ลอว์นิวส์
ISSN 2350-9848
ปั กษ์แรก มีนาคม 2558
ฉบับที่
LADY JUSTICE
TIMELINE
CULTURE CLUB
แม้เธอจะมิใช่ชาวบ้านบางระจัน แต่เธอก็ จับดาบขึ้นสู้เพื่อความยุติธรรมให้แก่ทุก คน โดยไม่สนใจต่อสิ่งยั่วยุต่าง หรืออคติ ทีอ่ าจท�ำให้ตาชัง่ ในมือนัน้ เอียงไป ซึง่ อาจ ท�ำให้เกิดความอยุติธรรมในที่สุด
จากการต่อสูเ้ พือ่ เรียกร้องสิทธิจากการถูก กดขี่ห่มเหงในการท�ำงาน สิทธิเลือกตั้ง และสิทธิอนื่ ๆ อีกมากมาย น�ำไปสูก่ ารได้ รับสิทธิต่างๆ ที่เท่าเทียมกับผู้ชาย เพื่อ ให้โลกรู้ว่าพวกเธอไม่ใช่ช้างเท้าหลัง แต่ เป็นเท้าซ้ายที่จะก้าวไปพร้อมกับเท้าขวา ต่างหาก
อินกับวันสตรีสากลยิ่งขึ้น ฟังความในใจของ ผู ้ ห ญิ ง ที่ สื่ อ สารผ่ า นบทเพลง เพื่ อ นหญิ ง พลังหญิงทุกยุคทุกสมัย ตัง้ แต่อรีธา แฟรงคลิน ซิ น ดี้ ลอเปอร์ มาดอนนา สไปซ์ เ กิ ร ์ ล ยันเดสทินีส์ ไชล์
แจกฟรี
LADY JUSTICE 29
LADY JUSTICE AROUND THE WORLD
เทพีแห่งความยุตธิ รรม เรามักจะเห็นภาพของ “ตราชู ” หรือ “ตาชัง่ ” เป็นสัญลักษณ์แทนความยุ ติธรรม ซึ่งแม้แต่ตราของสภาทนายความเองก็ใช้ รูป ตาชัง่ เช่ นกัน แต่ส�ำหรับประเทศในตะวันตกแล้ว ยังมีอีกสัญลักษณ์หนึ่งที่ใช้ แสดงถึงความยุ ติธรรม นัน่ คือ “เทพีแห่งความ ยุ ติธรรม” หรือ Lady Justice ที่เป็นรูปปั ้นหรือรูปวาดผู ้หญิงยืนถือตาชัง่ ไว้ในมือขวา ถือดาบสองคมไว้ในมือซ้ าย (โดยมากมัก ให้ปลายดาบจรดพืน้ แต่บางแห่งก็สร้างขึน้ โดยให้เงือ้ ดาบขึน้ มา) และนิยมสร้างให้มีผ้าปิ ดตาของเทพีไว้ เพื่อสื่อความหมายถึง การไม่ยินดียินร้ายต่ออคติ แต่ในบางครัง้ ก็อาจสร้างเป็นรูปผู ้หญิงหลับตาก็ได้ ซึ่งจากลักษณะท่าทางของเทพีแห่งความ ยุ ติธรรม มีความหมายดังต่อไปนี้
อย่างที่เห็นว่า เทพีแห่งความ ยุ ติธรรมนัน้ เป็นสัญลักษณ์สากล ของความยุ ติธรรม เราจึงได้เห็น เธอในรูปแบบต่างๆ ในแต่ละ ประเทศรอบโลก JAPAN
รูปเทพี
หมายถึง การมีจิตใจเมตตาปรานีตามวิสยั ของสตรี แต่ ด้ วยรูปร่างลักษณะของเทพีที่มีร่างกายแข็งแรง และ สีหน้ าที่จริ งจังแต่เรี ยบเฉย ยังหมายถึงความเด็ดขาดใน การตัดสินที่แม้ จะมีความเมตตาปรานี แต่เมื่อถึงคราว ลงโทษก็ต้องลงโทษโดยเด็ดขาด
มือขวาถือตาชัง่
หมายถึง การชัง่ น� ้ำหนักระหว่าง พยานหลักฐานของทังฝ่้ ายโจทก์และ จ�ำเลย ที่จะต้ องชัง่ น� ้ำหนักด้ วยใจที่ เที่ยงตรงโดยไม่เอนเอียงเข้ าไปยัง ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ และอีกนัยหนึง่ ยัง หมายถึงการชัง่ น� ้ำหนักระหว่างความ ดีกบั ความชัว่ ให้ สมดุลกัน
ผ้าปิ ดตา
หมายถึง การปราศจากอคติใดๆ ใน การตัดสินคดี กล่าวอีกนัยหนึง่ ก็คือ การน�ำกฎหมายมาใช้ แก่คดีใดนัน้ จะต้ องน�ำมาใช้ โดยขึ ้นอยูก่ บั ข้ อเท็จ จริ งของคดีนนั ้ ตามหลักเหตุผลโดย ปราศจากอารมณ์ความรู้สกึ ความ กลัว ความชื่นชอบ หรื ออคติอื่นๆ เพื่อให้ ความยุตธิ รรมนัน้ เป็ นความ ยุตธิ รรมที่สามารถอธิบายตามหลัก เหตุผลได้ มิใช่เป็ นความยุตธิ รรมที่ เอนเอียงไปตามอ�ำเภอใจ และ เป็ นการตัดสินแบบไม่เห็นแก่หน้ า ใครทังสิ ้ ้น
USA
IRAN
เทพีเธมิส มือซ้ ายถือดาบ
หมายถึง อ�ำนาจในการพิพากษา คดีของศาล คือความเด็ดขาดใน การตัดสิน ที่คมด้ านหนึง่ หมายถึง การลงโทษผู้ที่กระท�ำความผิดให้ ได้ รับโทษตามความผิดที่เขาได้ ก่อไว้ แต่อีกคมหนึง่ ยังหมายถึงการย้ อน กลับมาท�ำร้ ายตัวศาลเอง หากศาล นันใช้ ้ อ�ำนาจในการพิพากษาคดีไป ในทางที่มิชอบ ผู้พิพากษาจึงต้ อง ระวังไม่ให้ ตนเองถูกอคติหรื อ อ�ำนาจที่ไม่ชอบธรรมเข้ าครอบง�ำ ในการพิจารณาคดี
ต้ นแบบของเทพีแห่งความยุตธิ รรม มาจากเทพีเธมิส (Themis) ของชาวกรี ก ซึง่ ในต�ำนานเทพเจ้ ากล่าวว่า เธมิสเป็ น เทพีแห่งระเบียบ กฎหมายและความ ยุตธิ รรม มีหน้ าที่ให้ ค�ำแนะน�ำแก่มหาเทพ ซีอสุ (Zeus) แต่เดิมในทางศิลปะ หมาย ถึงความอุดมสมบูรณ์ เป็ นรูปผู้หญิงถือ ตราชู และเขาควายบรรจุผลไม้ ดอกไม้ อนั เป็ นเครื่ องหมายแห่งความสมบูรณ์ ต่อมา จึงเปลี่ยนเป็ นให้ ถือดาบแทน และกลาย เป็ นรูปลักษณ์ของเทพีเธมิสมาจนถึง ปั จจุบนั
www.euronews.com / www.bbc.com / www.blouinnews.com
ลอว์นิวส์
WORLD MARCH 1 -15, 2015
ออสเตรเลียเตรียมแก้กฎหมาย เพิกถอนสิทธิพลเมืองปฏิปกั ษ์
“แอ็บบอตต์” แถลงเตรียมแก้กฎหมายเพิกถอน สิทธิพลเมืองจากชาวออสเตรเลียที่สนับสนุนกลุ่ม ก่อการร้าย หลังเกิดเหตุก่อการร้ายในออสเตรเลีย เพิม่ มากขึน้
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ นายกรัฐมนตรี โทนี แอ็บ บอตต์ แห่งออสเตรเลีย กล่าวสุนทรพจน์ที่ส�ำนักงานใหญ่ กรมต�ำรวจในกรุงแคนเบอร์ รา เมืองหลวงของออสเตรเลียว่า เขาก�ำลังเตรี ยมผลักดันปรับแก้ กฎหมายพลเมืองให้ เข้ มงวด ยิ่งขึ ้น หวังแก้ ปัญหาก่อการร้ ายภายในประเทศ หลัง ออสเตรเลียตกเป็ นเป้าก่อการร้ ายจากกลุม่ คนหัวรุนแรงที่ อาศัยอยูใ่ นประเทศ มาตรการใหม่นี ้พุง่ เป้าไปที่กลุม่ คนถือ 2 สัญชาติ ที่ถกู พบว่าเกี่ยวข้ องกับการก่อการร้ ายจะถูกระงับหรื อเพิก ถอนสัญชาติออสเตรเลียทันที หรื อหากบุคคลนันเกิ ้ ดใน ออสเตรเลียจะถูกยกเลิกสิทธิพิเศษพลเมือง อาทิ การติดต่อ กับหน่วยงานด้ านการทูตของออสเตรเลียในต่างประเทศ หรื อถูกยกเว้ นผลประโยชน์ด้านสวัสดิการสังคม ขณะที่ รัฐบาลออสเตรเลียได้ ยกเลิกหนังสือเดินทางของชาว ออสเตรเลียที่เดินทางไปร่วมสงครามในซีเรี ยกับอิรักแล้ วกว่า 100 ราย นับตังแต่ ้ ชว่ งปี 2553 แต่ยงั ไม่มีกฎหมายยังห้ าม บุคคลเหล่านันเดิ ้ นทางกลับออสเตรเลียในฐานะพลเมือง นอกจากนัน้ รัฐบาลออสเตรเลียได้ ทมุ่ งบประมาณใช้ ตอ่ ต้ าน และป้องกันก่อการร้ ายในประเทศอีกเกือบ 500 ล้ าน ดอลลาร์ สหรัฐฯ "เรื่ องแบบนี ้มันมีมานานแล้ ว ส�ำหรับคนที่เป็ น ปฏิปักษ์ ตอ่ ออสเตรเลีย ที่พวกเขาจะต้ องสูญเสียสิทธิใน ฐานะที่เป็ นพลเมืองของออสเตรเลียไป" นายแอ็บบอตต์ กล่าว "ดังนันชาวออสเตรเลี ้ ยที่จะจับอาวุธเข้ าร่วมกับกลุม่ ก่อการร้ าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเจ้ าหน้ าที่ทหาร ออสเตรเลียก�ำลังปฏิบตั ิภารกิจในอัฟกานิสถานและอิรัก ก็ สมควรที่จะได้ รับการลงโทษ” ข้ อเสนอแก้ กฎหมายโดยนายกรัฐมนตรี ออสเตรเลียมีขึ ้นภายหลังจากออสเตรเลียเผชิญสถานการณ์ ก่อการร้ ายจากภายในประเทศมากขึ ้น เนื่องจากมีชาว ออสเตรเลียไปร่วมรบกับกลุม่ ติดอาวุธรัฐอิสลาม หรื อไอเอส ในซีเรี ยและอิรักมากหลายสิบคน แต่ผ้ เู ชี่ยวชาญก็ได้ ตงข้ ั้ อ สังเกตว่า หากคนเหล่านันเดิ ้ นทางกลับประเทศจะเกิดอะไร ขึ ้น ใครคือผู้สนับสนุนคนเหล่านัน้ และจะเกิดอะไรขึ ้นแก่ ความมัน่ คงภายในประเทศ อย่างไรก็ตาม ข้ อเสนอของ นายกรัฐมนตรี แอ็บ บอตต์ แม้ ได้ รับการเห็นด้ วยจากผู้น�ำพรรคการเมืองฝ่ าย ค้ าน แต่ก็ถกู ท้ วงติงว่าอย่าเร่งด�ำเนินการอย่างหุนหันพลัน แล่นและต้ องพิจารณาให้ รอบคอบรัดกุม
สัง่ โปแลนด์จา่ ย 8.5 ล้าน เหตุทรมานนักโทษในคุกลับ
ศาลอียูตัดสินให้รัฐบาลโปแลนด์จ่ายค่าเสียหาย 8.5 ล้านบาทให้แก่ผู้ต้องสงสัย 2 รายที่ถูก ควบคุมตัวไว้ท่ีคุกลับในโปแลนด์ และถูกทรมาน อย่างรุ นแรง ด้านรัฐบาลโปแลนด์แถลงยอมจ่าย แต่ตงั ้ ข้อสังเกตว่าเงินนีไ้ ม่ควรจ่ายให้ผู้ก่อการร้าย
เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ศาลสิทธิมนุษยชนยุโรป ในฝรั่งเศส มีค�ำพิพากษาให้ รัฐบาลโปแลนด์ จ่ายค่าเสียหาย จ�ำนวน 230,000 ยูโร (ประมาณ 8.5 ล้ านบาท) ให้ แก่ นายอับด์ อัล-ราฮิม อัลนาซีรี ชาวซาอุดีอาระเบีย และ นายอาบู ซูไบดาห์ ชาวปากีสถาน 2 ผู้ต้องสงสัยก่อการร้ าย ที่ถกู ควบคุมตัวโดยส�ำนักข่าวกรองกลางของสหรัฐ (ซีไอเอ) และคุมขังไว้ ที่คกุ ลับทางตอนเหนือของโปแลนด์ ระหว่างปี 2545 - 2546 โดยศาลมีค�ำวินิจฉัยเมื่อเดือนกรกฎาคม 2557 ว่าทางการโปแลนด์ละเมิดสิทธิของผู้ต้องสงสัยทัง้ 2 คน ด้ วยการยินยอมให้ ซีไอเอคุมขังพวกเขา และปล่อยให้ มี การทรมานและปฏิบตั อิ ย่างไร้ มนุษยธรรม เมื่อปี 2551 อัยการโปแลนด์ด�ำเนินการสืบสวน เรื่ องการมีอยูข่ องคุกลับ ซึง่ ถือเป็ นเรื่ องที่ขดั ต่อกฎหมายของ ประเทศ โดยมีการจับกุมผู้ต้องสงสัยรายหนึง่ แต่ไม่มีการ เปิ ดเผยชื่อ ต่อมา อดีตประธานาธิบดีอเล็กซานเดอร์ ควาส เนียฟสกี และอดีตนายกรัฐมนตรี เลสเซก มิลเลอร์ ยอมรับว่า มีการอนุญาตให้ ซีไอเอด�ำเนินการคุกลับในโปแลนด์จริ ง แต่ ปฏิเสธไม่เคยมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการทรมานหรื อการปฏิบตั ิ อย่างไร้ มนุษยธรรมต่อนักโทษ และยังไม่เคยเดินทางไป เยือนสถานที่แห่งนันด้ ้ วย “โปแลนด์จะต้ องด�ำเนินการตรวจสอบอย่าง ละเอียดมีประสิทธิภาพ พร้ อมเปิ ดเผยข้ อมูลสูส่ าธารณะ” นางเฮเลน ดัฟฟี่ ทนายความของนาย ซูไบดาห์กล่าว “มัน เป็ นเรื่ องที่นา่ ทึง่ และขัดต่อหลักนิตธิ รรมที่วา่ แม้ จะมีข้อมูล มากมายในขณะนี ้ แต่ก็ยงั คงไม่มีใครได้ รับค�ำอธิบายส�ำหรับ ความรุนแรงที่เกิดขึ ้น” เธอกล่าว ทังนี ้ ้ นายอัลนาซีรีและนายซูไบดาห์ ตกเป็ นผู้ต้อง สงสัยพัวพันกับเหตุโจมตีเรื อพิฆาต ยูเอสเอส โคล ของสหรัฐ ที่จอดเติมเชื ้อเพลิงที่ทา่ เรื อเอเดนของเยเมน เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2543 ซึง่ ท�ำให้ มีผ้ เู สียชีวิต 17 คน และบาดเจ็บ 39 คน ทังสองได้ ้ ยื่นฟ้องรัฐบาลโปแลนด์ตอ่ ศาลในฝรั่งเศส หลัง มีค�ำพิพากษา จ�ำเลยได้ ยื่นอุทธรณ์ในเดือนตุลาคมที่ผา่ นมา โดยอ้ างว่าการตัดสินนี ้อาจกระทบต่อกระบวนการสืบสวน ของเจ้ าหน้ าที่ในเหตุโจมตีดงั กล่าว แต่ไม่ประสบผลส�ำเร็ จ ซึง่ นายเซกอซ เชตินา รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่าง ประเทศ แถลงว่า “รัฐบาลโปแลนด์จะปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ ศาล เนื่องจากเราเป็ นประเทศที่เคารพกฎหมาย” พร้ อมทังตั ้ ง้ ค�ำถามว่าจะด�ำเนินการจ่ายเงินให้ แก่นกั โทษที่ขณะนี ้ถูกคุม ขังในเรื อนจ�ำกวนตานาโมได้ อย่างไร และหากเงินไปถึงพวก เขา มันจะถูกใช้ ไปในทางไหน และในเรื่ องนี ้มีหลายฝ่ ายได้ แสดงความคิดเห็นว่า การจ่ายเงินให้ แก่ผ้ กู ่อการร้ ายเป็ น เรื่ องที่ไม่ควรเกิดขึ ้น”
ชีป้ าเลสไตน์หนุนก่อการร้าย ศาลมะกันสัง่ จ่าย 7,200 ล้าน
ปาเลสไตน์และพีแอลโอรับกรรม หลังศาลนิวยอร์ก สัง่ ให้จ่ายค่าเสียหายกว่า 7,000 ล้านบาท ฐาน หนุนกลุ่มก่อการร้ายที่ก่อเหตุตงั ้ แต่ปี 2545-2547 ด้านรัฐบาลปาเลสไตน์เตรียมอุ ทธรณ์สู้ไม่ถอย
