รวบรวม บันทึก ศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรม สนับสนุนการอนุรักษ์เพื่อพัฒนา เผยแพร่เพื่อการศึกษาของ สาธารณชน
กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๙
Lek-Prapai Viriyapant Foundation
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๑๑๑
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ จดหมายข่าวรายสามเดือน
น เปิด ประเด็ โดย ศรีศักร วัลลิโภดม
สารบัญ
นิวกรุงเทพฯ นิวรัตนโกสินทร์ : การพัฒนาบ้านเมืองที่ ไม่เห็นมนุษย์
เปิดประเด็น นิวกรุงเทพฯ นิวรัตนโกสินทร์ : การพัฒนาบ้านเมืองที่ไม่เห็นมนุษย์ ศรีศักร วัลลิโภดม หน้า ๑ ความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม “มิตรคาม” ย่านวัดเขมรและวัดญวนสามเสน ชุมชนริมแม่น�้ำเจ้าพระยาที่ต้องถูกไล่รื้อ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, จารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์ เรื่อง ภูวนาท เช้าวรรณโณ, สุรชาญ อุ่มล�ำยอง ภาพ หน้า ๖ พระนครบันทึก “ขนมเต่า” ในเทศกาลหยวนเซียว ที่ศาลเจ้าโจวซือกง ตลาดน้อย อภิญญา นนท์นาท หน้า ๑๖
ตรอกพระยาเพชรปาณีฯ ชุมชนป้อมมหากาฬ
ข้าพเจ้าพูดตอกย�้ำมาตลอดเวลากว่า ๓๐ ปี ที่ผ่านมาว่า การพัฒนา เศรษฐกิจสังคมทีม่ แี ผนพัฒนาแต่ครัง้ รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้นมา ตั้งแต่แผนแรกจนแผนปัจจุบันนั้น เป็นการพัฒนาจากข้างบนลงล่างในลักษณะ การบังคับให้มกี ารเปลีย่ นแปลง [Forced Change] แบบแผนพัฒนาของประเทศ ที่เป็นสังคมนิยม หาเป็นการพัฒนาที่เป็นการวางแผน [Planned Change] แบบประเทศเสรี ป ระชาธิ ป ไตยที่ ค� ำ นึ ง ถึ ง การมี ส ่ ว นร่ ว มในการตั ด สิ น ใจ ของคนในท้องถิ่นที่เป็นพื้นที่ในการพัฒนาไม่
คนย่านเก่า ชีวิตที่วัดโพธิ์และตลาดท่าเตียนของ “จุล อรุณวิจิตรเกษม” วลัยลักษณ์ ทรงศิริ หน้า ๑๙ กิจกรรม “อบรมสาธารณะ” มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ พระนคร ๑๐๑ หน้า ๒๔
ริมคลองเมือง คลองโอ่งอ่าง-บางล�ำพู ที่ยังพบว่าเป็นชุมชนชานพระนครแห่ง สุดท้ายของกรุงเทพฯ
กล่าวคือการพัฒนาเปลีย่ นแปลงใดๆ ทางเศรษฐกิจและสังคม นัน้ ต้องได้ “ดุลยภาพต่อรองกันระหว่างการพัฒนาจากข้างบนกับการ พัฒนาตนเองจากคนในพื้นที่ซึ่งอยู่ข้างล่าง” เพราะการพัฒนาคือ การเปลี่ยนแปลงทั้งคนในพื้นที่และพื้นที่ จ�ำเป็นต้องให้คนในพื้นที่มี ส่วนร่วมในการตัดสินใจ [Decision Making] ด้วย แต่ที่ผ่านมา การพัฒนาในสังคมไทยนั้นเป็นการพัฒนา จากข้ า งบนที่ ก ารตั ด สิ น ใจมาจากคนข้ า งบนและคนข้ า งล่ า งโดย ไม่เห็น “คนใน” ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ตรงข้ามกับพระราชด�ำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ว่า “เข้าถึง เข้าใจ และพัฒนา” นั่นคือ การเข้าไม่ถึงคนและไม่เข้าใจคนในพื้นที่ซึ่งจะได้รับการเปลี่ยนแปลง นั่นเอง การพัฒนาแบบจากบนลงล่างที่ผ่านมาร่วมกึ่งศตวรรษ แลไม่เห็นหัวคนในพื้นที่ดังกล่าวนี้ ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็น “การพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม” อย่างทีเ่ รียกกัน หากเป็น “การพัฒนาเศรษฐกิจ และการเมือง” มากกว่า และทุกครัง้ ทีผ่ า่ นมาทุกหนแห่งในประเทศ คือ การสร้างนิเวศ ทางเศรษฐกิจและการเมืองทับลงไปยังนิเวศทางสังคมวัฒนธรรม ของคนในพื้นที่ของท้องถิ่นตลอดเวลา ท�ำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงล่มสลายของสภาพแวดล้อม ทางเศรษฐกิจในสังคมเกษตรกรรมและความเป็น มนุษ ย์ของคน ในท้ อ งถิ่ น ที่ อ ยู ่ กั น มาเป็ น ครอบครั ว เครื อ ญาติ และชุ ม ชนทั้ ง ในระดับบ้านและเมือง ดังเห็นได้ว่า ก่อนยุคโลกาภิวัตน์อันเป็น ยุคสงครามเย็น นั้น การพัฒนาเป็นเรื่องการเปลี่ยนประเทศและ สังคมให้เป็นสังคมอุตสาหกรรมที่มีการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อการเข้าถึงแหล่งทรัพยากร มีการสร้างถนน การชลประทาน เขื่อนพลังงานไฟฟ้าและแหล่งเมืองใหม่ พร้อมกับการเคลื่อนย้าย ถิน่ ฐานของคนในสังคมเกษตรกรรมทีอ่ ยูต่ ดิ ทีเ่ ป็นชุมชนบ้านและเมือง [Local Communities] มาหากินเป็นแผนงานและผู้ประกอบการใน เมือง เช่น แหล่งโรงงานอุตสาหกรรม แหล่งธุรกิจ และสถานทีบ่ ริการ การพัฒนาท�ำให้เกิดสถานที่ทางอุตสาหกรรมและบ้านเมือง
จดหมายข่าว
ใหม่ ในระยะแรกเริ่ม คือการพัฒนาแบบจากบนลงล่างโดยอ�ำนาจ ของรัฐ อย่างเช่น การสร้างเขื่อนพลังงานไฟฟ้า ถนนหนทางที่ท�ำให้ เกิดการเวนคืนจนเกิดความเดือดร้อนของคนในท้องถิน่ จนมีการออก มาเดินขบวนคัดค้านเรียกร้อง เป็นต้น โดยย่อก็คืออ�ำนาจที่ ใช้ในการเปลี่ยนแปลงพื้น พัฒนานั้น เป็นอ�ำนาจของรัฐเสียเป็นส่วนใหญ่ แต่ ม าถึ ง ยุ คโลกาภิ วั ต น์ แ ต่ ส มั ย รั ฐ บาลพลเอกชาติ ช าย ชุ ณ หะวั ณ เป็ น ต้ น มา เป็ น ยุ ค ของการลงทุ น ที่ ม าจากภายนอก ซึ่งอ�ำนาจในการเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาหาได้มาจากอ�ำนาจ รัฐอย่างแต่เดิมไม่ หากมาจากอ�ำนาจของทุนทั้งจากภายนอกและ ภายในที่เหนือทั้งตลาดและรัฐ สั ง คมไทยเปลี่ ย นเข้ า สู ่ สั ง คมอุ ต สาหกรรมอย่ า งเต็ ม รูปแบบ มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาเพื่อการลงทุนทั้งด้านอุตสาหกรรม หนักและอุตสาหกรรมเบา โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเบาที่หมายถึง “การท่ อ งเที่ ย ว” เป็ น สิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด รายได้ ป ระชาชาติ [GDP] แก่ประเทศชาติอย่างมากมาย เป็นผลให้เกิดการฟื้น ฟูบ้านเมือง เก่าแก่และท้องถิ่นทางประวัติศาสตร์ให้ขานรับการท่องเที่ยวไปเกือบ ทุกทั่วภูมิภาคในประเทศ เมื อ งประวั ติ ศ าสตร์ ห ลายเมื อ งถู ก ปรั บ ปรุ ง ใหม่ [Renovation] ที่ท�ำให้เกิดผังเมืองใหม่ ที่มีทั้งการอนุรักษ์และพัฒนา อย่ า งเช่ น อยุ ธ ยา เชี ย งใหม่ สุ โ ขทั ย ก� ำ แพงเพชร และ กรุงเทพฯ-ธนบุรี ซึ่งเป็นผลให้เกิดการกระทบกระเทือนกับผู้คน ในชุมชนบ้านเมืองที่อยู่กันมาช้านาน โดยเฉพาะกรุงเทพฯ และธนบุรี อันเป็นเมืองราชธานีที่ตั้ง อยู่สองฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยาที่มีผลกระทบเรื่อยมาไม่ต�่ำกว่า ๒๐ ปี ที่ ผ ่ า นมา เริ่ ม แต่ ก ารตั ด ถนนหนทางใหม่ ทั้ ง สองฝั ่ ง น�้ ำ สร้ า ง คอนโดมิเนียม บ้านจัดสรร โรงแรม ภัตตาคาร อาคารร้านค้า ขึ้ น มาตลอดเวลา เปลี่ ย นแปลงภู มิ ทั ศ น์ ท างวั ฒ นธรรม [Culture Landscape] ของบ้ า นเมื อ งสองฝั ่ ง น�้ ำ ที่ ใ ช้ แ ม่ น�้ ำ เจ้าพระยา และบรรดาคลองขุดที่เป็นคลองซอยสองฝั่งน�้ำที่มีมา แต่ พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ อย่ า งแทบไม่ แ ลเห็ น รากเหง้ า ทางประวัติศาสตร์ ทางสังคม และวัฒนธรรมของบ้านเมืองแต่สมัย อยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ กระแสการพัฒนาบ้านเมืองในทางเศรษฐกิจแบบจากบน ลงล่างเพื่อให้มีรายได้ทางเศรษฐกิจดีให้มี GDP มากๆ นั้นมีสองอย่าง ที่ส�ำคัญในขณะนี้คือ ๑) การเปิ ด พื้ น ที่ แ หล่ ง ทรั พ ยากรในแทบทุ ก ภู มิ ภ าค ของประเทศให้มีนักลงทุนจากภายในและภายนอกประเทศเข้ามา ลงทุนทางอุตสาหกรรม เกษตรอุตสาหกรรม สถานที่ประกอบธุรกิจ ย่ า นการค้ า ซู เ ปอร์ ม าร์ เ ก็ ต และแหล่ ง ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ที่ เ ป็ น คอนโดมิเนียม บ้านจัดสรร แหล่งรื่นรมย์บริการต่างๆ ในรูปของ “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ที่มีผลท�ำให้เกิดการเวนคืนที่ดินไล่รื้อชุมชน 2
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
บ้านเมืองแต่เดิมในสังคมเกษตรกรรม ท�ำให้คนในท้องถิน่ ทีอ่ ยูก่ นั อย่าง เป็นชุมชนมาช้านานต้องบ้านแตกสาแหรกขาด โยกย้ายถิ่นฐาน ไปเป็ น แรงงาน ประกอบอาชี พ ท� ำ มาหากิ น ในเมื อ งทั้ ง แหล่ ง อุตสาหกรรมหนักและแหล่งอุตสาหกรรมเบา ๒) การพั ฒ นาแหล่ ง เมื อ งประวั ติ ศ าสตร์ แ ละแหล่ ง ประวัติศาสตร์โบราณคดี ให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวจนเกิดตัณหา ความอยากของคนในท้องถิ่น อยากท�ำให้เป็น “แหล่งมรดกโลก” กันอย่างแพร่หลาย กระแสการพัฒนาบ้านเมืองเก่าให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวนี้ดูรุนแรงกว่าการพัฒนาในเรื่องอื่นๆ ขณะนี้ ท�ำให้ผู้คนชาวบ้านชาวเมืองที่อยู่กันอย่างเป็นชุมชนมา แต่เดิมได้รบั ความเดือดร้อน โดยทีท่ างรัฐและผูม้ อี ำ� นาจทางการเมือง เศรษฐกิจ หาเคยส�ำเหนียกไม่ เป็นการพัฒนาเปลี่ยนแปลงที่ไม่เคย เห็นคนและความเป็นมนุษ ย์ของคนที่เป็นไพร่บ้านพลเมืองอย่างที่ ไม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์ชาติ กรุ ง เทพมหานคร-ธนบุ รี และบ้ า นเมื อ งริ ม สองฝั ่ ง น�้ำเจ้าพระยาและล�ำคลองใหญ่น้อยที่เป็น บริวาร ของบ้านเมือง พืน้ ทีแ่ ละผูค้ นทีเ่ ป็นเป้าหมายของการพัฒนาจากข้างบนโดยอ�ำนาจรัฐ และอ�ำนาจทุน โดยเฉพาะภายในเกาะเมืองกรุงเทพฯ ที่เป็นราชธานี มี คู น�้ ำ ที่ เ ป็ น คลองเมื อ งและก� ำ แพงเมื อ งล้ อ มรอบ ได้ รั บ การ คุ ก คามเรื่ อ ยมาแต่ ค รั้ ง รั ฐ บาลประชาธิ ป ไตยเผด็ จ การรั ฐ สภา ของพรรคการเมืองหนึ่ง เสนอให้มีการพัฒนาถนนราชด�ำเนินให้เป็น แบบถนนชองเอลิเซ่ของฝรั่งเศสที่จะท�ำให้เกิดการรื้อไล่บ้านเรือน ราษฎรและร้านค้าทั้งสองฝั่งถนนให้เป็นแบบใหม่เพื่อการท่องเที่ยว ตามไปด้วยการทีจ่ ะขุดไชรอบก�ำแพงเมืองและถนนรอบเมือง ให้เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดิน รวมทั้งการท�ำรถไฟฟ้าผ่าเมืองไปยัง ฝั่งธนบุรี แต่ที่รุนแรงก็คือการท�ำทางรถไฟฟ้าและสถานีผ่านย่าน ไชน่าทาวน์ตามแนวถนนเยาวราช ราชวงศ์ไปข้ามฝั่งน�้ำเจ้าพระยา ในเขตคลองสานฝั ่ ง ธนบุ รี ที่ จ ะมี ผ ลให้ เ กิ ด ย่ า น ศู น ย์ ก ารค้ า การท่องเทีย่ วและสถานที่ใหม่ๆ เกิดขึน้ มาแทนทีบ่ า้ นช่องทีค่ นกรุงเทพฯ ย่ า นไชน่ า ทาวน์ เช่ น เวิ้ ง นครเขษม ฯลฯ ต้ อ งมี อั น บ้ า นแตก มาถึงทุกวันนี้ ในยุ ค รั ฐ บาล คสช. (คณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ ) ที่ข้าพเจ้าเห็นว่าดีกว่ารัฐบาลประชาธิป ไตยของนักธุรกิจการเมือง ที่ แ ล้ ว มา การคุ ก คามไล่ รื้ อ ชุ ม ชนบ้ า นเมื อ งของคนกรุ ง เทพฯ ก็ ห าได้ ล ดราไปไม่ ท� ำ นองตรงข้ า มกลั บ มากมายและซั บ ซ้ อ น กว่าแต่เดิม เพราะมีหน่วยงานของทางรัฐไม่ว่าจะเป็น กรุงเทพมหานคร กรมศิ ล ปากร องค์ ก รอิ ส ระ เช่ น ส� ำ นั ก งานทรั พ ย์ สิ น ส่ ว น พระมหากษัตริย์ พระคลังข้างที่ ราชพัสดุ กลุม่ ทุน และกลุม่ นักวิชาการ ไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมผังเมืองจากหลายมหาวิทยาลัย สร้าง โครงการต่างๆ เพื่อปรับปรุงกรุงเทพมหานครและบริเวณโดยรอบ
จดหมายข่าว
3
สภาพบ้านเรือนส่วนหนึ่งที่ยินยอมให้รื้อถอนออกไป
ในลักษณะคล้ายกันกับการสร้างใหม่ [Renovation] ด้วยเหตุผล นานาประการ โดยอ้างเหตุผลความชอบธรรมจากหลักฐานทาง กฎหมายบ้าง การอ้างการด�ำริเห็นชอบจากผูน้ ำ� รัฐบาลและบุคคลส�ำคัญ ในคณะ คสช. ด้วยการออกข่าวทางสื่อหลายๆ ทาง การด� ำ เนิ น การตามโครงการเหล่ า นี้ ทั้ ง ออกหน้ า และ เบือ้ งหลัง ถ้าส�ำเร็จลุลว่ งไปด้วยดีแล้ว คนไทยทัง้ ประเทศคงได้แลเห็น ความเป็นบ้านเมืองเก่าแก่ของกรุงเทพมหานคร สภาพแวดล้อม และ ทิวทัศน์ทางวัฒนธรรมสองฝั่งน�้ำเจ้าพระยาของกรุงรัตนโกสินทร์ใน ส่วนรวมกลายเป็น “นิวกรุงเทพฯ” และ “นิวรัตนโกสินทร์” อย่างแน่นอน และที่เลวร้ายอย่างสุดๆ ก็คือการถูกขับไล่ออกไปของ คนกรุงเทพฯ คนเก่าสองฝั่งน�้ำเจ้าพระยา และตามล�ำคลองหลาย แห่งที่เคยเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของชุมชนบ้านเมืองมากว่าสามร้อยปี ในความคิดเห็นของข้าพเจ้า การด�ำเนินการตามโครงการ ต่างๆ ของหน่วยงานของรัฐ องค์กรอิสระ กลุ่มทุน และกลุ่มนัก วิชาการผังเมืองและประวัติศาสตร์ที่จะบันดาลให้เกิด “นิวกรุงเทพฯ” และ“นิวรัตนโกสินทร์” นี้ เป็นการกระท�ำที่ ไม่ชอบธรรม เพราะ แลไม่เห็นคนกรุงเทพฯ คนรัตนโกสินทร์ที่อยู่กันอย่างเป็นชุมชนบ้าน เมืองมาไม่ต�่ำกว่า ๓๐๐ ปี ถ้ า หากส� ำ เร็ จ เป็ น ประสิ ท ธิ ผ ลจะกลายเป็ น ตราบาป ของประเทศชาติในเรื่องมนุษ ยธรรม เหตุที่การพัฒนาเปลี่ยนแปลงบ้านเมืองแต่ละครั้งนับแต่ อดีตมายังเป็นเช่นนี้ล้วนเป็นการพัฒนาและการด�ำเนินการที่แลไม่ เห็นความเป็นมนุษย์และผู้คนในพื้นที่ และก็เพราะการให้การศึกษา ทางประวั ติ ศ าสตร์ บ ้ า นเมื อ งที่ มี ม าแต่ อ ดี ต จนปั จ จุ บั น เป็ น ประวัติศาสตร์ของบ้านเมืองในเรื่องสถานที่ เศรษฐกิจ การเมือง และศิลปวัฒนธรรม ดังเห็นได้จากการอ้างเหตุผลหรือความคิด ของนั ก วิ ช าการโดยเฉพาะพวกสถาปั ต ยกรรมที่ มี แ ต่ โ ครงสร้ า ง รูปแบบ และวัตถุที่ดูสวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดหมดจด เหมือนกันกับการสร้างบ้านเมืองเนรมิต โดยหามีมติ ขิ องความสกปรก ไม่เรียบร้อยของบ้านเรือนและชุมชนที่คนทั่วไปหลายระดับชั้นอยู่ไม่ ตัวอย่างที่เป็นอุทาหรณ์ได้ในเรื่องนี้ก็คือ เรื่อง “ชุมชนป้อม
