LAWNEWS 3

Page 1

ลอว์นิวส์

ลอว์นิวส์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

รวมข่าว เล่ากฎหมาย ให้สาระประชาชน ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สภาทนายฯ ช่วยชาวนา เตรียมฟ้องรัฐบาลยกเข่ง เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557 ตั ว แทนชาวนาหลายจั ง หวั ด และสมาคมชาวนาข้ า วไทย ได้ เข้ า พบกั บ สภาทนายความ เพื่ อ ปรึ ก ษาแนวทางการยื่ น ฟ้ อ ง รัฐ บาลกรณีผิด นั ด ชำ � ระเงิ น ค่ า รับ จำ�นำ�ข้าว หลังจากที่ได้เลื่อนการ จ่ายเงินให้ชาวนามาแล้วไม่ต่ำ�กว่า 6-7 ครั้ง และยังเลื่อนออกไปอย่าง ไม่มีกำ�หนด ตั้งแต่เริ่มโครงการรับ จำ�นำ�มาตั้งแต่เดือนตุลาคมปีที่ผ่าน มา นายประสิทธิ์ บุญเฉย นายกสมาคมชาวนาข้ า วไทย กล่าวว่า ชาวนาจำ�เป็นต้องมายื่น ฟ้องรัฐบาลทั้งทางแพ่งและอาญา พร้อมทั้งเอาผิดนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในฐานะ ประธานคณะกรรมการนโยบาย ข้าวแห่งชาติ (กขช.) รวมถึงผู้ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ โครงการทั้ ง หมด เนื่ อ งจากทำ � ผิ ด สั ญ ญาประชาคม ที่ ไ ด้ ใ ห้ ไว้ กั บ ชาวนาตามนโยบาย รัฐบาล ซึ่งในส่วนของชาวนาจะไม่ เสนอทางออกเรื่องนี้ เพราะมองว่า เป็ น หน้ า ที่ ข องรั ฐ บาลที่ ต้ อ งหา มาตรการในการใช้ข้อกฎหมายร่วม กับ กกต. เพื่อหาทางแก้ไขปัญหา ให้กับชาวนาให้เร็วที่สุด ด้านนายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ กล่าวว่าจะ รับดำ�เนินการยื่นฟ้อง ดำ�เนินคดีให้ กับชาวนาใน 3 กรณีประกอบด้วย กรณีที่หนึ่งสำ�หรับชาวนา ที่ ถู ก ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและ

เป็นรายจังหวัด ตามสาขาที่ ธ.ก.ส. ตั้งอยู่ในแต่ละพื้นที่ โดยคาดว่าจะ ยื่นฟ้องร้องเป็นคดีความต่อศาลได้ ในเวลาไม่เกิน 2 เดือน หรือเร็วกว่า นี้ หากเอกสารของชาวนาพร้อม โดยจะเร่งทำ�คำ�ร้องให้เร็วที่สุด โดย ชาวนาไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและค่า ธรรมเนียมในการฟ้องศาล

สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ผิดนัด ชำ�ระหนี้ โดยต้องดำ�เนินการฟ้อง ร้องกับ ธ.ก.ส. ก่อนในฐานะลูก หนี้โดยตรง ฐานผิดนัดชำ�ระหนี้ เป็นจำ�เลยที่ 1 พร้อมทั้งฟ้องไปที่ ตัวรัฐมนตรีในกระทรวงที่เกี่ยวข้อง กั บ ก า ร รั บ จำ � นำ � ข้ า ว ก า ร ข า ย ข้าว เป็นจำ�เลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ ดำ�เนินนโยบาย และสุดท้ายเป็น พรรคการเมือง เป็นจำ�เลยที่ 3 เนื่องจากที่นำ�นโยบายนี้มาหาเสียง และเป็นผู้สนับสนุนในการกำ�หนด นโยบายการรับจำ�นำ�

“จะพิจารณาเรียกค่าเสีย หายในทางแพ่งก่อน เพื่อให้มีการ จ่ายเงินต้น พร้อมดอกเบี้ย ในอัตรา 7% รวมทั้งค่าเสียหายต่อเนื่อง โดย แล้วแต่ศาลจะใช้ดุลยพินิจเนื่องจาก ชาวนามีการกู้เงินนอกระบบมาใช้ จ่ายในชีวิตประจำ�วัน” ส่วนกรณีที่สอง คือการทำ� ผิดสัญญารับจำ�นำ�ข้าวคือ เกษตรกร ได้รับใบประทวนไปแล้ว แต่เมื่อไป ยื่นที่ธ.ก.ส. ทาง ธ.ก.ส. ปฏิเสธ การรับใบประทวน โดยสามารถสั่ง ฟ้อง ธ.ก.ส. ให้รับจำ�นำ�ได้ในฐานะ

ที่รัฐบาลใช้ธ.ก.ส. ให้เป็นคู่สัญญา ส่วนกรณีที่สาม คือ มี ชาวนาบางส่ ว นนำ � เข้ า โครงการ รับจำ�นำ�กับโรงสี แต่ไม่ได้รับใบ ประทวน แต่มีการออกใบเสร็ฐมา ให้ก่อนอาจจะพิจารณาว่า จะเข้า ข่ า ยยั ก ยอกหรื อ ฉ้ อ โกงหรื อ ไม่ ซึ่ ง กรณีนี้ ถือว่าเข้าข่ายผิดกฎหมาย อาญา ทั้งนี้ในวันที่ 23 มกราคม นี้ จะตั้งคณะทำ�งานร่วมระหว่าง ทนายส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค เพื่อเร่งพิจารณาคดีของชาวนาแยก

ไทยแลนด์แดนคอร์รัปชั่น

ออกคำ�สั่งให้ทนายลงพื้นที่ เมื่อวันที่ 26 มกราคม นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ เปิดเผยว่า ขณะนี้ได้วางมาตรการ การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ชาวนา แล้ว ตามคำ�สั่งสภาทนายความ ที่ 8/2557 เรื่อง การให้ความช่วย เหลื อ แก่ ช าวนาที่ ป ระสบความ เดือดร้อนในโครงการรับจำ�นำ�ข้าว ของรัฐบาล โดยจากการประชุม คณะกรรมการช่วยเหลือประชาชน ทางกฎหมายครั้งที่ 1/2557 วันที่ 23 มกราคม 2557 ที่ผ่านมา มีมติ ให้รับช่วยเหลือชาวนาที่ได้รับความ เดือดร้อนโดยรีบด่วน ซึ่งได้มอบ หมายให้ประธานสภาทนายความ จังหวัดในทุกเขตศาลจังหวัด จัด ตั้งคณะทำ�งานเฉพาะกิจ ประกอบ ไปด้วยทนายความอาสา 3 คน หรือมากกว่านั้นตามจำ�นวน อ่านต่อหน้า 3 ที่เห็นสมควร เพื่อรับเรื่องร้องเรียน ขอความช่วยเหลือจากชาวนา รวม ทั้ ง ทำ � การตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง ให้ชัดเจนถึงความเดือดร้อน โดย จำ�แนกตามลำ�ดับขั้นตอนของการ

ใทม์ ไลน์

ทุบสถิติ สามแสนล้าน อีกโพลล์ชส้ี อบตก บริหารโปร่งใส ม.หอการค้าเผย ดัชนีคอร์รัปชั่นเดือน ธันวาคม 2556 พบนักการเมืองสวาปาม หัวคิว 25-35% มูลค่ากว่าสามแสนล้านบาท อันดับโลกร่วงมาอยู่ที่ 102 ด้านองค์การ เพื่อความโปร่งใสโลกเผย ไทยได้คะแนน ความโปร่งใส 37 คะแนนจาก 100 คะแนน เป็นอันดับ 5 ของอาเซียน เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2557

นายธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อำ�นวยการศูนย์ พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย เปิดเผยผลสำ�รวจดัชนี สถานการณ์คอร์รัปชันไทย ประจำ�เดือน ธันวาคม 2556 จากกลุ่มตัวอย่างผู้ ประกอบการ ข้าราชการ และประชาชน จำ�นวน 2,400 ตัวอย่าง พบว่าอยู่ที่ระดับ 39 คะแนน ลดลงจากการสำ�รวจเมื่อเทียบ เดือนมิถุนายน 2556 ที่อยู่ที่ระดับ 41 คะแนนถือว่าลดลงจากสถานการณ์ระดับ

ปานกลางมาอยู่ในระดับรุนแรง (0-40 คะแนน คือรุนแรงมากที่สุดถึงรุนแรง และ 41-100 คะแนน คือรุนแรงปานกลางถึง ไม่มีคอร์รัปชันเลย) ส่วนดัชนีสถานการณ์ คอร์รัปชันไทยในปัจจุบันอยู่ที่ 38 คะแนน ลดลงจาก 40 คะแนน และดัชนีแนวโน้ม สถานการณ์คอร์รัปชันไทยอยู่ที่ 40 คะแนน ลดลงจาก 42 คะแนน อ่านต่อหน้า 3

วิชาชีพทนายความ อ่านต่อหน้า 8


2

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บทบรรณาธิการ

รัฐมนตรีขวัญใจชาวออนไลน์

นอกจากภาพถือถุงกับข้าวในชุดลำ�ลองจะถูกนำ�ไปตัดต่อ ใส่ฉากหลังอย่างจนกลายเป็นมีม (meme) ที่แพร่หลายในโลกออนไลน์แล้วแล้ว ล่าสุดวันเลือกตั้งเมื่อ 2 ก.พ. ที่ผ่านมา นาย ชัชชาติได้ไปเลือกตั้งด้วยจักรยาน ก็ถูกนำ�มารีทัชกันอย่างสนุกสนาน จนเป็นที่เถียงกันว่า สรุปว่า นายชัชชาติไปเลือกตั้งด้วยพาหนะอะไรกันแน่

facebook.com/bangkokpost

facebook.com/chutchartpower

สวัสดีค่ะท่านผู้อ่านทุกท่าน ลอว์นิวส์ ฉบับนี้ก็เป็นรายปักษ์ ฉบับที่ 3 กันแล้วนะคะ ซึ่งกองบรรณาธิการได้รับการตอบรับ เป็นอย่างดีจากท่านผู้อ่านและขอขอบคุณท่านผู้อ่านที่ได้ติชม กันเข้ามาทั้งทางอีเมล์และทางโทรศัพท์ และยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่ มี ท่ า นผู้ อ่ า นที่ ชื่ น ชอบหนั ง สื อ พิ ม พ์ ข องเราในภาคภาษา อังกฤษด้วย ซึ่งทางกองบรรณาธิการเองก็มีความประสงค์ที่จะ จั ด ทำ � หนั ง สื อ พิ ม พ์ นี้ ใ ห้ เ ป็ น หนั ง สื อ พิ ม พ์ ที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล แก่ ประชาชนทั่วไปทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สำ�หรับในรายปักษ์นี้ ท่านทนายความทุกท่านคงจะพลาดวัน สำ � คั ญ สำ � หรั บ วิ ช าชี พ ของเราไปไม่ ไ ด้ นั่ น ก็ คื อ วั น ที่ 20 กุมภาพันธ์ ของทุก ๆ ปี เราถือว่าเป็น “วันทนายความ” ซึง่ ในปีนที้ างสภาทนายความได้จดั งานวันทนายความอีกเช่นเคย โดยในปีนี้ จะมีสมั มนาทาง วิชาการในหัวข้อ “การเรียนรู้และเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)” ณ ศูนย์การประชุมอิมแพคเมืองทองธานี ซึ่งทนายความทุกท่านสามารถร่วมเข้ารับฟังการ สัมมนาได้โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ยใดๆ และในช่วงเย็นจะมีงานเลีย้ งฉลองประจำ�ปี ณ ห้องแกรนด์ ไดมอน บอลรูม เมืองทองธานี โดยทางสภาทนายความจะจำ�หน่ายบัตรเข้างานในราคา ใบละ 800 บาท ก็ขอเรียนเชิญทนายความทุกท่านเข้าร่วมสังสรรค์กันได้นะคะ ต่อเนื่องจากวันทนายความ ในคอลัมน์ ไทม์ไลน์ กองบรรณาธิการจึงได้นำ�ประวัติ ความเป็นมาของวิชาชีพทนายความมาเล่าสูก่ นั ฟัง รวมทัง้ ความเป็นมาของเนติบณ ั ฑิตยสภา ด้วย ซึ่งท่านผู้อ่านหาอ่านได้ในคอลัมน์ ณ ที่แห่งนี้ ข่าวประเด็นร้อนในช่วงนี้ ก็คงยังไม่พ้นในเรื่องของการเมือง การเลือกตั้ง และคดี การรับจำ�นำ�ข้าวของชาวนา ซึง่ ตอนนีก้ เ็ ข้มข้นยิง่ ขึน้ เมือ่ ชาวนาเริม่ อดรนทนไม่ไหว ลุกขึน้ มา ปิดถนนสายหลักประท้วงเพือ่ เรียกเงินคืนจากรัฐบาล ทางฝ่าย กปปส. เองก็ยงั มุง่ มัน่ ปิดถนน หลายสายในกรุงเทพฯ ต่อไปเพือ่ เรียกร้องให้รฐั บาลยิง่ ลักษณ์ลาออก ท่านกำ�นันคงปรารถนา ว่า นายกยิง่ ลักษณ์ของเราจะยอมลาออกเหมือนนายกรัฐมนตรีไมโคลา อาซารอฟ ของยูเครน ซึ่งยอมลาออกแล้วเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2557 และรัฐสภายูเครนได้ยอมยกเลิกกฎหมาย ห้ามการชุมนุมประท้วงซึง่ เป็นต้นตอของการปะทะกันรุนแรงระหว่างกลุม่ ผูป้ ระท้วง ทางด้าน การสื่อสารและโทรคมนาคม ศาลปกครองสูงสุดได้มีคำ�สั่งกลับคำ�สั่งทุเลาการบังคับชั่วคราว โดยให้ปรับ บริษัท ทรูมูฟ จำ�กัด วันละ 80,00 บาท กรณีไม่เก็บข้อมูลแสดงตนผู้ใช้มือถือ เติมเงิน และในวันที่ 1 เมษายน 2557 นี้ ก็จะเป็นครัง้ แรกทีป่ ระเทศไทยเราจะมีชอ่ งทีวดี จิ ติ อล โดยเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2557 กสทช.ได้ประกาศหมายเลขลำ�ดับการให้บริการโทรทัศน์ ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล โดยบริษัทใดได้ช่องสัญญาณอยู่ในช่องไหน ท่านผู้อ่านดูราย ละเอียดได้ในหน้า 6 นะคะ ถ้าหาช่องไม่พบ เดี๋ยวจะดูละครและรายการที่ท่านสนใจไม่ต่อ เนื่องนะคะ ในส่วนข่าวต่างประเทศนั้น กองบรรณาธิการได้รวบรวมข่าวกฎหมาย การตัดสิน คดีของศาลและอนุญาโตตุลาการในต่างประเทศที่น่าสนใจมาเผยแพร่ให้นักกฎหมายและ ประชาชนทั่ ว ไปได้ อ่ า นดู กั น เผื่ อ เราจะได้ แ ง่ มุ ม ความคิ ด ของท่ า นผู้ พิ พ ากษาหรื อ อนุญาโตตุลาการในต่างประเทศมาปรับใช้กับกฎหมายบ้านเราบ้าง

นักข่าวชาวยุ่นฮ๊อต

เป็นกระแสในโลกออนไลน์อยู่หลายวัน หลังจากมีคนอัพโหลดภาพของนักข่าวหนุ่มชาว ญี่ปุ่นที่เดินทางมาทำ�ข่าวในไทย เป็นกระแสตามหาผลงานหนุ่มคนนี้กันให้ทั่ว

