อเพลง และปวดหลัง หลักการส�ำคัญ ส�ำหรับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เมื่อเกิดการบาดเจ็บทางการกีฬาไม่ว่าชนิดใด แม้แต่ในกีฬาฟุตบอลนะคะ เรามักจะใช้หลักการ RICE ในการปฐมพยาบาลค่ะ จ�ำง่ายซึ่งเป็นการน�ำค�ำที่รวมเอาพยัญชนะต้น ของค�ำภาษาอังกฤษ 4 ค�ำ มารวมไว้เป็นหลักการตามขั้นตอน ประกอบไปด้วย 1. Rest เมื่อเกิดการบาดเจ็บขึ้นต้องหยุดพักการใช้งานอวัยวะ บริเวณที่บาดเจ็บ หรือให้หยุดเล่นในขณะการแข่งขัน หรือ ออกก�ำลังกาย 2. Ice เมื่อหยุดพักการใช้งานอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บแล้ว ต้องรีบใช้ความเย็นหรือน�้ำแข็งประคบส่วนที่ได้รับบาดเจ็บทันที และภายใน 24 ช.ม. โดยใช้ถุงผ้าหรือผ้าหุ้มน�้ำแข็งหรือถุงประคบเย็นประคบไว้ ใช้เวลาโดยประมาณ 10 – 20 นาที เพื่อลดการ ปวด บวม และการอักเสบจากการบาดเจ็บ 3. Compression คือการใช้ผ้าพัน โดยใช้ผ้าพันกระชับส่วนที่บาดเจ็บนั้นไม่ให้บวมเพิ่มมากขึ้น โดยให้พันจากส่วนปลาย ไปหาส่วนต้น ร่วมกับประคบน�้ำแข็งด้วยก็ได้ 4. Elevation เมื่อหยุดพัก ประคบความเย็นและพันผ้าแล้ว ต้องยกขาให้สูงกว่าระดับหัวใจ เช่น ยกเท้าสูงเพื่อให้ไล่เลือด กลับสู่หัวใจได้สะดวกเป็นการช่วยลดอาการบวมได้ อย่าลืมว่าหลักการ RICE นัน้ เป็นเพียงแค่การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นนะคะ ต้องสังเกตุอาการบาดเจ็บและประเมินถึงความ มากน้อยของการบาดเจ็บก่อน จึงค่อยท�ำการปฐมพยาบาล และเมื่อท�ำทุกขั้นตอนแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น มีอาการเจ็บปวด บวม มาก มีไข้ หรือมีการผิดรูปของอวัยวะนั้น ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อรักษาอาการต่อไปค่ะ ซึ่งการปฐมพยาบาลอาการบาดเจ็บ ทางการกีฬา โดยเฉพาะนักฟุตบอลนั้นอาจจะไม่จ�ำเป็นเลย หากได้มีการป้องกันโดยที่นักฟุตบอลต้องเล่นให้ถูกต้องตามเทคนิค ในการเตะ โหม่ง การเคลือ่ นไหวร่างกาย และต้องสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเฉพาะนักฟุตบอลให้มปี ระสิทธิภาพ จะสามารถ ลดโอกาสการบาดเจ็บได้ โดยเล่นด้วยความระมัดระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดได้ทุกเมื่อ รวมถึงต้องเล่นตามกฎกติกาอย่างเคร่งครัด จึงจะท�ำให้ลดการบาดเจ็บอันเกิดจากการปะทะได้ค่ะ นอกจากนี้เรื่องราวของการบาดเจ็บและสาเหตุการตายของนักฟุตบอล อาชีพทีม่ ชี อื่ เสียงหลาย ๆ คน ก็เป็นทีส่ นใจและเกินความคาดหมายส�ำหรับนักกีฬาทีม่ คี วามสมบูณร์ทางร่างกาย ซึง่ มีอตั ราการ ตายของนักกีฬาในสนามจ�ำนวนเพิม่ ขึน้ เป็นเพราะสาเหตุใดนัน้ คอยติดตามในฉบับหน้านะคะ ฉบับนีข้ อให้ทกุ ท่านเชียร์ฟตุ บอล พร้อมกับดูแลสุขภาพตัวเอง พักผ่อนให้เพียงพอนะคะ เพราะจะยิ่งท�ำให้มีประสิทธิภาพในการเชียร์บอลมากขึ้น และอย่าลืม บอลไทยนะคะ ข้อมูลจาก ผู้จัดการ 360๐ รายสัปดาห์ 26 มกราคม 2555