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
มหากาฬ” และชุมชนที่อยู่อาศัยในพื้น ที่ซึ่งทางกรุงเทพมหานคร ก�ำลังด�ำเนินการอย่างเด็ดขาดในการไล่รื้อให้หมดไป โดยอ้างอ�ำนาจ ความถูกต้องตามกฎหมายที่ล้วนสร้างขึ้นมาหลังการเกิดของชุมชน เป็นร้อยปี ในการศึ ก ษาของข้ า พเจ้ า เรื่ อ งผั ง เมื อ งกรุ ง เทพฯ เมื่อแรกสร้างในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นั้น กรุงเทพฯ มีลักษณะเป็นเกาะเมืองเหมือนพระนครศรีอยุธยา คื อ เป็ น เมื อ งที่ มี แ ม่ น�้ ำ ล� ำ คลองล้ อ มรอบ ใช้ แ ม่ น�้ ำ ล� ำ คลองเป็ น เส้นทางคมนาคมและการใช้นำ�้ ในการอุปโภคบริโภค มีลำ� น�ำ้ เจ้าพระยา เป็นคูเมืองด้านตะวันตก ทางด้านตะวันออกเป็นคูขุดให้เรือเดิน เข้าออกได้ ซึ่งข้าพเจ้าเรียกว่า “คลองเมือง” เพราะใหญ่กว่าการเป็น คูน�้ำธรรมดา การมีล�ำน�้ำล้อมรอบที่ ใช้ประโยชน์ในการคมนาคมขนส่ง ท�ำให้ทั้งกรุงศรีอยุธยาและกรุงเทพฯ มีพื้นที่ว่างริมตลิ่งเป็นที่เรือ แพมาจอดเทียบได้ เป็นที่มีผู้คนพลเมืองมาตั้งเรือนแพและบ้านเสา สูงอยู่อาศัย พื้นที่ล่างระหว่างริมตลิ่งน�้ำและก�ำแพงเมืองดังกล่าวนี้ เรียก “ชานก�ำแพงพระนคร” เป็นเช่นเดียวกันกับเมืองอยุธยาและ เมืองใหญ่ๆ อื่นๆ ในสมัยอยุธยา จากชานก�ำแพงมาถึงก�ำแพงเมืองที่มีทั้งประตูใหญ่ตาม ทิศส�ำคัญและประตูช่องกุดที่มีถึง ๑๖ ประตู เพื่อให้คนในเมือง ผ่านออกไปลงเรือขึ้นเรือริมฝั่งน�้ำได้สะดวกโดยไม่ต้องรอใช้การ เข้าออกทางประตูใหญ่ ก่อนการรื้อก�ำแพงเมืองพระนครเลียบคลอง เมืองด้านตะวันออกนี้ ภายในเมืองเป็นที่ตั้งของวัดและวังของเจ้านาย ที่ทรงกรมมาแต่สมัยรัชกาลที่ ๔-๕ บรรดาเจ้านายเหล่านี้ออกจาก วังมาทีล่ ำ� คลองเมืองเพือ่ การเดินทางโดยประตูใหญ่และประตูชอ่ งกุด กันทุกวัง และมีบรรดาข้าราชบริพารและประชาชนมาสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย เป็นชุมชนเรียงรายอยูต่ ามชานก�ำแพงเมืองทีม่ ที างเดินจากประตูเมือง และประตูช่องกุดตัดผ่านไปลงล�ำน�้ำ ชุมชนตามชานก�ำแพงเหล่านี้จึงมีทั้งบุคคลที่เป็นข้าราช บริพาร ขุ น นาง พวกเจ้า นาย และประชาชนจากที่ต่างๆ ที่ ม า ตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย ชุมชนเหล่านี้จึงเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติ แต่สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ เป็นต้นมา แต่ดูเป็น ปึกแผ่น ที่แลเห็นความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม ระหว่างกันมาแต่สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว อั น เป็ น สมั ย เวลาที่ มี ก ารสร้ า งพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ภู เ ขาทองขึ้ น ณ วัดสระเกศ ยิ่งกว่านั้นบริเวณชานก�ำแพงเมืองตรงป้อมมหากาฬเป็น ท่าจอดเรือส�ำหรับเจ้านายและคนภายในก�ำแพงเมืองผ่านประตูช่อง กุดมาขึ้นเรือจากคลองเมืองไปคลองมหานาค ที่ผ่านวัดสระเกศไป ทางตะวันออก ผ่านคลองเมืองผดุงกรุงเกษมที่ขุดครั้งรัชกาลที่ ๔ ออกไปติดต่อกับชุมชนตามสองฝั่งคลอง ผ่านปทุมวันไป ไปผสานกับ คลองแสนแสบ
จดหมายข่าว
ชุมชนป้อมมหากาฬเป็นชุมชนทีอ่ ยูต่ อ่ กันอย่างสืบเนือ่ งมาแต่ สมัยรัชกาลที่ ๓ ดังเห็นได้จากความสัมพันธ์ทางสังคมของคนรุ่นแรก ผ่านครอบครัวและตระกูลในรุน่ ลูกหลานลงมาอย่างสืบเนือ่ ง ความเป็น ปึกแผ่นแลเห็นได้ชดั จากบรรดาบ้านเรือนทีเ่ ป็นไม้ทงั้ ชัน้ เดียวและสอง ชัน้ ทีม่ ที งั้ บ้านไทยแบบเดิมหลังคาทรงหน้าจัว่ และเรือนรุน่ หลังหลังคา ทรงปั้นหยาและบังกะโลตามล�ำดับ ทุกครัวเรือนอยู่กันอย่างมีพื้นที่ มี ถนนติดต่อถึงกันด้วยการเป็นตรอก นับเป็นชุมชนชาวตรอกที่สะท้อน ให้เห็นความเป็นชุมชนแบบเดิมได้เป็นอย่างดี ภายในบริเวณชุมชนมีศาลเจ้าพ่อป้อมพระกาฬ อันเป็นแหล่ง พิธีกรรมในเรื่องความเชื่อของคนในชุมชน สิ่งที่โดดเด่นของการเป็น ชุมชนคนกรุงเทพฯ ที่เก่าแก่ของเมืองกรุงเทพมหานครก็คือ การที่ยัง รักษาต้นไม้ใหญ่ๆ แต่เดิมนานาชนิดทีค่ นสมัยก่อนนิยมปลูกไว้ได้ดกี ว่า พื้นที่ทุกแห่งภายในพระนครในทุกวันนี้ โดยย่อก็คอื เป็นพืน้ ทีส่ เี ขียวธรรมชาติทดี่ กี ว่าการจัดสวน การ จัดสภาพแวดล้อมเป็นสวนของนักวิชาการผังเมืองทีด่ แี ต่อวดอ้างกันอยู่ ในขณะนี้ ในการศึ ก ษาของข้ า พเจ้ า เห็ นว่ า ชุ ม ชนป้ อ มมหากาฬ คือชุมชนที่แท้จริงของคนกรุงเทพฯ ที่ควรแก่การอนุรักษ์ให้เป็น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งที่มีชีวิต เพื่อให้ทั้งคนไทยและคนต่างประเทศที่ เป็นนักท่องเที่ยวได้มาเห็นและได้เรียนรู้ แต่เป็นที่น่าเสียดายที่คุณค่าความส�ำคัญของป้อมมหากาฬ ในลักษณะที่เป็นหลักฐานป้อมปราการก�ำแพงเมืองประตูช่องกุดและ ชานก�ำแพงทีย่ งั เหลืออยูอ่ ย่างสมบูรณ์ทสี่ มั พันธ์กบั ชุมชนคนกรุงเทพฯ ที่ดีที่สุดกว่าแห่งอื่นๆ ของเมืองกรุงเทพฯ ในขณะนี้ หน่วยราชการที่ มีหน้าที่ดูแลและอนุรักษ์หาได้เข้าใจไม่ ท�ำนองตรงข้ามกลับพยายาม เปลี่ยนแปลงรื้อถอนแล้วท�ำสิ่งใหม่ๆ ขึ้นมาแทน หน่ วยงานราชการที่ ต ้ อ งรั บ ผิ ดชอบในเรื่ อ งนี้ อ ย่ า งหลี ก เลี่ยงไม่ได้ก็คือ กรมศิลปากร กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการ กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ฯ ความบกพร่ อ งของกรมศิ ล ปากรอยู ่ ที่ ค วาม คับแคบในการขึ้น ทะเบียนโบราณสถานที่เน้นเฉพาะต�ำแหน่งของ โบราณสถานแต่เพียงอย่างเดียว ไม่ค�ำนึงถึงพื้นที่สภาพแวดล้อมทาง ศิลปวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับตัวโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียน นั่นคือขึ้น ทะเบียนแต่ก�ำแพงเมืองและป้อมมหากาฬ โดยไม่ค�ำนึงถึงว่าป้อม ก�ำแพงเมือง ประตูช่องกุดล้วนสัมพันธ์กับพื้นที่ชานก�ำแพงเมืองที่มี ผู้คนสร้างที่อยู่อาศัยเป็นชุมชนมาแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ และปล่อยให้ ทางกรุงเทพมหานครมีสิทธิเป็นเจ้าของจะไปใช้ท�ำอะไรก็ได้ ความบกพร่องนี้เป็นเช่นเดียวกันกับการขึ้นทะเบียนก�ำแพง เมืองและประตูเมืองพระนครที่เหลืออยู่แห่งเดียวที่หน้าวัดบวรนิเวศ วิหาร เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดีที่ส�ำคัญเช่นเดียว กับป้อมมหากาฬและป้อมพระอาทิตย์ การขึ้นทะเบียนรักษาแต่เพียง ประตูเมืองและก�ำแพงเมืองโดยไม่คำ� นึงถึงพืน้ ทีช่ านก�ำแพงจากประตู เมืองไปยังฝั่งคลองเมือง (คลองบางล�ำพู) ท�ำให้ชานก�ำแพงตกเป็น 4