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ คณะลูกขุนศาลแขวง รัฐบาลกลางสหรัฐในเขตแมนฮัตตันของนครนิวยอร์ ก มีมติ เป็ นเอกฉันท์ให้ รัฐบาลปาเลสไตน์ และองค์การปลดปล่อย ปาเลสไตน์ (พีแอลโอ) มีความผิดจริ งตามค�ำฟ้อง 25 ข้ อหา ในคดีก่อการร้ าย 6 ครัง้ ระหว่างปี 2545-2547 ซึง่ ท�ำให้ มีผ้ ู เสียชีวิตอย่างน้ อย 33 ศพ และได้ รับบาดเจ็บอีกราว 390 คน ทังนี ้ ้ การที่มีชาวอเมริ กนั เป็ นเหยื่อของเหตุการณ์ ก่อการร้ ายครัง้ นี ้อย่างน้ อย 10 ศพ รัฐบาลวอชิงตันจึงน�ำคดี มาไต่สวนคดีในประเทศ ภายใต้ ขอบเขตของรัฐบัญญัตติ อ่ ต้ านการก่อการร้ าย และพิจารณาให้ จ�ำเลยต้ องช�ำระค่าเสีย หายให้ แก่ครอบครัวของเหยื่อที่เป็ นพลเมืองของสหรัฐรวม ทังสิ ้ ้น 218 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐ (ประมาณ 7,200 ล้ านบาท) อย่างไรก็ตาม เนื ้อหาในรัฐบัญญัตเิ ปิ ดช่องทาง ให้ จ�ำนวนเงินอาจเพิ่มขึ ้นเป็ น 3 เท่าโดยอัตโนมัติ แม้ จะเป็ น จ�ำนวนที่น้อยกว่าที่อยั การและทนายฝ่ ายโจทก์ยื่นขอก่อน หน้ านี ้ คือ 1,000 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐ (ประมาณ 33,000 ล้ านบาท) ในการแถลงปิ ดคดี นายเคนท์ ยาโลวิตซ์ ทนายความฝ่ ายโจทก์ได้ เรี ยกร้ องให้ คณะลูกขุนตัดสินให้ พี แอลโอและรัฐบาลปาเลสไตน์จา่ ยเงิน 350 ล้ านดอลล่าร์ สหรัฐ (ประมาณ 11,000 ล้ านบาท) ส�ำหรับการสนับสนุน กลุม่ ผู้ก่อการร้ ายให้ ก่อเหตุ 6 ครัง้ โดยนายเคนท์กล่าวว่า แม้ วา่ ชีวิตของมนุษย์จะไม่อาจประเมินเป็ นตัวเงินได้ แต่ถ้า เงินเป็ นเพียงสิง่ เดียวที่สามารถชดใช้ ให้ แก่ผ้ เู สียหายได้ เงิน นันก็ ้ ยอ่ มเป็ นค่าสินไหมทดแทนส�ำหรับความเสียหายที่ไม่ สามารถบรรยายได้ ด้ านนายมาร์ ค รอชอน ทนายความฝ่ ายจ�ำเลย ก็ได้ โต้ แย้ งว่า ไม่มีหลักฐานใดๆ ที่พิสจู น์ได้ วา่ รัฐบาล ปาเลสไตน์มีสว่ นเกี่ยวข้ องในการก่อเหตุในปี 2547 ที่ถกู ครอบครัวชาวอเมริ กนั 10 ครอบครัวน�ำมาฟ้องเป็ นคดี แม้ วา่ สมาชิกกองก�ำลังรักษาความปลอดภัยของปาเลสไตน์ จะถูกตัดสินลงโทษในศาลอิสราเอลในข้ อหาที่พวกเขามีสว่ น ร่วมกับการก่อเหตุก็ตาม ขณะที่รัฐบาลปาเลสไตน์แสดงความไม่พอใจ อย่างรุนแรงต่อการสืบสวนสอบสวนที่ใช้ เวลาเพียง 5 สัปดาห์ โดยยืนยันจะยื่นอุทธรณ์ให้ ถงึ ที่สดุ โดยยืนยันไม่ เคยทราบเรื่ องการโจมตีครัง้ นี ้มาก่อน แต่เนื ้อหาตอนหนึง่ ใน ส�ำนวนฟ้องของอัยการระบุวา่ รัฐบาลปาเลสไตน์และพีแอล โอ “อนุมตั ิ” ให้ กลุม่ ฮามาสและกลุม่ นักรบอัล-อักซาซึง่ เป็ น เครื อข่าย ลงมือก่อเหตุโจมตี ด้ านทางการอิสราเอลแสดง ความพอใจต่อผลค�ำตัดสิน และปฏิเสธการมีสว่ นเกี่ยวข้ อง ในกระบวนการสืบสวน
3
EDITOR’S LETTER
ลอว์นิวส์ ปั กษ์แรก มีนาคม 2558
ISSN 2350-9848
สวัสดีค่ะ งานเลีย้ งพบปะสังสรรค์ วันทนายความเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 ที่ผ่านมานัน้ ก็ผ่านพ้นไปด้วยดีนะคะ ต้องขอบคุณเพื่อนทนายความทุกท่านที่ได้ มาร่วมพบปะกันจากทุกภูมิภาคของ ประเทศเลยนะคะ ฉบับที่
LADY JUSTICE
TIMELINE
CULTURE CLUB
แม้เธอจะมิใช่ชาวบ้านบางระจัน แต่เธอก็ จับดาบขึ้นสู้เพื่อความยุติธรรมให้แก่ทุก คน โดยไม่สนใจต่อสิ่งยั่วยุต่าง หรืออคติ ทีอ่ าจท�ำให้ตาชัง่ ในมือนัน้ เอียงไป ซึง่ อาจ ท�ำให้เกิดความอยุติธรรมในที่สุด
จากการต่อสูเ้ พือ่ เรียกร้องสิทธิจากการถูก กดขี่ห่มเหงในการท�ำงาน สิทธิเลือกตั้ง และสิทธิอนื่ ๆ อีกมากมาย น�ำไปสูก่ ารได้ รับสิทธิต่างๆ ที่เท่าเทียมกับผู้ชาย เพื่อ ให้โลกรู้ว่าพวกเธอไม่ใช่ช้างเท้าหลัง แต่ เป็นเท้าซ้ายที่จะก้าวไปพร้อมกับเท้าขวา ต่างหาก
อินกับวันสตรีสากลยิ่งขึ้น ฟังความในใจของ ผู ้ ห ญิ ง ที่ สื่ อ สารผ่ า นบทเพลง เพื่ อ นหญิ ง พลังหญิงทุกยุคทุกสมัย ตัง้ แต่อรีธา แฟรงคลิน ซิ น ดี้ ลอเปอร์ มาดอนนา สไปซ์ เ กิ ร ์ ล ยันเดสทินีส์ ไชล์
ปี ท่ี 2 ฉบับที่ 29 ปั กษ์แรก มีนาคม 2558 ภาพปก pixshark.com
แจกฟรี
LADY JUSTICE 29
ใหญ่ศาลฎีกาฯ เพื่อเลือกองค์คณะ 9 คน เพื่อพิจารณาคดี ได้ เสร็ จสิ ้นแล้ ว กฎหมายใหม่ๆ ยังทยอยออกมาเป็ น ล�ำดับตังแต่ ้ ปลายปี ที่แล้ วนะคะ และในขณะนี ้ สมาชิกสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ (สนช.) ก็ได้ มีการ ประชุมกันเพื่อพิจารณาร่าง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กที่ เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชว่ ยการเจริ ญพันธุ์ทางการ สภาทนายความได้ จดั พิธีท�ำบุญ แพทย์ พ.ศ. .... ที่คณะกรรมาธิการวิสามัญ ตักบาตรในช่วงเช้ า ช่วงกลางวันได้ มีการสัมมนา แบ่งปั นความรู้เกี่ยวกับกฎหมายใหม่ๆ และในช่วง พิจารณาแล้ วเสร็ จ มีสาระส�ำคัญคือให้ ผ้ หู ญิง สามารถอุ้มบุญได้ แต่มีเงื่อนไขหลักๆ คือ จะต้ อง เย็นนัน้ มีทงอาหารจี ั้ น การแสดง และที่เป็ นสีสนั เป็ นสามีและภรรยาที่แต่งงานชอบด้ วยกฎหมาย ของงานคงไม่พ้นการแสดงของนักร้ องสาวชื่อดัง และเป็ นสัญชาติไทยและภรรยาไม่อาจตังครรภ์ ้ ได้ หญิงลี เจ้ าของเพลง “ขอใจเธอแลกเบอร์ โทร” เอง โดยให้ ห ญิ ง อื ่ น ตั งครรภ์ ้ แ ทน ซึ ง ่ หญิ ง อื ่ น นั นต้ ้ อง ซึง่ หญิงลีได้ อยูร่ ่วมแสดงคอนเสิร์ตกับเราร่วมเป็ น ั ชาติไทย แต่ถ้าเป็ นกรณีสามีหรื อภรรยามิได้ ชัว่ โมง ทังร้้ อง เต้ น รวมทังแดนเซอร์ ้ และนักดนตรี มีสญ เรี ยกว่า อิ่มทังอาหาร ้ อิ่มทังความบั ้ นเทิงกันจุใจเลย เป็ นสัญชาติไทย จะต้ องจดทะเบียนแล้ วไม่น้อยกว่า 3 ปี และถ้ าทังสามี ้ และภรรยามิได้ มีสญ ั ชาติไทย ทีเดียวค่ะ หญิ ง ที ่ ร ั บ ตั งครรภ์ ้ แ ทนนั นต้ ้ อ งมิ ใ ช่ ผ ้ ม ู ี ส ญ ั ชาติไทย แต่ในวันเดียวกันนันเอง ้ ก็มีเหตุ ส่วนหญิงที่รับตังครรภ์ ้ แทนต้ องมิใช่บพุ การี หรื อ โศกนาฎกรรมเกิดขึ ้น ซึง่ ต้ องขอแสดงความเสียใจ ผู้สืบสันดานของสามีหรื อภริ ยาที่ชอบด้ วยกฎหมาย ต่อญาติมิตรของ ร.อ. นพนนท์ นิวาศานนท์ ต้ องเป็ นหญิงที่เคยผ่านการคลอดบุตรมาก่อนแล้ ว หรื อผู้กองเอฟ นักบินเครื่ องบินเอฟ-16 ที่เสียชีวิต จากอุบตั เิ หตุเครื่ องบินเอฟ-16 ของกองทัพอากาศ และยังมีข้อห้ ามไม่ให้ สามี ภรรยา ปฏิเสธการรับ เด็กที่เกิดจากการตังครรภ์ ้ แทน ซึง่ กฎหมายฉบับนี ้ ตกบริ เวณไร่มนั ส�ำปะหลัง จังหวัดลพบุรี ด้ วยค่ะ ปั จจุบนั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็ จ ส�ำหรับความคืบหน้ าในคดีที่ แล้ วเห็นชอบให้ ประกาศใช้ เป็ นกฎหมายต่อไป น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี หันมาดูขา่ วสบายๆ กันบ้ างนะคะ เป็ นจ�ำเลย กรณีปล่อยให้ มีการทุจริ ตในโครงการ รับจ�ำน�ำข้ าวนัน้ ในขณะนี ้ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ส�ำหรับรางวัลออสการ์ ในปี นี ้ ได้ มีการประกาศผล กันแล้ ว 4 นักแสดงยอดเยี่ยมได้ แก่ เอ็ดดี ้ เรดเมย์น ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองได้ มีการประชุม
คว้ ารางวัลนักแสดงน�ำชายยอดเยี่ยม จาก “The Theory of Everything” และนักแสดงน�ำ หญิงยอดเยี่ยมได้ แก่ จูลี่แอนน์ มัวร์ จาก “Still Alice” ส่วนนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ได้ แก่ แพททริ เซีย อาร์ เคว็ท จากเรื่ อง “Boyhood” และนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมได้ แก่ เจ เค ซิมมอนส์ จากเรื่ อง “Whiplash” ในวันที่ 4 มีนาคม นี ้ ก็ตรงกับวัน มาฆบูชา ท่านพุทธศาสนิกชนทังหลาย ้ อย่าลืมไปร่วมท�ำบุญตักบาตร เวียนเทียน เพื่อ เสริ มสร้ างบุญและสิง่ ดีๆ ให้ ชีวิตกันด้ วยนะคะ
แอน พี. วรรณประทีป บรรณาธิการ
LAW CARTOON
/-เรื่องและภาพ : ปองกานต์ ขุ นภาษี
เรื่องและภาพโดย ปองกานต์ ขุนภาษี โดยทัว่ ไปแล้ว คนเรามักนาทรัพย์สินไปจานาเพื่อ แลกเปลี่ยนกับเงินตรา แล้วถ้าเราจะนาหุ้นของเราไปจานาล่ะ? ตามกฎหมายนั้นมีหลักเกณฑ์อย่างไรกันบ้าง ไปดูกนั เลย
สวัสดีครับ ผมคือประธาน บริษทั XXX
ป.พ.พ. มาตรา 750 บัญญัติว่า “ถ้าทรัพย์สินที่จานาเป็ นสิ ทธิ ซ่ ึ งมี ตราสาร และมิ ได้ส่งมอบตราสาร นั้นให้ แ ก่ ผูร้ ั บ จาน า ทั้งมิ ได้บ อก กล่าวเป็ นหนังสื อแจ้งการจานาแก่ ลูกหนี้ แห่ งสิ ทธิ น้ นั ด้วยไซร้ ท่าน ว่าการจานานั้นย่อมเป็ นโมฆะ”
การจานาหุ ้นนั้น ไม่ใช่การจานาใบหุ้น แต่เป็ นการจานาสิ ทธิ ในหุ้น คือ ใบหุ้น ซึ่งเป็ นตราสาร ซึ่งหลักเกณฑ์ตามมาตรา 750 การจานาหุ้นต้องปฏิบตั ิตามแบบ ที่กาหนดไว้ ได้แก่ 1. ต้องส่ งมอบใบหุ ้นแก่ผรู้ ับจานา
“
2. ต้อ งบอกกล่ า ว “เป็ น หนังสื อ ” แจ้งการจานาแก่ ลู กหนี้ แห่ ง สิ ทธิ ในที่น้ ี ลูกหนี้ แห่ งสิ ทธิ คือ บริ ษทั
นอกจากนี้ ยังมี มาตรา 753 (ป.พ.พ.) บัญญัติใ นเรื่ องผลของการจาน าหุ ้น ไว้เ พิ่มเติ มว่า “ถ้าจานาใบหุ ้น หรื อใบหุ ้นกูช้ นิ ดระบุชื่อ ท่านห้าม มิให้ยกขึ้ นเป็ นข้อต่อสู ้บริ ษทั หรื อบุคคลภายนอก เว้ นแต่ จะได้ จดทะเบียนการจานานั้นไว้ ในสมุดของ บริ ษัทตามบทบัญญัติ ท้ ังหลายในลักษณะ 22 ว่ า ด้ วยการโอนหุ้นหรือหุ้นกู้”
THE END จบจ้ ะ ^^
ที่ปรึกษา นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายพูลศักดิ์ บุญชู ผศ. ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรพล สินธุนาวา นายชวน คงเพชร ดร. สุธรรม วลัยเสถียร นายสุมิตร มาศรังสรรค์ นายนิวัติ แก้วล้วน ดร. เกียรติศักดิ์ วรวิทย์รัตนกุล บรรณาธิการ นางแอน พลอยส่องแสง กองบรรณาธิการ นายสุวิทย์ เชยอุบล นายสุนทร พยัคฆ์ นายวิเชียร ชุบไธสง นางสาวอรอนงค์ เทศะบ�ำรุง นายธีรศักดิ์ วิชชุตานนท์ นายชัยณรงค์ กัจฉปานันท์ นายสุชาติ ชมกุล นายชลิต ขวัญแก้ว ร้อยตรีสุรศักดิ์ รอนใหม่ นายพิเชฐ คูหาทอง นายอาสา เม่นแย้ม นายผาติ หอกิิตติกุล นายวิทยา แก้วไทรหงวน นายวันรัฐ นาคสุวรรณ นายโอฬาร กุลวิจิตร นายวีรวัฒน์ จิตต์ปรุง นายยศกร ศรีอมร นางสุภัทธนีย์ พวงส�ำลี นางสาวฐิติพร อรุโณทัยวิวัฒน์ ศิลปกรรม นายฉัตรชัย ทองศักดิ์ นายสุวชัช ใจอิ่ม นางสาวปองกานต์ ขุนภาษี ผู้ผลิต สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชด�ำเนินกลาง แขวงบวรนิ เวศ เขตพระนคร กรุ ง เทพฯ 10200 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร 0-2280-1567 อี เ มล lawnewslct@gmail.com เว็ บ ไซต์ www.lawnewslct.blogspot.com พิ ม พ์ ที่ 96 หมู ่ 3 ถนนวิ ภ าวดี รั ง สิ ต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