แอน พลอยส่องแสง บรรณาธิการ

nymag.com

ครบรอบ 10 ปี facebook

นับตั้งแต่วันแรกจนถึงวันนี้ สังคมออนไลน์อย่าง facebook ก็มีอายุครบ 10 ปีแล้ว New York Magazine ได้รวมสถิติต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่น ศิลปินที่มียอดกดไลก์มากที่สุด คือ Rihanna ด้วย จำ�นวน 84,899,403+ คน, ยอดกดไลก์ทั้งหมด ตั้งแต่ปี 2009 ที่มีปุ่มกดนี้ขึ้นมาทั้งหมด 1.1 พันพันล้าน และรูปที่มียอดกดไลก์มากที่สุด คือ รูปของประธานาธิบดี บารัค โอบาม่าและ ภรรยา ด้วยจำ�นวน 4.4 ล้านไลก์


ลอว์นิวส์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ต่อจากหน้า 1 : สภาทนายฯ ช่วยชาวนา

ต่อจากหน้า 1 : ไทยแลนด์แดนคอร์รัปชั่น

ทำ�สัญญารับจำ�นำ�ข้าว เช่น เป็นกลุ่มชาวนา ที่ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม ของผู้ ส่ ง มอบข้ า วให้ โรงสี ใ น โครงการรับจำ�นำ�ข้าวแล้ว ได้แต่ใบรับข้าว ไว้ แต่ยังไม่ได้รับใบประทวนสินค้าซึ่งออก โดยองค์การคลังสินค้า (อคส.) หรือเป็นก ลุ่มชาวนาที่ได้ส่งมอบข้าวให้กับ อคส. แล้ว และได้รับใบประทวนสินค้าที่ออกจาก อคส. แล้ว แต่ยังไม่ได้ใบประทวนสินค้า และธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ปฏิเสธไม่รับจำ�นำ� และกลุ่มที่ทาง ธ.ก.ส. ได้รับจำ�นำ�และได้ รับใบประทวนสินค้าต้นฉบับแล้ว โดยได้ ออกใบรับจำ�นำ�ข้าวให้กับชาวนามีกำ�หนด วันนัดชำ�ระเงินให้กับชาวนาแล้ว ซึ่งทั้งหมด นี้เป็นความเสียหายที่จะมีผู้ที่เกี่ยวข้องแตก ต่างกัน และเป็นข้อเท็จจริงที่มีประโยชน์ใน การให้ความช่วยเหลือทางคดี ทั้งนี้ สภาทนายความจะส่งคณะ ทำ � งานเพื่ อ ลงพื้ น ที่ เ พื่ อ ร่ ว มตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง และติดตาม ความคืบหน้าของการให้ความช่วยเหลือดัง กล่าวเป็นระยะๆ ต่อไป

จากการสำ�รวจ พบว่า 42% ของผู้ประกอบ การที่ทำ�ธุรกิจกับภาครัฐต้องจ่ายเงินเพิ่มพิเศษให้แก่ ข้าราชการ/นักการเมืองที่ทุจริต เพื่อให้ได้สัญญา ตั้งแต่ 26% ถึงมากกว่า 35% ของรายรับ ลดลงจากการสำ�รวจ ครั้งก่อนที่ 51.8% และอีก 58% ต้องจ่ายเพิ่ม 1-25% โดยเมื่อประเมินวงเงินคอร์รัปชันจากค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งปลูกสร้าง รวมถึงงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ในปี 56 ที่มีมูลค่ารวม 942,608 ล้านบาทแล้ว หากมีคอร์รัปชัน 25% เท่ากับสูญเสียเม็ดเงินไปกับการคอร์รัปชันถึง 235,652 ล้านบาท คิดเป็น 9.82% ของงบประมาณ รายจ่ายปี 56 ที่ 2.4 ล้านล้านบาท และคิดเป็น 1.88% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ปี 2556 ที่มี มูลค่า 12.54 ล้านล้านบาท แต่หากมีการจ่ายเงินเพิ่มขึ้น เป็น 30% เท่ากับมีเม็ดเงินที่สูญเสียไปการคอรัปชันถึง 282,782.4 ล้านบาท คิดเป็น 11.78% ของงบประมาณ รายจ่าย และคิดเป็น 2.25% ของจีดีพี และหากมีการ จ่ายเงินเพิ่มพิเศษเพิ่มเป็น 35% จะสูญเสียเม็ดเงินเพิ่ม ขึ้นเป็น 329,912.8 ล้านบาท คิดเป็น 13.75% ของงบ ประมาณรายจ่าย และคิดเป็น 2.63% ของจีดีพี จาก ปี 55 ที่หากมีการคอรัปชัน 25-35% ความเสียหายจะ อยู่ที่ 210,035.8-294,050.1 ล้านบาท คิดเป็น 8.8312.36% ของงบประมาณรายจ่ายปี 2555 ที่ 2.38 ล้าน ล้านบาท และคิดเป็น 1.81-2.54% ของจีดีพี ที่มีมูลค่า 11.57 ล้านล้านบาท "สถานการณ์คอร์รัปชันไทยยังมีความรุนแรง มากขึ้น เพราะผู้ประกอบการยังต้องจ่ายเงินเพิ่มพิเศษ เพื่อให้ได้สัญญามากขึ้นอีก ซึ่งจากการสำ�รวจของศูนย์ฯ ตั้งแต่ปี 54 เป็นต้นมา พบว่าเม็ดเงินที่เสียหายจาก คอร์รัปชันเพิ่มขึ้นจาก 194,395-272,153 ล้านบาทในปี 54 เป็น 210,035-294,050 ล้านบาทในปี 55 และเป็น 235,652-329,912 ล้านบาทในปี 56 หรือเสียหายเพิ่ม ขึ้นเฉลี่ยปีละ 20,000 ล้านบาท ถ้าดึงเงินจากคอร์รัปชัน เข้าระบบได้ จะกระตุ้นเศรษฐกิจได้ประมาณ 1%" ส่ ว นรู ป แบบการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น ที่ เ กิ ด บ่ อ ย ที่สุดคือ ร้อยละ 15.7 การใช้ตำ�แหน่งทางการเมืองเพื่อ เอื้อประโยชน์แก่พรรคพวก, ร้อยละ 14.8 การให้สินบน ของกำ�นัล หรือรางวัลต่างๆ, ร้อยละ 12.2 การทุจริตเชิง นโยบายโดยผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการเมือง, ร้อยละ 12.2 การเอื้อประโยชน์แก่ญาติหรือพรรคพวก เป็นต้น ขณะที่ ผ ลการจั ด อั น ดั บ ดั ช นี วั ด ภาพลั ก ษณ์ คอร์รัปชันของโลก ประจำ�ปี 2556 รวม 177 ประเทศพบ ว่าประเทศไทยอยู่อันดับ 102 ลดลงจากปี 2555 ที่อยู่ อันดับ 88 สะท้อนให้เห็นว่า ปัญหาการคอร์รัปชันของ ไทยแย่ลงกว่าเดิม แม้ ส ถานการณ์ ค อร์ รั ป ชั น ในไทยยั ง มี ค วาม รุนแรง แต่เมื่อถามถึงเห็นด้วยหรือไม่ว่าการที่รัฐบาล ทุจริตแต่มีผลงานและทำ�ประโยชน์ให้สังคมเป็นเรื่องรับ ได้ หรือเห็นด้วยหรือไม่ว่าการทุจริตเป็นเรื่องไกลตัวไม่ เกี่ยวกับตัวเองโดยตรง หรือเห็นด้วยหรือไม่ว่าการให้สิน น้ำ�ใจเล็กๆ น้อยๆ แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นเรื่องไม่เสีย หาย ส่วนใหญ่กว่า 80% ตอบว่าไม่เห็นด้วย โดยความสามารถที่ จ ะทานทนต่ อ การ คอร์รัปชัน อยู่ที่ 2.53 คะแนน จากเต็ม 10 คะแนน ลด ลงจากครั้งก่อนที่อยู่ที่ 3.08 คะแนน ถือเป็นครั้งแรก ตั้งแต่เริ่มสำ�รวจเมื่อปี 54 ที่คะแนนความทานทนต่ำ�กว่า 3 คะแนน (0 คะแนน คือเกลียดการทุจริต/ไม่สามารถ ทนได้ และ 10 คะแนน คือสามารถทนได้) ส่วนในปี 2557 ยังมองว่า ปัญหาคอร์รัปชัน ไทย จะยังไม่ดีขึ้น และที่มีการออกมาชุมนุม โดยมี การนำ�ปัญหาคอร์รัปชัน มาเป็นประเด็น ถือเป็นสิ่งที่ ทำ�ให้เห็นว่าสังคมมีการตื่นตัวและไม่เห็นด้วยกับการ คอร์รัปชันมากขึ้น

ลูกสาวยายไฮโผล่ ร่วมร้องเรียน ต่อมา ในวันที่ 31 มกราคม ที่สำ�นักงาน สภาทนายความประจำ�จังหวัดอุบลราชธานี นางเพชร ขันจันทา อายุ 40 ปี ลูกสาว ยายไฮ ขันจันทา นำ�เกษตรกรชาวนาจาก อำ�เภอนาตาล และอำ�เภอเขมราฐ จำ�นวน 31 รายเข้าร้องทุกข์ขอความช่วยเหลือต่อ สภาทนายความ เนื่องจากได้นำ�ข้าวประจำ� ฤดูการผลิตปี 2556/2557 ไปจำ�นำ�กับ รัฐบาลมูลค่ากว่า 2 ล้านบาท ตั้งแต่เดือน ตุลาคม ปีที่ผ่านมาจนถึงทุกวันนี้ยังไม่ได้ รับเงินค่าข้าวเปลือก นายวิสิทธิ์ ศักดิ์สิงห์ ประธานสภา ทนายความประจำ � จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ให้ ก ลุ่ ม ชาวนาทั้ ง หมดทำ � เรื่ อ งร้ อ งขอรั บ ความช่ ว ยเหลื อ ทางกฎหมายไว้ กั บ สภา ทนายความประจำ�จังหวัด และจัดส่งราย ชื่อชาวนาที่ ม าขอความช่ ว ยเหลือทั้ง หมด ให้สภาทนายความแห่งประเทศไทย เพื่อ สงวนสิทธิใช้ในการยื่นฟ้องร้องรัฐบาลต่อ ศาลในครั้งต่อไป สำ�หรับนางเพชร ขันจันทา เป็น ลูกคนสุดท้องจากจำ�นวน 11 คนของยายไฮ ขันจันทา ชาวนาจากอำ�เภอนาตาลที่ลุกขึ้น ทุบทำ�ลายฝายห้วยละห้าหลังได้รับความ เดือดร้อนไม่มีที่ดินทำ�กิน และได้รับที่ดิน กลับคืนไปเมื่อปี 2547 ต่อมาในปีนี้นางเพชร และพี่สาว ได้นำ�ข้าวเข้าร่วมโครงการรับจำ�นำ�ข้าวเป็น ครั้งแรก เพราะคิดจะได้รับเงินค่าส่วนต่าง มากกว่ า นำ � ไปขายให้ โรงสี เ ป็ น เงิ น หลาย แสนบาท แต่ก็ยังไม่ได้รับเงินจากโครงการ จนถึงบัดนี้

3

สารของนายกสภาทนายความ เนื่องในวันทนายความ 20 กุมภาพันธ์ 2557 ปี 2557 เป็นปีที่ครบรอบ 100 ปีของการเริ่มต้นกฎหมายวิชาชีพทนายความ ตามพระราชบัญญัติทนายความ พระพุทธศักราช 2457 ที่พระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั (ร.6) ได้ทรงพระราชทานให้แก่วชิ าชีพทนายความในยุคสมัย ของการเริ่มพัฒนาการทางประชาธิปไตยของประเทศไทยตามแบบอย่างประเทศ ตะวันตก ซึ่งนอกจากพระองค์จะได้ทรงพระราชทานพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2457 ให้แล้ว พระองค์ยังทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ได้พระราชทานหลักใน การครองตนปฏิบัติหน้าที่วิชาชีพทนายความโดยได้ทรงเป็นแบบอย่างในการทำ� หน้าที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทนายความในเมือง “ดุสิตธานี” ในนามสามัญชน ว่า "นายราม ณ กรุงเทพ" ที่พระองค์ได้ทรงสร้างโดยสมมติเพื่อทดลองใช้ ระบอบประชาธิปไตยให้กับข้าราชบริพารและประชาชนให้ได้เริ่มเรียนรู้ระบอบ ประชาธิปไตยมากขึ้น การที่องค์พระประมุขแห่งชาติผู้มีอำ�นาจเต็มในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชได้ทรง เลือกวิชาชีพทนายความย่อมถือได้ว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณ เป็นเกียรติ เป็น ศักดิ์ศรี และเป็นความภูมิใจในวิชาชีพทนายความอย่างหาที่สุดมิได้ ผู้ประกอบ วิชาชีพทนายความทุกคนในพึงสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ได้ทรงเป็นแบบ อย่างการเสียสละของการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายโดยเลือกที่จะไม่คง พระราชอำ�นาจและพระราชอิสริยยศไว้ แต่ทรงเลือกที่จะดำ�รงสถานะเป็นสามัญ ชนอันเป็นแบบอย่างให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยง่าย คงไม่มี ที่ ใ ดในประเทศไหนอี ก แล้ ว ในโลกนี้ ที่ จ ะมี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ใ นระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชที่ประเสริฐ ขอเป็นสามัญชนผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ เช่นในประเทศไทย ดังนั้นวันทนายความในปีนี้จึงเป็นวันที่สำ�คัญที่พวกเราชาว ทนายความทุกคนทั่วทุกท้องถิ่นทั้งในประเทศและนอกประเทศ ควรที่จะน้อม ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน และเพื่อเป็นการสนองตอบต่อพระ มหากรุณาธิคุณสภาทนายความจะได้จัดทำ�หนังสือจดหมายเหตุ 100 ปี สี่แผ่นดิน วิชาชีพทนายความ พ.ศ.2457 – พ.ศ.2557 ขึ้น เพื่อเป็นการรวบรวมบทความต่างๆให้ได้ครบสมบูรณ์ ถ้าทนายความท่านใดมี รูปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในขณะที่ทรงชุดสากลนิยมไม่ว่า ประทับยืนหรือประทับนั่ง รวมถึงรายงาน ข้อเขียน บทความหรือรูปถ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวกับวิชาชีพทนายความช่วง 100 ปีที่ผ่านมา ขอให้ส่งสำ�เนาบทความ รูป เอกสารดังกล่าว ให้กับสภาทนายความเพื่อจะได้นำ�ไปพิจารณาลงพิมพ์ใน หนังสือ “จดหมายเหตุ 100 ปี สี่แผ่นดิน วิชาชีพทนายความ พ.ศ.2457 พ.ศ.2557” ให้ทันวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ด้วยความรักและปรารถนาดีแด่ทนายความทุกท่าน และขอขอบคุณทนายความ มา ณ โอกาสนี้ ต่อมา วันที่ 23 มกราคม 2557 อาเซียนดีเอ็นเอ ของสถาบันทรัพยากร มนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ รายงานเกี่ ย วกั บ การจั ด อั น ดั บ รั ฐ บาล การบริ ห ารประเทศที่ มี ค วามโปร่ ง ใสใน ประเทศกลุ่มอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไน เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และ กัมพูชา ตามที่องค์การเพื่อความโปร่งใส โลก (Transparency International) ได้ ทำ�การศึกษาไว้ในปี 2556 โดยสิงคโปร์ เป็นประเทศที่มีรัฐบาลบริหารประเทศที่มี ความโปร่งใสมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง ใน กลุ่มประเทศของอาเซียน ทั้งนี้ ประเทศ สิงคโปร์สามารถรักษาแชมป์ไว้ได้อย่างต่อ เนื่องด้วยคะแนน 86 จาก 100 คะแนน และยังเป็นอันดับที่ 5 ของโลกอีกด้วย ส่ ว นประเทศในอาเซี ย นที่ ไ ด้ คะแนนตั้งแต่ครึ่งหนึ่งขึ้นไป มีบรูไนและ

( นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ ) นายกสภาทนายความ 27 มกราคม 2557 มาเลเซีย โดยบรูไนได้ 60 คะแนน ถูกจัด เป็นอันดับที่ 2 และมาเลเซีย 50 คะแนน อยู่ในอันดับที่ 3 ถัดมาเป็นฟิลิปปินส์ ได้ 36 คะแนนอยู่เป็นอันดับที่ 4 ทั้งนี้ ในอดีตประเทศฟิลิปปินส์เคยถูกจัด ให้ เป็ น ประเทศมี ก ารคอร์ รั ป ชั น มากที่ สุ ด ในอาเซียน ขณะที่รัฐบาลประเทศไทย ได้ 35 คะแนน จัดอยู่ให้เป็นอันดับที่ 5 ส่วนอินโดนีเซียได้ 32 คะแนนอยู่เป็น อันดับที่ 6 เวียดนามได้ 31 คะแนน อยู่ เป็นอันดับที่ 7 ลาวได้ 26 คะแนนอยู่ เป็นอันดับที่ 8 เมียนมาร์ได้ 21 คะแนน อยู่ในอันดับที่ 9 และกัมพูชาได้ 20 คะแนน อย่างไรก็ตาม การจัดอันดับครั้ง นี้ ไ ด้ พิ จ ารณาจากนโยบายการบริ ห าร ประเทศ และแก้ไขปัญหาการคอร์รัปชัน ของรัฐบาลประเทศนั้น เป็นหลัก รวมทั้ง การปรับนโยบาย ตลอดจนการดำ�เนิน การอย่างจริงจัง ในการปราบปรามการ คอร์รัปชันของประเทศ


4

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ปรับ“ทรูมูฟ”อ่วมวันละแปดหมื่น

ศาลปกครองสูงสุด กลับไม่คุ้มครองชั่วคราว 5 อันดับพฤติกรรมยอดฮิต ของผู้ใช้ facebook ในไทย 1. อัพโหลดและแชร์รูปภาพ 2. ส่งข้อความหาเพื่อน 3. คอมเมนต์กิจกรรมประจำ�วัน 4. เช็คอินสถานที่ที่ไป 5. อัพเดทโปรไฟล์ของตัวเอง เรื่ อ งและภาพจาก techinasia.com

ศาลปกครองสูงสุด กลับคำ�สั่ง ทุเลา การบังคับชั่วคราว ปรับ “ทรูมูฟ” อ้วก วันละ 80,000 บาท กรณีไม่เก็บ ข้อมูลแสดงตนผู้ใช้มือถือเติมเงิน เหตุคำ� สั่งคุ้มครองเป็นอุปสรรคต่อการบริหารงาน ของรัฐ เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2557 ศาล ปกครองกลาง ได้อ่านคำ�สั่งศาลปกครอง สูงสุด ในคดีพิพาทระหว่าง บริษัท ทรูมูฟ จำ�กัด (ผู้ฟ้องคดี) กับ คณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ที่ 1 และ เลขาธิการ กสทช. ที่ 2 (ผู้ถูกฟ้องคดี) ใน คำ�ร้องอุทธรณ์คำ � สั่ งเกี่ ย วกั บ การกำ � หนด มาตรการหรือวิธีการใดๆ เพื่อบรรเทาทุกข์ ชั่วคราวก่อนการพิพากษา

คดีนี้ ศาลปกครองชั้นต้น ได้มี คำ�สัง่ ทุเลาการบังคับตามคำ�สัง่ ทางปกครอง ไว้ เ ป็ น การชั่ ว คราวจนกว่ า คดี จ ะถึ ง ที่ สุ ด หรือจนกว่าศาลจะมีคำ�พิพากษาเป็นอย่าง อื่น โดยสั่งให้ระงับการบังคับตามคำ�สั่งของ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ สทช. 5011/9465 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ที่แจ้งให้ผู้ฟ้องคดีจ่ายค่าปรับทาง ปกครองวันละ 80,000 บาท กรณีไม่จัด เก็บข้อมูลแสดงตนของผู้ใช้บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ประเภทเติมเงินฯ โดยศาลปกครองสูงสุด มีคำ�สั่ง กลับคำ�สั่งของศาลปกครองชั้นต้นดังกล่าว เป็นให้ยกคำ�ขอของผู้ฟ้องคดี เนื่องจาก พิจารณาเห็นว่า การที่ศาลปกครองชั้น ต้น มีคำ�สั่งไม่ทุเลาการปฏิบัติตามคำ�สั่ง

ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ตามหนังสือที่ ทช 3300/9800 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 แต่กลับมีคำ�สั่งให้ระงับ การบังคับ ตามคำ�สั่งของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ สทช 5011/9465 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ไว้เป็นการชั่วคราวฯ นอกจากจะเป็นคำ�สั่งที่ขัดแย้งกันในตัวเอง แล้ว ยังเป็นคำ�สั่งที่เป็นอุปสรรคต่อการ บริหารงานของรัฐอีกด้วย เพราะทำ�ให้เจ้า หน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานทางปกครอง ขาดเครื่ อ งมื อ ในการดำ � เนิ น การให้ คำ � สั่ ง ทางปกครองบรรลุผล

สิแอนทพลอยส่ ธิสอตรี งแสง และ ยศกร ศรีอมร

การเลือกใช้นามสกุลของหญิงหลังการสมรส: การเป็นครอบครัวเดียวกัน ในตอนที่แล้วผู้เขียนได้กล่าวถึงเรื่องการลงโทษผู้กระทำ� ผิดเกี่ยวกับเพศซึ่งก็เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิสตรีที่น่ากังวล ใจอยู่เช่นกันและกำ�ลังเป็นประเด็นร้อนเนื่องจากมีข่าวการ ข่มขืนและฆาตกรรมน้องการ์ตูน และยังเป็นฆาตกรรม ต่อเนื่องกับเด็กอีกหลายราย ในครั้งนี้ผู้เขียนจะขอกลับมา เขียนเรื่องเบา ๆ กันบ้างและต่อเนื่องมาจากบทความเรื่อง คำ�นำ�หน้านามหญิงในฉบับแรก คือเรื่องการให้สิทธิหญิงที่ จะสามารถเลือกใช้นามสกุลของหญิงไทยหลังการสมรสได้ โดยผลของกฎหมายและวั ฒ นธรรมของสั ง คม ไทยแต่เดิมนั้น เมื่อหญิงแต่งงานโดยมีการจดทะเบียน สมรสถูกต้องตามกฎหมายก็จะต้องเปลี่ยนมาใช้นามสกุล ของชายที่แต่งงานด้วย ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติชื่อ บุคคล พ.ศ. 2505 จนเมื่อปี พ.ศ. 2548 ได้มีการแก้ไขพระ ราชบัญญัติดังกล่าวให้สอดคล้องกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ ของไทย โดยมีสาระสำ�คัญ เช่น “คู่สมรสมีสิทธิใช้ชื่อสกุล ของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตามที่ตกลงกัน หรือต่างฝ่ายต่างใช้ชื่อ สกุลเดิมของตน” (มาตรา 12) หรือ “เมื่อการสมรสสิ้นสุด ลงด้วยการหย่าหรือศาลพิพากษาให้เพิกถอนการสมรส ให้ ฝ่ายซึ่งใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ายหนึ่งกลับไปใช้ชื่อสกุลเดิมของ ตน” (มาตรา 13) เป็นต้น ซึ่งการแก้ไขกฎหมายฉบับนี้ ทำ�ให้หญิงไทยมีสิทธิในการเลือกว่าจะใช้นามสกุลของชาย ที่ตนแต่งงานด้วยหรือไม่ก็ได้ หรือจะยังใช้นามสกุลเดิมของ หญิงเองก็ได้ หรือเมื่อชายหญิงจะสมรสกันนั้น ฝ่ายหญิง

สามารถที่จะเลือกใช้นามสกุลเดิมของตนเองต่อไปได้ หรือ จะเลือกใช้นามสกุลตามฝ่ายชายก็ได้ คงเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่าปัจจุบันหญิง มีความสามารถในด้านต่าง ๆ ทัดเทียมกับชาย เช่นจาก เดิมที่ฝ่ายหญิงเมื่อสมรสแล้ว จะอยู่บ้านเป็นแม่บ้านเพื่อ คอยดูแลบ้านในขณะที่ฝ่ายชายจะเป็นผู้ออกไปทำ�มาหากิน เพื่อหาเงินได้มาเลี้ยงครอบครัว แต่ปัจจุบันหญิงทำ�งาน นอกบ้านมากขึ้นและสามารถหาเงินเลี้ยงตนเองและช่วย ฝ่ายชายหาเงินเลี้ยงครอบครัวได้อีกแรงหนึ่ง จนบางครั้ง นามสกุลของฝ่ายหญิงอาจจะเป็นที่รู้จักหรือมีหน้ามีตาใน สังคมมากกว่าฝ่ายชาย ฝ่ายหญิงจึงอาจจะรู้สึกภูมิใจในวงศ์ ตระกูลของตนเองและอยากจะเก็บนามสกุลของบรรพบุรุษ ฝ่ายตัวเองไว้ได้โดยไม่จำ�ต้องเปลี่ยนตามนามสกุลของฝ่าย ชาย ผลของการแก้ไขกฎหมายฉบับนี้ เมื่อพิจารณา ดูแล้วก็อาจจะมีผลกระทบต่อสถาบันครอบครัวอยู่บ้างใน ด้านความรู้สึกถึงความเป็นครอบครัวเดียวกันของหญิงชาย ที่แต่งงานกันเพื่ออยู่กินกันตลอดชีวิต ผู้เขียนมีข้อเสนอทาง แก้ไขซึ่งจริง ๆ แล้ว วิธีการก็อยู่ในพระราชบัญญัติฉบับที่ แก้ไขนั่นเอง คือ “คู่สมรสอาจใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ายหนึ่งเป็น ชื่อรองได้เมื่อได้รับความยินยอมของฝ่ายนั้นแล้ว” (มาตรา 6 วรรค 3) เมื่อหญิงไทยใช้มาตรา 6 นี้ เพิ่มนามสกุลของ ชายที่จดทะเบียนสมรสด้วยเข้าเป็นชื่อรอง (ชื่อประกอบ

ถัดจากชื่อตัว) เพียงเท่านี้ความรู้สึกถึงการเป็นครอบครัว เดียวกันก็ยังคงมีอยู่ ฝ่ายชายก็จะไม่รู้สึกน้อยเนื้อต่ำ�ใจว่า ทำ�ไมหญิงถึงไม่ยอมใช้นามสกุลตามฝ่ายชาย ซึ่งจริงๆ แล้ว ก็เป็นประเพณีที่สืบปฏิบัติกันมาช้านาน ซึ่งวิธีการนี้เป็นที่ แพร่หลายในหลายสังคมทั่วโลก แต่ถ้ายังมีปัญหาอยู่อีก ผู้ เขียนขอเสนออีกหนึ่งวิธีแก้ไขที่จะทำ�ให้ปัญหาต่างๆ หมด ไป ก็คือ ขอให้ฝ่ายชายเปลี่ยนมาใช้นามสกุลของหญิงเพื่อ ให้รู้สึกเป็นครอบครัวเดียวกัน เพราะกฎหมายก็ได้เปิดช่อง ให้ทำ�ได้อยู่แล้ว แต่ปัญหาจะหมดไปเพราะฝ่ายชายยอมทำ� ตาม หรือหมดไปเพราะฝ่ายชายยกเลิกการแต่งงานไปเลย ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง อันนี้คงต้องพิจารณาให้ดีกันสักนิดก่อน นะ แท้จริงแล้ว การจะเปลี่ยนนามสกุลหลังการแต่ง งานหรือไม่ อาจไม่ใช่สาระสำ�คัญของการใช้ชีวิตครอบครัว แต่ความใส่ใจในคู่สมรสของตนเอง และการให้ความรัก ความอบอุ่น ต่อบุตรที่จะเกิดมาต่างหากที่สำ�คัญ สิ่งเหล่า นี้ไม่มีบัญญัติไว้เป็นกฎหมาย แต่เป็นสิ่งที่คู่สมรสพึงปฏิบัติ ต่อกันเพื่อให้ครอบครัวเข้มแข็งและอบอุ่นตลอดไป


ลอว์นิวส์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

atlanticsentinel.com

นายกยูเครน ยอมถอย ลาออก-เลิ ก กฎหมาย ห้ามชุมนุม นายกฯ ยูเครนถอยจนสุด ลาออกตาม ความต้องการของ ปชช. พร้อมยกเลิก กม. ห้ามชุมนุมที่เพิ่งประกาศใช้เมื่อกลางเดือน มกราคม เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2557 สำ�นักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงเคียฟ ประเทศยูเครน ว่ารัฐสภายูเครนได้ยกเลิก กฎหมายต่ อ ห้ า มการชุ ม นุ ม ประท้ ว งซึ่ ง เป็นต้นตอของการปะทะกันรุนแรงระหว่าง กลุ่มผู้ประท้วงและเจ้าหน้าที่ตำ�รวจหลังจาก มีการประกาศใช้กฎหมายฉบับนี้ โดยการ ลงมติยกเลิกในวันนี้มีขึ้นไม่กี่ชั่วโมงหลังจาก นายกรัฐมนตรีไมโคลา อาซารอฟ ยื่นใบลา ออกจากตำ�แหน่ง การประท้วงที่มีมานานกว่า 2 เดือน แปรเปลี่ยนเป็นความรุนแรงหลังจาก ประธานาธิ บ ดี วิ ค เตอร์ ย านู โ ควิ ช ผลั ก ดั น กฎหมายฉบั บ หนึ่ ง เพื่ อ ห้ า มการชุ ม นุ ม ประท้วงและเพิ่มความเป็นไปได้ที่จะลงโทษ จำ � คุ ก ต่ อ ผู้ ป ระท้ ว งในข้ อ หาสร้ า งความ วุ่นวายในสังคม นายอาซารอฟ กล่าวหลังจากยื่น ใบลาออกว่า เขาหวังว่าการเคลื่อนไหวครั้ง นี้ จ ะช่ ว ยให้ เ กิ ด การแก้ ปั ญ หาอย่ า งสั น ติ ที่ ประเทศกำ�ลังเผชิญมา 2 เดือนแล้ว การ ลาออกของนายอาซารอฟมีขึ้นขณะรัฐสภา เปิดการประชุมนัดพิเศษที่คาดว่าจะยกเลิก กฎหมายห้ามการประท้วงซึ่งถูกบังคับใช้เมื่อ วันที่ 16 มกราคม ที่ผ่านมา