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ของเอกชน แต่พนื้ ทีช่ านก�ำแพงตรงประตูเมืองแห่งนีเ้ ผอิญไม่มชี มุ ชน อาศัยอยู่แต่ก่อน มีเพียงโรงเลื่อยโรงไม้ที่ขนถ่ายสิ่งของจากล�ำคลอง เท่านั้น จึงน�ำไปสร้างอาคารที่พักอาศัยและสถานที่ประกอบการค้า เป็นตึกขนาดใหญ่หลายชั้นคลุมพื้นที่ชานก�ำแพงเมืองอันเป็นพื้นที่ ทางประวัติศาสตร์ บดบังประตูเมืองและก�ำแพงเมืองที่เป็นทางลงสู่ ล�ำคลองเมืองจนเป็นทัศนอุจาดไป หน่วยงานอันดับสองที่มีความบกพร่องไม่ด้อยไปกว่ากรม ศิลปากรก็คือ คณะกรรมการกรุงรัตนโกสิน ทร์และเมืองเก่า ที่ ประกอบด้วยนักวิชาการสถาปัตยกรรมผังเมือง ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ของกรมศิลปากรที่ส่วนใหญ่เกษียณราชการ เป็นผู้มีความรู้และ เชีย่ วชาญทางโบราณคดี เป็นอาทิ ผูท้ เี่ ป็นกรรมการทีร่ บั ผิดชอบเหล่า นี้ไม่เคยส�ำเหนียกแม้แต่นอ้ ยในเรือ่ งการมีอยูข่ องชานก�ำแพงเมืองและ ไม่เคยน�ำเอามาพิจารณา เช่น ความส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ในฐานะ เป็นส่วนหนึ่งของผังเมืองกรุงเทพมหานคร แต่ทสี่ ำ� คัญอย่างสุดๆ ก็คอื คณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ฯ เหล่านีค้ ดิ ว่า ผังเมืองและความเป็นเมืองของกรุงเทพมหานครนัน้ มีแต่ สิง่ ทีเ่ ป็นพืน้ ทีแ่ ละสถานทีท่ างประวัตศิ าสตร์เท่านัน้ หาได้คดิ หรือไม่วา่ กรุงเทพมหานครก็เป็นเมืองที่มีมนุษย์อยู่ และรัชกาลที่ ๑ ไม่ได้ทรง สร้างเมืองให้เป็นเมืองเทพเมืองสวรรค์ที่ไม่มีคนอยู่ แต่ขอ้ บกพร่องในการพัฒนาบ้านเมืองทางประวัตศิ าสตร์ใดๆ ในขณะนีก้ ค็ งไม่ตอ้ งตกอยูก่ บั คณะกรรมการฯ ชุดนีแ้ ต่เพียงฝ่ายเดียว หากยังรวมไปถึงนักประวัติศาสตร์และวงการประวัติศาสตร์ของบ้าน เมือง ที่เวลาศึกษาประวัติศาสตร์ใดๆ ก็ตาม มักเป็นประวัติศาสตร์ การเมื อ ง เศรษฐกิ จ โบราณคดี และศิ ล ปวั ฒ นธรรมไปหมด ไม่มพี นื้ ทีว่ า่ งกับประวัตศิ าสตร์ทางสังคมทีเ่ ป็นเรือ่ งของผูค้ นในชุมชน และชีวิตวัฒนธรรมแต่อย่างใด โดยย่อก็คือขาดมิติทางสังคมที่เป็นเรื่องของคนในชุมชน และชีวิตวัฒนธรรมนั่นเอง บาปของการไม่มีมิติทางสังคมและชุมชนนี้จึงไปตกอยู่กับ บรรดาหน่วยงานและองค์กรที่ต้องการพัฒนาบ้านเมือง โดยเฉพาะ กรุงเทพมหานครที่จะต้องรับผิดชอบเป็นอันดับสามในที่นี้ กรุ ง เทพมหานครไม่ มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจในพื้ น ที่ ท าง ประวัติศาสตร์ เช่น ชานก�ำแพงพระนครและการมีอยู่ของชุมชน ประวัติศาสตร์อย่างเช่น ชุมชนป้อมมหากาฬในขณะนี้ จึงเป็นเหตุ ส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการไล่รื้อขึ้น ในความทรงจ�ำของข้าพเจ้าเรื่องเกี่ยวกับป้อมมหากาฬ นี้มีมานาน ครั้งแรกก็มีนายทุน ท�ำภัตตาคารอาหาร เสนอขอเช่า ใช้ป้อมมหากาฬให้เป็นสถานที่ขายอาหารและมีการแสดงมหรสพ แต่ถูกคัดค้านเลยยุติไป ต่อมาในสมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช เป็นผู้ว่า กรุงเทพมหานครก็เริ่มด้วยโครงการเวนคืนที่ดินและให้ชุมชนออก ไปเพื่อเอาพื้นที่ ให้เป็นสถานที่ออกก�ำลัง เต้นแอโรบิกของคนเมือง จึงเกิดการขัดแย้งขึน้ แต่กส็ ามารถชักน�ำให้คนส่วนใหญ่ในชุมชนยอม
จดหมายข่าว
5
ให้เวนคืนที่อยู่อาศัยและรับเงินค่าชดใช้ไปอยู่ในที่ใหม่ทางถนนฉลอง กรุง แถบเขตลาดกระบังที่ทางกรุงเทพมหานครจัดหาไว้ แต่ก็อยู่ไม่ ได้ก็เลยกลับมาที่ป้อมมหากาฬแบบเดิม ซึ่งทางกรุงเทพมหานครไม่ ยินยอมและด�ำเนินการจัดการในการไล่ท่ีต่อมาอย่างสืบเนื่องด้วย กระบวนการทางกฎหมาย และอ้างว่าสภาพของพืน้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยในขณะ นี้ไม่มีความเป็นชุมชน มีคนนอกจากที่อื่นที่ไม่มีสิทธิ์ในที่ดินและที่อยู่ เข้ามาอยู่เป็นส่วนมาก การกระท�ำของกรุงเทพมหานครได้รบั การขานรับจากบรรดา หน่วยงานทางกฎหมายและคนบางส่วนบางกลุม่ ของสังคม โดยเฉพาะ สือ่ มวลชน นักวิชาการผูอ้ อกแบบสถาปัตยกรรมและผังเมืองทีม่ สี ว่ นได้ เสียในการออกแบบสิง่ ก่อสร้างใหม่ๆ ของกรุงเทพมหานคร แต่บรรดา นักวิชาการในหลายๆ สถาบันและคนกรุงเทพฯ ทั่วไปรวมทั้งข้าพเจ้า ด้วยไม่เห็นด้วยกับการกระท�ำของกรุงเทพมหานครที่ไม่ชอบธรรมมา โดยตลอด กรุงเทพมหานครและหน่วยงานราชการทางกฎหมายและ ผู้สนับสนุนไม่เข้าใจค�ำว่า “ชุมชนและความเป็นชุมชน” จึงท�ำสิ่งที่ไม่ ถูกต้อง ตัง้ แต่เริม่ เวนคืนทีด่ นิ และชดใช้คา่ เสียหาย เพราะผิดกติกาใน การรือ้ ย้ายชุมชน ในประเทศทีเ่ ป็นประชาธิปไตยทัง้ หลายทีเ่ ป็นอารยะ นั้น การโยกย้ายชุมชนไม่ใช่การให้เงินชดใช้ค่าเสียหายเป็นรายทั่วไป ในลักษณะปัจเจก เช่นให้ไปอยู่ตามล�ำพังแต่อย่างเดียวในพื้นที่ซึ่งไม่ อาจเป็นชุมชนได้ จ�ำเป็นต้องหาพื้นที่จัดโครงสร้างให้เป็นชุมชนใหม่ ขึ้นมาทดแทน แล้วติดตามดูการตั้งถิ่นฐานใหม่ของคนที่ย้ายมาจาก ชุมชนเก่าจนกระทั่งความเป็นอยู่ที่เป็นชุมชนจะเกิดขึ้นมาคล้ายๆ กัน กับชุมชนเดิมก่อนที่จะย้ายมา แต่กรุงเทพมหานครไม่ท�ำในสิ่งที่เป็น กติกาแบบนีค้ นทีย่ า้ ยออกไปจึงกลับเข้ามาอยู่ในชุมชนเดิมและรวมตัว กันอย่างมีสำ� นึกร่วมทีแ่ สดงให้เห็นว่าชุมชนป้อมมหากาฬยังมีตวั ตนอยู่ หาได้เป็นไปตามที่กรุงเทพมหานครกล่าวไม่ สิ่งที่ดูเป็นตลกร้ายในส่วนตัวข้าพเจ้าก็คือ กรุงเทพมหานคร ยังดือ้ แพ่งอย่างสม�ำ่ เสมอว่า “คนทีอ่ ยูท่ ปี่ อ้ มมหากาฬในทุกวันนี้ไม่เป็น ชุมชน” เพราะมีคนขายที่ออกไปอยู่ที่อื่นและมีคนใหม่เข้ามา ผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามเข้าใจถึงความเป็นชุมชนนัน้ ย่อมทราบดีวา่ ความเป็นชุมชนไม่ได้อยู่ที่เพียงคนเก่าออกไปอยู่ที่อื่นคนใหม่มาแทน หากความเป็นชุมชนอยูท่ คี่ นทีอ่ ยู่ในพืน้ ทีเ่ ดียวกันมาหลายชัว่ คน อย่าง เช่นกลุม่ ก้อนทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสังคมเป็นครอบครัว เครือญาติและ เหล่าตระกูลทีม่ สี ำ� นึกร่วมในพืน้ ทีบ่ า้ นเกิดเดียวกันมาหลายชัว่ คน และ อยู่กินกันอย่างมีแบบแผน ประเพณีวัฒนธรรมร่วมกันอย่างสืบเนื่อง การมีคนย้ายออกย้ายเข้านั้นเป็นเรื่องธรรมดา เพราะคนที่ ยังอยู่อย่างสืบเนื่องทางวัฒนธรรมนั้นสามารถบูรณาการให้คนใหม่ คนนอกที่เข้ามาใหม่ ให้เป็นคนป้อมมหากาฬ หรือคนในชุมชนป้อม มหากาฬอันเดียวกันได้ ท้ายสุดการที่กรุงเทพมหานครยังยืนยันความ ถูกต้องทางกฎหมายนั้น คือไม่ถูกต้อง เพราะชุมชนป้อมมหากาฬ มีตัวตนอยู่เรื่อยมาแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ ก่อนการออกกฎหมายต่างๆ