12

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

ความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย เกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

ตอนที่ 2

โดย อุเทน ธัชศฤงคารสกุล อาจารย์ประจำ�คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

สวัสดีท่านผู้อ่านที่เคารพ ในตอนที่แล้วได้เริ่มต้นกล่าว ถึงบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย และ กระบวนการในการจัดท�ำความเห็นและข้อเสนอเกี่ยวกับ ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเพิ่มเติมมาแล้ว ส�ำหรับบทความ ในตอนนี้จะได้น�ำเสนอถึงความเห็น ข้อสังเกต และข้อเสนอ แนะของคณะกรรมการปฏิรปู กฎหมายในภาพรวมต่อไป คณะ กรรมการปฏิรปู กฎหมายได้มคี วามเห็นและข้อเสนอแนะเสนอ ต่อประธานรัฐสภาในวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ มีเนื้อหา โดยสรุป ดังต่อไปนี้ ๑. เนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองที่รุนแรง และกว้ า งขวางในปั จ จุ บั น เป็ น ปั ญ หาแนวทางการพั ฒ นา ประชาธิปไตยที่แตกต่างกันรวมทั้งการจัดท�ำร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมนี้ก็ยังเป็นปัญหาอยู่ กล่าวคือ มีทั้งผู้ที่เห็น ด้วย และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ดังนั้น การจัด ท�ำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิม่ เติม และการจัดท�ำร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับใหม่ถ้าหากมีขึ้นควรมีเจตจ�ำนงเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนา ประชาธิปไตยที่แท้จริง และสามารถแก้ไขปัญหาความขัด แย้งทางการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ มิใช้เป็นไปเพื่อมุ่ง ประโยชน์ทางการเมืองของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เพราะจะท�ำให้ ไม่เกิดผลดีต่อการพัฒนาประชาธิปไตยในระยะยาว และเพิ่ม ปัญหาความขัดแย้งให้มากยิ่งขึ้น ๒. ในประเด็ น ที่ ม าของสมาชิ ก สภาร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ ควร ได้รับการยอมรับจากประชาชนทุกฝ่ายที่มีอุดมการณและ ความคิดเห็นทางการเมืองที่แตกต่างกัน ซึ่งจะท�ำให้การจัด ท�ำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่มีความชอบธรรมมากขึ้น และเป็น ไปตามหลักการต่อไปนี้ ก) ควรอยู่บนพื้นฐานความหลาก หลายในความคิดเห็นและกลุ่มการเมืองให้มากที่สุดโดยให้ มีจ�ำนวนสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญมีจ� ำนวนตามสัดส่วน ประชากรที่มีสิทธิเลือกตั้งเพื่อให้จังหวัดหนึ่งมีสมาชิกสภา ร่างรัฐธรรมนูญได้หลายคนโดยก�ำหนดให้จังหวัดเป็นเขต เลือกตั้ง,ข)การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและการท�ำ ประชามติเป็นกระบวนการที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต้องมี หาก การจัดท�ำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่มุ่งประสงค์ให้รัฐธรรมนูญ