ขบข่ าวเอามากัด ABC นิรนาม

5

รถเมล์ความเร็วสูง กลับมาตามคำ�สัญญากับการขบกัดขำ�ขำ�แบบไม่สนใจว่าคนที่ถูก พาดพิงจะขำ�ด้วยหรือไม่ กับโครงการรถเมล์ความเร็วสูง อะ-เมล์-ซิง่ ไทยแลนด์ แว้นครองเมือง ซึ่งผมได้ยอมเสี่ยงเอาชีวิตเข้าแลกด้วย การนั่งรถเมล์ตามแบบอย่างของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ท่านหนึง่ ซึง่ กำ�ลังโด่งดังในโลกออนไลน์อยูใ่ นขณะนี้ จากการลงพืน้ ที่จริงทั้งรถร้อน (ที่ช่วงกลางเดือนที่แล้วเย็นเหมือนรถแอร์) รถแอร์ รถฟรี รถร่วม รถส้วม (ไม่เกี่ยว!) สัมภาษณ์ทั้งผู้โดยสาร คนขับ และ กระเป๋ารถเมล์จนหวิดโดนเอากระบอกตัว๋ ฟาดปากไปหลายที ทำ�ให้ ผมได้รายละเอียดทีร่ ฐั ควรส่งเสริมในการทำ�โครงการรถเมล์ความเร็ว สูง ดังนี้ 1. ชูความเร็วเป็นจุดขาย โดยเฉพาะบรรดารถเมล์กระป๋องที่เปลี่ยน สี ร ถแต่ ไ ม่ เ ปลี่ ย นนิ สั ย คนขั บ ซึ่ ง รถเมล์ ก ระป๋ อ งเหล่ า นี้ มี ค วาม สามารถในการซอกแซกหาที่ว่าง ทั้งแทรกทั้งแซงได้ดีกว่ารถเมล์คัน ใหญ่ ราวกับตนเองเป็นคนขับรถตู้โดยสารความเร็วสูง ทำ�ให้ไม่เสีย เวลาไปกับการจราจรที่ติดขัดบนท้องถนน สามารถไปถึงที่หมายได้ เร็วเทียบเท่ารถไฟฟ้าบีทีเอสในวันที่ระบบประตูบนชานชาลาไม่ ขัดข้อง ในราคาที่ถูกกว่าเกินครึ่ง และถ้าวันไหนคนขับใจดี อาจจัด กิจกรรม “กดหนึง่ ป้าย แถมหนึง่ ป้าย” ให้ผโู้ ดยสารได้ออกกำ�ลังกาย เพื่อสุขภาพที่ดีด้วย 2. ส่งเสริมให้องค์กรอวกาศระดับโลกมาศึกษาดูงาน ด้วยการให้ บรรดาผูเ้ ข้าชมงานนัง่ บนเบาะยาวแถวหลังสุดของรถร่วม ซึง่ ผูเ้ ข้าชม งานสามารถสัมผัสถึงภาวะไร้น้ำ�หนักเป็นเวลา 0.3-0.5 วินาที ใน ช่วงทีร่ ถเมล์ความเร็วสูงกำ�ลังขึน้ -ลงสะพาน โดยไม่ตอ้ งง้อนาซ่า หรือ พึ่งพายานอวกาศใดๆ ซึ่งจะเสียค่าใช้จ่ายในการศึกษาดังกล่าวใน ราคาที่น้อยมากเมื่อเทียบกับการสร้างห้องแล็บวิจัยราคาหลายร้อย ล้านดอลล่าร์ แต่อาจจะต้องเตรียมห้องผ่าตัดเพื่อจัดตำ�แหน่งอวัยวะ ภายในช่องท้องกันใหม่ รวมถึงการทำ�ประกันชีวติ ทีม่ เี งือ่ นไขในกรม ธรรม์ที่ครอบคลุมถึงการได้รับบาดเจ็บจากภาวะไร้น้ำ�หนักชั่วคราว ด้วย 3. ใช้รถเมล์ความเร็วสูงเป็นห้องเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะ วิชาฟิสิกส์ในการพิสูจน์ถึง “แรงเฉื่อย” และ “กฎการเคลื่อนที่ของ นิวตัน ข้อที่ 1” ได้ชัดเจนที่สุด ซึ่งในขณะเบรกรถ หากผู้โดยสารไม่ ยึดจับส่วนใดส่วนหนึ่งของรถไว้ ก็อาจจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้าทะลุ กระจกหน้ารถ ด้วยความเร็วราวกับกระสุนปืนที่ถูกยิงออกมาจาก กระบอกปืนได้ไม่ยาก 4. จัดให้เป็นสถานที่สำ�หรับคณะกายกรรมจากกวางเจา ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ ซัวเถา เสิ่นเจิ้น ฯลฯ ใช้เป็นสถานที่ฝึกการทรงตัว โดยการ ยืนนิ่งๆ อยู่ในรถ โดยไม่จับห่วง เสา ราว หรือยืนพิงประตู ไม่ว่าจะ เป็นขณะที่รถกำ�ลังวิ่ง เลี้ยว ปาด แซง ฯลฯ ที่เด็ดสุดคือการทรงตัว ขณะเบรกรถ (ตามข้อ 3) ถ้าเหล่าอาตี๋อาหมวยสามารถยืนได้ตั้งแต่ อูต่ น้ สายจนถึงอูส่ ดุ สายโดยไม่ลม้ เลย ขอให้ทกุ ท่านแสดงความคารพ ต่อบรรดาอาตีอ๋ าหมวยเหล่านัน้ ในฐานะทีเ่ ป็นผูท้ มี่ คี วามสามารถใน การทรงตัวที่ยอดเยี่ยมยิ่งกว่าการหลับตาไต่ลวดเสียอีก 5. ติดลูกบอลคริสตัลหรือลูกบอลไฟสีสันแสบทรวง พร้อมไฟแอลอี ดีกระพริบ เพือ่ ให้เข้ากับจังหวะเพลงทีพ่ คี่ นขับชอบเปิดยัดเยียดใส่หู ผู้โดยสาร โดยไม่สนใจว่าจะมีใครหูตึงเพิ่มขึ้นหรือไม่ ทั้งเสียง ทั้ง จังหวะ ราวกับได้เกาะลำ�โพงงานคอนเสิรต์ ไปด้วยตลอดทาง แต่เมือ่ ผู้โดยสารกดออดเพื่อจะลง กลับไม่ได้ยิน!

6. จ้างบรรดากระเป๋ากระปีท๋ งั้ หลายไปเป็นไกด์ทวั ร์น�ำ ชมถ้�ำ หินงอก หินย้อยที่ต้องผ่านช่องแคบๆ เพื่อเสริมรายได้ในวันหยุด เพราะพี่ๆ เหล่านี้มีความสามารถในการแทรกซึมเบียดเสียดผู้โดยสารในการ ปฏิบัติการเร่งรัดหนี้สินเก็บเงินค่าโดยสาร ไม่ว่าผู้โดยสารจะเบียด เสียดกันมากน้อยแค่ไหน ไม่วา่ พีๆ่ กระเป๋ากระปีจ๋ ะมีรปู ร่างแบบไม้ เสียบผีหรือตุ่มต่อขาก็ตาม ก็จะยังสามารถปฏิบัติภารกิจเพื่อชาตินี้ ไปได้โดยลุล่วงด้วยดี (ปล. เด็กๆ หรือหนุ่มสาวยุคสมาร์ตโฟนครอง เมืองคนไหนไม่รู้จักคำ�ว่า “กระปี๋” สามารถสอบถามจากผู้อาวุโสที่ บ้านได้ ทั้งนี้ คำ�ว่า “กระปี๋” มิใช่คำ�หยาบคายแต่ประการใด) 7. จัดหาโอกาสให้พๆี่ คนขับ และกระเป๋ากระปีไ๋ ด้มโี อกาสไปทำ�บุญ บ้าง โดยเฉพาะการปล่อย “สัตว์” ที่อยู่ในปาก ที่พร้อมจะวิ่งออกมา ชนผู้โดยสารทุกครั้งที่พี่ๆ เขาหงุดหงิด โดยเฉพาะเวลาที่ผู้โดยสาร กดออดซ้�ำ (เพราะเห็นแล้วว่าพีค่ นขับไม่ได้ยนิ ) หรือบางทีทผี่ โู้ ดยสาร เพิ่งจะเคยใช้บริการรถเมล์สายนั้นเป็นครั้งแรก แล้วถามอะไรที่ ละเอียดไปสักหน่อย จะได้เห็นบรรดาสัตว์ทั้งหลายต่างแย่งกันออก มาจากปากของพี่ๆ กันใหญ่ 8. บูรณาการกับกรมศิลปากรเพื่อให้ความคุ้มครองวัตถุโบราณติด ล้อเหล่านี้ ซึ่งผู้โดยสารบางคนอาจต้องยกมือไหว้รถเมล์ก่อนก้าวขึ้น รถทุกครัง้ เพือ่ เป็นการแสดงความเคารพแก่ผทู้ เี่ กิดก่อน โดยอาจจัด เป็นโครงการ “เที่ยวรถเมล์โบราณเก้าสาย” ควบคู่กับการจัดทัวร์ ไหว้พระเก้าวัดทีจ่ ดั เป็นประจำ�อยูแ่ ล้ว เพือ่ เจาะตลาดคนรักรถเก่าให้ มาโดยสารเพิม่ ขึน้ หรืออาจให้คนขับและกระเป๋ากระปีห๋ ม่ สไบนุง่ โจง กระเบน สวมราชปะแตน เพื่อให้เข้ากับบรรยากาศบนรถก็ได้ 9. ประสานงานกับวัดที่อยู่ใกล้กับป้ายรถเมล์แต่ละป้าย เพื่อให้ บริการหนังสือธรรมะ ซีดีธรรมะ หรือให้พระมาเทศน์เพื่อคลายทุกข์ ให้ผโู้ ดยสารทีอ่ าจจะนัง่ รอรถนาน โดยเฉพาะเส้นทางย่านชานเมือง บางสายที่มีรถเมล์ความเร็วต่ำ�วิ่งเพียงสายเดียว มีรถวิ่งบริการใน อัตราชั่วโคตรละคัน (ถ้ามาไม่ทันก็หลับรอที่ป้ายรถเมล์ได้เลย) จะ ได้เป็นการเจริญจิตภาวนา ฝึกความอดทนอดกลั้น จะได้ไม่ไปไฝว้ กับพี่ๆ กระเป๋ากระปี๋ผู้ยิ่งใหญ่บนรถ เดี๋ยวผู้โดยสารคนอื่นๆ จะได้ รับชมการโต้วาทีสลับกับมวยไทยไฟต์ชนิดบัวขาวยังอาย แบบติด ขอบเวทีริงไซด์ 10. เสริมเกราะให้แก่ตัวรถ เปลี่ยนกระจกหน้าต่างทุกบานบนรถ เป็นกระจกกันกระสุน โดยเฉพาะรถเมล์ทจี่ ะต้องวิง่ ผ่านหน้าสถาบัน นักเลงทัง้ หลาย เพือ่ ความปลอดภัยในชีวติ ของผูโ้ ดยสารทีไ่ ม่รอู้ โิ หน่ อิเหน่ด้วย จะได้ไม่ต้องมีตำ�แหน่งเป็น “เหยื่อรายสุดท้าย” ที่เลื่อน คำ�ว่า “สุดท้าย” ไปเรื่อยๆ เหมือนม็อบลุงกำ�นัน และหากติดอาวุธ ป้องกันรถไม่ให้ใครเอารถเมล์ไปเผาเล่นได้กจ็ ะดีมาก (ติดไปเลยครับ พี่น้อง ผมรับผิดชอบเอง-ผู้เขียนไม่ได้กล่าวไว้) นีก่ เ็ ป็นเพียงส่วนหนึง่ ของข้อมูลทีผ่ มไปสำ�รวจมานะครับ แต่ใช่วา่ จะ มีแต่เรื่องที่ควรปรับปรุงเท่านั้น เพราะพี่ๆ คนขับหรือกระเป๋ากระปี๋ ทั้งหลาย ที่ทำ�หน้าที่ของตนได้ดีก็มีอีกมาก เช่น ยิ้มแย้มทักทายผู้ โดยสาร เตือนผู้โดยสารก่อนถึงป้าย ไม่ขับรถกระชาก ส่งผู้โดยสาร ลงตรงป้าย มีบริการหนังสือให้อ่านระหว่างโดยสาร ฯลฯ ก็อยากให้ พี่ๆ รักษาสิ่งเหล่านี้ไว้ เพื่อการบริการที่ดี เพื่อความรู้สึกดีๆ ที่มีให้ กัน จะได้เป็นการเดินทางที่มีความสุขด้วยกันทั้งสองฝ่าย และความ สุขเล็กๆ ที่เกิดขึ้นนี้ จะได้นำ�ไปสู่ความสุขใหญ่ๆ ในสังคมต่อไป