www.die-zukunft-gedacht.de / www.thehistoryblog.com
timeline เรื่อง : วีรจิตต วัฒนบ�ำรุ ง
สิทธิสตรี
สิทธิท่ีเท่าเทียมกันระหว่างหญิงกับชาติเป็นปั ญหาที่มีมายาวนาน อาจเรียกได้ว่านับตัง้ แต่มีมนุษย์คู่แรกของโลก สตรีมีบทบาทเพียงงานบ้านและงานเรือน แต่เมื่อยุ คสมัยเปลี่ยนไป เมื่อต้องก้าวออกไปท�ำงานนอกบ้าน การกดขี่ ข่มเหงก็ยังคงเกิดขึน้ ให้เห็นอยู ่เสมอ และน�ำไปสู่การเรียกร้องสิทธิในช่ วงศตวรรษที่ 19 จนถึงปั จจุ บัน
8 มีนาคม 2400
แรงงานสตรี ในโรงงานทอผ้ าแห่งหนึง่ ในรัฐ นิวยอร์ ก ลุกฮือประท้ วงให้ นายจ้ างเพิ่มค่าจ้ าง เนื่องจากต้ องท�ำงานหนักกว่า 12 ชัว่ โมงต่อวัน แต่กลับได้ รับค่าจ้ างน้ อยนิด และเรี ยกร้ องสิทธิ ในการท�ำงาน โดยนายจ้ างมักไล่สตรี ที่ตงครรภ์ ั้ ออกจากงาน แต่กลับมีการลอบวางเพลิง โรงงานที่แรงงานหญิงเหล่านี ้นัง่ ชุมนุมกันอยู่ เป็ นเหตุให้ มีผ้ เู สียชีวิต 119 คน
2409
มีการประชุมสมัชชาของผู้ใช้ แรงงานนานาชาติ ครัง้ ที่ 1และมีมติเกี่ยวกับการท�ำงานและการ ประกอบอาชีพของสตรี ซึง่ นับเป็ นเรื่ องที่ขดั ต่อ ค่านิยมของคนในยุคนันที ้ ่นิยมให้ ผ้ หู ญิงเป็ นแม่ บ้ านหรื อท�ำงานที่บ้านมากกว่าจะออกไป ท�ำงานนอกบ้ าน
2432
นางคลาร่า เซทคิน (Clara Zetkin) นักการ เมืองและนักเรี ยกร้ องสิทธิสตรี ชาวเยอรมัน แสดงสุนทรพจน์เรื่ องปั ญหาของสตรี ตอ่ ที่ ประชุมผู้ก่อตังสภาคองเกรสสากล ้ ครัง้ ที่ 2 ใน กรุงปารี ส ประเทศฝรั่งเศส โดยเรี ยกร้ องให้ สตรี มีสทิ ธิท�ำงานและให้ มีสว่ นร่วมในการประชุม
ระดับชาติและระดับนานาชาติ และยังได้ เรี ยก ร้ องให้ มีการคุ้มครองสิทธิสตรี และสิทธิเด็กด้ วย
2436
ประเทศนิวซีแลนด์เป็ นประเทศแรกที่ก�ำหนดให้ ผู้หญิงทุกคนมีสทิ ธิเลือกตังในระดั ้ บชาติ
8 มีนาคม 2450
นางคลาร่า เซทคิน ปลุกระดมแรงงานสตรี ให้ หยุดงานในวันนี ้ เนื่องจากการกดขี่ เอาเปรี ยบ และการใช้ งานเยี่ยงทาส โดยเรี ยกร้ องให้ ลด เวลาการท�ำงานจากเดิมวันละ 12-16 ชัว่ โมง เหลือวันละ 8 ชัว่ โมง พร้ อมเรี ยกร้ องสิทธิเลือก ตังให้ ้ แก่สตรี ถึงแม้ วา่ การเรี ยกร้ องในครัง้ นี ้จะ ไม่ส�ำเร็ จเนื่องจากมีสตรี หลายร้ อยคนถูกจับกุม แต่ก็เป็ นแบบอย่างในการเรี ยกร้ องสิทธิสตรี ที่ ได้ แผ่ขยายไปทัว่ โลก
8 มีนาคม 2451
สตรี กว่า 15,000 คน เดินขบวนทัว่ ทังนคร ้ นิวยอร์ กเพื่อรณรงค์ให้ ยตุ ิการใช้ แรงงานเด็ก
8 มีนาคม 2453
ตัวแทนสตรี จาก 17 ประเทศเข้ าร่วมประชุม สมัชชาสตรี สงั คมนิยมนานาชาติ (International Conference of Socialist Women) ครัง้
ที่ 2 ณ กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ ก และได้ ประกาศรับรองข้ อเรี ยกร้ อง “สาม 8” ได้ แก่ 8 ชัว่ โมงส�ำหรับการท�ำงาน 8 ชัว่ โมง ส�ำหรับการศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง และ 8 ชัว่ โมงส�ำหรับการพักผ่อน พร้ อมกันนี ้ยัง ได้ ประกาศรับรองการปรับค่าแรงของแรงงาน หญิงให้ เท่ากับแรงงานชาย ให้ มีการคุ้มครอง สวัสดิภาพ และก�ำหนดให้ วนั ที่ 8 มีนาคมของ ทุกปี เป็ นวันสตรี สากล เพื่อร� ำลึกถึงเหตุการณ์ เรี ยกร้ องสิทธิของสตรี ที่โรงงานทอผ้ าเมื่อปี 2400
19 มีนาคม 2454
มีการจัดงานวันสตรี สากลครัง้ แรกในประเทศ ออสเตรี ย เดนมาร์ ก เยอรมนี และสวิตเซอร์ แลนด์ โดยมีประชาชนกว่าหนึง่ ล้ านคนเข้ าร่วม เดินขบวนเพื่อเรี ยกร้ องสิทธิและยุตกิ ารแบ่ง แยกในการท�ำงาน
25 มีนาคม 2454
เกิดเหตุเพลิงไหม้ โรงงานเย็บผ้ าไทรแองเกิ ้ล (ปั จจุบนั คือตึกบราวน์) ในเมืองนิวยอร์ ก ส่งผล ให้ มีคนงานหญิงเสียชีวิตไป 146 คน ซึง่ ส่วน ใหญ่เป็ นแรงงานอพยพชาวอิตาลีและชาวยิว จากโศกนาฏกรรมในครัง้ นี ้ ท�ำให้ เกิดความ สนใจในสภาพการท�ำงานและกฎหมายแรงงาน ในสหรัฐอเมริ กามากขึ ้น
(ภาพบน) บรรดาผู้รอดชีวิตและกลุ่มเครือข่าย แรงงานสตรี เดินขบวนเพื่อร�ำลึกถึงผู้เสียชีวิต และเรียกร้องสิทธิในการคุ้มครองแรงงาน ภาย หลังเกิดเหตุเพลิงไหม้โรงงานเย็บผ้าไทรแองเกิ้ล (ภาพล่าง) นางคลาร่า เซทคิน แกนน�ำคนส�ำคัญ ในการเรียกร้องสิทธิสตรี
5
2465
รัฐบาลจีนสัง่ ยกเลิกประเพณี “เท้ าดอกบัว” หรื อการน�ำผ้ ามารัดเท้ าผู้หญิงเพื่อให้ มีขนาด เล็กผิดรูปจนคล้ ายดอกบัว โดยชาวจีนในยุคนัน้ มีความเชื่อว่าเป็ นความงามอย่างหนึง่
2528
ประเทศไทยลงนามเป็ นภาคีอนุสญ ั ญา CEDAW
8 มีนาคม 2532
องค์การสหประชาชาติจดั ตังคณะกรรมการว่ ้ า ด้ วยสถานภาพสตรี (UNCSW) เพื่อก�ำหนด แนวทางการยกระดับสถานภาพสตรี ทังทาง ้ ด้ านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และ การศึกษา
ประเทศไทยมีการก่อตังคณะกรรมการส่ ้ งเสริ ม และประสานงานสตรี แห่งชาติ (กสส.) สังกัด ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อส่ง เสริ มและพัฒนาบทบาทของผู้หญิงในสังคม และระลึกถึงความเป็ นมาในการต่อสู้เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ความเสมอภาค ความยุติธรรม สันติภาพ และการพัฒนา
2491
2546
2500
20 มกราคม 2548
2489
องค์การสหประชาชาติได้ ออกปฏิญญาสากล ว่าด้ วยสิทธิมนุษยชนให้ ความคุ้มครองสิทธิที่ เท่าเทียมกันระหว่างชายและหญิง โดยมุง่ คุ้มครองความเท่าเทียมและความยุตธิ รรมใน เพศชายและหญิง องค์การสหประชาชาติมีมติที่ 32/142 เชิญชวน ให้ ทกุ ประเทศทัว่ โลกก�ำหนดวันฉลองว่าด้ วย สิทธิของสตรี และสันติภาพสากล และได้ ก�ำหนดให้ วนั ที่ 8 มีนาคมเป็ นวันสตรี สากล (International Women’s Day)
2518
องค์การสหประชาชาติก�ำหนดให้ เป็ นปี สตรี สากล เพื่อสะท้ อนให้ เห็นถึงคุณค่าและความ ส�ำคัญของสตรี
2522
ที่ประชุมใหญ่สมัชชาสหประชาชาติน�ำ อนุสญ ั ญาว่าด้ วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ติ อ่ สตรี ในทุกรูปแบบ (CEDAW) มาใช้ เพื่อให้ ปฏิญญาว่าด้ วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิตอ่ สตรี ทกุ รูปแบบมาปฏิบตั ใิ ช้ ตามกฎหมาย โดย มีผลใช้ บงั คับในวันที่ 3 กันยายน 2524 6
ศาลรัฐธรรมนูญมีค�ำวินิจฉัยที่ 21/2546 ว่าพระ ราชบัญญัตชิ ื่อบุคคล พ.ศ. 2505 มาตรา 12 ที่ ก�ำหนดให้ หญิงมีสามี ให้ ใช้ นามสกุลสามีนนั ้ ขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 จึงไม่มีผลใช้ บงั คับอีกต่อไป พระราชบัญญัตชิ ื่อบุคคล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2548 มีผลใช้ บงั คับ โดยมีสาระส�ำคัญคือการ แก้ ไขมาตรา 12 เรื่ องการใช้ นามสกุลของคู่ สมรสนัน้ คูส่ มรสทังสองฝ่ ้ ายจะตกลงใช้ นามสกุลของฝ่ ายใดก็ได้ หรื อจะใช้ นามสกุล ของตนก็ได้
3 มิถุนายน 2551
พระราชบัญญัตคิ �ำน�ำหน้ านามหญิง พ.ศ. 2551 มีผลใช้ บงั คับ โดยก�ำหนดให้ หญิงที่ มีอายุ 15 ปี บริ บรู ณ์ขึ ้นไป ให้ ใช้ ค�ำน�ำหน้ าว่า “นางสาว” ส่วนหญิงซึง่ จดทะเบียนสมรสแล้ ว จะใช้ ค�ำน�ำหน้ าว่า “นาง” หรื อ “นางสาว” ก็ได้ และหากต่อมาการสมรสนันสิ ้ ้นสุดลง หญิงนัน้ จะใช้ ค�ำน�ำหน้ าว่า “นาง” หรื อ “นางสาว” ก็ได้
ปั จจุ บัน สิทธิสตรีในหลายด้านได้รับ การยอมรับมากขึน้ จนเทียบเท่าบุ รุษ โดยเฉพาะสิทธิในการท�ำงาน และการ เลือกตัง้ แต่ก็ยังคงมีสิทธิบาง ประการที่อาจจะยังด้อยกว่า ซึ่งก็ หวังเพียงว่าคงจะได้รับการยกระดับให้ เทียบเท่ากันในไม่ช้า
(ภาพบน) การเดินขบวนในวันสตรีสากลครั้งแรก ของรัสเซียเมื่อปี 2450 (ภาพล่าง) สภาพการท�ำงานในโรงงานช่วงต้น ศตวรรษที่ 20
ANATOMY
1
ตา
จะเล็กจะใหญ่ไม่ส�ำคัญ ขอให้ มีสองชันไว้ ้ ก่อนเป็ นพอ
2
ขนตา
5
กล้ า กลัวลูกตาจะไหลมารวมกัน บางรายก็เลย ต้ องไปเสริ มบิก๊ แบ็ก ให้ ดงโด่ ั ้ งจมูกแหลม เหมือนอวัยวะส่วนหนึง่ ของสัตว์ป่าใกล้ สญ ู พันธุ์ หรื อว่าแท้ จริ งแล้ วเขาต้ องการใช้ จมูกแสดง สัญลักษณ์บง่ บอกถึงพฤติกรรมของเขาหรื อ เปล่านะ? นอกจากเรื่ องปั ญหาหนักอกและ การดีดดังแล้ ้ ว การศัลยกรรมที่ยอดฮิตอีกอย่าง ก็คือการปรับหน้ าเรี ยวให้ ลลู่ ม ไม่ให้ บาน เหมือนทุง่ ทานตะวันที่ลพบุรี หรื อเหลี่ยมจัด เหมือนนักธุรกิจที่ออกเดินทางไปดูโอลิมปิ ก ตังแต่ ้ ปี 2551 แล้ วยังไม่เดินทางกลับมา ซึง่ หลายคนก็มกั จะอ้ างว่าเป็ นเพราะการจัดฟั นจึง ท�ำให้ หน้ าเรี ยวลง ดูมีวี-เชพ (V-Shape) แต่จดั ฟั นแบบนี ้ ต้ องไปจัดฟั นที่เกาหลีหรื อไม่ก็ยนั ฮี เท่านันนะ ้ ถ้ าที่อื่นจัดฟั นแล้ วอาจได้ หน้ ารูปอื่น แทน
อก
4. เสน่ห์นางงิว้
เน้ นว่าต้ องยาวและงอนเป็ น แผงไว้ กนั ฝนเข้ าตา
3 จมู ก
อวัยวะส�ำหรับหายใจ ที่คนอื่น เห็นแล้ วมักใจหายมากที่สดุ
4 หน้า
ยิ่งเรี ยวยิ่งดี และจะดีมากถ้ า ไม่มีโหนกแก้ ม
ถ้ าใหญ่เรื่ องเล็ก ถ้ าเล็กเรื่ อง ใหญ่
เรื่อง : ศิรบาท ภาพประกอบ : POTAE_XO
6 ผิว
อยากให้ ขาวสว่างไสว เปล่ง แสงในตัวเองได้ เหมือนหิ่งห้ อย
7
ขา
ออกแบบมาเพื่อให้ ทนต่อทุก สภาพการเดินช้ อปปิ ง้
หญิงงามยุคโซเชียล
สุภาษิตโบราณกล่าวไว้ว่า “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” ที่ท�ำให้หญิงไทยนับตัง้ แต่อดีตมีวิธีในการ เ ส ริ ม แ ต่ ง ค ว า ม ง า ม ห ล า ก ห ล า ย รู ป แ บ บ แ ล ะ แ ม้ ใ น ปั จ จุ บั น จ ะ ก้ า ว เ ข้ า สู่ ยุ ค โ ซ เ ชี ย ล มี เ ดี ย แ ล้ ว ก็ ดู เ หมื อ นว่ า เรื่ อ งของความงามนั ้น จะเป็ น เรื่ อ งใหญ่ ส� ำ หรั บ ผู ้ ห ญิ ง ส่ ว นใหญ่ โดยพฤติ ก รรมของเธอ เหล่านัน้ ก็ปรับไปตามเทคโนโลยีด้วยเช่ นกัน 1. โซเชียลตัวแม่ 3. เทพีพลาสติก 2. นางงามร้อยแอพ ไม่วา่ จะอยูท่ ี่ไหน กินข้ าวกับใคร ดู หนังเรื่ องอะไรโรงไหน กับใคร ซื ้อกระเป๋ าใบ ใหม่มา พาหมาไปเดินเล่น หรื อจะท�ำอะไรก็ แล้ วแต่ ก็จะต้ องมีหลักฐานยืนยัน เช่น เซลฟี่ ตอนอยูใ่ นห้ องน� ้ำ ถ่ายรูปอาหารก่อนรับ ประทาน เช็คอิน อัพสเตตัสเล่าเรื่ องเม้ าท์มอย เวิ่นเว้ อเรื่ องดราม่า มโนว่าได้ เป็ นเมียชัปปุยส์ ฯลฯ บางคนก็ชอบถ่ายรูปตัวเองแล้ วก็บรรยาย ว่า “น่าเกลียดเนอะ” “อ้ วนจัง” “อีด�ำ” ฯลฯ เพื่อ เรี ยกร้ องความสนใจจากเพื่อนๆ ว่าไม่เห็นจะ น่าเกลียดเลย น่ารัก(ษา)จะตาย ไม่อ้วนหรอก ฯลฯ แต่พอใครเข้ ามาคล้ อยตามค�ำบรรยายใต้ ภาพเหล่านันก็ ้ จะพาลโมโหหรื อเกรี ย้ วกราดใส่ ก็ไม่เข้ าใจเหมือนกันว่า พวกเธอเหล่านัน้ ต้ องการอะไรจากสังคม?