เป็นที่ยอมรับและเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง ดังนั้น จึง ควรก�ำหนดให้กระบวนการรับฟังความคิดเห็น และการท�ำ ประชามติเป็นช่องทางของการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และเปิด โอกาสให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าได้แสดงความต้องการ และ ความคิดเห็น โดยกระบวนการเหล่านี้ต้องก�ำหนดไว้ในราย ละเอียดที่มากพอในร่างรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเพิ่มเติมด้วย และไม่ควรก�ำหนดระยะเวลาจัดท�ำร่างรัฐธรรมนูญให้เร่งรัด และสั้นจนเกินไป น่าจะให้เวลาประมาณ ๓๐๐ วัน,ค) ร่าง รัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเพิม่ เติมทีอ่ ยูใ่ นการพิจารณาของรัฐสภา มีเพียงสามฉบับ กล่าวคือ ฉบับของรัฐบาล ฉบับของพรรคเพือ่ ไทย และฉบับของพรรคชาติไทยพัฒนาเท่านั้น ส่วนอีกสาม ฉบับซึ่งเป็นร่างของภาคประชาชนยังไม่ได้รับการตรวจสอบ รายชือ่ ผูเ้ ข้าชือ่ เสนอ ดังนัน้ รัฐสภาควรปฏิบตั ติ ามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๙๑ ทีม่ งุ่ หมายให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการเสนอแก้ไขเพิม่ เติมรัฐธรรมนูญเข้าสูก่ ารพิจารณาของรัฐสภา และถือเป็นการ ความรับผิดชอบต่อเจตจ�ำนงของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอขอ แก้ไขเพิม่ เติมรัฐธรรมนูญทีไ่ ด้เข้าชือ่ กันมาแล้วจ�ำนวนมากกว่า หนึ่งแสนห้าหมื่นคน อันเป็นบรรทัดฐานที่ส�ำคัญในการสนอง ตอบต่อการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการเสนอกฎหมายตาม ครรลองของระบอบประชาธิปไตย ประธานรัฐสภาจึงควรเลือ่ น การพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับแก้ไข เพิม่ เติม ออกไปก่อน เพือ่ รอฉบับของประชาชนอีกสามฉบับให้ แล้วเสร็จและมีโอกาสได้รับการพิจารณาด้วยในที่สุด จะเห็นได้ว่า ประเด็นที่คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายให้ ความส�ำคัญต่อการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญคือ เจตนารมณ์ ต้องเพื่อพัฒนาประชาธิปไตยเป็นส่วนรวม กระบวนการจัด ท�ำร่างรัฐธรรมนูญในเรือ่ งทีม่ าของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ และการจัดท�ำร่างรัฐธรรมนูญที่ค�ำนึงถึงการรับฟังความคิด เห็น ความต้องการทีห่ ลากหลาย และเป็นของประชาชนอย่าง แท้จริงตลอดจนการให้โอกาสภาคประชาชนได้ร่วมเสนอร่าง รัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเพิ่มเติมด้วย

9

8 - 263311

08

Delivery Service

โทรสั่งตั้งแต่เวลา 09.00 - 17.00 น. จันทร์ - เสาร์

บริการส่ง

ฟรี!*


: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

ครบรอบ ปีที่ 3 พะเยาโฟโต้คลับ

ภาพโมโนโทน คืออะไร?

สวัสดีครับ พบกันอีกแล้ว

ช่วงนี้อากาศแปรปรวน หลายๆครั้งออกบ้านไม่ได้รูป หลายๆทีอากาศดีๆก็ไม่ได้พกกล้องติดไปด้วย ซึ่งผมก็เป็นบ่อยๆครับ แหะแหะแหะ ^^ เข้าเรือ่ งกันดีกว่า หลังจากครัง้ ก่อนคุยกันเรือ่ งการใช้คสู่ ไี ปแล้ว วันนีเ้ ราจะมาคุยกันเรือ่ งภาพโมโนโทนครับ ภาพโมโนโทนนั้นหลายๆคนเข้าใจว่าเป็นภาพขาวด� ำ หรือภาพสีซีเปียเท่านั้น จริงๆแล้วไม่ใช่ครับ ภาพโมโนโทน คือภาพที่มีโทนภาพไปทางสีเดียวกัน คือมีสีเด่นหลักๆอยู่สีเดียวแล้วไล่โทนความเข้มความสว่าง ของสีนนั้ ภาพโทนนีก้ ารเล่นกับการไล่โทนของเฉดสีในภาพ ดังนัน้ สิ่งส�ำคัญของการถ่ายภาพประเภทนีค้ ือ “แสง” ยิ่งแสงดีๆ ทิศทางแสงสวยๆ ยิ่งท�ำให้ภาพที่มีแต่สีโทนเดียวมีมิติขึ้นมาก ในการถ่ายภาพโมโนโทน จึงต้องมอง เยอะเป็นพิเศษ เพราะเราไม่มีสีอื่นมาปะปนแต่ใช้แสงในการขับเรื่องราว ใช้องค์ประกอบในการดึงดูดสายตา เช่นเคยครับพิมพ์ไปอ่านไปอาจจะยังไม่เห็นภาพเท่าไหร่ ผมก็มีภาพตัวอย่างมาให้ดูกันครับ อากาศชื้นๆ แบบนีน้ อกจากรักษาสุขภาพตัวเองแล้ว อย่าลืมรักษาสุขภาพกล้องด้วยนะครับ ขอบคุณครับ ^^