6

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ประกาศเบอร์ชอ่ งทีวดี จิ ติ อลเตรียมออนแอร์ 1 เมษานี้ กสทช.แจกหมายเลขช่ อ งที วี ดิ จิ ต อล หมายเลขช่อง 21, บริษทั เอ็นบีซี เน็กซ์ วิชนั่ “นที” เผย เริ่มออนแอร์ 1 เมษายนนี้ 4 จำ�กัด (เครือเนชั่น) หมายเลขช่อง 22 ปี ครอบคลุมทั้งประเทศ เตรียมแจก หมวดหมู่ทั่วไปแบบความคมชัด คูปองช่วยครอบครัวละ 690 บาท ปกติ SD (หมายเลขช่อง 23-29) บริษทั ไทย บรอดคาสติง้ จำ�กัด (ในเครือเวิรค์ พอยท์) ได้ เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2557 หมายเลขช่อง 23, บริษัท ทรู ดีทีที จำ�กัด สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง หมายเลขช่อง 24, บริษัท จีเอ็มเอ็ม เอสดี กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ดิจิทัล ทีวี จำ�กัด หมายเลขช่อง 25, บริษัท แห่งชาติ (กสทช.) ได้จัดให้มีการประกาศ แบงคอก บิสสิเนส บรอดแคสติ้ง จำ�กัด หมายเลขลำ�ดับการให้บริการโทรทัศน์ภาค (เครือเนชั่น) หมายเลขช่อง 26, บริษัท อาร์. พื้นดินในระบบดิจิตอลประเภทบริการทาง เอส.เทเลวิชั่น จำ�กัด หมายเลขช่อง 27, ธุ ร กิ จ ระดั บ ชาติ จำ � นวน 24 ช่ อ ง ที่ ห้ อ ง บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำ�กัด (เครือช่อง 3) เจ้ า พระยา หอประชุ ม กองทั พ เรื อ ถนน หมายเลขช่อง 28 และบริษัท โมโน บรอด อรุณอัมรินทร์ บางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ ภาย คาซท์ จำ�กัด หมายเลขช่อง 29 หลังจากเมื่อวันที่ 24 ม.ค.ที่ผ่านมา กสทช. หมวดหมูท่ วั่ ไปแบบความคมชัดสูง จัดประชุมผูช้ นะการประมูลทีวดี จิ ติ อลทัง้ 24 HD (หมายเลขช่อง 30-36) บริษัท อสมท ช่อง เพื่อเลือกหมายเลขลำ�ดับช่อง โดยเริ่ม จำ�กัด (มหาชน) ได้หมายเลขช่อง 30, บริษทั ตั้งแต่เลขหมาย 13-36 ตามลำ�ดับ ส่วน จีเอ็มเอ็ม เอชดี ดิจิทัล ทีวี จำ�กัด หมายเลข ลำ�ดับที่ 1-12 จะเป็นทีวีดิจิตอลประเภท ช่อง 31, บริษัท ทริปเปิล วี บรอดคาสท์ สาธารณะ และลำ�ดับที่ 37-48 เป็นประเภท จำ�กัด (เครือไทยรัฐ) หมายเลขช่อง 32, ชุมชนตามลำ�ดับ บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำ�กัด (เครือช่อง 3) สำ�หรับการเลือกหมายเลขลำ�ดับ หมายเลขช่อง 33, บริษัท อมรินทร์ เทเลวิ การให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลตาม ชัน่ จำ�กัด หมายเลขช่อง 34, บริษทั กรุงเทพ ลำ�ดับที่ชนะการประมูลทั้ง 4 หมวดหมู่ ซึ่งมี โทรทั ศ น์ แ ละวิ ท ยุ จำ � กั ด (เครื อ ช่ อ ง7) ผู้ชนะการประมูลทั้ง 20 บริษัท 24 ใบ หมายเลขช่อง 35 และบริษทั บางกอก มีเดีย อนุญาต ผู้ที่ชนะการประมูลที่เสนอราคา แอนด์ บรอดคาสติ้ง จำ�กัด ของ นพ.ปราเส สูงสุดในแต่ละหมวดหมู่เป็นผู้มีสิทธิ์เลือก ริฐ ปราสาททองโอสถ ได้หมายเลขช่อง 36 หมายเลขลำ�ดับช่องก่อน ยกเว้นในหมวดหมู่ ทั้งนี้ ภายในเดือน ก.พ. 2557 ผู้ ทั่วไปแบบความคมชัดสูง (HD) ที่มีผู้ชนะ ชนะการประมูลทัง้ 24 รายจะต้องดำ�เนินการ การประมูลด้วยราคาเท่ากันที่ต้องมีการจับ ตามเงื่อนไขก่อนรับใบอนุญาตให้ครบถ้วน สลากเลือกลำ�ดับก่อนหลัง โดยผลการจับ ตามประกาศ กสทช. เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธี สลากปรากฏว่าบริษัท อมรินทร์ เทเลวิชั่น การ และเงือ่ นไขการประมูลคลืน่ ความถีเ่ พือ่ จำ�กัด ได้ลำ�ดับที่ 6 และบริษัท จีเอ็มเอ็ม เอ ให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจติ อล ประเภท ชดี ดิจิทัล ทีวี จำ�กัด ได้ลำ�ดับที่ 7 บริ ก ารทางธุ ร กิ จ ระดั บ ชาติ พ.ศ. 2556 สำ�หรับการเลือกหมายเลขลำ�ดับ ประกอบด้วย ต้องชำ�ระค่าธรรมเนียมใบ การให้ บ ริ ก ารโทรทั ศ น์ ใ นระบบดิ จิ ต อล อนุญาตงวดที่หนึ่งภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ ประกอบด้วย วั น ที่ ไ ด้ รั บ หนั ง สื อ แจ้ ง การเป็ น ผู้ ช นะการ หมวดหมู่ เ ด็ ก เยาวชน และ ประมูล ซึ่งกำ�หนดให้ชำ�ระเป็น 2 ส่วน คือ ครอบครัว (หมายเลขช่อง 13-15) บริษัท บี ส่วนที่ 1 จำ�นวน 50% ของส่วนราคาขั้นต่ำ� อีซี-มัลติมีเดีย จำ�กัด (ช่อง3) ได้หมายเลข พร้อมหนังสือค้ำ�ประกันการชำ�ระเงินส่วน ช่อง 13, บริษัท อสมท จำ�กัด (มหาชน) ของราคาขั้นต่ำ�ในส่วนที่เหลือตามแบบที่ หมายเลขช่อง 14, บริษัท ไทยทีวี จำ�กัด กำ�หนด และส่วนที่ 2 จำ�นวน 10% ของส่วน (เครือทีวีพูล) ได้หมายเลขช่อง 15 ที่ เ กิ น กว่ า ราคาขั้ น ต่ำ � รวมถึ ง หนั ง สื อ ค้ำ � หมวดหมู่ ข่ า วสารและสาระ ประกันการชำ�ระเงินส่วนที่เกินกว่าราคาขั้น (หมายเลขช่อง 16-22) บริษัท ไทย นิวส์ ต่ำ�ในส่วนที่เหลือตามแบบที่กำ�หนด และ เน็ตเวิรค์ (ทีเอ็นเอ็น) จำ�กัด ได้หมายเลขช่อง เอกสารต่างๆที่ใช้ประกอบในการพิจารณา 16, บริษัท ไทยทีวี จำ�กัด (ทีวีพูล) หมายเลข มอบใบอนุญาตด้วย ช่อง 17, บริษัท ดีเอ็น บรอดคาสท์ จำ�กัด ขณะเดียวกัน ผู้ชนะการประมูลจะ (เครือบริษัท เดลินิวส์ทีวี) หมายเลขช่อง 18, ต้องขอใช้บริการโครงข่ายโทรทัศน์จากผู้รับ บริษทั สปริงนิวส์ เทเลวิชนั่ จำ�กัด หมายเลข ใบอนุญาตให้บริการโครงข่ายภาคพืน้ ดินใน ช่อง 19, บริษัท 3เอ. มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด ระบบดิจติ อล (MUX) ซึง่ มี 4 บริษทั ประกอบ หมายเลขช่อง 20, บริษัท วอยซ์ ทีวี จำ�กัด ด้ ว ย กองทั พ บก, บริ ษั ท อสมท จำ � กั ด

(มหาชน), กรมประชาสัมพันธ์ และองค์การ กระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่ง ประเทศไทย ภายใน 30 วันเช่นเดียวกัน พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธาน กสทช.ในฐานะประธานคณะกรรมการ กิ จ การกระจายเสี ย งและกิ จ การโทรทั ศ น์ (กสท.) กล่าว่า “คาดว่าภายในต้นเดือน มี.ค.นี้ กสทช.จะสามารถมอบใบอนุญาตทีวี ดิจิตอลแก่ผู้ชนะการประมูลทั้ง 24 รายได้ โดยในช่วงเวลาดังกล่าว กสทช.จะมีการ หารือกับผูช้ นะการประมูลว่าจะมีการทดลอง ออกอากาศเมื่ อ ใด ก่ อ นจะสามารถออก อากาศได้จริงวันที่ 1 เม.ย.นี้” นอกจากนี้ เมือ่ ได้รบั ใบอนุญาต ผู้ ประกอบการจะต้ อ งประกอบกิ จ การตาม ประกาศ กสทช.ว่าด้วยหลักเกณฑ์การเผย แพร่ กิ จ การโทรทั ศ น์ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารเป็ น การ ทั่ ว ไป, ว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ ก ารจั ด ทำ � ผั ง รายการ, ว่าด้วยหลักเกณฑ์การแบ่งเวลาให้ ผู้ อื่ น ดำ � เนิ น รายการ และประกาศอื่ น ที่ เกี่ยวข้องด้วย ส่วนกรณีการสนับสนุนช่วยเหลือ การเปลี่ยนผ่านทีวีจากระบบอนาล็อกเป็น ดิจิตอลด้วยการแจกคูปองแก่ประชาชน 22 ล้านครัวเรือนนั้น คาดว่าจะสามารถดำ�เนิน การแจกได้ภายหลังมีการออกอากาศจริงบน ระบบทีวดี จิ ติ อลแล้ว เนือ่ งจากในช่วงทดลอง ออกอากาศลำ�ดับหมายเลขช่องต่างๆ จะยัง ไม่ตรงกับช่องทีผ่ ชู้ นะการประมูลได้รบั เลือก ไปแต่ อ ย่ า งใด ซึ่ ง ราคาประเมิ น ในการ สนับสนุนเบื้องต้นอยู่ที่ 690 บาทต่อครัว เรือน ทั้งนี้ ตามแผนเดิมซึ่ง กสทช. ได้ ประกาศไว้นนั้ พืน้ ทีใ่ นเขตกรุงเทพมหานคร นครราชสีมา เชียงใหม่ และสงขลา จะเป็น พื้นที่แรกที่จะได้รับชมทีวีดิจิตอลในวันที่ 1 เมษายน 2557 หลั ง จากนั้ น ในเดื อ น พฤษภาคม 2557 จะขยายพื้นที่ออกอากาศ ในอี ก 3 จั ง หวั ด ได้ แ ก่ อุ บ ลราชธานี สุราษฎร์ธานี และระยอง ต่อจากนัน้ ในเดือน มิถนุ ายน จะออกอากาศเพิม่ ในอีก 4 จังหวัด ได้แก่ สิงห์บรุ ี สุโขทัย ขอนแก่น และอุดรธานี ซึ่งจะครอบคลุมผู้ชมกว่า 10 ล้านครัวเรือน ทั่วประเทศ (คิดเป็นร้อยละ 50 ของจำ�นวน ครัวเรือนทั่วประเทศ) และจะสามารถออก อากาศได้ครบทุกพื้นที่ทั่วประเทศภายใน 4 ปี

ลอว์นิวส์

รวมข่าว เล่ากฎหมาย ให้สาระประชาชน

เจ้าของ สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ปรึกษา นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายพูลศักดิ์ บุญชูม ผศ. ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรพล สินธุนาวา นายชวน คงเพชร ดร. สุธรรม วลัยเสถียร นายสุมิตร มาศรังสรรค์ นายนิวัติ แก้วล้วน ดร. เกียรติศักดิ์ วรวิทย์รัตนกุล บรรณาธิการ, ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา นางแอน พลอยส่องแสง กองบรรณาธิการ นายสุวิทย์ เชยอุบล นายสุนทร พยัคฆ์ นายวิเชียร ชุบไธสง นางสาวอรอนงค์ เทศะบำ�รุง นายธีรศักดิ์ วิชชุตานนท์ นายชัยณรงค์ กัจฉปานันท์ นายสุชาติ ชมกุล นายชลิต ขวัญแก้ว ร้อยตรีสุรศักดิ์ รอนใหม่ นายพิเชฐ คูหาทอง นายอาสา เม่นแย้ม นายผาติ หอกิ​ิตติกุล นายวิทยา แก้วไทรหงวน นายวันรัฐ นาคสุวรรณ นายโอฬาร กุลวิจิตร นายวีรวัฒน์ จิตต์ปรุง ศิลปกรรม นายฉัตรชัย ทองศักดิ์ หนังสือพิมพ์ลอว์นิวส์ จัดทำ�โดยสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2280-1567 พิมพ์ที่ 96 หมู่ 3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210


ลอว์นิวส์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ทีว. ราชดำ ่แห่�เนิงนนี้

7

เนติบัณฑิตยสภา ท่ามกลางความเปลีย่ นแปลงของ โลกในยุคล่าอาณานิคม สยาม จำ � เป็ น จะต้ อ งเปลี่ ย นแปลง ตนเองครั้ ง ใหญ่ เ พื่ อ รั บ มื อ กั บ ชาติ ต ะวั น ตกที่ กำ � ลั ง แผ่ ข ยาย อิ ท ธิ พ ลมาในภู มิ ภ าคเอเชี ย อาคเนย์ ในรั ช สมั ย ของพระบาท สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว (รัชกาลที่ 5) จึงเกิดการปฏิรูปหลาย ด้ า น ทั้ ง ด้ า นการปกครอง สั ง คม วัฒนธรรม รวมถึงกฎหมายและการ ศาลเช่นกัน การสถาปนาโรงเรี ย น กฎหมายนัน้ เนือ่ งจากความต้องการ จ ะ ย ก เ ลิ ก ศ า ล ก ง สุ ล แ ล ะ ข จั ด สิ ท ธิ ส ภาพนอกอาณาเขตเพื่ อ ให้ สยามมี เ อกราชทางการศาลอย่ า ง แท้จริง เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุ กูลกิจ (นายโรแลง ยัคแมงส์ , Mr. Rolin Jacquemyns) ที่ ป รึ ก ษา ราชการแผ่นดิน ได้ถวายความเห็น ต่อพระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั ให้ทรงปลูกฝังวิชากฎหมาย เพื่ อ ปฏิ รูป กฎหมายและระบบการ ศาลให้ดขี นึ้ พระองค์จงึ ทรงมีพระราช กระแสรับสัง่ กับขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) เมื่อปลายปี พ.ศ. 2438 ขุนหลวงพระยาไกรสีได้กราบ บังคมทูลว่าจำ�เป็นต้องจัดตัง้ โรงเรียน กฎหมายและได้ร่างพระราชบัญญัติ การเรี ย นกฎหมายขึ้ น ทู ล เกล้ า ฯ ถวาย แต่ ก็ ยั ง มิ ไ ด้ มี ก ารจั ด ตั้ ง ขึ้ น

จนกระทั่งพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์ เจ้ า รพี พั ฒ นศั ก ดิ์ ท รงดำ � รงตำ � แหน่ ง เสนาบดียุติธรรม เมื่อ พ.ศ. 2439 โรงเรียนกฎหมายจึงได้ถอื กำ�เนิดขึน้ ใน ปีถดั มา โดยมีวตั ถุประสงค์ในการผลิต บุคลากรเพือ่ เข้ารับราชการ ต่อมาจึงได้ มีการตั้งคณะกรรมการชุดหนึ่งเพื่อทำ� หน้าทีบ่ ริหารจัดการโรงเรียนกฎหมาย เรียกว่า “สภาเนติบัณฑิต” เพื่อแบ่ง เบาพระราชภารกิ จ ของเสนาบดี กระทรวงยุติธรรม ในระยะแรก พระองค์เจ้ารพี พัฒนศักดิท์ รงสอนเองเป็นประจำ�หลัง เวลาเสวยพระกระยาหารกลางวันที่ ห้ อ งเสวยซึ่ ง อยู่ ติ ด กั บ ห้ อ งเสนาบดี กระทรวงยุติธรรม อาคารศาลสถิตย์ ยุติธรรม ชั้น 2 นอกจากนี้ ยังมีขุน หลวงพระยาไกรสี พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร และอีกหลาย ท่านมาช่วยสอน ในรุน่ แรกได้ทรงเปิด ให้มีการสอบไล่เป็นเนติบัณฑิต ซึ่งมีผู้ สอบผ่านทัง้ สิน้ 9 ท่าน โดยมีเจ้าพระยา มหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) เป็นเนติบณ ั ฑิต คนแรก ต่อมา พ.ศ. 2454 พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าหัว (รัชกาล ที่ 6) ทรงมี พ ระบรมราชโองการ ประกาศให้ โรงเรี ย นกฎหมายเป็ น โรงเรี ย นหลวงในสั ง กั ด กระทรวง ยุตธิ รรม ทำ�ให้การดูแลจัดการโรงเรียน กฎหมายโดยสภาเนติบัณฑิตจึงสิ้นสุด ลง

ในเดื อ นธั น วาคม 2457 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยู่  หั ว พ ระราชทานบั น ทึ ก เรื่ อ งเนติ บัณฑิตยสภา กําหนดหน้าทีแ่ ละวิธดี าํ เนินงานของเนติบัณฑิตยสภา ทรงลง พระบรมนามาภิ ไ ธยไว้  ท้  า ยบั น ทึ ก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้า พระยาอภัยราชา เสนาบดี กระทรวง ยุติธรรมปรึกษากับสมเด็จกรมหลวง สวั ส ดิ วั ต นวิ ศิ ษ ฎ อธิ บ ดี ศ าลฎี ก า เลื อ กกรรมการขึ้ น เพื่ อ ปรึ ก ษา พิ จ ารณาร่ า งข  อ บั ง คั บ เนติ บั ณ ฑิ ต ย สภาตามแนวทางแห่ง พระราชบันทึก เสร็จแล้วได้ทูลเกล้าฯ ถวายร่างข้อ บังคับ เมื่อพระองค์ได้ทรงตรวจและ แก้ไขแล้ว ได้พระราชทานข้อบังคับ เนติ บัณ ฑิ ต ยสภาคื น มาเมื่ อ วั น ที่ 1 มกราคม 2457 (ในขณะนั้นยังถือวัน ที่ 1 เมษายนเป็นวันปีใหม่) พระองค์ ได้ ท รงรั บ เนติ บั ณ ฑิ ต ยสภาไว้ ใ น พระบรมราชูปถัมภ์ จึงถือเอาวันที่ 1 มกราคม 2457 เป็นวันกําเนิดเนติ บัณฑิตยสภา เมื่ อ แรกสถาปนา เนติ บั ณ ฑิ ต ยสภามี ที่ ทํ า การตั้ ง อยู่ ใ น อาคารศาลสถิตย์ยุติธรรม ต่อมาเมื่อ มี ก ารสร้ า งศาลอาญาขึ้ น ใหม เนติ บัณฑิตยสภาก็ยา้ ยมาอยูท่ อี่ าคารศาล อาญา และได้ย้ายมาอยู่ที่ห้างแบท แมน เยื้องสะพานผ่านพิภพลีลา เมื่อ พ.ศ. 2469