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ที่กรุงเทพมหานครอ้างมาใช้นั้น ทั้งสิ้น ซึ่งในสายตาของคนที่เป็น วิญญูชนทั่วไป กรุงเทพมหานครก�ำลังใช้อ�ำนาจรัฐอย่างไม่ชอบธรรม แก่ผู้คนในชุมชนเก่าแก่ของกรุงเทพมหานคร การต่อสูค้ ดั ค้านการขับไล่ชมุ ชนของคนป้อมมหากาฬครัง้ นี้ คือ “การแสดงประชาขัดขืน” [Civil Disobedience] อย่างแท้จริง และเมื่ อ กรุ ง เทพมหานครใช้ อ� ำ นาจความถู ก ต้ อ งตาม กฎหมายอย่างเด็ดขาด ความรุนแรงอาจเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะ จะน�ำไปสู่การไล่รื้อขับไล่ชุมชนคนกรุงเทพฯ ในย่านต่างๆ ทั่วทั้ง พระนคร โดยกรุงเทพมหานครและองค์กรอื่นๆ รวมทั้งการหวัง ผลประโยชน์ ข องกลุ ่ ม ทุน ที่มีบรรดานัก วิชาการทั้ง ด้า นกฎหมาย ด้านผังเมือง ด้านเศรษฐกิจการท่องเทีย่ วรวมอยูด่ ว้ ย ดังเช่นโครงการ ขนาดใหญ่ที่ถ้าส�ำเร็จก็คือการท�ำลายทั้งชุมชนคนกรุงเทพฯ และภูมิ วัฒนธรรมบ้านเมืองสองฝัง่ แม่นำ�้ เจ้าพระยาของฝัง่ พระนครและธนบุรี
โครงการมหาวิบัติดังกล่าวนี้มีโครงการพัฒนาสร้างถนน ขนาบน�้ำสองฝั่งน�้ำเจ้าพระยาที่นอกจากจะท�ำให้แม่น�้ำเจ้าพระยา มีสภาพเป็นคลองชลประทานขนาดใหญ่ขนาบด้วยเขือ่ นคัน่ ถนนสองฝัง่ น�้ำที่ต้องไล่รื้อชุมชนที่เป็นบ้าน เป็นบาง มีวัดวาอารามเป็นศูนย์กลาง จนความเป็นกรุงเทพมหานครเมืองสองฝั่งน�้ำที่มีแม่น�้ำและล�ำคลอง เป็นเส้นชีวิตให้หมดไป แล้วมีการสร้างบ้านเมืองแบบใหม่ๆ ที่ ไม่มี ชุมชน ไม่มีมนุษย์ที่มีหัวนอนปลายเท้าจากที่ต่างๆ จากภายนอกทั้ง ในเมืองไทยและต่างชาติเข้ามาสิงสู่แทน เมื่ อนั้ นเราคงได้ เห็ น “นิ วกรุ ง เทพฯ นิวรัต นโกสิ น ทร์” เป็นแน่แท้ แต่สำ� หรับข้าพเจ้าผูเ้ ป็นคนกรุงเทพฯ โดยก�ำเนิดและตระกูล การพัฒนาบ้านเมืองแบบที่เป็นอยู่นี้คือ “It’s the doom of Bangkok” -- (มันเป็นชะตากรรมของกรุงเทพฯ)
ความ ทางสังคมและวัฒนธรรม หลาก โดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, จารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์ เรื่อง หลาย ภูวนาท เช้าวรรณโณ, สุรชาญ อุ่มล�ำยอง ภาพ
“มิตรคาม” ย่านวัดเขมรและวัดญวนสามเสน ชุมชนริมแม่น�้ำเจ้าพระยาที่ต้องถูกไล่รื้อ เมื่อมีการจ้างสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) และมหาวิทยาลัยขอนแก่นศึกษาและออกแบบทาง เลียบแม่นำ�้ เจ้าพระยา เจ้าของโครงการคือกรุงเทพมหานคร ระยะแรก ๑๔ กิโลเมตร และมีการเปิดเผยแผนงาน ๑๒ แผน ท�ำให้เห็นภาพ วาดว่าเดินตามข้อก�ำหนดของผูว้ า่ จ้าง [TOR] ทีก่ ำ� หนดให้สร้างเส้นทาง เลียบแม่น�้ำแบบตอกเสาเข็ม ซึ่งรับน�้ำหนักรถพยาบาลได้ ซึ่งแตกต่าง จากทีค่ ณะท�ำงานปฏิเสธแก่ชมุ ชนรอบแม่นำ�้ ตลอดมาว่าไม่ได้สร้างเส้น ทางใดๆ นอกจากเส้นทางล�ำลองเป็นทางเดินวิ่งและจักรยาน เป็นต้น การประชาสัมพันธ์ของโครงการฯ [Chao Phraya for All] ที่สร้างเป็นเพจทางเฟซบุ๊กอ้างว่า “ได้ออกแบบโครงการพัฒนาริม ฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยาให้รองรับอนาคตของการสืบสานวัฒนธรรม คุณภาพชีวิต สังคมชุมชน และเศรษฐกิจ โดยการท�ำกระบวนการ ประชุมกับชาวบ้านหลายชุมชนและหลายครั้ง อ้างอิงถึงการศึกษาทั้ง ด้านวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต และท�ำให้เห็นไปในทิศทางว่า ชาวบ้านยินดีกับการก่อสร้างในโครงการนี้” ส่วนการศึกษาผลกระทบด้านต่างๆ โดยเฉพาะ “ผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม” นั้นไม่มีปรากฏอย่างชัดเจน นอกจากการอ้างว่า จะมีการปลูกพืชพันธุ์ไม้ป่าชายเลนอยู่บ้าง ส่วนเรื่องการกัดเซาะ
จดหมายข่าว
ชายตลิ่ง การสร้างเขื่อนกั้นน�้ำชายตลิ่ง และผลกระทบจากน�้ำขึ้นลง จากเขื่ อ นหรื อ กรณี น�้ ำ ท่ ว มที่ ต ้ อ งปล่ อ ยน�้ ำ จากเขื่ อ นต้ น น�้ ำ ต่ า งๆ ที่สร้างผลกระทบอย่างมากในหลายปีที่ผ่านมานั้นไม่มีการกล่าวถึง แต่อย่างใด แม้จะมีขา่ วออกมาเรือ่ ยๆ ถึงกรณีถนนริมแม่นำ�้ ทีท่ รุดพังลง เขื่อนกั้นน�้ำคอนกรีตหลายแห่งดึงเอาสิ่งก่อสร้างริมน�้ำทรุดลงไปด้วย หรือแม้กระทั่งบ้านเรือนริมแม่น�้ำที่สร้างมาหลายสิบปีทรุดจมลง ริมตลิ่งในแม่น�้ำเจ้าพระยา ผลกระทบจากการสร้างเขื่อนสูงปิดกั้นน�้ำท่วมไม่ ให้เข้าสู่ ชุมชนริมน�ำ้ ได้เปลีย่ นรูปแบบชีวติ ริมแม่นำ�้ ไปจนหมดสิน้ ในหลายชุมชน ส�ำคัญตลอดเส้นทางแม่น�้ำเจ้าพระยายังเป็นเรื่องที่ไม่ได้มีการศึกษา ผลกระทบตั้งแต่น�้ำท่วมใหญ่เมื่อสามสี่ปีที่ผ่านมา ทั้งที่เป็นน�้ำท่วม จากฝีมือมนุษย์เสียเป็นส่วนใหญ่ จากการศึกษาเรื่อง “นิเวศวัฒนธรรม” มาอย่างยาวนาน ด้วยวิธีการท�ำความเข้าใจกับสภาพนิเวศตามธรรมชาติที่สัมพันธ์กับ ชีวิตของผู้คน สังคม ความเชื่ออย่างเป็นองค์รวม ท�ำให้กังวลถึงผล กระทบจากโครงการสร้างทางเลียบแม่น�้ำเจ้าพระยาที่จะมีผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อมและชีวิตวัฒนธรรมของผู้คนในสยามประเทศที่อยู่ อาศัยโดยใช้พื้นที่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาเป็นส�ำคัญมานานหลายร้อยปี 6
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
แผนที่แสดงพื้นที่ชุมชนต่างๆ บริเวณตรอกบ้านญวนสามเสน
และเป็นศูนย์กลางของการเมือง สังคม วัฒนธรรมที่ ไม่อาจท�ำให้ สูญเสียหรือเสียหายไปได้มากกว่านี้ จึงได้ลองส�ำรวจข้อมูลและเข้าไปพูดคุยไถ่ถามผูอ้ ยูอ่ าศัยทัง้ ที่บ้านญวนสามเสนและชาวมิตรคามที่อยู่อาศัยอยู่ริมน�้ำและเป็นกลุ่ม ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดส�ำหรับชุมชนริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ในโครงการฯ บริเวณใกล้ท่าวาสุกรีไปจนถึงแนวสะพานซังฮี้ เพื่อเป็น ตัวอย่างในการท�ำความเข้าใจสถานการณ์ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น จากการแข่งกันประชาสัมพันธ์ทั้งฝ่ายต้านและฝ่ายสร้าง อย่ า งที่ ไ ม่ เ คยเห็ น ปรากฏการณ์ แ บบนี้ ม าก่ อ น และการท� ำ ประชาสั ม พั น ธ์ ข องผู ้ ส ร้ า งงานศึ ก ษานั้ น ก็ ดู จ ะไม่ ส ามารถกล่ า ว ถึ ง แนวคิ ด ในการออกแบบได้ อ ย่ า งครบถ้ ว น ทั้ ง ใช้ เ วลาสั้ น ๆ ในการท� ำ ความเข้ า ใจและน� ำ เสนอเป็ น ข้ อ มู ล ท� ำ ให้ คิ ด ว่ า “นิเวศวัฒนธรรมของผูค้ นริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา” จะมาถึงจุดทีถ่ กู ท�ำลาย ไปอย่างไม่เข้าใจโดยเร่งรีบ และไม่สามารถเรียกคืนแม้จะตัดสินใจ ยกเลิกโครงการเพือ่ ฟืน้ ฟูแม่นำ�้ ในช่วงระยะเวลาอันสัน้ ต่อไปในอนาคต การออกแบบโดยไม่มขี อ้ มูลพร้อมทุกด้านจึงกลายเป็นปัญหา ของวิชาชีพที่ต้องใช้ในการศึกษางานเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นวิชาชีพใดๆ หากการออกแบบนั้นไม่เป็นไปตามที่คิดฝันเอาไว้แต่แรก ความรับผิด
จดหมายข่าว
7