ครบรอบปีที่ 3 แล้วส�ำหรับชมรมถ่าย

ภาพพะเยาโฟโต้คลับ เวลาได้ผ่านไปอย่างรวดเร็ว กับวันเวลาที่ผ่านไป ณ ที่แห่งนี้ท�ำให้เราได้มีโอ กาสรุจ้ กั เพือ่ นๆ พีๆ่ น้องๆ ทีม่ คี วามชอบและรักใน การถ่ายภาพ ท�ำให้เราได้มีโอกาสพัฒนาฝีมือการ ถ่ายภาพมากขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้เราได้มีโอกาสร่วม กิจกรรม สนุกสนานเฮฮา สังสรรค์ อยูเ่ ป็นนิจ และ ท�ำให้เราได้มโี อกาสดีดอี กี หลาย ๆ อย่างทีผ่ า่ นเข้า มา ให้สมาชิกพะเยาโฟโต้คลับได้สัมผัสมากมาย เหลือคณา และชมรมพะเยาโฟโต้คลับของเราก็ จะเติบโตก้าวสู่ปีที่ 4 และก้าวต่อ ๆ ไป ขอแสดง ความยินดีด้วยครับ congratulation ในกิจกรรมฉลองครบรอบปีที่ 3 ของชมรม ในปีนเี้ ราได้จดั กิจกรรมแข่งขันถ่ายภาพได้รบั ความ สนใจจากสมาชิกร่วมกิจกรรมเช่นเคย แต่ละคน งัดฝีมือการถ่ายภาพที่สะสมมาตลอดปีออกมา เพื่องานนี้โดยเฉพาะ ภาพที่ได้รางวัลปีนี้เป็นใคร ติดตามได้ในเว็ปนะครับ นอกจากมีการแข่งขัน การถ่ายภาพแล้วในวันนั้นเรายังจัดทริปเล็ก ๆ ใน การถ่ายภาพพร็อตเทรทอีกด้วย ชมบรรยากาศ เก็บตกได้ส�ำหรับทริปนี้ในเว็ปของเรานะครับ ขอ ให้สนุกและมีความสุขกับการถ่ายภาพนะครับ

13

ณรงค์ชัย สุทธิกุลบุตร

fufupixx


14

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

ตอนที่ 8

รอง Miss World Next Top model 2012

เปิดจองด่วน จำานวนจำากัด

อาคารธุรกิจหน้าม.พะเยา

ซะป๊ะพยาว ฉบับนี้ขอยืมพื้นที่อ.สุขทัยเขยพะเยาไปพบกับความสวยความ

งาม และได้ไปอ่านของคอลัมน์เก็บภาพเก่ามาเล่าเรื่องหน้าที่ 6 นางสาวพะเยาคนแรก ต�ำนานชีวิตบนถนนแห่งความงามของ อ.เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ ครับและทางผู้เขียนได้มี โอกาสได้เจอน้องทีร่ จู้ กั มักคุน้ กันตัง้ แต่นอ้ งยังเด็ก กลับมาเยีย่ มบ้านเกิดเมืองนอนที่ บ้าน แม่ตำ�๋ บุญโยง ต.แม่กา อ.เมือง ลูกหลานน�ำ้ กว๊านโดยก�ำเนิดบนถนนความงามจากพะเยา สู่สากล เราไปท�ำความรู้จักกับน้องเก๋ น.ส.กรรณิกา ขันแก้ว อายุ 24 ปี จบระดับประ ถมร.ร.เทศบาล2 (ดรุณเวทย์)ระดับมัธยมศึกษา ร.ร.พะเยาพิทยาคม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาลัยปักกิ่ง UNIVERSITY เป็นบุตร จ่าสิบเอกสุวิทย์ นางกัลยา ขันแก้ว มีน้องชาย 1 คน เด็กชาย สราวุฒิ ขันแก้ว ก�ำลังศึกษาอยู่ที่โรงเรียนประชาบ�ำรุง รางวัลอื่นๆที่ได้รับ Miss World Next Top model 2012 น.ส.กรรณิกา ขันแก้ว หรือ น้องเก๋ (ซ้าย) ตัวแทนจากประเทศไทยและประเทศ ในเอเซีย คว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ในการประกวดมิสเวิลด์ เน็กซ์ ท๊อป โมเดล 2012 ที่กรุงเบรุต ประเทศเลบานอน เมื่อวันที่ 25 ก.ค. 55 Miss Jewels Phayao 2005 จังหวัดพะเยา Miss Changmai China Town 2006 จังหวัดเชียงใหม่ Miss Chan Sawang Joy TV 2006 กรุงเทพฯ Miss Khonkgne Motor Show 2006 กรุงเทพฯ Miss East Asia (Thailand) 2007 และรางวัลขวัญใจช่างภาพสื่อมวลชน ประวัติในการเข้าประกวดและรับรางวัลอีกมากมายที่ไม่สามารถจะเขียนได้หมด น้องเก๋ท�ำให้ครอบครัวได้ภาคภูมิใจ เราในฐานะคนพะเยาด้วยกันขอแสดงความยินดีและชื่นชมกับความส�ำเร็จกับผลงาน ที่สร้างชื่อให้ตัวน้องและจังหวัดท�ำให้ ชาวโลกหรือคนไทยด้วยกันเองให้ได้รู้ว่าแผนที่ จ.พะเยา อยู่ส่วนไหนและรอรับสังคมประชาคมอาเซียน ผู้หลักผู้ใหญ่ใน จังหวัด ต่อยอดให้ความส�ำคัญกันครับ. ฉบับนี้ขออนุญาตยืมพื้นที่ คอลันม์ของ design by สุขทัยเขยพะเยาฉบับหน้าพบ กับท่านเหมือนเดิมครับ ช่วยกันสร้างสรรค์จากนางสาวพะเยาคนแรกจนถึงน้องเก๋คนปัจจุบนั และอีกหลายๆคนลูกหลานพะ เยาแต้ๆที่ตามฝันให้เป็นจริง ซะป๊ะพยาว........ กองบรรณาธิการ