เนติบัณฑิตยสภาได้จัดตั้ง สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติ บัณฑิตยสภา เมือ่ พ.ศ. 2491 และเริม่ เปิดการสอนเป็นครั้งแรก ในเดือน พฤศจิกายนปีเดียวกัน มีหลักสูตรตาม แบบอย่า งของสภาการศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภาประเทศอังกฤษ และต้องตามมติของเนติบณ ั ฑิตยสภา สากล ซึ่งเนติบัณฑิตยสภาไทยเป็น ภาคี พ.ศ. 2497 มีการก่อสร้าง อาคารเนติบัณฑิตยสภาที่ถนนหน้า หับเผย แต่ต่อมาก็ได้รื้ออาคารดัง กล่าวลง ด้วยเหตุที่มีจํานวนสมาชิก และนั ก ศึ ก ษาเพิ่ ม มากขึ้ น ทํ า ให้อาคารเดิมคับแคบ จึงได้ดําเนิน การก่อสร้า งอาคารเนติบณ ั ฑิตสภาขึน้ ใหม่ บริเวณศาลฎีกา สนามหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดําเนินมา ทรงเปิ  ด อาคารเมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 29 พฤศจิกายน 2509 ต่อมา เนติบัณฑิตยสภาได้ ซื้อที่ดิน จํานวน 13 ไร่ 3 งาน 99 ตารางวา ที่แขวงบางระมาด (บาง พรม) เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นสถานที่ ก่อสร้างอาคารเนติบัณฑิตยสภาหลัง ปัจจุบัน โดยสมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จ พระราชดําเนินมาทรงประกอบพิธวี าง

ศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2535 และได้ย้ายที่ทําการมา ณ ที่ ทําการอาคารเนติบัณฑิตยสภาที่ สร้ า งขึ้ น ใหม่  บ นที่ ดิ น ของตนเอง เลขที่ 32/2-8 ถนนกาญจนาภิเษก แขวงบางระมาด เขตตลิ่ ง ชั น กรุงเทพฯ 10170 เมื่อ พ.ศ. 2541 สัญลักษณ์ที่โดดเด่นของ เนติบัณฑิตยสภา ก็คือ พระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยูห่ วั องค์ผ กู้ อ่ ตัง้ เนติบณ ั ฑิตยสภา ทีป่ ระดิษฐานเป็นสง่าแก่สถานที่ ซึง่ ไ ด้ ป ร ะ ก อ บ พิ ธี อั ญ เ ชิ ญ ขึ้ น ประดิษฐาน ณ หน้าอาคารเนติ บั ณ ฑิ ต ยสภา เมื่ อ วั น อาทิ ต ย์ ที่ 29 ตุลาคม พุทธศักราช 2543 และ ไ ด้ ป ร ะ ก อ บ พิ ธี เ ปิ ด พ ร ะ บ ร ม ราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้า อยูห่ วั และอาคารเนติ บัณฑิตยสภาในปีถัดมา จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำ�เร็จ การอบรมวิ ช ากฎหมายจากเนติ บั ณ ฑิ ต ยสภากว่ า 60 รุ่ น ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ผุ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ นั บ แสนราย “ที่ แ ห่ ง นี้ . .” จึ ง เป็ น สถานที่ ที่ สำ�หรับการอบรมนักกฎหมายใน การรั บ ใช้ ป ระชาชน ดั ง พระราช ประสงค์ ข องพระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงก่อ ตั้ง ทุกประการ


8

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ไทม์ ไลน์ วีรจิตต วัฒนบำารุง

วิชาชีพทนายความ

จากผลการสำารวจสาขาวิชาที่เด็กไทยนิยมเรียนกันในยุคปัจจุบัน นอกจากจะมุ่งไปทางคณะแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ อักษรศาสตร์ ฯลฯ แล้ว “นิติศาสตร์” ก็เป็นตัวเลือกอันดับต้นๆ ของเด็กไทยเช่นกัน ซึ่งก็มีจำานวนไม่น้อยที่มุ่งมั่นจะ เป็นทนายความเพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน แต่จะมี ใครรู้บ้างไหมว่า วิชาชีพในฝันของตนนั้น มีจุดเริ่มต้นมาจากที่ ใด... 1899 พระอัยการลักษณะรับฟ้อง มีข้อความปรากฏว่า “...แต่งทนายต่าง เข้าแก้ในอาญา...” แต่เชื่อว่า อาชีพทนายมีมาก่อนหน้านั้น แต่เพิ่ง มีหลักฐานปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษร 2417 พระราชบัญญัติสำาหรับข้าหลวงชำาระความหัวเมือง จ.ศ.1236 (ร.ศ. 93) ให้ดำาเนินวิธีการศาลแบบใหม่ และให้สิทธิเจ้าครองนครและ ญาติแต่งทนายความว่าความแทนตนเองได้ 2424 พระราชบัญญัติว่าความศาลต่างประเทศ จ.ศ. 1243 บัญญัติให้คน ไทยทุกคนแต่งทนายได้ 2434 ตั้งกระทรวงยุติธรรม

สอบสวนคุณวุฒคิ วามรูค้ วามชำานาญ ซึง่ ทนายความชัน้ สองมีสทิ ธิวา่ ความได้เฉพาะศาลในเขตกรุงเทพมหานครหรือหัวเมืองโดยกำาหนด ไว้ในใบอนุญาต 2. อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ มีอำานาจในการออกใบอนุญาต ทนายความ มีอายุเพียง 1 ปี 3. การควบคุมมรรยาททนายความเป็นอำานาจของอธิบดีผพู้ พิ ากษา ศาลอุทธรณ์กรุงเทพฯ ในการออกคำาสัง่ ห้ามมิให้ทนายความว่าความ ในศาล มีกาำ หนดไม่เกินกว่า 3 ปี หรือจะออกคำาสัง่ ให้ลบชือ่ ออกจาก ทะเบี ย นก็ ไ ด้ เมื่ อ เห็ น ว่ า ทนายความประพฤติ ต นไม่ เ หมาะสม 2458 เปิดศาลยุติธรรมแบบใหม่ทั่วประเทศ 2477

2435 พระราชบัญญัติสนามสถิตย์ยุติธรรม เริ่มมีการใช้กระบวนการว่า ความโดยวิธีแต่งคำาฟ้อง การซักถามพยานแบบชาติตะวันตก 2451 พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความแพ่ง ร.ศ. 127 กำาหนดให้ศาลมี อำานาจห้ามทนายความผูป้ ระพฤติตนไม่สมควร มิให้วา่ ความในศาล ใดศาลหนึ่งหรือทุกศาลได้ 2456 เสนาบดีกระทรวงยุติธรรมออกกฎหมายข้าราชการผู้มีหน้าที่รักษา พระธรรมนูญเข้าว่าความในคดีอาญา 2457

ตัง้ เนติบณ ั ฑิตยสภา และตราพระราชบัญญัตทิ นายความ พ.ศ. 2457 ซึ่งมีสาระสำาคัญคือ 1. มีการแบ่งทนายความเป็น 2 ชั้น ได้แก่ - ทนายความชั้นหนึ่ง ได้แก่ผู้ที่สอบไล่วิชากฎหมาย และได้รับ ประกาศนียบัตรเป็นเนติบณ ั ฑิตไทย ซึง่ ทนายความชัน้ หนึง่ มีสทิ ธิวา่ ความได้ทั่วราชอาณาจักร - ทนายความชั้นสอง ได้แก่ผู้ที่อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ได้

พระราชบัญญัตทิ นายความ ฉบับที่ 2 คือ พระราชบัญญัตทิ นายความ พ.ศ. 2477 มีสาระสำาคัญคือ 1. การเพิ่มเติมคุณสมบัติทนายความ โดยกำาหนดให้ผู้ที่สำาเร็จการ ศึกษาระดับปริญญาตรีทางนิตศิ าสตร์จากมหาวิทยาลัย สามารถเป็น ทนายความชั้นหนึ่งได้ 2. การกำาหนดวันหมดอายุใบอนุญาตทนายความในวันที่ 31 มีนาคม แห่งปีที่ได้รับอนุญาตให้ว่าความ และจะต้องต่อใบอนุญาตทุกปี จึง จะไม่ขาดจากทะเบียน 2481 แก้ไขคุณสมบัติของทนายความชั้นหนึ่ง โดยกำาหนดให้ผู้ที่จะเป็น ทนายความชัน้ หนึง่ ต้องสอบได้เนติบณ ั ฑิตหรือปริญญาตรีขนึ้ ไปและ เป็นสมาชิกแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา หรือเคยเป็นผูพ้ พิ ากษาหรืออัยการ มาแล้วไม่ต่ำากว่า 10 ปี หรือเป็นสมาชิกวิเศษแห่งเนติบัณฑิตยสภา หรือเป็นทนายความชั้นสองซึ่งเป็นทนายความมาแล้วไม่ต่ำากว่า 10 ปี นอกจากนี้ ยังมีการแก้ไขมรรยาททนายความ ให้พนักงานอัยการ มีอาำ นาจขอให้ดาำ เนินการไต่สวนทนายความซึง่ ประพฤติผดิ มรรยาท ได้


ลอว์นิวส์

2500 ก่อตั้ง “สมาคมทนายความ” เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2500 เพื่อให้ เป็นสถาบันอิสระ เป็นตัวแทนของทนายความทั่วประเทศ ในการ บำาเพ็ญประโยชน์ต่อประชาชนและสังคมส่วนรวม ทั้งเอื้ออำานวยผล ประโยชน์ ดูแลสวัสดิการแก่ทนายความด้วยกัน จึงถือว่าวันที่ 20 กุมภาพันธ์ของทุกปี เป็น “วันทนายความ” อันเป็นวันสำาคัญของผู้ ประกอบวิชาชีพทนายความตลอดมาจนถึงปัจจุบัน 2508 พระราชบัญญัตทิ นายความฉบับที่ 3 คือ พระราชบัญญัตทิ นายความ พ.ศ. 2508 มีสาระสำาคัญคือ 1. โอนอำานาจในการออกใบอนุญาตว่าความไปไว้ทเี่ นติบณ ั ฑิตยสภา 2. แก้ ไขคุ ณ ลั ก ษณะของทนายความชั้ น หนึ่ ง และชั้ น สอง โดย ทนายความชั้นหนึ่ง ได้แก่ผู้ที่สำาเร็จวิชากฎหมายและเป็นสามัญ สมาชิกแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา ส่วนทนายความชัน้ สอง ได้แก่ผทู้ สี่ อบ ได้เนติบณ ั ฑิต และสอบนิตศิ าสตร์ในไทยและเป็นสมาชิกวิสามัญแห่ง เนติบัณฑิตยสภา 2514 แก้ไขให้ผู้ที่สำาเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิตแต่มิได้เป็นสามัญ สมาชิกแห่งเนติบัณฑิตยสภา สามารถเป็นทนายชั้นหนึ่งได้ 2517 นายมารุต บุนนาค นายกสมาคมทนายความ ซึ่งเป็นสมาชิกสภา นิติบัญญัติแห่งชาติ ในขณะนั้น จึงได้เสนอร่างพระราชบัญญัติ ทนายความเพือ่ ก่อตัง้ “สภาทนายความ” เข้าสูก่ ารพิจารณาของสภา นิติบัญญัติแห่งชาติ 2518 เปลี่ยนแปลงชื่อสมาคมทนายความเป็น “สมาคมทนายความแห่ง ประเทศไทย”

ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

2528

พระราชบัญญัตทิ นายความ พ.ศ. 2528 (ฉบับปัจจุบนั ) มีสาระสำาคัญ ดังนี้ ยกเลิกทนายความทั้งสองชั้น เหลือเพียงชั้นเดียว และตั้งสภา ทนายความ 1. ตั้ง “สภาทนายความ” เพื่อเป็นสถาบันของผู้ประกอบวิชาชีพ ทนายความและมีฐานะเป็นนิติบุคคล 2. ให้สภาทนายความ เป็นผู้มีอำานาจจดทะเบียนออกใบอนุญาตว่า ความ และควบคุมมรรยาททนายความ แทนเนติบัณฑิตยสภา 3 แกไขคุณสมบัตขิ องผูท้ ปี่ ระสงค์จะขอจดทะเบียน และรับใบอนุญาต เป็นทนายความ ทีน่ อกจากจะเป็นผูส้ าำ เร็จปริญญาตรีทางนิตศิ าสตร์ แล้ว ยังต้องผ่านการฝึกอบรมมรรยาททนายความ หลักปฏิบัติเบื้อง ต้นในการว่าความ และการประกอบวิชาชีพทางกฎหมายตามข้อ บังคับสภาทนายความ ว่าด้วยการฝึกอบรมวิชาชีพว่าความ 4. ยกเลิกทนายความชั้นสอง และให้ผู้ที่เป็นทนายความชั้นสองอยู่ ก่อนวันที่พระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 ใช้บังคับให้ถือว่า เป็นผู้ที่ได้จดทะเบียนและรับในอนุญาตตามพระราชบัญญัติ นี้ และ มีสิทธิขอต่ออายุใบอนุญาต หรือขอจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติ นี้ได้ 5. กำ า หนดให้ มี ก องทุ น สวั ส ดิ ก ารทนายความ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ทนายความที่ได้รับความเดือดร้อนหรือทายาทของทนายความที่ ถึงแก่ความตาย ซึง่ ได้รบั ความเดือดร้อน ให้ได้รบั เงินสงเคราะห์จาก กองทุน สวัสดิการทนายความ 6. กำาหนดให้มคี ณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย รวม ทั้งจัดให้มีกองทุนช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย ดังจะเห็นได้วา่ วิชาชีพทนายความเป็นวิชาชีพทีอ่ ยูค่ สู่ งั คมไทยมาช้า นานนับร้อยปี มีบทบาทและหน้าทีท่ เี่ ปลีย่ นแปลงไปตามสภาพสังคม จากเดิมทีท่ าำ หน้าทีเ่ พียงแก้ตา่ งให้กบั คูค่ วามจนมาสูก่ ารรับใช้สงั คม ด้วยการให้ความช่วยเหลือทางด้านกฎหมายแก่ประชาชน ซึง่ งานวัน ทนายความประจำาปี 2557 ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 20 กุมภาพันธ์นี้ โดย ในตอนเช้า จะมีพธิ ที าำ บุญเพือ่ อุทศิ ส่วนกุศลแด่ทนายความทีล่ ว่ งลับ ณ ห้องประชุมสภาทนายความ ถนนราชดำาเนินกลาง กรุงเทพฯ ตอน บ่าย มีสัมมนาทางวิชาการ (ฟรี) หัวข้อ “การเรียนรู้และเตรียมตัว เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)” ณ ศูนย์การประชุมอิม แพคเมืองทองธานี และตอนเย็น ขอเชิญร่วมงานเลี้ยงบุฟเฟ่ต์ (บัตร ราคา 800 บาท) และร่วมเป็นเกียรติในพิธีมอบโล่ทนายความดีเด่น พบปะสังสรรค์ ฟังดนตรี ชมการแสดงและความบันเทิงมากมาย ณ ห้องแกรนด์ไดมอน บอลรูม เมืองทองธานี ถนนแจ้งวัฒนะ นนทบุรี ผู้สนใจ สามารถติดต่อได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2629-1430 ต่อ 117, 120 หรือ 134 ในวันและเวลาราชการ