เพื่อสร้ างความมัน่ ใจให้ ตวั เองก่อน อัพโหลดรูป บางครัง้ นอกจากจะใช้ การแต่ง หน้ าเข้ าช่วยแล้ ว ยังต้ องอาศัยเทคโนโลยีสมัย ใหม่เข้ าช่วย ด้ วยการตัดแต่งภาพให้ ออกมาดูดี กว่าตัวจริ ง ซึง่ สังเกตได้ จากโทรศัพท์มือถือหรื อ แท็บเล็ตของนางงามเหล่านี ้ จะมีแอพพลิเคชัน่ แต่งภาพอยูเ่ ป็ นจ�ำนวนมาก แอพหนึง่ ก้ ใช้ ปรับ สีผิว แอพหนึง่ ใช้ ปรับรูปหน้ าให้ เรี ยว แอพหนึง่ ก็ใช้ เติมเอฟเฟคฟรุ้งฟริ ง้ สิริรวมแล้ วกว่าจะได้ มาแต่ละภาพต้ องผ่านขันตอนมาอย่ ้ างน้ อย 3 แอพพลิเคชัน่ ซึง่ อาจใช้ เวลาแต่งภาพนานนับ ชัว่ โมงก่อนน�ำไปเผยแพร่ จนบางครัง้ ก็อยากจะ สวมวิญญาณอาจารย์แม่ถือป้ายถามกลับไป ว่า “กับการเรี ยน หนูทมุ่ เทอย่างนี ้ไหมลูก”
มาถึงหัวข้ อนี ้ คงต้ องเปิ ดเพลง “ของ ปลอม” ของสุรพล สมบัตเิ จริ ญ ที่แม้ จะผ่าน กาลเวลามานาน 60 ปี แต่สาวไทยในยุคนันกั ้ บ ยุคนี ้ กลับแทบจะไม่แตกต่างกันนักในเรื่ องการ นิยมน�ำของปลอมมาใส่ในร่างกาย โดยเฉพาะ “ของไม่จริ งมันจึงไม่สนั่ ไม่ไหว” ที่เป็ นความ ใฝ่ ฝั นของบรรดาสาวๆ หลายคน ก็อาจจะส่ง ผลกระทบในระยะยาวตามมา เช่น ใช้ ซลิ โิ คน ชนิดไม่ดีท�ำให้ เกิดพังผืดหรื อเกิดการเหลวจน เสียทรง กลายเป็ นฝั นร้ ายของไข่ดาวที่กลาย เป็ นไข่ต้มยางมะตูมไหลเยิ ้ม อีกสิง่ หนึง่ ที่ผ้ หู ญิงจ�ำนวนไม่น้อย รู้สกึ ว่าเป็ นปมด้ อยของตนเองก็คือ “ดัง”้ ที่แม้ จะพยายามใช้ ไม้ หนีบผ้ าหนีบจมูกมาตังแต่ ้ เล็ก ก็ยงั โด่งไม่สมใจอยากเสียดี จะนอนตะแคงก็ไม่
ที่หาชมดูได้ ทกุ เทศกาล ไม่วา่ จะเป็ น ปี ใหม่ไทย จีน ฝรั่ง วันเช็งเม้ ง วันแรงงาน วัน หวยออก ฯลฯ โดยมีเอกลักษณ์อยูท่ ี่การพอก หน้ าให้ หนากว่าหน้ าเค้ ก ที่ชายใดได้ เห็นย่อม เข้ าใจได้ วา่ หลงมาดูงิ ้วในงานตรุษจีนที่ เยาวราช แต่หากมองอีกมุมหนึง่ เราอาจได้ เห็น ผลงานศิลปะบนใบหน้ านัน้ ไม้ วา่ จะเป็ นคิ ้ว หนาดกด�ำดัง่ หนอนไหม กรี ดตาดัง่ พญาอินทรี ย์ สยายปี ก ขนตางอนเป็ นแผงกันสาด ปากแดง ดุจกุมารทองซดน� ้ำหวาน และสตรี นางใดที่มีงบ น้ อยก็อาจใช้ วิธีสร้ างภาพสามมิตบิ นใบหน้ า แทนการดีดดังและการปลู ้ กคิ ้วก็ได้
5. ธิดาโอโม่
เป็ นความฝั นอันสูงสุดของผู้หญิง หลายคนที่อยากจะมีผิวขาว ทังจากการถู ้ กล้ อ เลียนในวัยเด็ก อิทธิพลของสื่อโฆษณา หรื อจะ ด้ วยเหตุผลอื่นใดก็แล้ วแต่ ที่ท�ำให้ ผ้ หู ญิงบาง คนยอมที่จะหมดนับพันนับหมื่นต่อเดือนเพื่อ ซื ้อครี มบ�ำรุงผิว ฉีดกลูต้า หรื อกินยาวิเศษที่ ท�ำให้ ขาวทันตาเห็นจากการโฆษณาผ่าน โซเชียลมีเดีย ทังๆ ้ ที่ถ้าวางถุงยาลงแล้ วตังสติ ้ กันก่อนจะพบว่า รูปที่เขาเอามาลงโฆษณานัน้ บางรูปก็ไปขโมยมาจากเฟซบุ๊กของคนอื่น บาง รูปก็แค่ปรับแสง เปิ ด-ปิ ดไฟในห้ องก็ขาวขึ ้น แล้ ว บางรูปก็ถ่ายย้ อนแสงเลยท�ำให้ ดคู ล� ้ำกว่า ปกติ บางคนก็คงอยากเป็ นนางพญางู(ผิว)ขาว ถึงกับยอมซื ้อครี มลอกผิวออกมาเป็ นแผ่นๆ เหมือนงูลอกคราบ โดยไม่สนใจว่าจะท�ำให้ เป็ น มะเร็ งผิวหนังได้ ในระยะยาว เข้ าใจว่าเรื่ องความสวยความงาม เป็ นเรื่ องที่อยูค่ กู่ บั ผู้หญิง แต่ก็อยากให้ ทกุ คน สวยอย่างมีสติ และสวยในแบบฉบับของตัวเอง เพราะยิ่งวัน ผู้หญิงแต่ละคนก็เริ่ มจะเหมือนกัน เข้ าไปทุกที โดยเฉพาะที่เกาหลีต้นต�ำรับการ ศัลยกรรม ที่เคยมีคนล้ อเลียนว่า ถ้ ามีการใช้ เทคโนโลยีสแกนใบหน้ าแทนคีย์การ์ ดเมื่อไหร่ ไม่วา่ ผู้หญิงคนใดก็สามารถผ่านเข้ า-ออกได้ อย่างสบาย เพราะมีใบหน้ าเหมือนกัน เป็ นผู้หญิงอย่าหยุดสวย แต่ถ้าไม่สวยก็หยุดเถอะ (ขอร้ อง!) 7
CULTURE CLUB MARCH 1-15, 2015
GIRL POWER
: ANTHEM
เคยมีค�ำกล่าวว่า ผู ้หญิงก็เหมือนดอกไม้ เพราะพวกเธอดูสวยหวาน มองแล้วสดชื่น แต่หลายคน ก็บอกว่า เพราะพวกเธอมีหลายกลีบ หลากแง่มุม แต่ละกลีบที่แตกต่างกันก็เปิ ดเผยแง่มุมที่ไม่เหมือนกัน #บทเพลงก็เช่ นกัน ผู ้หญิงสื่อสารความในใจมากมายหลายมุ มมองผ่านหลากบทเพลงมาทุกยุ คทุกสมัย ตัง้ แต่ยุคช้ าง เท้าหลังอย่างอรีธา แฟรงคลินมาจนถึงยุ คยืนด้วยล�ำแข้งตัวเองอย่างในปั จจุ บัน และนี่คือตัวอย่างของกลีบดอกไม้ท่ีพวกเธอสื่อผ่านบทเพลง
Respect’ Can’t Hold Us Down Christina Aguilera fEAt. Lil Kim ในอัลบัม้ ‘Stripped’ คริ สตินา อาร์ กีเลรา เธอ พูดถึงปั ญหาหลายอย่างที่ลกู ผู้หญิงคนหนึง่ ต้ องเจอ และหนึง่ ในปั ญหาเหล่านันก็ ้ คือ การ โดนเหยียบย�่ำจากผู้ชาย ที่เธอถ่ายทอดออกมา เป็ นผลงานปลุกระดมเพื่อนหญิงพลังหญิงบน ดนตรี ฮิปฮอปเพลงนี ้ ประกาศก้ องในท่อนฮุคว่า “นี่ส�ำหรับเพื่อนสาวทุกคนทัว่ โลกที่ต้องมาเจอ ผู้ชายที่ไม่เคารพคุณค่าของพวกคุณ” พร้ อม ชวน ‘ลิล คิม แร็ ปเปอร์ หญิงระดับตัวแม่ (ผู้ยอม ติดคุกแทนลูกน้ องในชีวิตจริ ง...บอกแล้ วว่า #ตัวแม่) มาช่วยประกาศศักดาว่าจะไม่ยอมก้ ม หัวให้ ชายใดในเพลงนี ้ ซึง่ ก่อนนันทั ้ งคู ้ ก่ ็เคยร่วม งานกันมาแล้ วในอีกหนึง่ เพลงรวมดาวนักร้ อง หญิงแถวหน้ าอย่าง ‘Lady Marmalade’ ที่ร่วม ท�ำกับ พิงค์ มายยา และ มิสซี เอลเลียตต์
8
Aretha Franklin
A Woman’s Worth Alicia Keys หาก ‘Can’t Hold Us Down’ คือการตอบกลับ ผู้ชายอย่างเจ็บแสบ ทัง้ 2 เพลงที่เราเอามา กล่าวถึงพร้ อมกันนี ้ก็คือการชี ้แนะให้ ผ้ ชู าย ปฏิบตั กิ บั ผู้หญิงอย่างให้ เกียรติ สุดยอดศิลปิ น หญิงสายโซลทัง้ 2 คนนี ้พูดถึงคุณค่าของผู้ หญิงที่ผ้ ชู ายควรรู้และเป็ นการเรี ยกร้ องสิทธิ ของผู้หญิงที่ไม่ท�ำร้ ายผู้ชาย ซึง่ หลายครัง้ พิสจู น์ แล้ วว่า ผู้ชายนี่แหละ เพศอ่อนแอของจริ ง
Sisters Are Doin’ It For Themselves Eurythmics
Girls Just Wanna Have Fun Cyndi Lauper 2 เพลงเพื่อผู้หญิงจากกลางยุค 80 เพลงแรก หยิบค่านิยมที่วา่ ผู้หญิงต้ องอยูใ่ นครัวและเป็ น ช้ างเท้ าหลังมาช�ำแหละและโยนทิ ้งไปอย่างไม่ ใยดี นับตังแต่ ้ ออกมาในปี 85 จนวันนี ้ก็ 30 ปี แล้ ว เพลงนี ้ก็กลายเป็ นอีหนึง่ เพลงที่ปลุกใจ หญิงสาวมาทุกยุคทุกสมัย และมีหลายศิลปิ น หยิบไปร้ องตังแต่ ้ อรี ธา แฟรงคลิน ยันวง สไปซ์ เกิร์ลส์ แต่ที่จบั ใจคนฟั งที่สดุ ก็คงหนีไม่พ้น ต้ นฉบับโดยน� ้ำเสียงของอีกหนึง่ หญิงเก่งอย่าง แอนนีย์ เลนน็อกซ์ ที่เล่าเนื ้อหาของผู้หญิงที่ยืน บนล�ำแข้ งของตัวเองด้ วยน� ้ำเสียงที่ไม่ฟมู ฟาย และเต็มไปด้ วยพลังของผู้หญิงยุคใหม่ ส่วน เพลงหลังก็ได้ รับการหยิบมาร้ องใหม่นบั ครัง้ ไม่ ถ้ วนเช่นกัน เป็ นบทเพลงของผู้หญิงในยุคที่ พร้ อมจะมีความสุขกับชีวิตได้ โดยที่ไม่ต้อง พึง่ พาผู้ชายอย่างในยุคที่ผา่ นมา
What It Feels Like For A Girl Madonna มาดอนนาคือสัญลักษณ์ของศิลปิ นหญิงที่ก้าว ผ่านทุกขีดจ�ำกัดที่สงั คมวางไว้ ให้ ผ้ หู ญิง เธอไม่ ยอมปกปิ ดร่างกาย เธอไม่ฟังผู้ชายหน้ าไหน เธอท�ำทุกสิง่ เพื่อให้ แน่ใจว่า ผู้หญิงอย่างเธอจะ เป็ นที่จดจ�ำและ สร้ างความเปลี่ยนแปลงให้ สังคมไปอีกนาน ทุกวันนี ้ในวัยเกือบ 60 ปี มาดอนนา ก็ยงั ไม่ยอมปลดระวางและเดินหน้ าท�ำเพลง เต้ นร� ำให้ แฟนๆ ฟั งต่อไป ดูเธอจะแข็งแกร่งเกิน หญิง แต่หนึง่ บทเพลงนี ้ก็ถือก�ำเนิดขึ ้นเพื่อบอก เล่าอีกแง่มมุ ของหญิงแกร่ง ความเศร้ าสร้ อยที่ ทังโลกมองข้ ้ ามจิตใจอันเข้ มแข็งของเธอ และ เห็นเพียงรูปลักษณ์บอบบางภายนอก ทังที ้ ่เธอ พิสจู น์ตวั เองมาขนาดนี ้ แต่ไม่มีสกั ครัง้ ในเพลง หรื อในชีวิตการท�ำงานที่มาดอนนาจะยอมอ่อน ข้ อให้ ใครหรื อแสดงความอ่อนล้ าให้ เห็น สม เป็ นผู้หญิงที่แผ้ วถางเส้ นทางให้ ศิลปิ นหญิงรุ่น หลังได้ เดินตาม
Bitch Meredith Brooks แม้ จะชูชื่อเพลงมาว่า “นางร้ าย” ค�ำเหยียดเพศ ที่ผ้ หู ญิงทุกคนคงเคยโดนใช้ เรี ยกถึงสักครัง้ หนึง่ ในชีวิต คล้ ายเป็ นค�ำนิยามความเป็ นหญิงใน สายตาคนรอบข้ าง แต่บทเพลงที่หยิบค�ำนิยาม ที่วา่ มาอธิบายในหลายแง่มมุ ว่า ผู้หญิงอาจ ร้ าย แต่เธอก็อาจเป็ นคนดี เป็ นแม่ เป็ นนรก เป็ นสวรรค์ และอีกมากมาย ไม่ใช่แค่ “นางร้ าย” อย่างที่หลายคนตราหน้ า เพลงดังเพลงเดียว ของนักร้ องนักดนตรี สาวคนนี ้ระบาดไปทัว่ วงการเพลงในปี 1997 ยุคที่ผ้ หู ญิงเริ่ มมี บทบาทมากขึ ้นในวงการบันเทิง
DON’T MISS
หน้าร้อนมาถึงแล้ว เราขอ แนะน�ำหนัง คอนเสิร์ตและ กิจกรรมที่น่าสนใจที่จัดขึน้ ในเดือนมีนาคม เดือนที่มี ค อ น เ สิ ร์ ต แ ล ะ ห นั ง ครอบครัวมาให้เลือกดูเต็ม ไปหมด
CALENDAR
MARCH 2015 CAT-A-WABB
4
CHAPPIE
PARASYTE
ตรงกับวันมาฆบูชา ได้ หยุดกลาง สัปดาห์มีหนังให้ เลือกดูเพียบ ไม่วา่ จะเป็ นหนังใหม่ของเป้-อารักษ์ กบั แมว หนังหุน่ ยนต์อยากเป็ นมนุษย์ หรื อ จะไซไฟกับหนังมนุษย์ตา่ งดาวบุกโลก
7-8
NUVO
กลับมาฟอร์ มวงขึ ้นคอนเสิร์ตกันครบทีมใน NUVO Love Story Concert ที่พวกเขาจะ เล่นทุกเพลงที่คณ ุ คิดถึง
Wannabe Spice Girls “ถ้ าเธออยากเป็ นแฟนเรา เธอก็ต้องเข้ ากับเพื่อนเราให้ ได้ ” ประโยคที่ระบาดทัว่ โลกตลอด ยุค 90 นี ้มีสจั ธรรมบางอย่างซ่อนอยู่ เพราะส�ำหรับผู้หญิงแล้ ว เพื่อนคือบุคคลส�ำคัญที่ขาดเสียไม่ได้ (โดยเฉพาะเวลาชวนกันไปห้ องน� ้ำ) และเมื่อมีกลุม่ นักร้ องหญิงห้ าคนมาบอกว่า ไม่มีทางที่เราจะให้ ความส�ำคัญกับผู้ชายมากกว่าเพื่อนสาว พลังหญิงก็พงุ่ ทะลุโลกจนท�ำให้ ห้าสาวเครื่ องเทศกลายเป็ น ขวัญใจทุกเพศทุกวัยและยังคงครองต�ำแหน่งกลุม่ ศิลปิ นหญิงที่ขายดีที่สดุ ในโลกมาตลอดเกือบ 2 ทศวรรษ พวกเธอนี่เองที่เป็ นต้ นก�ำเนิดของวลี Girl Power เพราะส�ำหรับพวกเธอ พลังของผู้หญิงคือ สิง่ ที่โลกต้ องการ ‘Wannabe’ ไม่ใช่แค่การแสดงจุดยืนที่เลือกเพื่อนหญิงมาก่อนแฟนหนุม่ แต่ยงั เป็ นการ วางกฎอีกหลายข้ อให้ ผ้ ชู ายเดินตาม ทังบทแร็ ้ ปที่บอกให้ ผ้ ชู ายบอกความในใจแล้ วผู้หญิงก็จะ เปิ ดอกบ้ าง (ไม่ใช่เปิ ดหน้ าอกนะจ๊ ะ) ไปจนถึงกติกาอีกมากมายที่พวกเธอบอกให้ ผ้ ชู ายที่จะมาเป็ น แฟนต้ องท�ำตาม ถ้ าท�ำไม่ได้ ก็ “say goodbye” นี่คือการกุมอ�ำนาจของผู้หญิง ไม่มีอีกแล้ วที่จะเป็ น ช้ างเท้ าหลัง ไม่นา่ แปลกใจที่สาวๆ ทัว่ โลกขานรับเพลงนี ้จนท�ำสถิติเป็ นเพลงของวงหญิงล้ วนที่ขาย ได้ มากที่สดุ ในโลกนัน่ คือ กว่า 7 ล้ านหน่วย และยังครองต�ำแหน่งมาจนวันนี ้
11 INCUBUS LIVE IN BANGKOK
EVERLY CINDERELLA
สวยๆ ไปดู Cinderella สายบู๊ไปดู Everly ของซัลม่า ฮาเย็คในชื่อไทยที่โหด ไม่แพ้ หนังอย่าง ดีออก..สาวปื นโหด
12 13-15
ฉลองครบ 10 ปี ในวงการเพลงของ อ๊ อฟ-ปองศักดิ์ ทัง้ 3 รอบ 3 วันที่รอยัล พารากอนฮอลล์ สยามพารากอน
THE ONE AND ONLY 10 YEARS AOF-PONGSAK
ONE DIRECTION LIVE IN BANGKOK
14
19
THE DIVERGENT SERIES :
INSURGENT THE GIVER
21
JASON MRAZ
INDEPENDENCE WOMEN PART 1 DESTINY’s CHILD ในสังคมที่ฉาบฉวยและวัดความส�ำเร็ จกันด้ วย มูลค่าทรัพย์สนิ ผู้หญิงหลายคนหันหน้ าไป พึง่ พาผู้ชายให้ ซื ้อหาของใช้ มาให้ เธอ แต่ไม่ใช่ ส�ำหรับ บียอนเซ่ และเพื่อนสาวแห่ง เดสทินีส์ ไชล์ พวกเธอตังค� ้ ำถามหลายอย่างให้ ผ้ ชู าย และสังคมได้ ตอบ พร้ อมทังแสดงออกว่ ้ า พวก เธอดูแลตัวเองได้ บ้ าน รถ รองเท้ า ฯลฯ ที่เป็ น ของเธอก็หามาเอง เมื่อถ่ายทอดบนดนตรี จังหวะชวนโยกด้ วยแล้ ว เพลงนี ้เลยได้ เป็ นเพลง ประกอบหนังพลังหญิงอย่าง ‘Charlie’s Angels’ และได้ รับการตอบรับถล่มทลายจาก แฟนเพลงด้ วยการขึ ้นอันดับ 1 ในอเมริ กาถึง 11 สัปดาห์