ชอบเหล่านี้จ�ำเป็นต้องมีการกล่าวถึงและมีหน่วยงานหรือบุคคลเป็น ผู้รับผิดชอบร่วมกัน หากผลที่ออกมานั้นเป็นการท�ำให้เกิดผลกระทบ ต่อชีวติ วัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมมากกว่า “การสืบสานวัฒนธรรม คุณภาพชีวิต สังคมชุมชน และเศรษฐกิจ” ดังที่โฆษณากันไว้ ความเป็ น มาของชุ ม ชนริ ม แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาย่ า นวั ด เขมรและ วัดญวนสามเสน จากท่าน�ำ้ วัดสมอรายหรือวัดราชาธิวาสเรือ่ ยไปจนถึงบริเวณ ริมน�ำ้ วัดส้มเกลีย้ งหรือวัดราชผาติการามในปัจจุบนั มีชาวบ้านตัง้ บ้าน เรือนอยู่อาศัยริมน�้ำ ประกอบไปด้วยผู้คนหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ ภาษา และศาสนา ชุมชนแรกเริม่ คือกลุม่ บริเวณตรอกบ้านเขมร บ้าน ญวนสามเสนมีที่มาคือ มีครัวเขมรเข้ารีตเป็นคริสตังราว ๔๐๐-๕๐๐ คนที่ติดตามเจ้านายคือ “นักองเอง” ออกมาจากบ้านเมืองที่ก�ำลังมี ปัญหาศึกสงครามระหว่างกรุงเทพฯ และเวียดนาม พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าฯ ให้ตงั้ บ้านเรือนอยูร่ วมกับชาวบ้านเชือ้ สายโปรตุเกส จากกรุงศรีอยุธยาที่อพยพมาอยู่ ณ กรุงเทพฯ หลังจากเสียกรุงฯ ศูนย์กลางของชุมชนคือ “วัดคอนเซ็ปชัญ” กลุ่มของวัดคอนเซ็ปชัญ อยู่บริเวณนี้มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยการน�ำของบาทหลวง
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
บ้านเรือนของชาวบ้านชุมชนมิตรคาม ๒
เรือที่พักอาศัยล�ำสุดท้ายของชุมชนมิตรคาม
คุณยายวัย ๘๐ ปีที่อาศัยอยู่บนเรือภายในชุมชนมิตรคาม
ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพประมง
ชาวโปรตุ เ กส จากนั้ น หมู ่ บ ้ า นโปรตุ เ กสที่ นี่ จึ ง ถู ก เรี ย กอี ก ชื่ อ ว่ า “บ้านเขมร” และ “วัดคอนเซ็ปชัญ สามเสน” ก็ถูกเรียกว่า “วัดเขมร” ไปในภายหลัง ชุมชนบ้านเขมรริมแม่น�้ำเจ้าพระยาแถบวัดคอนเซ็ปชัญนี้ มีนายแก้วที่เป็นผู้ช�ำนาญการวิชาปืนใหญ่ เนื่องจากเคยได้เรียน กับชาวโปรตุเกส ต่อมาได้รับพระราชทานต�ำแหน่งเป็น ที่พระยา วิ เ ศษสงคราม รามภั ก ดี จางวางกรมทหารฝรั่ ง แม่ น ปื น ใหญ่ ในสมั ย รั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกฯ และ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ า ฯ ให้ นายแก้ ว เขมรนี้ เ ป็ น หั ว หน้ า ดู แ ล ชาวหมู ่ บ ้ า นคอนเซ็ ป ชั ญ ด้ ว ย ต่ อ มาบุ ต รหลานได้ รั บ ราชการ สืบต่อมาเป็นล�ำดับ เชื้อสายสกุลพระยาวิเศษสงครามภักดี (แก้ว) ปรากฏอยู่คือ “วิเศษรัตน์” และ “วงศ์ภักดี” ในระหว่างรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีศกึ สงครามรบกับญวนอยูห่ ลายปี มีชาวญวนเข้ารีตคริสตังแถบเมือง เจาดกขอเข้ามาอยู่ในเมืองสยาม จึงน�ำมาอยูเ่ หนือบริเวณบ้านเขมรอีก กลุม่ หนึง่ และแยกกลุม่ ชาวญวนทีน่ บั ถือพุทธศาสนาไปอยูต่ รงบริเวณ “วัดญวนสะพานขาว” ในปัจจุบัน ภายหลังผู้คนในบ้านเขมรมีมากขึ้นดังจากเหตุดังกล่าว
จดหมายข่าว
จึ ง กราบบั ง คมทู ล พระกรุ ณาขอพระราชทานขยายเขตหมู ่ บ ้ า น เขมรออกไปอีก ทิศเหนือจรดวัดราชผาติการาม (วัดส้มเกลี้ยง) ทิศใต้จรดวัดราชาธิวาส (วัดสมอราย) ทิศตะวันออกติดถนนสามเสน ทิศตะวันตกจรดแม่น�้ำเจ้าพระยา ส่วนพวกญวนขยับจากที่เดิมไป ตั้งบ้านเรือนทางด้านเหนือ และสร้าง “วัดนักบุญฟรังซิสเซเวียร์ สามเสน” เป็นศูนย์กลางของชุมชนอีกแห่งหนึ่งเมื่อราว พ.ศ. ๒๓๙๖ ซึ่งทั้งสองวัดที่เป็นคริสตังนี้เป็นที่พระราชทานทั้งสิ้น นอกเหนือจากกลุ่มชาวคริสต์แล้วยังมีกลุ่มคนจีนไหหล�ำที่ เดินเรือมาค้าขาย แล้วตั้งรกรากรอบๆ บริเวณศาลเจ้าแม่ทับทิมตรง สะพานซังฮี้ ซึ่งเป็นศาลเจ้าแม่ทับทิมที่เก่าแก่ที่สุด ส่วนชาวบ้านกลุ่มคนที่อยู่ริมแม่น�้ำที่เรียกกันในปัจจุบันว่า “มิตรคาม ๑ และ มิตรคาม ๒” รวมทั้งชุมชนซังฮี้หรือชุมชน ราชผาทับทิมเป็นกลุ่มคนที่นับถือพุทธศาสนาเป็นส่วนใหญ่พื้นเพเดิม เป็ น ชาวเรื อ ล่ อ งเรื อ มาจากทางพระนครศรี อ ยุ ธ ยา สุ พ รรณบุ รี สิงห์บุรี ชัยนาท เป็นต้น ชาวบ้ า นเหล่ า นี้ ป ระกอบอาชี พ ประดาน�้ ำ หาของเก่ า ท�ำประมงและค้าขายหลังจากการเดินเรือขึ้นล่องเริ่มหมดหน้าที่ ใน แม่น�้ำเจ้าพระยา เรือที่เคยใช้เดินเรือขนส่งสินค้า เช่น ข้าว ถ่าน 8
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ชุมชนราชผาทับทิม อดีตชาวเรือที่เข้ามาอยู่อาศัยใหม่ จึงต้องปลูกบ้านบนล�ำน�้ำ
ขนทราย หรือแม้แต่การใช้เรือลากซุงลงมาตามแม่น�้ำ เดิมทีชาว บ้านอาศัยอยู่บนเรือ ก่อนการสร้างบ้านที่เห็นเรียงรายอยู่ปัจจุบันนี้ ก็ ได้ลองค้นวิธีสร้างที่อยู่อาศัยในแบบต่างๆ ใช้วัสดุอุปกรณ์เท่าที่ สามารถหาได้ แต่หลังจากเรือจอดอยู่ในน�้ำเป็นเวลานาน ไม้เรือก็ ผุพังไป จึงเริ่มเปลี่ยนมาเป็นแพ ใช้ลูกบวบจากล�ำไม้ไผ่ช่วยพยุง น�้ำหนักแพ จนที่สุดจึงตัดสินใจยกบ้านขึ้น ปักเสา จนสร้างเป็นที่อยู่ อาศัยถาวร ลักษณะการจับจองทีอ่ ยูค่ อื หากเดิมเรือจอดอยูต่ รงไหนก็จะ สร้างบ้านอยูต่ รงนัน้ เรือใครจมก่อนก็ยกเป็นบ้านขึน้ ก่อน ส่วนไม้ทเี่ ป็น ส่วนประกอบหลักก็ใช้ไม้จากเรือล�ำเก่าที่ผุพัง และซื้อมาเพิ่มจากเศษ ไม้ตามโรงเลื่อยริมแม่น�้ำใกล้ๆ บางบ้านแทบจะไม่ต้องลงทุนซื้อวัสดุ เลยนอกจากตะปู จากการสอบถามชาวบ้านทีเ่ ป็นคริสตังในชุมชนริมน�ำ้ เล่าว่า แม้บรรพบุรษุ สามารถขึน้ ไปอยูบ่ นบกได้อย่างชอบธรรม เพราะเป็นคน คริสต์เช่นเดียวกับผูท้ อ่ี ยูร่ อบวัด แต่เลือกทีจ่ ะไม่ไปเพราะมีอาชีพหลัก คือการท�ำประมงจับปลา เดิมสภาพพืน้ ที่ในกรุงเทพฯ จะเป็นคลองน�ำ้ อยู่คู่กับชุมชน แต่เมื่อมีการพัฒนาเมืองเรื่อยมา ถมคลองให้เป็นถนน จนในที่สุดไม่มีคลองจึงต้องอพยพครอบครัวถอยร่นลงมาติดแม่น�้ำ
จดหมายข่าว
9
อย่างที่เห็นในปัจจุบัน ชุมชนมิตรคาม ๑ และ ๒ เป็นการแบ่งโดยการเข้ามาท�ำงาน ของ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน หรือ พอช. ในภายหลัง ส่วนชุมชน ข้างบนตลิ่งที่เป็นกลุ่มที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก แบ่งออกเป็น ๒ ชุมชน คือ “ชุมชนบ้านญวน” และ “ชุมชนบ้านเขมร” ซึ่งเป็นการแบ่งแยกกับชุมชนริมน�้ำอย่างชัดเจน ทั้งในส่วนของการ จัดการชุมชนที่เป็นหมู่บ้านขึ้นกับวัด กรณีโครงการสร้างทางเลียบริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา ชาวบ้าน ส่วนใหญ่ยงั ไม่เข้าใจกับโครงการรัฐทีจ่ ะเข้ามาจัดการพืน้ ที่ ไม่ได้ทราบ ข่าวอะไรเลย นอกจากจะเป็นเพียงข่าวลือที่คุยกันเองภายในชุมชน และไม่มีใครกล้าทีจ่ ะต่อต้านเพราะเกรงว่าจะได้รบั ผลกระทบทัง้ เรือ่ ง ที่อยู่อาศัยใหม่และเงินค่าชดเชยการรื้อถอน พร้อมกล่าวว่าหากสั่งให้ย้ายก็จ�ำเป็นต้องย้าย บ้านบางส่วน ในชุมชนมิตรคาม ๒ มีความยินดีที่จะย้ายเพราะบ้านเดิมทรุดโทรม ลงมาก ไม่สามารถซ่อมแซมหรือปลูกขึ้นมาใหม่เพราะไม่มีก�ำลังทุน ทรัพย์แต่อย่างใด แต่บางส่วนไม่อยากย้ายเพราะงานประจ�ำอยู่แถว นี้ บางคนก็ประกอบอาชีพในแม่น�้ำ เช่น ประมงจับปลา และคนด�ำน�้ำ แต่ส่วนของชาวบ้านที่ ไ ม่ได้รับผลกระทบกลับเห็นด้วย เพราะจะ