9


10

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

BINGE-WATCH BINGBING

American Horror Story คำ�ว่า BINGE-WATCH เพิ่งได้รับการ บัญญัติเป็นศัพท์ใหม่ใน Oxford Dictionary ไปเมื่อปีกลาย ความหมายของ คำ�นี้ คือ การนั่งดูซีรี่ยส์ติดต่อกันหลาย ตอนเป็นเวลานาน อารมณ์คล้ายกับอ่าน นิยายสนุกๆ ตื่นเต้นจนเกิดอาการวาง ไม่ลง เรื่องที่กำ�ลังจะนำ�เสนอก็เป็นหนึ่ง เรื่องที่ทำ�ให้เกิดอาการแบบนั้น นอกจากเนื้ อ เรื่ อ งที่ แ ปลก บรรยากาศไม่นา่ ไว้วางใจ และจุดหักมุม ที่ American Horror Story มีแล้ว อีก ซึง่ หนึง่ ทีน่ บั เป็นจุดเด่นของซีร่ ยี่ ส์เรือ่ งนี้ คื อ การแต่ ง กายและแต่ ง หน้ า ในนั ก แสดง โดยซี รี่ ย ส์ ชุ ด นี้ ใช้ นั ก แสดงชุ ด เดียวกันในทุกซีซั่น แต่ละซีซั่นเนื้อเรื่อง เป็นเอกเทศ ไม่เกี่ยวข้องกัน นักแสดง คนเดินมารับบทตัวละครอีกแบบในซีซนั่ นึง ปัจจุบนั ออกอากาศมาจบซีซนั่ ทีส่ าม แล้วเมื่อปลายเดือนมการาคมที่ผ่านมา เพือ่ เป็นการเฉลิมฉลองการจบซีซนั่ สาม อย่างสวยงาม และรอการกลับมาของ ซีซนั่ ใหม่ เราได้รวบรวมตัวละครในซีซนั่ ต่างๆ มาให้ดูกัน

Season 1

Season 2

Season 3 Jessica Lange รับบทเป็น 1. Constance Langdon 2. Sister Jude Martin 3. Fiona Goode Frances Conroy รับบทเป็น 1. Moira O’ Hare 2. Angel of Death 3. Myrtle Snow Sarah Paulson รับบทเป็น 1. Billie Dean Howard 2. Lana Winters 3. Cordelia Foxx Lily Rabe รับบทเป็น 1. Nora Montgomery 2. Sister Mary Eunice 3. Misty Day Evan Peters รับบทเป็น 1. Tate Langdon 2. Kit Walker 3. Kyle Spencer

หนั งสือหนังหา คนซื้อหนังสือ X-MEN : Days of Future Past เป็นหนึง่ ในหนังซัมเมอร์ ที่หลายคนรอคอย ยิ่งด้วยภาคนี้ เป็นภาคที่ตัวละครจาก อดีตและอนาคตมาเจอกัน เลยมีทรัพยากรตัวละครให้เอา มาใช้เยอะ ประกอบกับครบรอบขวบปีที่ 25 ของนิตยสาร ภาพยนตร์อย่าง Empire ผลออกมาจึงเป็นนิตยสารที่มี ปกทัง้ หมด 25 แบบ!!! โดยรวมตัวละครเด่นๆ และผูก้ �ำ กับ ด้วย นอกจากจะมี 25 ปกให้สะสมแล้ว ฉากหลังของแต่ละ ปก เอามาต่อกันได้เป็นภาพยาวๆ อีก นิตยสาร Empire สามารถหาซื้อได้ที่ Asia Books และ Kinokuniya (จะมีครบทั้ง 25 ปกหรือเปล่าไม่แน่ใจ)

My Material World ได้รับตำ�แหน่งเป็น Brand Ambassador ให้กับนิตยสาร L’Officiel นิตยสารแฟชั่นหัวนอกจากฝรั่งเศสกับคอลัมน์ แฟชั่นพิเศษสุดจากชมพู่ และรายการแฟชั่นทีวีของเธอทุก เดือนในชื่อ My Material World หลังจากที่ดูไปตอนแรก เนื้อ หาแน่นและชมพู่เองก็เป็นธรรมชาติ เพราะเคยมี ประสบการณ์ เ ป็ น พิ ธี ก รอยู่ แ ล้ ว จึ ง สอบผ่ า น แต่ ข อหั ก คะแนนนิดนึงตรงที่จำ�บทไม่ได้ ถามคนหลังกล้อง เป็น ธรรมชาติเกินไป ต้องรอติดตามดูตอนต่อไป


ลอว์นิวส์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บัชมผกานเทิ งหน้าสิบเอ็ด จำ�ปา จำ�ปี

ไปไหนดี ตะลอน

11

TRANSFORMERS : AGE OF EXTINCTION ทุกช่วงซัมเมอร์ในอเมริกา จะมี ภ าพยนตร์ ฟ อร์ ม ยั ก ษ์ อลังการงานสร้างออกมาให้ ดูกันเยอะมาก หุน่ ยนต์ ฮีโร่ วันสิ้นโลก ออกมาแย่ง ส่วนแบ่งทางการตลาดกัน แทบทุกปี ปีนี้การแข่งขันก็ ยังคงแรง หลายๆ ค่ายหนัง ต่างก็ดนั หนังของตัวเองออก มาสู้ ออกมาชิงคนดูกัน หลั ง จากได้ ดู ตั ว อย่ า งหนั ง เมื่อช่วงพักแข่งซูเปอร์โบลว์ แล้ ว ถึ ง เวลาต้ อ งจดบน ปฏิทินแล้วว่าจะต้องดูหนัง ซัมเมอร์ปีนี้เรื่องไหนบ้าง

มหกรรม หนังซัมเมอร์

X-men : Day of Future Past

Captain America : The Winter Soldier

Maleficent

The Amazing Spider-man 2

เที่ยววันมาฆบูชา วันมาฆบูชาปีนี้ตรงกับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นวันศุกร์ นับเสาร์อาทิตย์ เป็นวันหยุด ยาว ในหลายๆ จังหวัดมีการจัดกิจกรรมวัน มาฆบูชาที่กำ�ลังจะมาถึง นายกฤษศญพงษ์ ศิริ อธิบดีกรม การศาสนา (ศน.) แถลงข่าวจัดงานสัปดาห์ ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาล มาฆบูชา ประจำ�ปี 2557 ว่า ศน. ร่วมกับวัด ทั่วประเทศ สำ�นักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงการต่าง ประเทศ (กต.) องค์ ก ารขนส่ ง มวลชน กรุงเทพมหานคร (ขสมก.) และองค์กรเครือ ข่ า ยพระพุ ท ธศาสนา จั ด งานภายใต้ ชื่ อ "มาฆบูชา เพ็ญเดือน 3 วันแห่งความรักที่ บริสุทธิ์ 14 กุมภาพันธ์ 2557 ละชั่ว ทำ�ดี ทำ�ใจให้บริสทุ ธิ"์ ระหว่างวันที่ 10 – 14 ก.พ. นี้ โดยในส่วนกลางจัด ณ มณฑลพิธีท้อง สนามหลวง มีกิจกรรมประกอบด้วย การ อั ญ เชิ ญ พระแก้ ว มรกต (จำ � ลอง) มา ประดิษฐาน ให้ประชาชนได้เวียนเทียน และ สักการะบูชา จัดเต็นท์จริยศึกษา ให้เด็กและ เยาวชนได้ร่วมกิจกรรม อาทิ การสวดมนต์ หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัยทำ�นองสรภัญญะ ตอบปัญหาธรรมะ บรรยายธรรม กิจกรรม ปฏิบัติธรรม ได้แก่ ทำ�บุญตักบาตร ฟังพระ ธรรมเทศนา นิ ท รรศการวั น มาฆบู ช า กิ จ กรรมไหว้ พ ระ 9 วั ด สำ � คั ญ ในเขต กรุงเทพฯ ทั้งทางบก/ทางเรือ และในส่วน ภูมภิ าค สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัด ได้รว่ ม กับจังหวัดต่างๆ จัดกิจกรรมเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ ยังได้ประสานกับ กต.ขอความ ร่วมมือสถานกงสุลของต่างประเทศประจำ� ประเทศไทยทุกแห่ง เผยแพร่ข้อมูลการจัด กิจกรรมให้ชา่ วต่างชาติ ได้รว่ มกิจกรรมทาง ศาสนาได้ด้วย

"วั น มาฆบู ช าปี นี้ ต รงกั บ วั น แห่ ง ความรัก 14 ก.พ. จึงมีแนวคิดในการส่งเสริม ให้ประชาชน โดยเฉพาะเด็กรุ่นใหม่หันมา เข้าวัดทำ�บุญ แต่งกายด้วยชุดสีขาวปฏิบัติ ธรรมถวายเป็นพุทธบูชา นำ�หลักธรรมมาใช้ ในการดำ�เนินชีวิต และสิ่งที่พิเศษในปีนี้ที่ บริเวณมณฑลพิธีท้องสนามหลวงจะมีการ จำ�หน่ายดอกพุด ซึ่งเป็นดอกไม้ประดิษฐ์สี ขาวเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องวั น มาฆบู ช า ให้ ประชาชนได้ร่วมทำ�บุญ และนำ�ไปมอบให้ คนรัก แสดงถึงรักที่บริสุทธิ์เนื่องในวันแห่ง ความรักอีกด้วย" อธิบดี ศน. กล่าว นางศิราวรรณ ชื่นบุบภา เขตการ เดินรถที่ 6 ผู้แทน ขสมก. กล่าวว่า ขสมก. ร่วมกับ ศน.จัดบริการท่องเทีย่ ว ตามเส้นทาง แสวงบุญ 9 เส้นทาง ตั้งแต่เวลา 08.00 – 17.00 น. โดยมีจุดบริการที่สถานีขนส่งผู้ โดยสารกรุ ง เทพ (หมอชิ ต 2) ไปยั ง วั ด ราชบพิธสถิตมหาสีมาราม วัดสุทัศนเทพว ราราม วัดราชนัดดาราม วัดสระเกศราช วรมหาวิ ห าร วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร วั ด ชนะสงคราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดพระศรีรตั นศาสดาราม วัดมหาธาตุยวุ รา ชรังสฤษฎิ์ นอกจากนี้ ยังจัดรถบริการพิเศษ สำ�หรับผูพ้ กิ าร โดยมีจดุ รับ-ส่งทีบ่ ริเวณหน้า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ไป ยังวัดไตรมิตรวิทยาราม – วัดพระเชตุพน วิมลมังคลาราม ตั้งแต่เวลา 08.00 – 19.00 น. ขณะที่ส่วนภูมิภาค สำ�นักงานวัฒนธรรม จังหวัด จัดเส้นทางแสวงบุญ 5 เส้นทาง ได้แก่ ภาคเหนือ จ.ลำ�ปาง-ลำ�พูนเชียงใหม่ ภาคกลาง จ.พระนครศรีอยุธยา-สิงห์บุรีชัยนาท-อุทยั ธานี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.นครราชสีมา-ร้อยเอ็ด-มหาสารคาม ภาค ตะวันออก จ.ฉะเชิงเทรา-ปราจีน-ชลบุรีระยอง และภาคใต้ จ.ประจวบคีรขี นั ธ์-ชุมพร


12

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 Ployprathip International Law office is looking passionate, continuous learning and goal oriented people to cope with its rapid expansion and growth. Here is the new challenge and great opportunity for you to take.

Associate

• Male or Female, Thai nationality Age 30 – 40 years old • Master or at least Bachelor's Degree in Law • 5 Years experience from Law firm or in-house corporate lawyer from leading company • Good command of English both in written and spoken • Ability to create good teamwork and being good team player • Strong interpersonal, negotiating and communications skills

Paralegal • • • •

Male or Female Bachelor’s degree in Law Good command of English both in written and spoken Ability to create good teamwork and being good team player

Secretary to Lawyer

• Female age 20-30 years old • Bachelor's degree in Secretarial, Business Administration or related • Require 1 year of experience in the field of Secretary to Management • Good command of English in writing and speaking. • Computer literate in MS office necessary. • Good interpersonal skills, a fast learner, a well rounded person who can work well under time constraint.

Please send your resume to K. Sila at sila@ployprathip.com. You may see more details regarding our office at www.ployprathip.com. Ployprathip International Law Office Co., Ltd. 11/15-16 Ratchadaphisek Road, Chong Nonsi, Yannawa, Bangkok 10120. Tel: 02-678-1799

A Layman’s Interpretation of Legal Terms Rule 26.

Don’t put your elbows on the table.

Voir Dire.

Generic term for fatty, gamey French food, often blamed for indigestion. Whoa, that voir dire did a number on my bowels.

eDiscovery.

A children’s educational program used to teach the importance of vowels.

Plaintiff.

A digital image file with no content.

Pretrial Appearance. Grooming efforts made just prior to enter ing a courtroom. Request for Admission.

A British idiom meaning “I’d like a ticket.”

Movant.

Last person to use the restroom. We all knew that Uncle Jenks was the true movant that morning.

Eminent Domain.

Detroit.

Unliquidated Claim. A draft beer that is ordered but not yet poured or tapped. Motion to Strike.

Advertise in

LAWNEWS Tel. 0-2280-1567

A fake bunt; also, a phrase commonly used in police reports. I observed the suspect make a motion to strike, then I shot him.

On the Record. Snide reference to a song that sucks but is otherwise part of an album; the 12th song on an album. Yeah, Lil Wayne’s “ Romance” was on the record, that’s all I’m saying. Felony Murder.

Worse than misdemeanor murder; murder that likely involves jail time.

Bench Trial. A euphemism to indicate an athlete’s suspension, typically in baseball. Also known as “going A-Rod.” Frivolous Lawsuit.

A lawsuit that a lawyer files for fun and entertainment; see also, jolly lawsuit.

Civil Action.

A romantic liaison on Downton Abbey.