Stupid Girls P!NK เพลงสิทธิสตรี หลายเพลงมักมีเป้าหมายตอบโต้ สังคม โดยเฉพาะในบริ บทที่ถกู ครอบง�ำโดย เพศชาย แต่ซงิ เกิลเปิ ดอัลบัม้ 4 ‘I’m Not Dead’ เพลงนี ้กลับเตือนผู้หญิงด้ วยกันกับ ประโยคอย่าง “เกิดอะไรขึ ้นกับความฝั นที่เรา อยากมีประธานาธิบดีหญิง” เมื่อผู้หญิงด้ วย กันเองยังทนไม่ได้ ที่สาวๆ ในสังคมยุคใหม่ เอาแต่ใช้ พลังทางเพศเป็ นเครื่ องมือด�ำรงชีวิต จนแทบแยกไม่ออกระหว่างผู้หญิงทัว่ ไปและผู้ หญิงอาชีพพิเศษ นี่คือเพลงที่เรี ยกสติผ้ หู ญิง ด้ วยกันให้ กลับมามองเห็นคุณค่าของตัวเอง มากกว่าที่จะให้ ใครมาตัดสินคุณค่าของเธอ NAIM
กลับมาเปิ ดคอนเสิร์ตในไทยอีก ครั AND RAINING JANE ง้ แต่คราวนี ้พามิตรสหายทาง ดนตรี ที่ร่วมท�ำอัลบัมล่ ้ าสุดมา ด้ วย เจสัน มราซ แอนด์ เรนนิ่ง เจน ที่ อิมแพค อารี นา่ เมืองทองธานี
ต้ อนรับปิ ดเทอมอย่างแท้ จริ งในสัปดาห์สดุ ท้ าย นอกจากจะมีดสิ นีย์ออนไอซ์ ยังมีหนังส�ำหรับเด็กๆ เข้ าฉายเพียบ ไม่วา่ จะเป็ นหมีหน้ าคุ้นอย่าง แพดดิง ตัน้ ที่จะพาเราไปดูการผจญภัยของเขา และอีกเรื่ อง อย่าง โฮม ที่เราต้ องเอาใจช่วยเด็กหญิงที่ต้องร่วม มือกับมนุษย์ตา่ งดาวในการปกป้องโลก
26
PADDINGTON
28
HOME AIS MUSIC STORE KKBOX PRESENTS TWO POPETORN L1VE !
เกร็ดกฎหมาย
NEW ARRIVAL /-แอน พี. วรรณประทีป และ ยศกร ศรีอมร
กฎหมายส�ำหรับสตรี ในยุ คที่สิทธิสตรีเบ่งบานดังเช่ นทุกวันนี้ กฎหมายไทยเก่าๆ หลายฉบับ ก็ได้รับการแก้ไขให้สตรีมีสิทธิต่างๆ ดีขนึ้ กว่าเมื่อก่อน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่ วง 10 ปี ท่ผ ี ่านมานี้ มีการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับสตรีเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งสามารถยกมาเป็นตัวอย่างได้ ดังนี้
โฆษณาต่อต้ านการใช้ ความรุนแรงต่อเด็กเมื่อปี 2012 จากเม็กซิโกที่กวาดรางวัลทางวงการโฆษณาไปมากมายด้ วยภาพและประโยคที่วา่ “70% ของเด็กที่โดนท�ำร้ ายกลายเป็ นผู้ใหญ่ที่ชอบท�ำร้ ายผู้อื่น”
ความรุนแรงทีเ่ กิดขึน ้ กับเด็ก ในสังคมไทยมี ใครช่วยหรือยัง
10
ครัง้ ที่แล้วผู ้เขียนได้ยกตัวอย่างว่า หากกรณีพ่อ แม่หย่ากันและมีข้อตกลงให้บุตรต้องอาศัยอยู ่ท่ี กรุ งเทพฯ แต่พ่อเด็กกลับน�ำเอาตัวเด็กไปอยู ่ท่ี ต่างจังหวัดโดยเด็กไม่ยินยอม ซึ่งหากการกระท�ำ ดังกล่าวมีนัยยะแฝงว่าเป็นการใช้ เด็กเป็นเครื่อง มือในการต่อรองกับแม่ของเด็ก กรณีอาจ พิจารณาว่าเข้าข่ายการกระท�ำรุ นแรงตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู ้ถูกกระท�ำรุ นแรงใน ครอบครัวได้ แต่ยงั มีกฎหมายอีกฉบับที่ไม่คอ่ ยได้ กล่าว ถึง คือพระราชบัญญัตคิ ้ มุ ครองเด็ก ซึง่ หากน�ำ กฎหมายฉบับนี ้มาพิจารณากับตัวอย่างข้ างต้ น การกระท�ำของพ่อเด็กที่น�ำพาตัวเด็กไปโดยเด็กไม่ เต็มใจ อาจเข้ าข่ายค�ำว่า “ทารุณกรรม” ตามพระราช บัญญัติ คุ้มครองเด็กได้ ค�ำว่า “ทารุณกรรม” ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก หมายถึง “การกระทําหรื อละเว้ นการ กระทําด้ วยประการใด ๆ จนเป็ นเหตุให้ เด็กเสื่อมเสีย เสรี ภาพหรื อเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรื อจิตใจ การ กระทําผิดทางเพศต่อเด็ก การใช้ เด็กให้ กระทําหรื อ ประพฤติในลักษณะที่นา่ จะเป็ นอันตรายแก่ร่างกาย หรื อจิตใจหรื อขัดต่อกฎหมายหรื อศีลธรรมอันดี ทังนี ้ ้ ไม่วา่ เด็กจะยินยอมหรื อไม่ก็ตาม” จะเห็นได้ วา่ พระราชบัญญัตคิ ้ มุ ครองเด็ก ได้ นิยามความหมาย ของค�ำว่า “ทารุณกรรม” ไว้ กว้ างกว่าค�ำว่า “ความ รุนแรงในครอบครัว” ตามพระราชบัญญัติค้ มุ ครองผู้ ถูกกระท�ำรุนแรงในครอบครัว ยิ่งไปกว่านัน้ กฎหมายคุ้มครองเด็กยังได้ บัญญัติค�ำว่า “การเลี ้ยงดูโดยมิชอบ” ซึง่ มีความ หมายว่า “การไม่ให้ การอุปการะเลี ้ยงดู อบรมสัง่ สอน หรื อพัฒนาเด็กตามมาตรฐานขันต� ้ ่ำที่ก�ำหนดในกฎ กระทรวง จนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกาย หรื อจิตใจ ของเด็ก” ซึง่ ในกฎกระทรวงได้ ก�ำหนดการแนวทาง การกระท�ำเพื่อประโยชน์ของเด็กไว้ หลายข้ อ เช่น ต้ องค�ำนึงถึงความเหมาะสม ความต้ องการ และ ความจ�ำเป็ นของเด็ก หรื อค�ำนึงถึงประโยชน์ที่เด็กจะ ได้ รับในด้ านการพัฒนาทางสติปัญญา หรื อ ประโยชน์ที่เด็กจะได้ รับในด้ านการพัฒนาทางจิตใจ และอารมณ์ โดยได้ รับการอบรมเลี ้ยงดูด้วยความรัก ความเข้ าใจ ความเอาใจใส่ ให้ มีความรู้และทักษะใน การด�ำรงชีวิต มีความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์ มีเจตคติที่ดี
ต่อครอบครัว สังคม และการด�ำเนินชีวิต หรื อ ประโยชน์ที่เด็กจะได้ รับในด้ านวัฒนธรรม ศีลธรรม และศาสนา เป็ นต้ น แต่มีข้อค�ำนึงที่ผ้ เู ขียนเห็นว่าน่า สนใจคือ การกระท�ำใด ๆ ที่จะมีผลกระทบต่อเด็ก ต้ องเปิ ดโอกาสให้ เด็กมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ การกระท�ำของพ่อเด็กที่น�ำตัวเด็กไปตาม ตัวอย่างที่ผ้ เู ขียนยกมานัน้ หากพิจารณาแล้ วไม่ เป็ นการค�ำนึงถึงมาตรฐานขันต� ้ ่ำที่ก�ำหนดไว้ ในกฎ กระทรวง อาจน�ำไปสูก่ ารจ�ำกัดอ�ำนาจเลี ้ยงดูได้ อีก ทังอาจถู ้ กห้ ามเข้ าเขตที่ศาลก�ำหนด หรื อห้ ามเข้ าใกล้ ตัวเด็กตามค�ำสัง่ ของศาลได้ หากกรณีตามตัวอย่าง พ่อของเด็กไม่เพียง พาเด็กไปอยูต่ า่ งจังหวัด แต่ได้ พาไปอยูต่ า่ งประเทศ เลย แม่ของเด็กจะท�ำอย่างไร ได้ กล่าวไปในคราวที่ แล้ วว่าปั จจุบนั ได้ มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติ ความร่วมมือระหว่างประเทศในทางแพ่งเกี่ยวกับการ ละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก พ.ศ. 2555” ซึง่ เหตุผล ของการประกาศใช้ กฎหมายฉบับนี ้ก็เพื่อเป็ นการ คุ้มครองเด็กให้ พ้นจากภยันตรายอันเกิดจากการถูก พาไปหรื อกักตัวไว้ โดยมิชอบ และส่งตัวเด็กกลับสู่ ประเทศอันเป็ นถิ่นที่อยูโ่ ดยเร็ว ซึง่ รวมทังรั้ บรองให้ มี การคุ้มครองสิทธิในการเข้ าพบและเยี่ยมเยียนเด็ก อีกทังการที ้ ่ประเทศไทยเข้ าร่วมเป็ นภาคีอนุสญ ั ญา ว่าด้ วยลักษณะทางแพ่ง ในการลักพาเด็กข้ ามชาติ ค.ศ. 1980 เพื่อก�ำหนดให้ มี ผู้ประสานงาน ผู้มี อ�ำนาจในการสืบหาแหล่งที่อยูข่ องเด็ก วิธีด�ำเนินการ ส่งตัวเด็กกลับ วิธีการควบคุมดูแลเด็กชัว่ คราวก่อน ส่งกลับ ซึง่ ปั จจุบนั อนุสญ ั ญาดังกล่าวมีภาคีกว่า 174 ประเทศ ดังนัน้ หากเกิดเหตุการณ์บตุ รหลานถูกพา ตัวไปต่างประเทศ เราก็สามารถใช้ กฎหมายฉบับนี ้ใน การติดตามน�ำตัวเด็กกลับคืนมาได้ ตามวิธีการที่ ก�ำหนดไว้ โดยผู้ที่จะขอความช่วยเหลืออาจไม่ใช่พอ่ แม่ก็ได้ แต่ต้องเป็ นผู้ที่ถกู ละเมิดสิทธิควบคุมดูแล เด็ก ซึง่ หมายถึงสิทธิที่เกี่ยวกับการดูแลเด็กรวมถึง สิทธิก�ำหนดที่อยูข่ องเด็ก ซึง่ สิทธิดงั กล่าวอาจเกิดขึ ้น โดยผลของกฎหมาย หรื อค�ำสัง่ ศาล หรื อเจ้ าหน้ าที่ ของรัฐ หรื อการตกลงที่มีผลตามกฎหมาย แต่ กฎหมายฉบับนี ้ ก�ำหนดนิยามค�ำว่าเด็กไว้ วา่ “บุคคลซึง่ มีอายุต�่ำกว่าสิบหกปี บริ บรู ณ์” เท่านัน้
1.พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แม้ ชื่อกฎหมายจะเก่าแก่เกิน 10 ปี แต่ก็มีการแก้ ไขเพิ่มเติม กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับการใช้ แรงงานหญิงเมื่อปี 2551 โดยห้ ามมิให้ นายจ้ างให้ ลกู จ้ างหญิงท�ำงานบางอย่างตามมาตรา 38 เช่น งานเหมืองแร่หรื อ ก่อสร้ างใต้ ดนิ งานที่ต้องท�ำบนนัง่ ร้ านสูงกว่า 10 เมตรขึ ้นไป ฯลฯ หากลูกจ้ าง เป็ นหญิงมีครรภ์ก็จะถูกห้ ามมิให้ ท�ำงานบางอย่างตามมาตรา 39 เช่น งาน เกี่ยวกับเครื่ องจักรที่มีความสัน่ สะเทือน งานยก แบก หาม เข็นของหนักเกิน กว่า 15 กิโลกรัม งานที่ท�ำในเรื อ ฯลฯ นอกจากนี ้ ยังห้ ามมิให้ ลกู จ้ างที่เป็ น หญิงมีครรภ์ท�ำงานตังแต่ ้ เวลา 22.00-06.00 น. รวมถึงท�ำงานล่วงเวลา (โอที) หรื อท�ำงานในวันหยุดตามมาตรา 39/1 2. พระราชบัญญัติค�ำน�ำหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 แต่เดิมเมื่อผู้หญิงแต่งงาน (จดทะเบียนสมรส) ก็จะต้ องเปลี่ยน ค�ำน�ำหน้ าชื่อจาก “นางสาว” เป็ น “นาง” แต่ตามกฎหมายฉบับนี ้ ก็ได้ ให้ สทิ ธิผ้ ู หญิงที่จะเลือกว่าจะใช้ “นางสาว” หรื อ “นาง” น�ำหน้ าชื่อก็ได้ ตามมาตรา 5 แม้ จะจดทะเบียนสมรสแล้ วก็ตาม หากต่อมามีการหย่าหรื อเป็ นหม้ าย ก็อาจ เปลี่ยนกลับมาใช้ “นาง” หรื อ “นางสาว” ก็ได้ แล้ วแต่กรณี ตามมาตรา 6 3. พระราชบัญญัติชื่อบุ คคล พ.ศ. 2505 ถึงจะเป็ นกฎหมายเก่าแก่รุ่นแม่ แต่ก็มีการแก้ ไขเมื่อปี 2548 จาก เดิมที่บงั คับให้ หญิงที่สมรสแล้ วจะต้ องเปลี่ยนไปใช้ นามสกุลสามี แก้ ไขเป็ น ชายและหญิงนันจะใช้ ้ นามสกุลของฝ่ ายใดก็ได้ หรื อจะใช้ นามสกุลเดิมก็ได้ ตามมาตรา 12 ส่วนกรณีที่การสมรสสิ ้นสุดลง หากสิ ้นสุดลงเพราะการหย่า หรื อศาลพิพากษาให้ เพิกถอนการสมรส ก็จะต้ องกลับไปใช้ นามสกุลเดิมของ ตน แต่หากการสมรสนันสิ ้ ้นสุดลงเพราะคูส่ มรสอีกฝ่ ายถึงแก่ความตาย ฝ่ ายที่ ยังมีชีวิตอยูจ่ ะใช้ นามสกุลนันต่ ้ อไปก็ได้ แต่ถ้าจะสมรสใหม่ ต้ องกลับไปใช้ นามสกุลเดิม ตามมาตรา 13 4. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477 กรณีหญิงมีครรภ์ต้องโทษนันได้ ้ รับการแก้ ไขในปี 2550 โดยหาก หญิงมีครรภ์หรื อคลอดบุตรมาไม่เกิน 3 ปี และยังต้ องเลี ้ยงดูบตุ รนัน้ ถูก พิพากษาตัดสินให้ จ�ำคุก ศาลก็มีอ�ำนาจในการสัง่ ทุเลาการบังคับให้ จ�ำคุกนัน้ ไว้ ก่อน จนกว่าหญิงนันจะคลอดบุ ้ ตร และให้ นบั วันที่ทเุ ลาการบังคับนันหั ้ ก ออกจากโทษที่ได้ รับด้ วย ตามมาตรา 246 นอกจากนี ้ หากหญิงมีครรภ์ถกู ศาล พิพากษาให้ ประหารชีวิต ก็ให้ รอโทษประหารชีวิตนันจนพ้ ้ น 3 ปี นับแต่วนั คลอดบุตร แล้ วให้ ลดโทษเหลือเพียงจ�ำคุกตลอดชีวิต ตามมาตรา 247 5. ประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 285/1) เพิ่งแก้ ไขเพิ่มเติมกันไปสดๆ ร้ อนๆ เมื่อกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ผา่ น มา กับการ “ปิ ดปาก” ห้ ามอ้ างว่าไม่ร้ ูวา่ เหยื่อที่ถกู ข่มขืนหรื อท�ำอนาจารนัน้ มีอายุไม่เกิน 13 ปี เพื่อจะให้ ตนเองจากความผิด นอกจากนี ้ ยังได้ แก้ มาตรา 277 จากเดิมที่ให้ ผ้ กู ระท�ำความผิดตามมาตรานี ้ไม่ต้องรับโทษ หากศาลได้ อนุญาตให้ ผ้ กู ระท�ำความผิดและผู้ที่ถกู ข่มขืนนันสมรสกั ้ น โดยแก้ ไขเพิ่ม กระบวนการพิจารณาคดีในกรณีทีผ้ กู ระท�ำความผิดอายุไม่เกิน 18 ปี และผู้ถกู ข่มขืนอายุ 13-15 ปี ซึง่ ผู้ถกู ข่มขืนนันยิ ้ นยอม ศาลอาจให้ มีการคุ้มครอง สวัสดิภาพหรื ออนุญาตให้ สมรสโดยก�ำหนดเงื่อนไขก็ได้ และเมื่อมีค�ำสัง่ อนุญาตให้ สมรสแล้ วจะลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมายก�ำหนดก็ได้ (แต่จะไม่ ลงโทษเหมือนกฎหมายเดิมไม่ได้ ) เชื่อว่าในอนาคต จะมีการแก้ ไขเพิ่มเติมบทบัญญัตทิ ี่เกี่ยวกับสิทธิ สตรี เพิ่มมากขึ ้นอย่างแน่นอน เพื่อให้ สอดคล้ องกับบทบาทและสถานะของสตรี ที่เปลี่ยนไป และจะเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งต่อสตรี ที่ร้ ูจกั รักษาสิทธิของตน ไม่ให้ ถูกฝ่ ายชายข่มเหงรังแกได้ อีกต่อไป