เพี ย ง 200 เมตร จาก หน้าม.พะเยา ติดกับกรมอนุรักษ์ป่าไม้ กรมอนุรักษ์ ป่าไม้ ไปเชียงราย ม ห า วิ ท ย า ลั ย

พะเยา

ถ.พลโยธิน

ไปลำาปาง

สนใจติดต่อ

081-646-6222 , 087-065-7700

เหตุ ผ ล ที่คุณต้องเลือกเป็นเจ้าของ กลุ่มอาคารพาณิชย์นี้

1. กลุ่มอาคารแห่งใหม่ของจังหวัดพะเยา 2. ขนาดอาคารที่ใหญ่กว่าและใช้วัสดุที่มีมาตราฐาน 3. ระบบรักษาความปลอดภัยบริเวณตัวอาคาร พร้อมที่จอดรถและสิ่งอำานวยความสะดวก 4. แหล่งศูนย์รวมนักศึกษาและชุมชมบริเวณใกล้เคียง 5. โดดเด่นด้วยดีไซน์ที่ทันสมัย 6. ห่างจาก หน้า ม.พะเยา เพียง 200 เมตร 7. พื้นที่กว้างขวาง เหมาะสำาหรับประกอบธุรกิจ 8. แหล่งรวม Lifestyle ชั้นนำาแห่งใหม่ในอนาคต


: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

15


16

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

สัมผัสกว๊าน สัมผัสโซกู้ด...

เปิดจันทร์ - อา. : 10.00 - 24.00 น.

ร้านอาหาร บรรยากาศเยี่ยม หาที่ไหนไม่ได้แล้วในเมืองพะเยา กับบรรยากาศชมวิวแบบ พาโนรามา 180 องศา ชมพระอาทิตย์ลบั ขอบฟ้ายามเย้น็ กับบรรยากาศสุดชิลล์ และอาหารอร่อย อย่างปลา 3 ทัพ,ย�ำ so good และหมี่ผัดฮ่องกงแสนอร่อย เท่านัน้ ยังไม่พอ ช่วงกลางวัน so goodยังบริการ เค้กหน้าตาน่าทาน รสชาตินมุ่ ลิน้ ไม่วา่ จะเป็น เครปเค้ก บลูเบอรี่ชีสเค้ก พายมะพร้าว ไว้รอเราไปชิม พร้อมทั้งเสพบรรยากาศไปพร้อม ๆกัน ส�ำรองที่นงั่ ได้ที่ 054-484-424 , 082-190-9009 กองบรรณาธิการ


การปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชน........ที่กระท�ำผิด ก็ขอสวัสดีชาวกว๊านทุกท่าน ฉบับนีผ้ มขอพูดเกีย่ วกับการปฏิบตั เิ ด็กและเยาวชนทีก่ ระท�ำผิด ก็เป็นทีย่ อมรับ โดยทัว่ ไปว่าเด็กและเยาวชนมีวฒ ุ ภิ าวะทีแ่ ตกต่างจากผูใ้ หญ่ ทัง้ ด้านการเรียนรู้ ด้านอารมณ์และพฤติกรรม ความรูส้ กึ ผิดชอบชัว่ ดี ประสบการณ์ทนี่ อ้ ยกว่า จึงอาจเป็นสาเหตุทที่ ำ� ให้เด็กและเยาวชนกระท�ำความผิดได้ จึงมีการก�ำหนด หลักเกณฑ์ การด�ำเนินกระบวนพิจารณาคดีที่เกี่ยวกับเด็กและ เยาวชนไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากคดีธรรมดาทั่วไป การกระท�ำความผิดของเด็กเกิดจากจากสาเหตุหลายประการ สาเหตุจากตัวเด็กเอง เช่น จากพันธุกรรม ถ่ายทอดมาจากบิดา มารดา โรค พิการ ปมด้วย ทัศนคติ ความเชือ่ สาเหตุจากครอบครัว เช่น ครอบครัวแตกแยก ทะเลาะวิวาท การติดสุรา ยาเสพติด การ ท�ำผิดกฎหมาย มีลูกมาก ปล่อยปละละเลย การคาดหวังสูง ปัญหา จากสังคมสิง่ แวดล้อม เช่น แหล่งอบายมุข คบเพือ่ น ตลอดจนสือ่ สาร มวลชนต่าง ๆ ทีเ่ สนอสิง่ ยัว่ ยุทำ� ให้เด็กก้าวลงไปกระท�ำความผิดเพือ่ ให้ได้มาซึ่งสิ่งของที่ได้เห็นจากสื่อ สาเหตุทางด้านเศรษฐกิจ ก็เป็น อีกสาเหตุหนึง่ ไม่วา่ จะเป็นสภาพครอบครัวทีย่ ากจน ไม่ได้รบั ความ เป็นธรรม การลุม่ หลงในระบบทุนนิยม การกระท�ำความผิดของเด็ก มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น รุนแรง ซับซ้อนและขยายวงกว้างขึ้น ดังนั้นเรา ทุกคนย่อมมีส่วนที่จะให้การกระท�ำความผิดของเด็กลดลง โดยเริ่ม แรกทีค่ รอบครัวเราก่อน หมูบ่ า้ น โรงเรียน ทีท่ ำ� งาน อย่าปกป้องเด็ก ในทางทีผ่ ดิ การทีเ่ ด็กกระทาความผิดอาจเกิดจากบิดามารดาปล่อย ปะละเลย หรือบุคคลอื่นชักจูงหรือส่งเสริม ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 26 (3) ห้ามมิให้ผู้ใดบังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็ก (บุคคลที่มีอายุยังไม่เกิน 15 ปี บ ริ บู ร ณ์ ) ประพฤติ ต นไม่ ส มควรหรื อ น่ า จะทาให้ เ ด็ ก มี ค วาม

ประพฤติเสี่ยงต่อการกระท�ำความผิด ผู้ฝ่าฝืนต้องรับผิดทางอาญา จ�ำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้ง ปรับ ดังนั้น บิดามารดาหรือบุคคลอื่นใดอาจต้องรับโทษทางอาญา หากกระท�ำการดังกล่าว ปัจจุบันได้มีการจัดตั้งศาลเยาวชนและ ครอบครัวครอบคลุมทุกจังหวัดทั่วประเทศ พระราชบัญญัติศาล เยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มุ่งเน้นเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองสิทธิ สวัสดิภาพ และวิธีปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในครอบครัว เพื่อให้ สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ อนุสัญญาเด็ก และอนุสัญญาว่าด้วยการ ขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ เด็กและเยาวชนเป็น ทรัพยากรทีจ่ ะเติบโตไปเป็นก�ำลังส�ำคัญของชาติในอนาคต หากเด็ก และเยาวชนได้รบั การดูแลอย่างถูกต้อง ได้รบั การส่งเสริมให้มคี วาม ประพฤติดี มีคณ ุ ธรรมและปลูกฝังให้มจี ติ สานึกทีด่ ี ย่อมเป็นผลดีแก่ สังคมและประเทศชาติ การบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ของกระบวนการยุตธิ รรม เป็นกลไกส�ำคัญในการแก้ไขปัญหาเพือ่ ให้ เด็กและ เยาวชนมีโอกาสกลับตัวเป็นคนดีและป้องกันไม่ให้เด็กและ เยาวชนกระท�ำความผิดซ�้ำอีก ครับ ก็ขอให้ทุกท่านโชคดี สวัสดีครับ