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
บ้านเรือนในหมู่บ้านวัดเขมรหรือวัดคอนเซ็ปชัญ
ศาลเจ้าแม่ทับทิม ตรงสะพานซังฮี้ (เป็นศาลเจ้าแม่ทับทิมที่เก่าแก่ที่สุด) ในประเทศ
วัดคอนเซ็ปชัญ
สามารถท�ำให้พนื้ ทีเ่ จริญขึน้ เดินทางเข้าออกสะดวกจากริมแม่นำ�้ ได้เลย ทาง พอช. ได้ลงพื้นที่ท�ำงานกับชุมชนริมแม่น�้ำที่มิตรคามนี้ มาสักระยะหนึง่ โดยการเตรียมแผนตัง้ แต่เริม่ มีการท�ำกลุม่ ออมทรัพย์ ในอดีต และจากบทความของ “สุวิทย์ กิขุนทด” เรื่อง “ปิดต�ำนาน เรือนแพและบ้านริมน�ำ้ ความเปลีย่ นแปลงทีม่ ากับโครงการพัฒนาริม ฝัง่ เจ้าพระยา” กล่าวถึงสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) หรือ พอช. ได้รับมอบหมายให้จัดท�ำแผนงานรองรับที่อยู่อาศัยของ ประชาชนที่ปลูกสร้างบ้านเรือนอยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา เช่นเดียวกับ แผนงานที่อยู่อาศัยของชาวริมคลองลาดพร้าวที่ได้รับผลกระทบจาก การสร้างเขื่อนระบายน�้ำป้องกันน�้ำท่วม โดยผู้อ�ำนวยการศูนย์ปฏิบัติ การพัฒนาชุมชนริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา กล่าวว่า พอช.ได้ลงส�ำรวจ พืน้ ทีส่ องฝัง่ แม่นำ�้ เจ้าพระยาจากสะพานพระราม ๗ ถึงสะพานพระปิน่ เกล้าพบว่ามีชมุ ชนทีป่ ลูกสร้างบ้านเรือนอยู่ในแม่นำ�้ เจ้าพระยาทัง้ หมด ๑๐ ชุมชน รวม ๒๘๕ ครัวเรือน ประชากรทั้งหมดประมาณ ๙๐๐ คน นอกจากนีย้ งั จัดประชุมชาวบ้านแต่ละชุมชนเพือ่ สร้างความเข้าใจ เรื่องการช่วยเหลือและการจัดหาที่อยู่อาศัยรองรับชาวบ้านที่จะได้รับ ผลกระทบ
จดหมายข่าว
ชุ ม ชนที่ ป ลู ก สร้ า งบ้ า นเรื อ นรุ ก ล�้ ำ ออกมาจากชายตลิ่ ง แม่น�้ำเจ้าพระยาและจะได้รับผลกระทบจากโครงการพัฒนาริมฝั่ง แม่น�้ำเจ้าพระยา จ�ำนวน ๑๐ ชุมชน ประกอบด้วย เขตบางซื่อ ชุมชนปากคลองบางเขนใหม่ ๑๒ ครัวเรือน ชุมชนวัดสร้อยทอง ๑๔ ครัวเรือน เขตบางพลัด ชุมชนวัดฉัตรแก้วจงกลณี ๑๐ ครัวเรือน เขตดุสติ ชุมชนเขียวไข่กา ๒๑ ครัวเรือน ชุมชนศรีคราม ๑๐ ครัวเรือน ชุมชนราชผาทับทิม ๓๒ ครัวเรือน ชุมชนศาลเจ้าแม่ทับทิม ๓๒ ครั ว เรื อ น ชุ ม ชนมิ ต รคาม ๑, ๖๖ ครั ว เรื อ น ชุ ม ชนมิ ต รคาม ๒, ๕๕ ครัวเรือน ชุมชนวัดเทวราชกุญชร ๓๓ ครัวเรือน อนึ่ง แต่ ชุ ม ชนนี้ ยื น ยั น ว่ า ชุ ม ชนของตนเดิ ม ปลู ก สร้ า งอยู ่ บ นพื้ น ดิ น ริมฝัง่ แม่นำ้� เจ้าพระยา โดยมีหนังสือการเช่าทีด่ นิ จากวัดเทวราชกุญชร เพื่อปลูกสร้างบ้านเป็นหลักฐานมานานหลายสิบปีแล้ว แต่เนื่องจาก พืน้ ทีร่ มิ ฝัง่ ถูกกระแสน�ำ้ กัดเซาะเป็นเวลานาน จึงท�ำให้บา้ นเรือนกลาย สภาพเป็นบ้านที่ปลูกสร้างในแม่น�้ำเจ้าพระยา พอช. ยังเสนอต่อไปอีกว่าจากการสอบถามความต้องการ ของชาวบ้านและการส�ำรวจข้อมูลทั้ง ๑๐ ชุมชนพบว่า มีแนวทาง ในการรองรับที่อยู่อาศัยอยู่ ๖ แนวทาง คือ ๑. ย้ายขึ้นแฟลตกรม การขนส่งทหารบก (ขส.ทบ.) ๒. ขอเช่าที่ดินวัดเพื่อสร้างบ้านใหม่ ๓. ขอเช่ า ที่ ดิ น รั ฐ ๔. ซื้ อ ที่ ดิ น เอกชน ๕. หาที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของ การเคหะแห่งชาติ เช่น บ้านเอื้ออาทร และ ๖. ขอรับเงินเยียวยา และหาที่อยู่อาศัยเอง ดังนัน้ จึงแสดงอย่างชัดเจนได้วา่ รัฐบาลโดย พอช. เป็นกลไก หลักที่จะรองรับปัญหาจากการย้ายชุมชนริมแม่น�้ำเจ้าพระยาทั้งที่ อยู่ในผืนน�้ำและที่อยู่ริมตลิ่งให้ออกไปนอกเส้นทางโครงการ และยัง ไม่เห็นรายละเอียดชัดเจนว่า เป็นชุมชนที่อยู่อาศัยมาตั้งแต่เมื่อใด หรือเป็นชุมชนดั้งเดิมเก่าแก่ที่ ได้รับผลกระทบจากนโยบายของรัฐ อย่างไม่มีทางเรียกร้องขัดขืนแต่อย่างใดหรือไม่ จะเห็นว่าไม่มีราย ละเอียดส�ำหรับการศึกษาผลกระทบทางภูมิวัฒนธรรมของชาวบ้าน ในพื้นที่ 10
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ค�ำสัมภาษณ์ของคนในชุมชน อ่านบทสัมภาษณ์จากการไปส�ำรวจพื้นที่ซึ่งได้รับผลกระทบ จากการก่อสร้างทางเลียบแม่นำ�้ เจ้าพระยานีส้ กั สองสามรายพอให้เห็น มิตขิ องผูค้ นยังไม่ได้ตรวจสอบหรือสอบถามพูดคุยวิเคราะห์ผลกระทบ ต่อประชาชนในกลุ่มต่างๆ ที่เกิดขึ้น ๑. ชัยยา ค่อยประเสริฐ, อยูอ่ าศัยในทีด่ นิ วัดญวน สามเสน, อายุ ๖๒ ปี ผมอยูต่ รงนีม้ าตัง้ แต่เกิด คุณตาผมเกิดทีน่ ี่ แต่คณ ุ พ่อ (ทวด) ท่านมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ ไปตีเขมรรบกับญวน แล้วจึงอพยพมา อยู่ที่หมู่บ้านคาทอลิก ส่วนบ้านญวนที่อยู่นางเลิ้งจะนับถือพุทธ จะให้ ไปอยู่ทางโน่น ส่วนญวนอีกกลุ่มหนึ่งอยู่ที่พระราม ๖ แต่ตอนนี้ย้าย ไปแล้ว หมู่บ้านนี้เป็นคริสตัง ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ โบสถ์นี้ (วัดนักบุญ ฟรังซิสเซเวียร์ สามเสน) เป็นหลังที่ ๓ อายุ ๑๗๕ ปี สมัยก่อนเป็นไม้ แล้วปรับปรุงใหม่ซึ่งอยู่ในพื้นที่เดิม หลังนี้สร้างได้ ๑๗๕ ปี เมื่อก่อน ผมประกอบอาชีพขายของช�ำ ตอนนี้ผมก็ขายของตอนเช้า บ้านเขมรจะเก่ากว่า เพราะย้ายมาก่อนประมาณ ๑๐๐ ปี ประมาณสมัยรัชกาลที่ ๑ โดยที่มีชาวโปรตุเกสพามา เสมือนเป็นคน ดูแล แต่เชื้อสายตรงนั้นได้หมดไปแล้ว เขาเรียก “วัดเขมร” แต่คน ทางโน้นจะไม่ยอมรับว่าตนเองเป็นคนเขมรจะบอกว่าเป็น “โปรตุเกส” แต่เราก็ยังเรียกทางนั้นว่า “วัดเขมร” สมัยก่อนตรงนี้คนประกอบอาชีพอยู่ ๓ อาชีพ คือ เลี้ยง หมู ท�ำประมง และต้มเหล้า ตรงนี้เมื่อผมเกิดยังเป็นน�้ำกร่อยอยู่ ยัง มีปลาตีนให้เห็น เลี้ยงหมูส�ำหรับไว้กินในครัวเรือน ต้มเหล้าก็เช่นกัน รุ่นผมไม่เห็นแล้วการต้มเหล้าจะเห็นเพียงแต่ท�ำเรือ ท�ำประมง และเลี้ยงหมู แต่กอ่ นมีซากอาคารโบราณเหลือแต่ประตู ตรงนีม้ คี ลองทีล่ ง แม่น�้ำ สามารถมองเห็นโบสถ์ คล้ายๆ เป็นประตูซุ้ม หายไปประมาณ ผมอายุ ๑๕ บ้านชาวริมแม่น�้ำเพิ่งสร้างขึ้นมาประมาณปี พ.ศ. ๒๕๓๘ คนข้างบนจะค้าขาย ส่วนที่อยู่ริมน�้ำท�ำประมง สมัยก่อนทุกคนจะมา ตั้งแผงขายของกันที่ริมถนน เหมือนเป็นตลาดของหมู่บ้าน บ้านผมเป็นที่วัด คือเป็น “โฉนดรวมของวัด” โดยมีพื้นที่ ๒๐๐ ไร่ สมัยก่อนเป็นที่ดินพระราชทานจะมีการแบ่งให้ผู้คนอยู่ ภาย หลังต้องขึ้นเป็นที่มีโฉนด วัดจึงไปท�ำเป็นโฉนดรวม สมัยก่อนไม่เสีย ค่าเช่าแต่มีการเสียภาษีที่ดิน วัดรับภาระไม่ไหวจึงมีการเก็บค่าเช่า ๒๐๐-๓๐๐ บาท แต่เริ่มเก็บภาษีโรงเรือนมาไม่ถึง ๒๐ ปี ก่อนที่เขาจะให้เสียภาษี คนที่นี่บางส่วนไม่อยากเสีย เพราะ ถือมาตัง้ แต่ปยู่ า่ ตายาย บางคนเขารูก้ ฎหมายก็ไปยืน่ เรือ่ งขอแบ่งทีด่ นิ เขาสามารถท�ำได้ แต่ของบ้านผมคุณยายเสียไปก็ต้องบริจาคพื้นที่คืน วัดในฐานะทีเ่ ป็นลูกหลานก็จำ� เป็นต้องเช่าวัด ซือ้ ทีว่ ดั กลับมา ทีต่ รงนัน้ ของยาย ผมซื้อในราคา ๔ แสนกว่าบาท กิจกรรมกับทางวัดเรามีการเข้าโบสถ์ปกติทวั่ ไปทุกวันอาทิตย์