LAWGIC
/-Abc นิรนาม
ปัญหาปากท้องกับความจ�ำเป็น ในช่ วงที่ก�ำลังเขียนต้นฉบับอยู ่นี้ มีข่าวดังที่เกี่ยวกับบทบาทการท�ำหน้าที่ของ “ภรรยาผู ้แสนดี” ที่เห็นสามีกลัดกลุ้มกับปั ญหาที่รุมเร้า จึงต้องช่ วยเข้าไปช่ วยเหลือสามีโดยไม่สนใจในผลกระทบที่จะตามมา ครอบครัวหนึง่ ประกอบกิจการรับซ่อมปะยางรถ ซึง่ นับตังแต่ ้ หลังปี ใหม่เป็ นต้ นมา จ�ำนวนลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การก็ลดลงเรื่ อยๆ จนท�ำท่าว่ากิจการนี ้อาจจะอยูไ่ ด้ อีก ไม่นาน ท�ำให้ เจ้ าของกิจการกลุ้มใจเป็ นอันมาก แต่แล้ ว อยูๆ่ ก็เหมือนสวรรค์เมตตา เมื่อมีลกู ค้ าแห่แหนเข้ ามาใช้ บริ การที่ร้านเพิ่มมากขึ ้น ด้ วยอาการที่คล้ ายๆ กันนัน่ คือ ยางแตกหรื อรั่วเพราะถูกตะปูต�ำล้ อรถ ซึง่ ลูกค้ าหลายราย ก็แจ้ งความกับต�ำรวจในท้ องที่ไว้ เพราะเชื่อว่าเป็ นฝี มือของ กลุม่ วัยรุ่นที่ออกมาก่อกวนชาวบ้ านในพื ้นที่ เมื่อต�ำรวจสืบไปได้ สกั พัก ก็คาดว่าไม่นา่ จะเป็ น ฝี มือของกลุม่ วัยรุ่น แต่นา่ จะเป็ นฝี มือของผู้ต้องสงสัยราย หนึง่ ที่ได้ รับประโยชน์จากการก่อเหตุในครัง้ นี ้ แล้ วความ จริ งก็ปรากฏขึ ้นว่า ภรรยาเจ้ าของร้ านปะยางรถนัน่ เอง ที่ เป็ นคนลงมือก่อเหตุทงหมด ั้ โดยตระเวนขี่รถมอเตอร์ ไซค์ ไปตามถนนในบริ เวณใกล้ ๆ ร้ าน ก่อนจะโรยตะปูเกลียว ลงไปบนพื ้นถนน เพื่อให้ รถที่สญ ั จรไปมาแถวนันเหยี ้ ยบ ทับ โดยจะท�ำเป็ นประจ�ำทุก 2-3 วัน เพื่อให้ ที่ร้านมีลกู ค้ า มาใช้ บริ การเพิ่มมากขึ ้น โดยที่สามี (เจ้ าของร้ านปะยาง รถ) และลูกชายไม่ได้ ร้ ูเห็นแต่อย่างใด ช่างเป็ นภรรยาและ มารดาผู้ประเสริ ฐโดยแท้ นี่ก็เป็ นอีกตัวอย่างของปั ญหาการก่อ อาชญากรรมที่มีสาเหตุมาจากปั ญหาปากท้ องเป็ นเรื่ อง ส�ำคัญ ซึง่ เหตุผลที่มกั จะได้ ยินผู้ก่อเหตุน�ำมาอ้ างก็มกั จะ มีอยู่ 2 อย่างคือ กระท�ำความผิดเพราะ “ปากท้ อง” และ กระท�ำความผิดเพราะ “ท้ อง” ส�ำหรับกรณีที่อ้างว่าท�ำไปเพราะปั ญหา “ปาก ท้ อง” นัน้ ก็อยากจะให้ คดิ ให้ ดีก่อนว่า มีวิธีแก้ ปัญหาด้ วย วิธีอื่นใดนอกจากการก่ออาชญากรรมอีกหรื อไม่ ถ้ ามี ได้ ลองใช้ วิธีการนันแล้ ้ วหรื อยัง สู้ชีวิตกันอย่างเต็มที่แล้ วใช่ หรื อไม่ หรื อว่าปั ญหาที่แท้ จริ งนันเกิ ้ ดจากความอยากไม่ร้ ู จักพอของตนกันแน่ ส่วนการกระท�ำความผิดเพราะ “ท้ อง” นัน้ แม้ จะดูเป็ นเรื่ องที่นา่ สงสาร แต่วา่ ที่คณ ุ แม่ทงหลายก็ ั้ นา่ จะ คิดสักนิดก่อนจะมีลกู ว่าพร้ อมที่จะเลี ้ยงดูเขาไหม และก็ น่าจะเห็นแก่ลกู ที่ก�ำลังจะเกิดมาด้ วย ว่าถ้ าเกิดวันหนึง่ เข้ า รู้มาว่าแม่ของเขาเคยถูกจับติดคุกเพราะไปกระท�ำความ ผิดโดยอ้ างลูกที่อยูใ่ นท้ อง ลูกจะรู้สกึ อย่างไร
ในการกระท�ำความผิดนัน้ ไม่วา่ จะเป็ นเพราะปากท้ อง หรื อเพราะท้ อง ข้ ออ้ างที่มกั จะน�ำมาใช้ มากที่สดุ คือ “ท�ำ ไปเพราะจ�ำเป็ น” แต่ค�ำถามที่ตามมาก็คือ ความจ�ำเป็ นที่ ว่านัน้ แท้ จริ งแล้ วคืออะไร แล้ วมันจ�ำเป็ นมากน้ อยเพียงใด แค่ไหนกัน ถ้ าไม่ท�ำแล้ วจะตายไหม ค�ำว่า “จ�ำเป็ น” ที่จะน�ำมาอ้ างเพื่อไม่ต้องรับ โทษส�ำหรับการกระท�ำความผิด ตามประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 67 นัน้ มีอยู่ 2 กรณี และต้ องเป็ นกรณีที่ สมควรแก่เหตุด้วย ได้ แก่ 1. จ�ำเป็ นเพราะอยูใ่ นที่บงั คับ หรื อภายใต้ อ�ำนาจซึง่ ไม่อาจหลีกเลี่ยงหรื อขัดขืนได้ 2. จ�ำเป็ นเพราะเพื่อให้ ตนเองหรื อผู้อื่นพ้ นจาก ภยันตรายที่ใกล้ จะถึงและไม่สามารถเลี่ยงให้ พ้นโดยวิธี อื่นใดได้ เมื่อภยันตรายนัน้ ตนมิได้ ก่อให้ เกิดขึ ้นเพราะ ความผิดของตน จะเห็นได้ วา่ มีเพียงเฉพาะการกระท�ำความผิด เพราะอยูใ่ นที่บงั คับ หรื อเพราะเพื่อให้ ตนเองหรื อผู้อื่นพ้ น ภยันตรายเท่านัน้ ที่จะอ้ างเรื่ อง “จ�ำเป็ น” ได้ เช่น ถูกเอา ปื นจ่อหัวบังคับให้ ท�ำร้ ายผู้อื่น จึงต้ องเอามีดแทงให้ ผ้ อู ื่น ได้ รับบาดเจ็บ เป็ นต้ น แต่สงิ่ ที่ควรสังเกตประการหนึง่ คือ เมื่อเป็ นการ กระท�ำความผิดเพราะเหตุจ�ำเป็ นแล้ ว การกระท�ำนันๆ ้ ยัง คงเป็ นความผิด ผู้กระท�ำยังคงมีความผิดตามกฎหมาย เพียงแต่กฎหมาย “ยกเว้ นโทษ” ให้ แก่ผ้ กู ระท�ำ คือไม่ต้อง รับโทษส�ำหรับความผิดฐานนัน้ การตังท้ ้ องหรื อความ ยากจนซึง่ มิใช่เหตุจ�ำเป็ นประการใดๆ ตามกฎหมาย จึงไม่ อาจน�ำมาอ้ างให้ เป็ นเหตุที่จะท�ำให้ ตนไม่ต้องรับโทษ ส�ำหรับการกระท�ำความผิดนัน้ ดังนัน้ พึงรับรู้และโปรดรับ ทราบไว้ วา่ ความจ�ำเป็ นทางเศรษฐกิจไม่อ้างน�ำมาอ้ าง เพื่อยกเว้ นโทษตามกฎหมายได้ จะท้ อง จะจน อะไรยังไง ก็ยงั มีความผิดตาม กฎหมายอยูด่ ี แต่อย่าเพิ่งกล่าวหาว่ากฎหมายมีไว้ รังแก คนจนนะ เพราะถ้ ายากจนแล้ วสู้ชีวิต หาอาชีพสุจริ ตหรื อ ใช้ วิธีการที่ถกู ต้ อง กฎหมายก็ไม่อาจเข้ าไปลากคุณเข้ าคุก ได้ แต่ถ้าคุณรวยแล้ วไปเบียดเบียนคนอื่น ใช้ วิธีการทุจริ ต กอบโกยผลประโยชน์มาจากผู้อื่น ยังไงก็ไม่รอดพ้ นเงื ้อม มือกฎหมายอยูแ่ ล้ ว ผบ.ตร. คอนเฟิ ร์ม
วันมาฆบูชา ในเดือนมีนาคมนี้ มีวันส�ำคัญทางศาสนาที่ ส�ำคัญอยู ่วันหนึ่ง นัน่ คือ “วันมาฆบู ชา” ซึ่งตรงกับวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 3 ของทุกปี แต่เนื่องจากปี นเี้ ป็นปี อธิกมาส (ปี ท่ีมีเดือน 8 สองครัง้ ) จึงเลื่อนวันมาฆบู ชามาเป็นวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 4 แทน วันมาฆบูชานี ้มีเหตุการณ์ส�ำคัญเกิดขึ ้นในสมัย พุทธกาล คือ พระสงฆ์ 1,250 รูปเดินทางมาประชุม ณ วัดเวฬุวนั กรุงราชคฤห์ โดยมิได้ นดั หมาย ซึง่ พระสงฆ์ทงหมด ั้ ล้ วนเป็ นพระอรหันต์และเป็ น “เอหิภิกขุอปุ สัมปทา” หมายถึง ผู้ที่ได้ รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้ า และวันดังกล่าวตรงกับ วันเพ็ญมาฆปุรมี หรื อวันขึ ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 และในโอกาสนี ้ พระพุทธเจ้ าได้ แสดงธรรมโอวาทปาฏิโมกข์ ซึง่ มีใจความ ส�ำคัญกล่าวถึงการนิพพาน การท�ำความดี ละเว้ นความชัว่ ท�ำ จิตให้ ผอ่ งใส และหลักปฏิบตั ขิ องภิกษุสงฆ์ผ้ เู ผยแผ่ศาสนา 6 ประการ พิธีมาฆบูชาในประเทศไทย เกิดขึ ้นครัง้ แรกใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 4) ด้ วยทรงปรารภว่าเห็นการในครัง้ พุทธกาลนันเป็ ้ นเหตุการณ์ ส�ำคัญ ควรให้ มีการประกอบพระราชพิธีขึ ้นเป็ นการภายในราช ส�ำนัก มีการบ�ำเพ็ญพระราชกุศล ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม ต่อมา ความนิยมในการจัดพิธีมาฆบูชาได้ แพร่หลายออกไปยัง ท้ องที่ตา่ งๆ ทัว่ ประเทศ จนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 6) จึงทรงประกาศให้ วนั มาฆบูชาเป็ นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ในปี 2549 รัฐบาลไทยได้ ก�ำหนดให้ วนั มาฆบูชาของ ทุกปี เป็ น “วันกตัญญูแห่งชาติ” เนื่องจากวันมาฆบูชามัก ก�ำหนดอยูใ่ นช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึง่ ใกล้ กบั วัน วาเลนไทน์ที่คนหนุม่ สาวมักมีคา่ นิยมที่ผิดในการเลือกให้ เป็ น “วันเสียตัวแห่งชาติ” ซึง่ ส่งผลกระทบต่อค่านิยมทางจริ ยธรรม และศีลธรรมของวัยรุ่น จึงได้ ก�ำหนดให้ วนั มาฆบูชาเป็ นวัน กตัญญูแห่งชาติเพื่อให้ วยั รุ่นหันมาสนใจกับความรักอันบริ สทุ ธิ์ ที่ไม่หวังสิง่ ตอบแทน และเพื่อไม่ให้ วยั รุ่นหลงใหลมัวเมาไปกับ ความรักใคร่ในทางชู้สาวที่ฉาบฉวยซึง่ อาจก่อให้ เกิดปั ญหา สังคมตามมา กิจกรรมที่พงึ ปฏิบตั ใิ นวันมาฆบูชา ได้ แก่ การท�ำบุญตักบาตร การรักษาศีล การฟั งธรรม และการเวียน เทียนในตอนค�่ำ ซึง่ จะท�ำให้ ผ้ ปู ฏิบตั มิ ีจิตใจที่สงบ ผ่องใส ใน วันเพ็ญเดือน 3 นี ้ วีรจิตต วัฒนบ�ำรุ งนบ�ำรุ ง
11
MISSCOVERY
/-BEWTYFULMOM
A LITTLE ENGLISH
/-MARISA SUEBSAENG ภาพประกอบ : POTAE_XO
SISTERHOOD
“It was not just friendship that we are attached to each other, it was sisterhood that made that bonding between us, but now that love doesn’t exist anymore as people changes with time - that’s reality.” Debolina ท�ำไมผู้หญิงชอบเขม่น ฐานะ สีผิว เชื ้อชาติ ฯลฯ) แต่มีผ้ หู ญิง กันเอง อีก 80% ในโลกที่ยงั วนเวียนอยูใ่ น ท�ำไมแม้ แต่เด็กผู้หญิงตัว วังวนนี ้อยูต่ ลอด กลุม่ สาววัยรุ่นก็อิจฉา น้ อยๆก็ยงั รู้จกั แข่งขันเพื่อความโดด แบ่งพรรคแบ่งพวกกันตามความสวย เด่นระหว่างกัน บ้ าง กระเป๋ ารองเท้ าแบรนด์เนมบ้ าง ท�ำไมแม้ แต่กลุม่ เพื่อนสาวที่ เรื่ องผู้ชายบ้ าง อย่างกลุม่ เพื่อนที่เป็ น สนิทกันมากก็ต้องมีฟีลว่าชันสวยกว่ ้ า แม่ๆ ด้ วยกัน ก็ชิงดีชิงเด่นกันใน รวยกว่าเก่งกว่า ลักษณะ ชันคลอดบ� ้ ำรุงราษฎ์ ชันให้ ้ ท�ำไมผู้หญิงส่วนใหญ่ถงึ นมแม่ล้วน ชันเป็ ้ นเวิร์คกิ ้งมัม ชันได้ ้ ไม่มีความรักฉันพี่น้องร่วมโลก เงินเดือนจากสามี ชันยั ้ งสวยและหุน่ ดี (sisterhood) ตังแต่ ้ พบกันครัง้ แรกๆ ชันส่ ้ งลูกเรี ยนอินเตอร์ ..... ความรู้สกึ พวกนี ้มันมาจาก อีกสังคมที่ก�ำลังเผชิญอยู่ ไหน? สมอง ฮอร์ โมนส์ สังคม หรื อ อินมากๆ สังคมแม่บ้านที่สตูดิโอโยคะ วัฒนธรรมสากลบางอย่างที่ควบคุม สิง่ แรกที่เห็นชัดคือพร็อพ อุปกรณ์ ผู้หญิงเราเอาไว้ ลองสังเกตตัวเองดูนะ โยคะนี่ไม่ใช่ถกู ๆ เลย ก�ำเงินมาหมื่นนึง ถ้ าเรานัง่ อยูก่ นั กลุม่ เพื่อนในร้ าน ได้ ของแค่สองสามชิ ้น เสื่อต้ องยี่ห้อนี ้ อาหาร และมีผ้ หู ญิงสวยเด่น หนาเท่านี ้ ชันรู ้ ้ จกั ครู ชันฝึ ้ กมานาน ชัน้ ครบเครื่ องทังหน้ ้ า ผม หุน่ เดินเข้ ามา เฮดแสตน ชันใช้ ้ พื ้นที่สตูดิโอราวกับ ความรู้สกึ แรกคือสวยจัง แต่!!! ชันไม่ ้ เป็ นห้ องนอนห้ องน� ้ำบ้ านตัวเอง เพราะ สนใจเธอหรอกย่ะ คงท�ำมาทังตั ้ วสินะ ชันเป็ ้ นสมาชิกมานาน (อันนี ้ขอหมัน่ ไส้ แต่งตัวเยอะขนาดนี ้ คงแพลตตินมั่ ส่วนตัวค่ะ 555) ตังแต่ ้ หวั จรดเท้ า กระเป๋ าก็มิลเรอร์ ผู้หญิงน่ะเนอะ อยูท่ ี่ไหนก็ เกรดเอเอเอ บลาๆๆๆ จนกระทัง่ มีใคร ดราม่า ไม่จะเชื ้อชาติไหน ชนเผ่าไหน ในกลุม่ เพื่อนเราดันรู้จกั กับนาง เรี ยก ความซับซ้ อนของผู้หญิงเราก็มีอยูท่ กุ ที่ กันทักกันอย่างสนิทสนม แถมชวนมา ทุกหนทุกแห่ง การที่ผ้ หู ญิงสองคนยิ ้ม แนะน�ำตัวกับเราอีก ความรู้สกึ เราจะ ให้ กนั คุณไม่อาจรู้ได้ เลยว่ายังมี เปลี่ยนไปในท�ำนองที่ดีขึ ้นทันที และยิ่ง judgement อีก 28 อย่างในความ พอเขาเดินลับไป ได้ เม้ ามอยรู้จกั สมองของทังสองนางนั ้ น้ เพศไหนก็ส้ ู แบคกราวด์กบั เพื่อนแบบพองาม เราก็ สมองอย่างเราๆ ไม่ได้ จะไม่เหลือความรู้สกึ เหยียดแบบ ลองดูนะคะ อยากให้ สาวๆ โมเม้ นต์แรกที่เจอ กลับนับว่าเขาเป็ น ยุคใหม่ สร้ าง sisterhood ระหว่าง หนึง่ ในกลุม่ เพื่อนของเพื่อนซะด้ วยซ� ้ำ ผู้หญิงด้ วยกันมากขึ ้นกว่านี ้ การมอง ไป เหยียดกันยุบยิบไปซะทุกเรื่ อง ท�ำให้ ใช่คะ่ ... ผู้หญิงคือสิง่ มีชีวิต จิตใจขุน่ มัว ท�ำให้ เราอาจจะเสียโอกาส ที่มี skill การเข้ าสังคมที่ซบั ซ้ อนที่สดุ เสียคนรู้จกั เสียเพื่อนดีๆ ไปซะเปล่าๆ ในโลก ต้ องฝึ กจิตสะกดใจ ตอนเป็ นสาวจะมีฟีลนี ้เยอะ มองคนสวยว่าเขาสวย แล้ ว มาก พอโตขึ ้นก็อาจจะน้ อยลง แต่มนั จบแค่นนั ้ ไม่ได้ หายไปซะทีเดียว ทุกวันนี ้ก็ยงั เจอ มองคนรวยว่าเขารวย แล้ ว อยูเ่ นืองๆ แต่ไม่ใช่เรารู้สกึ กับคนอื่น จบแค่นนั ้ แต่เป็ นคนอื่นแสดงความรู้สกึ กับเรา มองคนเก่งว่าเขาเก่ง แล้ ว เพราะตังแต่ ้ เรี ยนสังคมศาสตร์ มา ได้ จบแค่นนั ้ อ่าน ได้ ท�ำความเข้ าใจเรื่ องนี ้มาระดับ ยิ่งผู้หญิงเราน่ารักต่อกันเท่า นึง เราก็เริ่ มฝึ กตัวเอง พยายามไม่ ไหร่ โลกนี ้ยิ่งน่าอยูก่ ว่าเดิมอีกเป็ นสิบ ตัดสิน และแสดงอาการเหยียดผู้หญิง เท่าค่ะ ด้ วยกันเองตังแต่ ้ ครัง้ แรกที่เจอ (รวมถึง