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

17

แนะน�ำหนังสือออกใหม่

ตามรอยเสด็จพายัพ

เป็นเรื่องราวในปี พ.ศ. 2448 หรือเมื่อร้อยกว่าปีมาแล้ว เมื่อครั้งรัชกาลที่ 6 ทรง ด�ำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฏราชกุมาร ได้เสด็จประพาสมณฑลพายัพ ตัง้ แต่เมืองแพร่ ล�ำปาง พะเยา เชียงราย ล�ำพูน และเชียงใหม่ จัดพิมพ์เนื่องวโรกาส ครบรอบวันเกิด 96 ปี พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ที่ปรึกษา เจ้าคณะภาค 6 เจ้าอาวาสวัดศรีโคมค�ำ อ.เมือง จ.พะเยา หอวัฒนธรรมนิทัศน์ ผู้จัดพิมพ์

สนใจติดต่อซื้อได้ที่ หอวัฒนธรรมนิทัศน์ อ.เมือง จ.พะเยา โทร. 054 - 410058 - 9

เล่มละ 179 บาท

หมดปัญหาหยิบนิตยสารไม่ทัน สมัครสมาชิกรายปีโดยมีค่าใช้จ่ายในการจัดส่ง 200 บาท ( 12 เล่ม) และรอรับนิตยสารถึงบ้าน (ถ่ายเอกสารใบสมัครได้)

ข้อมูลผู้สมัครสมาชิก

ที่อยู่ในการจัดส่ง

ชื่อ....................................นามสกุล......................................... เพศ ชาย หญิง อายุ......................................... อีเมล....................................................................................... โทรศัพท์ที่ท�ำงาน............................โทรสาร............................ โทรศัพท์มือถือ........................................................................

หมู่บ้าน/บริษัท.................................................................... หน่วยงาน/แผนก................................................................. เลขที่.............ซอย.............................ถนน........................... ต�ำบล/แขวง..............................อ�ำเภอ/เขต......................... จังหวัด..........................รหัสไปรษณีย.์ ..................................

วิธีการช�ำระเงิน

โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ธนาคารกสิกรไทย สาขาพะเยา เลขที่ 209-232953-7 ในนาม นายธีระศักดิ์ สิทธิชัยธนะกิจ ส่งอีเมลใบสมัคร พร้อมใบ น�ำฝากที่ kwan.magazine@gmail.com (10% ค่าสมาชิกสมทบกองทุนท�ำบุญปลูกปัญญาบริจาคหนังสือห้องสมุดโรงเรียน) ทางไปรษณีย์ 737/2 หน้าวัดราชคฤห์ ถนนพหลโยธิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000 โทร. 081 - 8848824, 081 - 0302547


18

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

เนื่องในโอกาสครบรอบ 35 ปีของการจัดตั้งจังหวัด พะเยาวันอังคารที่ 28 ส.ค.55 ศาลาหลักเมืองจังหวัดพะเยา นายไมตรี อินทุสุต ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา พร้อมด้วย ข้าราชการ พนักงาน พ่อค้า และประชาชนชาวพะเยาร่วมกัน ท�ำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง พระสงฆ์ 108 รูป จากนัน้ ร่วมประกอบพิธบี วงสรวงและพิธสี บื ชะตาเมืองพะเยาทีบ่ ริเวณ ศาลหลักเมืองประตูเมืองทัง้ 5 จุดส�ำคัญพร้อมกัน ได้แก่ ประตู ชัย ประตูกลอง ประตูเหล็ก ประตูปู่ยี่ และประตูปราสาท ซึ่ง ในแต่ละจุดนัน้ มีบคุ คลส�ำคัญของจังหวัดมาเป็นประธานในการ ประกอบพิธี หลังจากนั้น ที่หอประชุมลานเอนกประสงค์หลัง เทศบาลเมืองพะเยา ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยาเป็นประธาน มอบของที่ระลึกส�ำหรับผู้ที่มีวัน เดือน ปีเกิด ตรงกับวันก่อตั้ง จังหวัดพะเยา (วันที่ 28 สิงหาคม 2520) จ�ำนวนทั้งสิ้น 13 รายในครั้งนี้