(As published by Gregory Luce@bitterlawyer.com)


ลอว์นิวส์

Arbitrating Disasters The use of arbitration in large scale disasters – both natural and financial has increased in recent years. Alongside this increase has been the growing use of arbitration to resolve an increasingly wide array of claims in insurance, tort, and emergency public assistance. In the realm of financial claims, arbitration is used widely in the United States, Hong Kong, and Singapore as examined in Consumer Financial Dispute Resolution in a Comparative Context. Drawing on empirical findings from a multi-jurisdictional survey, research has found that many of the advantages considered when selecting arbitration in consumer financial claims included the finality of claims, speed and the expertise of the neutral. However, these considerations do not always take precedence, as in the case of financial claims arising in Shanghai, where a high volume of consumer financial disputes are resolved through specialized litigation in financial courts. At the same time, arbitration had a key role to play in resolving the claims arising from the devalued Lehman Minibonds sold to Hong Kong investors beginning in late 2008. In the case of natural disasters, arbitration is used largely in insurance and public assistance claims 1 in which the Federal Emergency Management Agency (FEMA) is a party. The arbitration body for these cases is the United States Civilian Board of Contract Appeals (CBCA), which is an independent tribunal that presides over various disputes involving Federal executive branch agencies in the United States. It is primarily responsible for resolving contract disputes between government contractors and agencies under the Contract Disputes Act. In addition to the hearing of contractual disputes, the CBCA also hears and decides various other classes of cases, including requests for arbitration under section 601 of the American Recovery and Reinvestment Act of 2009, Public Law 111-5 (ARRA), to resolve disputes between applicants and the Federal Emergency Management Agency regarding funding for public assistance following Hurricane Katrina and Rita. While section 601 of the ARRA requires the President to establish an arbitration panel under the FEMA public assistance program to expedite the recovery efforts from Hurricane Katrina and Rita, it would appear that arbitration is not mandatory in these cases. It is an option which applicants may choose when they have a dispute with the FEMA. Here, we will examine a few of the arbitration cases brought before the United States Civilian Board of Contract Appeals. In the arbitration case of In the Matter of Forrest County Board of Supervisors CBCA 1772-FEMA 3/3/10, the claimant, the Forrest County Board of Supervisors (BOS) argued for public assistance and contended that the courthouse, a historic structure built in 1910, suffered damage from mold growth due to high interior temperatures and humidity during the nine-day loss of electrical power

ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

necessary to run the air conditioning system following Hurricane Katrina. The issue in the case was whether FEMA properly determined that no award of public assistance was warranted. To qualify for public assistance, there would have to be a finding that the repairs were required as a result of the major disaster and not a result of the claimant’s own negligence. The panel of arbitrators found that 40% of the mold damage was related to Hurricane Katrina and so the award of public assistance would be 40% of proven costs for mold remediation minus insurance for mold damage.

In the Matter of Sewerage and Water Board of New Orleans CBCA 1761-FEMA 2/4/10, a claim arose regarding the damage caused to the Plant of the Sewerage and Water Board of New Orleans, Louisiana (S&WB) as a result of Hurricane Katrina on 29 August 2005. The issue here was whether the corrosion of the steel components was due to the Hurricane or S&WB’s own negligence. The panel considered that the steel components were approximately 35 years old at the time of Katrina and that they had a normal useful life of approximately 50 years and that no corrosion-prevention measures had been taken during the 35 years. The panel was of the view that the corrosion to the steel as a result of Katrina would be more than merely negligible since the steel components already had some pre-existing corrosion. However, the panel found that the submersion in the salt water for between 45 to 75 days would have caused only minimal additional corrosion and that S&WB’s failure to mitigate damages after Katrina and the normal aging process of steel submerged in sewage for 40 years were overriding factors. Accordingly, the Applicant was entitled to recover any costs it incurred repairing or replacing the applicable steel components from the date Katrina struck the Plant to 17 July 2006. This was thought to be a reasonable time period in which the Applicant should have recoated the steel to prevent further corrosion, and repaired or replaced those components that hindered the proper functioning of the clarifiers after the Plant become operational again. Any failure of the steel components after 17 July 2006 were thought not to be attributable to the effects of Katrina.

13

Finally, In the Matter of St. Tammany Parish CBCA 1778-FEMA 12/3/10, St. Tammy requested public assistance to fund the removal of 99,000 cubic yards of debris from the Coin du Lestin (CDL) canals which were located in the Parish. The issues before the arbitral panel were: 1) whether the CDL canals qualified as an eligible facility for the purpose of receiving public assistance; and 2) whether the removal of further silt, sediment, and marsh grass from the canals constituted eligible emergency work. The panel was of the view that the absence of evidence reflecting any routine maintenance of the canals pre-Hurricane Katrina meant that maintenance of the canal, if performed at all, was performed only on an as-needed basis to remove reported obstructions. Occasionally removing obstructions from the canal at a homeowner’s request was considered not to constitute routine maintenance. The Parish also failed to present any reliable evidence on the condition of the canals immediately prior to Hurricane Katrina other than that they were being used. Therefore, the canal did not fall under the definition of a facility under the FEMA Public Assistance Guide. The panel was also unconvinced that the removal of further silt, sediment, and marsh grass from the canals would eliminate a significant threat and contribute to improved property and public health and safety in the event of a flood within a five year period. As a result, the work did not fall under eligible emergency work for public assistance. Accordingly St. Tammy’s request for public assistance under the Stafford Act for additional debris, silt, sediment, and marsh grass removal from the CDL canals was denied. In reviewing the role of arbitration in disaster cases above, we see in general, a growing use of arbitration to resolve both financial, insurance and tort claims arising from natural disasters and financial meltdown. In both cases, we also see the importance of a clear role for the regulatory body and the arbitration tribunal, the former overseeing policy questions and the latter focusing on dispute resolution. These roles overlap to some extent in the context of Ombuds services such as those found in the UK and Australia, however with the overlap, additional checks are provided to the claimant in the form of decisions rendered without prejudice, allowing recourse to the courts if necessary. Future work may continue to examine the benefits and challenges of using arbitration in wide scale disasters, alongside other dispute resolution mechanisms such as special claims administrators, ombudsman and specialized courts. As reported By Shahla Ali, University of Hong Kong, Faculty of Law. BA (Stanford); JD/PhD (UC Berkeley), in the Kluwer Arbitration Blog). 1John W. Cooley and Steven Lubet, Arbitration Advocacy, LexisNexis; National Institute for Trial Advocacy; 2nd edn: 2003, p 1


14

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

LEGAL TERMS & CONCEPTS MADE EASY

ลอว์นิวส

Ann & Edward Thiravej Ploysongsang

Choice of Law & Choice-of-Law Clause More than ever, we live in a global business world with parties from different countries entering into business contracts with one another. When disputes occur, we must consider which country’s laws should be applied to resolve any disputes. Therefore, we would like to discuss terms related to “Choice of Law” and “Choice-of-Law Clause”. Choice of Law (noun). An issue commonly presented to courts regarding which jurisdiction’s law should apply to a given dispute. Choice-of-Law Clause (noun). A contractual provision commonly seen in international transactions whereby the parties agree beforehand what jurisdiction’s law will be applicable to govern their transaction or any ancillary disputes arising during performance of their contract. Typically, the Choice-of-Law Clause will determine Choice of Law to be used by a court or an arbitral tribunal. Where there is no clear determination or where the choice violates public policy interests of the forum country, then the court in question will have to independently consider which jurisdiction’s law is most applicable. The court may consider which jurisdiction has the most significant contacts with the parties in question, or interest in the subject matter of the dispute. It may also look to its own jurisdiction’s laws and competence in rendering its decision. For example, in the US a state court may be precluded from assuming jurisdiction over certain subject matters out of its purview.

Comparison to Thai Law In conclusion, “Choice of Law” is a judicial matter when parties, who have different nationalities, have not agreed to a choice-of-law clause beforehand. Therefore, the court will determine the choice of law according to Conflict of Laws principles. Conversely, if the parties have agreed in their contract to a choice-of-law clause (thereby fixing what law shall be applied to any disputes), the court will determine according to the agreed clause if such clause does not run contrary to good morals or public order. Choice of Law and Choice-of-Law Clause under Thai law is quite similar to US law. The parties to the contract have freedom to choose the law of either party’s country by specifying in the Choice-of-Law Clause. However, if both parties fail to agree beforehand, a Conflict of Law Act may apply which specifies which law shall be applied to the disputes. Thailand has a Conflict of Laws Act, B.E. 2481 (1938). The related sections of the Act are: Section 4 states that “Whenever the law of a foreign country is to govern and under that law it is the law of Siam which shall be applied, the internal law of Siam governs, and not the Siamese rules on conflict of laws”. Section 5 states that “Whenever the law of a foreign country is to govern, it shall be applied in so far as it is not contrary to the public order or good morals of Siam”.

Section 8 states that “In case where foreign applicable law is to Example 1 : The parties failed to include a Choice-of-Law Clause in their contract. As a result, the court is now charged with govern is not proved to the satisfaction of the Court, the internal law of Siam shall apply”. determining the appropriate Choice of Law to settle the current dispute. Accordingly, the parties can agree in the contract which law they Example 2 : The parties agreed in their Choice-of-Law Clause to will choose to apply to any disputes. If they choose Thai law, then Thai law shall apply even though the case proceeds in a foreign apply English law to govern their contract and in case of any discountry’s court. If they choose foreign law and the case is proputes. The arbitral tribunal must now honor that Choice of Law. ceeds in Thailand, the Thai court will use the foreign law except where such foreign law is against the public order or good morals Example 3 : In some jurisdictions, courts must consider constituof Thai law. For example, Thai labor law is considered to be a tional and statutory limitations when determining the appropriate special law, which relates to public order and good morals. If the Choice of Law. foreign law says that the employer does not have to pay severance payment to the employee, the Thai court will not apply such Example 4 : In US jurisdictions, courts will generally honor Choice-of-Law Clauses so long as the Choice of Law is reason- foreign law to the case since it violates Thai public order and good morals. Instead, the Thai judge will order the employer to pay the able (e.g., if significant contact exists with the jurisdiction whose laws are being used, and the foreign law does not violate the pub- severance pay to the employee according to Section 118 of the Thai Labour Protection Act B.E. 2541. lic policy of the jurisdiction in which the courts are located). Even where a US state decides to apply the substantive law of another The conflict of law is quite a complicated matter. Next issue, we jurisdiction, it may still choose to apply the procedural law of its will discuss the related topic of “Choice of Forum”. own state. Example 5 : The court refused to honor that part of the arbitral award which it deemed violated its jurisdiction’s public policy. This occurred despite the fact that the Choice-of-Law Clause of the underlying contract favored using the law of another jurisdiction.


ลอว์นิวส์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Lifang & Partners reported that on 8 January 2014, Xie Guanbin, Zhang Bin and associate Zhang Lei represented the side of Lost in Thailand before Beijing High People’s Court in the hearing of an unfair competition suit brought against it. The hearing took a whole day wherein both sides examined and explained evidence provided by each party and engaged in heated debates on factual and legal issues. Lost in Thailand, directed and starred by comic star Xu Zheng, was China's biggest box-office hit when it was released in December 2012. In March 2013, Wuhan Huaqi Media, the production company for Lost on Journey, a 2010 movie also starred by Xu initiated a lawsuit claiming that the production and release of Lost in Thailand involves unfair competition by exploiting the success of Lost on Journey without its producer’s authorization. The hearing was covered in news stories on CCTV, Beijing TV, China National Radio, as well as printed and internet media of Beijing Youth Daily, Beijing Morning Post, Beijing Evening News, Legal Evening News, Beijing Times, Xinhua net, Sina, Ifeng, Netease and Tencent. Court decision on the case will inevitably have profound significance in the movie and entertainment industry and become a benchmark in future judicial practice. (As reported by Lifang & Partners)

artbox.co.uk

Unfair Competition disputes relating to Lost in Thailand heard in Beijing High Court 50 Lessons That Moomins Can Teach You About Life Summer Ann Burton / Buzzfeed.com

The Moomins of Moominvalley are the characters in a series of delightful illustrated chapter books and beautiful comics by Finnish author Tove Jansson. The characters have since been the basis of numerous television and film spinoffs, including a popular Japanese anime, and even a theme park called Moomin World in Finland. Anyone who grew up with the Moomins knows that they have the secrets of life figured out, and that we’re so lucky they decided to share their wisdom with us. 1. It is only proper to warmly welcome anyone who comes to your house. 2. It’s as important to know how to be alone as it is to know how to get along. 3. A Moomintroll must know how to compliment a Snork Maiden properly. 4. You don’t have to know something is true to believe in it. 5. Milk, roses, buns, and berries are the best way to celebrate a homecoming. 6. Sometimes someone needs silence and solitude, and it doesn’t mean there’s anything wrong . 7. Even the strangest people you know may prove to be very helpful someday. 8. The people who keep houses warm and bellies full should be celebrated as heroes. 9. Treat mysterious packages with the utmost care – you never know what might be inside! 10. Punishing someone isn’t the only way to get them to behave. 11. Boats are the best way to get anywhere, especially if you’re a Toffle who wants to impress a beautiful girl.

15

12. Occasionally a good cry is just what you need to grow. 13. Other times, you just need to talk to your friends. 14. One must strike a balance between freedom and duty. 15. One must begin a journey at night-time. 16. Discoveries are the fourth-best thing in the world. 17. Almost anything can be fixed with a song. 18. Fitting in is not the most important thing. 19. Everyone needs to be told a good story now and then. 20. Feelings are complicated and don’t always make sense. 21. Waking up while the rest of your family is still hibernating is not as fun as it sounds. 22. Sometimes one can’t help their feelings. 23. It is very hard to keep a secret from your family. 24. The best hats are top hats. 25. Night can either be scary or magical, depending on the company you keep. 26. Water is important for more than just drinking. 27. Life’s ups AND downs are all part of what makes one Moomin (or human). 28. Sometimes all one must do to reassure someone is to remind them you are there. 29. Winter is rather difficult. 30. Although the snow part is fantastic. 31. People with money will sometimes try and tell you what to do. but they don’t own the flowers. 32. If Little My can do it, so can you. 33. Sometimes it is terribly difficult being one’s own self. 34. We all have a responsibility to help those that are smaller than us. 35. Anyone who loves pancakes or Moomins is probably a-ok. 36. Always live in the present moment. 37. Sometimes a little mystery is more comforting than knowing all the answers. 38. Those who love you will never mind if you’re a bit clumsy. 39. One must be aware of the consequences of excess. 40. Moominmammas can fix everything. 41. One needs friends, not things, to have a home. 42. Everyone needs warmth and light, even The Groke. 43. As long as you have a bit of nature, you should never be bored. 44. Being a collector is a lot more fun than being an owner. 45. WOLO. - “We only live once!” 46. Everyone, no matter how little, has a right to be angry sometimes. 47. Even the saddest things can be not so very sad if you have the right attitude about them. 48. Mostly, the world is absolutely wonderful. 49. Your plans don’t have to be extraordinary to make you extraordinarily happy. 50. Most endings are also beginnings.


LAWNEWS

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 วันเสาร์ที่ 1 - วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

BULLETINS

Saturday - Saturday , February 1 - 15 , 2014

urbantimes.co

The Questionable Utility of Social Media ‘It has become appallingly obvious that our technology has exceeded our humanity’ - Albert Einstein. Convenience is addictive. The convenience of digital technology is even more so. Over the last decade or so, the access to personal information, both useful and useless, has burgeoned to a staggering level that at once embarrasses both governments and individuals alike. What started with the innocuous short message service and electronic mail have now transformed into an indispensable way of life. Social media platforms are an escape-an escape from the effort of having to keep up friendships, acquaintances, relationships and other such social obligations, not to mention that it is highly cost effective, if not free. Now practically everything we do is remote. You click a button on your screen, type out a few words, and it’s the equivalent of making a phone call, sending flowers or heaven forbidactually visiting or meeting the person. Yes, we are withdrawing into ourselves, and with the gross over-abundance of information we really don’t need, we are slowly but inexorably abandoning our personalities. Glass walls have been erected around our lives and we have unwittingly ushered in the age of voyeurism. The awful truth is we can’t ignore it.

ลอว์นิวส์

Inside A Layman’s Interpretation of Legal Terms Page 12

Arbitrating Disasters Page 13

LEGAL TERMS & CONCEPTS MADE EASY Page 14

Unfair Competition disputes relating to Lost in Thailand heard in Beijing High Court Page 15

50 Lessons That Moomins Can Teach You About Life Page 15

สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2280-1567

รวมข่าว เล่ากฎหมาย ให้สาระประชาชน

ชำ�ระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ พ.211/2547 ปณ.ราชดำ�เนิน เหตุขัดข้องที่นำ�จ่ายผู้รับไม่ได้ 1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน 2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้า 3. ไม่ยอมรับ 4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้า 5. ไม่มารับภายในกำ�หนด 6. เลิกกิจการ 7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่ 8. อื่นๆ ลงชื่อ.........................................


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.