12
IWD วันที่ 8 มีนาคมนี้ คือวันสตรีสากล หรือในภาษาอังกฤษ International Women’s Day ซึ่งหลาย คนคงเดาไม่ยากว่าเป็นวันที่ระลึกถึงครัน้ ที่ผู้หญิงเคยเรียกร้องให้มีสิทธิ์มีเสียงมากขึน้ ซึ่งหลายคนคง รู้อยู ่แล้วว่าสมัยก่อน ผู ้หญิงโดนกดขี่ข่มเหง ตัง้ ครรภ์ก็โดนไล่ออกจากงาน ท�ำงานวันหลายขัว่ โมง ต่อวันจนป่ วยล้มตาย หากไม่มีกลุ่มผู ้หญิงในสมัยนัน้ มาลุกฮือต่อต้านนัน้ ป่ านนีเ้ ราอาจจะต้องนัง่ ท�ำงานยาวถึง 17 ชัว่ โมงต่อวันก็เป็นได้ (ม่ายยยยนะ!!) Many women in big companies suffered สมัยก่อนนัน้ ผู้หญิงถูกปฏิบตั ิด้วยความไม่เท่า from a glass ceiling that stops them เทียมในหลายประเทศ ผู้หญิงไม่มีสทิ ธิ์เลือกงานที่ reaching their goal. อยากจะท�ำ สิทธิ์ในการเลือกตังก็ ้ ไม่มี อยากจะมี (มีผ้ หู ญิงหลายคนที่ท�ำงานในบริ ษัทใหญ่ๆ รู้สกึ คูค่ รองคนเดียวก็ไม่ได้ โดนกดขี่ขม่ เหงจากผู้ชาย ถึงทางตันจากแพดานที่มองไม่เห็น ท�ำให้ พวกเธอ และแทบจะไม่มีกฎหมายคุ้มครอง โชคดีที่ เหล่านันไม่ ้ สามารถไปสูจ่ ดุ มุง่ หมายของตัวเองได้ ) ประเทศไทยเราในปั จจุบนั นี ้ เราไม่คอ่ ยได้ เห็น ปั ญหานี ้แล้ ว แต่สงั คมในปั จจุบนั แม้ เรื่ องสิทธิ แต่เมื่อไม่กี่เดือนที่ผา่ นมา เราจ�ำได้ วา่ มีผ้ หู ญิงยืน ความเท่าเทียมจะดีขึ ้นแล้ ว แต่ประเทศญี่ปนก็ ุ่ ยงั โหนรถไฟฟ้าและถ่ายรูปผู้ชายที่นงั่ อยูม่ าประจาน มีการพูดถึงอย่างกว้ างขวางในเรื่ องของสิทธิ์ที่ผ้ ู ในโซเชียลเน็ตเวิร์คว่าไม่มีน� ้ำใจ ท�ำไมไม่เป็ น หญิงจะไม่สามารถท�ำงานในต�ำแหน่งที่สงู ขึ ้นได้ สุภาพบุรุษเลย ท�ำไมเห็นผู้หญิงยืนแล้ วไม่ลกุ ให้ หรื อประเทศอย่างอินเดียที่มีขา่ วเรื่ องผู้หญิงโดน นัง่ โอโห เราอ่านแล้ วช็อก ส่วนตัวคิดว่านี่ก็เรี ยก ข่มขืนเป็ นจ�ำนวนมาก แต่กฎหมายไม่สามารถท�ำ ร้ องสิทธิมากจนเกินไปหรื อเปล่า ผู้ชายเค้ าก็เมื่อย อะไรได้ มาก จึงท�ำให้ ประชาชนลุกฮือออกมาต่อ ได้ ผู้ชายก็อาจจะปวดขา ขาบวมก็ได้ นะคะ ส่วน ต้ าน โดยเฉพาะประชาชนเพศหญิง ซึง่ ทังหมดที ้ ่ ตัวเราว่าผู้ชายไทยโดยส่วนมาก ค่อนข้ างจะเป็ น กล่าวมานี ้ ยังคงเป็ นส่วนน้ อยของสิง่ ที่เกิดขึ ้น สุภาพบุรุษแล้ ว สังเกตว่าเวลาขึ ้นรถไฟฟ้า ผู้ชาย จริ งๆ การโดนกระท�ำที่ไม่เท่าเทียมกัน หรื อการ ส่วนใหญ่จะยืนถึงแม้ วา่ รถจะว่างโล่งเว่อร์ ก็ตาม กดขี่ ในภาษาอังกฤษคือ discrimination ค่ะ บางครัง้ มีคนลุก แต่ผ้ ชู ายก็ไม่นงั่ รอผู้หญิงนัง่ ก่อน จริ งๆ หลายครัง้ ที่เราเห็น เราอยากจะบอก In many countries, it’s illegal to discriminate ว่า นัง่ เหอะ ผู้ชายก็นงั่ ได้ ส่วนที่ควรลุกคือลุกให้ against job applicants due to physical พระ ภิกษุ คนพิการ คนท้ องและเด็ก เกลียด บาง ability. ครัง้ เราก็อาจจะเรี ยกร้ องมากเกินไป จนผู้ชายอาจ (ในหลายประเทศ การเลือกปฏิบตั ติ อ่ คนที่สมัคร จะกลัวได้ นะคะ ค�ำว่าสิทธิเท่าเทียมกัน ใช้ ค�ำว่า งานโดยพิจารณาจากความสามารถทางกายภาพ equal opportunity ค่ะ เป็ นสิง่ ที่ขดั ต่อกฎหมาย) ที่ท�ำงานของเรานันเป็ ้ นบริ ษัทต่างชาติ ซึง่ ให้ ความส�ำคัญกับในเรื่ องความเท่าเทียมของ พนักงานเป็ นอย่างมาก เวลาที่รับสมัครพนักงาน ใหม่นนั ้ จะไม่ให้ สง่ เรซูเม่หรื อซีวี แต่จะต้ องกรอก แบบฟอร์ มของบริ ษัทเท่านัน้ ซึง่ เป็ นแบบฟอ์มที่ไม่ ต้ องใส่อายุหรื อรูปถ่าย เพื่อจะได้ ไม่มีผลต่อการ คัดเลือกในการเข้ าท�ำงาน ซึง่ รวมไปถึงการให้ โอกาสคนพิการมีโอกาสมาสัมภาษณ์งานได้ อีก ด้ วย ผู้หญิงหลายคนในบริ ษัทมีสทิ ธิ์ในการเลื่อน ขันสู ้ งขันเท่ ้ าเทียมกับสิทธิ์ของผู้ชาย เงินเดือนเท่า เทียมกับหมด มีผ้ หู ญิงหลายคนด�ำรงต�ำแหน่งที่ ใหญ่โตเป็ นจ�ำนวนมาก แต่ถ้าในตรงกันข้ าม หาก บริ ษัทไหนที่ผ้ หู ญิงไม่มีโอกาสเลื่อนขันไปอยู ้ ใ่ น ต�ำแหน่งที่สงู ขึ ้นได้ เลยนัน้ หรื อเลื่อนไปแล้ วแต่มนั ถึงทางตัน ในภาษาอังกฤษเรี ยกว่า glass ceiling ค่ะ ติดตามคอลัมน์ MISSCOVERY และ A Little English ในฉบับย้อนหลังได้ท่ี www.lawnewslct.blogspot.com
There is a strict equal opportunity policy in my company. (บริ ษัทของฉันมีนโยบายในเรื่ องสิทธิเท่าเทียมกัน ที่เคร่งครัดเป็ นอย่างมาก) ผู้หญิงในยุคเราถือว่าอยูใ่ นช่วงที่ใช้ ชีวิตกันสบาย กว่าเดิมมากๆ กว่าที่ผ้ หู ญิงในสมัยก่อนจะได้ สทิ ธิ ต่างๆ ในสังคมเพิ่มขึ ้นอย่างในทุกวันนี ้ ไม่ได้ มา ง่ายๆ นะคะ กว่าจะเกิด International Women’s Day ต้ องใช้ เวลาหลายปี กว่าจะได้ ออกมาเรี ยก ร้ องสิทธิของผู้หญิงในสมัยก่อนนัน้ แต่พวกเขาก็ ไม่ยอ่ ท้ อ จนท�ำให้ คนรุ่นหลัง มีชีวิตที่ดีขึ ้นอย่าง ทุกวันนี ้ อย่างในภาษาอังกฤษมีค�ำกล่าวที่วา่ When the going gets tough, the tough get going. ถึงแม้ เหตุการณ์จะล�ำบากยากเย็นเท่าไหร่ แต่คน ที่แกร่งจะลุกขึ ้นมาสู้โดยไม่หวัน่ กลัวใดๆ ทังสิ ้ ้นค่ะ
www.straitstimes.com
Lawnews
BULLETIN MARCH 1 -15, 2015
THE SINGAPORE INTERNATIONAL COMMERCIAL COURT: SINGAPORE A NEW HUB FOR INTERNATIONAL DISPUTE RESOLUTION By Ian Roberts and Nicholas Sykes of Clyde & Co LLP On 5 January 2015, the Singapore International Commercial Court (“SICC”) was officially opened at the commencement of Singapore’s legal year. The establishment of the SICC compliments Singapore’s pre-existing ADR institutions (the Singapore International Mediation Centre (opened in November 2014) and the Singapore International Arbitration Centre). The country now provides a full suite of dispute resolution options for commercial parties, not just from Asia, but worldwide. Singapore has amended its legislation, including its constitution, to provide the SICC with jurisdiction and standing for foreign lawyers to appear before the Court in certain circumstances. The legislative framework provides that the SICC is a division of the Singapore High Court and that it will hear cases which are both international and commercial in nature. Proceedings in the SICC are governed by the pre-existing Rules of Court (“the Rules”), as modified, and procedural guidelines are contained within the SICC Practice Direction (“PD”). The amended Rules and new PD are intended to follow
international best practice for commercial dispute resolution. The SICC has jurisdiction to hear a claim if: (i) it is of an international and commercial nature; (ii) the parties have submitted to the SICC’s jurisdiction pursuant to a written jurisdiction agreement (although third or subsequent parties may be joined to an action once the SICC has assumed jurisdiction); and (iii) the parties do not seek any relief in the form of, or connected with, a prerogative order (i.e. an order against a public body seeking the enforcement of specific rights). The SICC may also hear cases which are transferred from the High Court at its discretion. Subject to certain conditions, the Rules and PD now permit foreign counsel (i.e. those not called to the Singaporean Bar) to appear before the SICC and Court of Appeal on appeals from the SICC. They also allow the SICC to determine questions of foreign law based on submissions made by appropriately qualified foreign counsel, rather than being proved by way of expert evidence in the traditional manner. The Chief Justice of Singa-
pore, Senior Judge, Judges of Appeal of the Singapore Court of Appeal, Justices of the Singapore High Court and eleven international jurists have all been appointed as the first Judges of the SICC. The international jurists appointed are eminent in particular areas of law and possess substantial expertise in their home jurisdictions. The first set of international jurists appointed as International Judges of the SICC includes Mr. Dyson Heydon AC QC (former Judge of the High Court of Australia), Sir Bernard Rix (former Lord Justice of Appeal of England & Wales) and Sir Vivian Ramsey (former High Court Judge of England & Wales). Observations Singapore’s business friendly legal system and “trusted hub” status have long attracted counterparties operating in South East Asia and beyond to Singapore for the resolution of their disputes. They now have greater choice in determining how they do so. The jurisdiction and proceedings of the SICC are clearly distinguishable from those in arbitration. SICC proceedings will
generally be heard in open court and all SICC matters will be heard by either one or three Judges, although unlike in arbitration proceedings, the parties will not be able to nominate the SICC Judge(s) to hear their matter nor propose whether the Judge is a Judge of the Singapore High Court or an International Judge. This is distinct from arbitration where parties can agree to nominate their preferred arbitrator. A judgment of the SICC will be a judgment of the Singapore High Court. Singapore is a signatory to few reciprocal agreements with other nations in respect of the enforceability of judgments in each other’s jurisdiction. The question of enforceability will likely be a significant factor in determining the popularity of the SICC. It is therefore no surprise that Singapore is considering reciprocal agreements with other ASEAN nations and becoming a signatory to international conventions which would allow for greater enforceability overseas. However, for the time being, the enforceability overseas of Singapore judgments is more limited than arbitral awards issued in Singapore which are enforceable in 149 countries worldwide pursuant to the New York Convention.