ประชุมกรอ.กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบนกลุ่มที่ 2 วันจันทร์ที่ 27 ส.ค.55 ที่ ห้องพรนณา โรงแรมพะเยาเกทเวย์ ส�ำนักงานพาณิชย์จงั หวัดพะเยา จัดประชุมคณะ กรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพือ่ แก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ(ก.ร.อ.) กลุม่ จังหวัด ภาคเหนือตอนบน 2 เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และคณะกรรมการร่วมภาครัฐ และเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ จังหวัดพะเยา โดยมี นายไมตรี อินทุสุต ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา เป็นประธาน มีตัวแทนจากภาคเอกชนหอการค้า,สภา อุตสาหกรรมน่วยงานภาครัฐ เข้าร่วมประชุม เพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ สถานการณ์และปัญหาทางเศรษฐกิจของจังหวัด ร่วมทั้งหาแนวทางในการแก้ไข ปัญหาร่วมกันในระดับพื้นที่ และกลุ่มจังหวัด อีกทั้งส่งเสริมสนับสนุนสถาบันทาง เศรษฐกิจภาคเอกชนให้มีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมการผลิต การค้า การลงทุน และการจ้างงานภายในจังหวัดและ กลุ่มจังหวัด พิธีเปิดโครงการความร่วมมือสนับสนุนทางการศึกษา อบจ.พะเยาและร.ร.พะเยาพิ ท ยาคมนายธวรรธน์ วั ช ร์ พรหมเผ่า รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายศรีวรรณ ปินใจ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนพะเยาพิทยาคมพร้อมคณะผู้ บริหาร ทั้ง 2หน่วยงาน ลงนามความร่วมมือทั้ง 2 องค์กรเปิด โครงการฝึกอบรมภาษาจีนและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558 รุ่นที่ 1 ณ.โรงเรียนพะเยาพิทยาคม

“พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เยี่ยมเยือน เทศบาลต�ำบลแม่กา”

เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2555 เวลา 13.00 น. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ พร้อมคณะได้เยี่ยมเยือน เทศบาลต�ำบลแม่กา โดยมี ดร.ประพันธ์ เทียนวิหาร นายกเทศมนตรี พร้อมคณะผูบ้ ริหาร สมาชิกสภา ปลัด เทศบาล และพนั ก งานเทศบาลต� ำ บลแม่ ก า ร่ ว ม ต้อนรับ ณ ห้องประชุมสภาเทศบาล ซึ่งท่านพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ได้บรรยายพิเศษเกี่ยวกับการบริหาร งานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และให้โอวาท แก่ คณะผู้บริหาร และพนักงานเทศบาลต�ำบลแม่กา

พุทธศาสนิกชนชาวพะเยาร่วมฉลองพุทธชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรูข้ องพระพุทธเจ้า เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ๒๕๕๕ ส�ำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์พะเยา น�ำโดยนางธิติพร มิ่งเชื้อ ร่วมพิธีตักบาตรข้าวเหนียว/ข้าวสารอาหาร แห้ง ในวันวิสาขบูชา เวลา 7.30 น. ณ ลานอนุสาวรีย์พ่อขุนง�ำเมือง และ เวลา 17.30 น. พิธีเวียนเทียนทางน�้ำ ณ วัดติโลกอาราม กลาง กว๊านพะเยา นายไมตรี อินทุสุต ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา พร้อมด้วย พุทธศาสนิกชนชาวพะเยาและนักท่องเที่ยว ร่วมพิธีเวียนเทียนทางน�้ำ “แห่งเดียวในโลก” เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา และ ร่วมฉลองพุทธ ชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า นายหัสนัย แก้วกุล ประธานหอการค้าจ.พะเยาคณะ กรรมการหอการค้าร่วมเปิดโครงการ ท�ำ 1 ไร่ ได้ 1 แสน ของนายสุ ร พล เต็ ม สวั ส ดิ์ โดยมี พ าณิ ช ย์ จ.พะเยา การค้าภายใน สหกรณ์จังหวัดพะเยา นายอ�ำเภอภูกาม ยาว คณะครูโรงเรียนดงเจนวิทยาคม ณ.ไร่โครงการคุณ สุรพล เต็มสวัสดิ์ ต.ดงเจน อ.ภูกามยาว จ.พะเยา


: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555

19


20

: ฉบับที่ 8 ปีที่ 1 เดือนสิงหาคม 2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.