By Adam Ferguson and Charlie Markillie of Eversheds LLP
Introduction On Monday 9 February Qualcomm Inc., the world’s largest smartphone chipmaker, agreed to pay a fine of 6.09 billion RMB ($975m) to end an investigation by the National Development and Reform Commission (the “NDRC”) into anti-competitive patent licensing practices. The fine is the largest antitrust fine ever imposed by the Chinese authorities.
Specifically, Qualcomm agreed to separate its existing Chinese patent licences for 3G and 4G networks from its other patent licences and offer a list of patent options in the course of its future negotiations. It has also agreed to now charge royalties based on 65% of the net sales price of devices instead of the entire price.
The investigation
The settlement with Qualcomm comes off the back of a record year for the NDRC in terms of infringement decisions and fines. The Qualcomm fine exceeds the total fines of approximately $288 million levied in 2014 and the NDRC is promising to further strengthen antitrust enforcement in 2015. It is therefore clear that the NDRC is continuing to gear up and businesses need to take compliance with the Anti-Monopoly Law (the “AML”) very seriously. The case involved complex issues around patent licencing practices and alleged abuses of dominance by Qualcomm, demonstrating that the NDRC is prepared to tackle complex cases. Further, the combination of both behavioural remedies and fines demonstrates that the NDRC is becoming increasingly sophisticated in the way that it deals with antitrust enforcement. The NDRC has also dealt with the case very efficiently, having reached settlement within 16 months of commencing the investigation. The NDRC’s acceptance of the commitments offered by Qualcomm, plus an agreement from the company to pay what appears to be a reduced fine, indicates an increasing degree of flexibility on the part of the Chinese authorities. In addition, the willingness to impose what amounts to a price-cap on Qualcomm’s royalties is novel among global antitrust enforcement agencies and an indication of the NDRC’s willingness to consider a wide variety of possible remedies in antitrust cases.
The settlement comes nearly 16 months after the NDRC (one of three national antitrust enforcement agencies in China) commenced its investigation into Qualcomm’s practices with a series of dawn raid investigations at Qualcomm’s premises. The NDRC’s investigation focussed on suspected abuse of dominance by Qualcomm in its negotiations with Chinese mobile phone manufacturers and service providers for access to Qualcomm’s patents, which are necessary for the construction of China’s 4G network. Settlement The NDRC has concluded that Qualcomm held a dominant position in the market for certain standard essential patents (“SEPs”) for 3G and 4G wireless communication technology as well as for baseband chips. Qualcomm abused its dominance by, among other things, charging unfairly high royalty fees and bundling non-SEPs with SEPs. The fine imposed by the NDRC on Qualcomm is the largest fine ever imposed by a Chinese regulator on a foreign company and represents 8% of Qualcomm’s turnover in China in 2013. We understand the fine was reduced to reflect co-operation offered by Qualcomm during the investigation. In addition, the NDRC accepted commitments from Qualcomm to alter the way it operates in China to ensure that domestic phone operators pay less for using Qualcomm chips and that a greater choice of patents and chips are available to them.
14
Comment
FAA PROPOSES LIFTING BAN ON COMMERCIAL DRONE OPERATIONS By Brent Connor and Jason D. Tutrone of Thompson Hine LLP
On February 15, 2015, the Federal Aviation Administration released its long-awaited proposed rules for commercial operations of small unmanned aircraft systems (sUAS). The proposed rules will eliminate the existing prohibition against commercial use of small unmanned aircraft, which the FAA defines as weighing less than 55 pounds. Commercial operations that could occur under the rules include aerial photography (of real estate, for movies, etc.), antenna inspection, bridge inspection, crop monitoring and inspection, crop treatment, education, pipeline inspection, power line inspection, stack inspection, research and development, search and rescue, and wildlife nesting area evaluations. Key aspects of the proposed rules include: - The aircraft must weigh less than 55 pounds. - An airworthiness certificate is unnecessary for the aircraft. - The aircraft must be registered and display its registration number. - The aircraft must remain close enough for the operator to be capable of seeing it unaided. - The aircraft may not be operated over any persons who are not directly involved with the operation, unless they are protected by a covering. - Operations must occur during daylight. - The maximum airspeed cannot exceed 100 miles per hour (87 knots). - The maximum altitude cannot exceed 500 feet above ground level. - The minimum weather visibility at the control station cannot be less than three miles, and the aircraft must be at least 500 feet below and 2,000 feet horizontally away
from a cloud. - Operations in Class B, C, D and E airspace are permitted with the required permission from air traffic control (ATC). - Operations in Class G airspace are permitted without ATC permission. - Preflight inspection of the sUAS is required. - The pilot must be at least 17 years old and licensed by the FAA to operate sUAS. Pilots must pass a recurrent aeronautical knowledge test every 24 months. - Visual observers are optional. On the whole, industry seems pleased with the proposed regulations, which set forth what many are calling reasonable restrictions. Others are disappointed, however, that the proposed regulations do not go far enough by allowing unfettered commercial operations in urban areas beyond the operator’s visual line of sight. The public comment period will provide stakeholders with an opportunity to fully voice their opinions and suggest changes for the final rules. Given the broad interest in and novelty of the proposed rules, finalizing the rules may take the FAA a significant period, which some estimate will be two to three years. Until the FAA finalizes the rules, it is the status quo – meaning that commercial operations remain prohibited unless the operator obtains from the FAA a special airworthiness certificate or a Section 333 exemption, which still only allows restricted commercial operations. Comments on the proposed rules will be due 60 days after they are officially noticed and published in the Federal Register, which is expected later this week.
www.ic0nstrux.com
QUALCOMM AGREES $975 MILLION FINE AND BEHAVIOURAL REMEDIES IN RETURN FOR SETTLEMENT OF CHINESE ANTITRUST INVESTIGATION
LEGAL TERMS
/-Courtesy of Ployprathip International Law Office (PILO)
NYSE PROPOSES TO CLARIFY PROXY SOLICITATION MECHANICS
REPLEVIN TRESPASS TROVER
By Jill Radloff of Stinson Leonard Street LLP
Example 1: The plaintiff’s attorney pursued replevin as a remedy since the property in question was a rare family heirloom, which was still in the possession of the defendant.
We continue to consider ways in which possession and even legal title to property can be lost and gained. In this issue, we will consider the terms: “replevin, trespass, and trover” in relation to personal property. Replevin (noun). It refers to an action to recover chattel (i.e., personal property) for which an owner has been wrongly deprived. In some jurisdictions, the action can be through selfhelp by the property owner, or perhaps more commonly through court order. The objective of replevin is to have the owner recover the actual property in question. Trespass (noun). Broadly speaking, it refers to any unlawful act of encroachment or intrusion against a person or his or her property. More narrowly speaking, under the common law, it refers to an action to recover money damages from the party that dispossess a property owner of his or her chattel. Trover (noun). It refers to an action to recover the value of chattel along with damages for dispossession from the party liable for conversion (i.e., wrongful possession depriving the rightful owner of possession and usage) of personal property. A plaintiff-property owner can choose the appropriate remedy depending on the circumstances of his or her matter. For example, where the property is unique or has high sentimental value, then Replevin (an action to recover the property) may be appropriate. If the property owner has been deprived of the economic benefits of his property, then an action for Trespass may be appropriate. In many jurisdictions, Replevin can be combined with Trespass thereby allowing a plaintiff-owner to both recover his or her property and to sue for damages for dispossession of the property during the interim period. Where the property is effectively destroyed or else the plaintiff-owner is permanently deprived of his right to possession and usage, then Trover may be appropriate. The difference between Trespass and Trover seems to be one of degree. Trespass involves recovery of money damages for (temporarily) depriving a property owner of his or her personal property. Trover involves recovery of money damages for such dispossession, as well as recovery of the value of the personal property in question. In other words, with Trover a plaintiff-owner is not just suing for damages for dispossession of property, but also for conversion of the personal property. Conversion can involve a large-scale or permanent trespass so as to effectively deprive the owner of his or her personal property indefinitely. An important difference between Replevin and Trespass on the one hand and Trover on the other hand involves the treatment of the underlying personal property. In the cases of Replevin and Trespass, legal title to the personal property remains with the plaintiff-owner. In the case of Trover, if the plaintiff-power chooses this remedy, title to the personal property passes to the defendant.
Example 2: One should ascertain the laws of one’s jurisdiction to see whether it allows for replevin by means of self-help, and what that self-help entails. In some jurisdictions, replevin is possible only with the assistance of the police. In other jurisdictions, it is possible only with police help and after obtaining the appropriate court order. Example 3: Most people use the term trespass to refer to the unlawful intrusion on the real property of another person, but the term has broader meaning. Example 4: The plaintiff sued the defendant under a theory of trespass since the defendant’s actions deprived the plaintiff of the economic benefits of his farm tractor. The plaintiff was also elected to sue under a theory of replevin to reacquire his tractor. Example 5: The plaintiff sued the defendant under a theory of trover since the defendant deprived the plaintiff of the possession and usage of his property on a permanent basis. Example 6: The court ruled that since the plaintiff elected the remedy of trover, that title of the property passed to the defendant. The defendant cannot now pursue the remedy of replevin since the defendant has paid the value of chattel along with damages for dispossession to the plaintiff. In other words, the plaintiff cannot pursue or enjoy a second remedy after one remedy has been satisfied. Example 7: The plaintiff-company should have sued the defendant under a theory of trover instead of trespass due to the conversion of its personal property. Please note that the contents and views expressed in this issue are strictly those of the authors, and do not necessarily represent the views of the Lawyers Council of Thailand, its leadership or its members.
The NYSE proposes to amend Section 402.05 of the Listed Company Manual to clarify that listed companies soliciting proxy material through brokers or other entities must comply with SEC Rule 14a-13. Rule 14a-13 mandates that listed companies must inquire of the record holder whether other persons are beneficial owners of the subject shares and, if so, how many copies of the relevant proxy or other soliciting materials must be provided to supply such materials to the beneficial owners. SEC Rule 14a-13 further sets forth the timeline on which inquiry of the record holder must be made. The Listed Company Manual, in addition to requiring compliance with Rule 14a-13, also separately states that a listed company’s inquiry of brokers must be made not less than 10 days in advance of a record date. The NYSE imposed this absolute 10 day minimum in recognition of the fact that the provisions of SEC Rule 14a-13 allow, in certain limited circumstances, for a listed company to inquire of brokers less than 20 days in advance of a record date for a special meeting (but not for an annual shareholders’ meeting). The NYSE believes that the 10-day period presently described in Section 402.05 is in conflict with the requirements of Rule 14a-13. For example, although the NYSE makes specific reference to the SEC’s 20-day advance inquiry rule (i.e., SEC Rule 14a-13), the NYSE believes Section 402.05 could be read as requiring only a 10-day advance inquiry. The NYSE proposes to revise Section 402.05 of the Listed Company Manual to clarify that listed companies soliciting proxy material through brokers or other entities must comply with the provisions of SEC Rule 14a-13 and that the NYSE does not impose any additional requirements with respect to the relevant inquiry of brokers. Further, the NYSE proposes to delete the requirement in Section 402.05 of the Listed Company Manual that listed companies immediately advise the NYSE if it becomes impossible for them to make an inquiry of brokers at least ten days before a record date. Given that listed companies are required to comply with SEC Rule 14a-13 and the NYSE has no authority to waive compliance with such rule, the NYSE believes that such notice requirement is unnecessary.
15
LAWNEWS29 MARCH 1-15, 2015
#STEAMPUNKASSEMBLAGES I would like to present you with a Lithuanian artist Arturas Tamasauskas who creates steampunk assemblages from metal parts. The artist crafts various metal animals, birds, and machines, like submarines. Tamasauskas says that his most favorite animals are birds, because they are “very strange mechanisms”. It looks like he can see mechanisms everywhere. He even created a steampunk radio, which is at the bottom of this post. I don’t know how about you, but for me the Green Chameleon is a masterpiece! (www.paveikslai.lt) Marius Virbickas
ลอว์นิวส์
สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2280-1567 E-mail : lawnewslct@gmail.com Website : www.lawnewslct.blogspot.com
ชำ�ระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ พ.211/2547 ปณ.ราชดำ�เนิน เหตุขัดข้องที่นำ�จ่ายผู้รับไม่ได้ 1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน 2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้า 3. ไม่ยอมรับ 4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้า 5. ไม่มารับภายในกำ�หนด 6. เลิกกิจการ 7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่ 8. อื่นๆ ลงชื่อ.........................................