จดหมายข่าว
11
ชัยยา ค่อยประเสริฐ อยู่อาศัยในที่ดินวัดญวน สามเสน
วันฉลองวัด เป็นกฎที่เราต้องยึดถือปฏิบัติมา เวลาเกิดหลังจากที่แจ้ง เกิดกับระบบราชการแล้วก็ตอ้ งมาแจ้งทีโ่ บสถ์เพือ่ ท�ำพิธรี บั ศีลล้างบาป มีใบรับรองว่าเป็นลูกวัดที่นี่ เด็กส่วนมากก็เรียนที่นี่ สมัยก่อนคนน้อย ทางวัดสร้างโรงเรียนขึ้นมาพวกผมเรียนฟรี แต่พอระยะหลัง ๓ คน เสีย ๒ คน ฟรีหนึ่งคน พวกเราไม่มีประธานชุมชน เราปิดตัวเองเพราะไม่ใช่ชุมชน เราเป็น “หมู่บ้านคาทอลิก” คนที่อยู่ในชุมชนส่วนมากอาศัยอยู่ไม่ถึง ๔๐ ปี ก่อนหน้านีม้ บี า้ งแต่ไม่มาก จากเคยมี ๑๐ หลังคาเรือนจนกลาย มาเป็นมีมากกว่า ๒๐๐ หลังคาเรือน คนทีอ่ ยูร่ มิ น�ำ้ ไม่ใช่คนกลุม่ เดียวกับเรา เพราะมาจากอยุธยา ล่องเรือมาแล้วมาขอทางวัดจอดเรือ มีมากขึ้นก็เริ่มมาปักหลักฐาน จากนั้นก็มีญาติพี่น้องตามกันมาเรื่อยๆ สมัยก่อนเขาไม่ให้จอด เมื่อ ก่อนอาณาเขตทัง้ ๒ วัดจะเป็นทีโ่ ล่งไปจนถึงท่าวาสุกรี เมือ่ ก่อนมีทา่ น�ำ้ ลงไป มีขี้เลน อยู่ตามริมน�้ำจึงได้เริ่มต้นสร้างสะพานตรงนั้น จากนั้น ก็มีชาวเรือมาจอดเรือแล้วมาขออยู่ จึงมาตั้งเสียบเรือขึ้นเทิน มีการ สร้างบ้านหลังจากนั้นเป็นต้นมา คนที่อยู่หลังเขื่อนหรือด้านล่างเขาจะรู้ว่าควรจะปลูกบ้าน ระดับนั้น เขาหากินกันทางน�้ำ เขาจะรู้ว่าควรสร้างบ้านแบบไหน น�้ำ จะไม่ทว่ ม ข้างล่างมีบา้ นเลขที่ มีไฟฟ้า น�ำ้ ประปาทุกอย่าง กลุม่ หลังๆ ที่มาส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธ สมั ย ก่ อ นคนเรื อ ที่ ม าท� ำ การค้ า หากเป็ น โรมั น คาทอลิ ก จะมาวัดประจ�ำ พูดง่ายๆ คือที่มาอยู่ตรงนี้ ได้เพราะเป็นคาทอลิก ทั้งจากอยุธยาและอ่างทอง จนกลายมาเป็นลูกวัดทางนี้โครงการ เลี ย บแม่ น�้ ำได้ ยิ น พู ด กั น มานานแล้ ว แต่ ง บประมาณการสร้ า ง อาจจะยั งไม่ มี ผมได้ ยิ น เรื่ อ งนี้ ม าประมาณ ๓ ปี แ ล้ ว แต่ เ ขตนี้ ไม่โดน จากบ้านตึกตรงนัน้ ออกไปอีกประมาณ ๒๐ เมตร จะไม่โดนรือ้ มีบ้านไม้เก่าอยู่ตรงนั้นสองหลังที่หลังคาเป็นสังกะสี เป็นบ้านของ คนค้ าไม้ ใ นสมั ย ก่ อ น เมื่ อ ก่ อ นมี โ รงเลื่ อ ยก็ จ ะมี ท ่ อ นซุ ง ลอยน�้ ำ มาส่งที่โรงเลื่อย โครงการนี้ถ้าพูดถึงความเจริญก็ดีนะ เขาเอา
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
โสภี แพรเอี่ยม ชุมชนมิตรคาม ๑
ยายฉลวย ละมุน ชุมชนมิตรคาม ๑
ท่ อ งเที่ ย วเข้ า มา เอาทั ศ นี ย ภาพที่ ดี ก็ อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ส่ ว นตั ว ผมก็ เอาเองหลังจากการขายถ่าน เวลาไปซื้อก็ล่องเรือไปแล้วเอาไม้ผูก คิ ด ว่ า ดี เ พราะบ้ า นอยู ่ ต รงนี้ จ ะได้ เ จริ ญ ขึ้ น เข้ า ออกได้ ห ลายทาง ข้าง ไปทีกซ็ ื้อทีละต้น สองต้น เพราะมีเงินน้อย คนอื่นๆ เขาท�ำงาน แต่ไม่เคยเข้าไปฟังการชี้แจงเพราะไม่ใช่ผู้ที่รับผลกระทบโดยตรง ก่อสร้างเขาก็ทำ� ขึน้ เองเรือ่ ยๆ นอกจากขายถ่ายก็ทำ� ประดาน�ำ้ หาของ เก่า มีช่างรับเหมาก่อสร้าง ที่มีมานานมากกว่า ๔๐ ปีแล้ว นักด�ำน�้ำ ๒. ยายฉลวย ละมุน, ชุมชนมิตรคาม ๑, อายุ ๘๑ ปี สมัยแรกๆ เขาได้ของดีๆ ได้เพชรได้ทองเยอะแยะ อยู่ที่นี่มา ๔๐ กว่าปีแล้ว ย้ายมาจากอ�ำเภอเสนา จังหวัด ทะเบียนบ้านนัน้ ได้ภายหลัง แต่ไม่มโี ฉนดทีด่ นิ เพราะทีต่ รงนี้ พระนครศรีอยุธยา สมัยแรกๆ มาโดยเรือยนต์ ๒ ชั้น เป็นเรือสาย เป็นของกรมเจ้าท่า ไม่เสียค่าเช่า เสียเพียงแต่คา่ น�ำ้ ค่าไฟ คล้ายๆ ว่าให้ ผักไห่-กรุงเทพฯ จอดทีท่ า่ เตียน มาตอนแรกก็มาขายถ่าน รับจากบาง อาศัยอยูเ่ พราะเป็นคนจน คนแถวนีเ้ ป็นคนต่างจังหวัดทัง้ นัน้ คนอยุธยา ลีแ่ ล้วก็ลอ่ งเรือมาเรือ่ ยๆ จะมีคนมารับไปขาย มาขายกับสามีหลังจาก คนสุพรรณบุรี คนสิงห์บุรี เวลาท�ำมาหากินก็ล่องมาเรื่อยๆ พอเจอที่ ที่แต่งงานแล้วตอนนั้นอายุ ๔๐ ปี เพราะมีพี่สาวขายถ่านอยู่ก่อนหน้า ตรงนีม้ คี นอยูเ่ ยอะก็ชวนกันปักหลักปักฐานกันทีน่ ี่ สมัยแรกๆ ไม่มแี บ่ง แล้ว พี่สาวเลิกขายและเซ้งกิจการไว้ให้ จึงมาขายต่อตั้งแต่นั้น เป็นมิตรคาม ๑ หรือ ๒ มาแยกช่วงหลังๆ เพราะมีการแบ่งชุมชน ที่ บริเวณนี้เป็นเรือทั้งนั้น เมื่อประมาณ ๔๐ ปีที่ผ่านมามีอยู่ นี่ถ้ามีน�้ำขึ้นสูงก็ท่วม ท่วมมากที่สุดก็ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕ ประมาณ ๒๐ กว่าล�ำ มีทั้งเรืออยู่อาศัยและเรือค้าขาย เวลาท�ำบุญ ข่าวเรื่องไล่ที่ เป็นข่าวที่พวกเราลือกันเอง แต่ถ้าไล่จริงๆ ก็ จะข้ามฝั่งไปท�ำบุญทางโน้น (วัดภคินีนาถฯ) แต่ทางนี้หากเพื่อนมี ต้องย้ายไปอยู่ที่อื่น เป็นความล�ำบากของเราที่ต้องโยกย้าย ตรงนี้เรา กิจกรรมที่เป็นคริสต์ก็ไปวัดคริสต์ที่นี่ คนเป็นคริสต์ที่มาจากอยุธยา ก็เหมือนเป็นพี่เป็นน้องกัน อาศัยกัน ถ้าย้ายก็ไม่รู้จะไปอยู่อย่างไร พอวันอาทิตย์เขาก็เข้าโบสถ์ เขานับถือกันต่อมาจากพ่อแม่ พอถ่ า นจากทางโน้ น ไม่ มี ก็ เ ริ่ ม เปลี่ ย นมาขายกั บ ข้ า ว ๓. โสภี แพรเอี่ยม ชุมชนมิตรคาม ๑, อายุ ๕๘ ปี เช่น ของสดต่างๆ ไปรับมาจากตลาดเทเวศร์ เวลาขายก็ขึ้นไปขายอยู่ ตอนนี้ ไม่ได้ประกอบอาชีพแล้ว เดิมที่บ้านประกอบอาชีพ บนฝั่งที่เป็นทางเดินลงมาสู่ชุมชน ตรงถนนวางแผงขายของกัน ก่อน ขายถ่าน คุณยายเป็นคนอ่างทอง เรือขนถ่านมาจากบางลี่ ศรีประจันต์ หน้านี้เมื่อก่อนเป็นคลองตรงประตูน�้ำ ปัจจุบันถมเป็นถนนหมดแล้ว แล้วจะมีคนมารับถ่านใส่เรือเล็กพายไปขายตามคลองต่างๆ ตอนฉัน สมัยแรกใช้กระดานไม้เป็นสะพานส�ำหรับคนเดินข้าม ไม่มรี ถวิง่ เพราะ อายุ ๒๐ กว่าๆ ที่บ้านก็เลิกขายถ่านทางเรือแล้วเพราะเริ่มมีรถเข้ามา ไม่สามารถวิ่งได้ เมื่ออาชีพขายถ่านหมดไปก็เริ่มเปลี่ยนจากเรือขึ้น ฉันเกิดที่โรงบาลวชิระ ตอนอายุ ๑๐ กว่าปีก็เริ่มขึ้นจากเรือมาอยู่เป็น มาเป็นบ้าน เมื่อประมาณอายุ ๖๐ กว่าๆ เริ่มปลูกบ้าน เดิมทีเป็น บ้านแล้ว คือเรือใครจมก่อนก็ขึ้นก่อน เรือสมัยก่อนต้องขึ้นคานเรือที่ แพใช้ลูกบวบ ทางโน้นเป็นเรือ แต่พื้นที่เล็กไม่พอ เพราะบ้านนี้อยู่กัน สามเสนซึ่งมีราคาแพง ถ้าไม่ขึ้นคานก็จะน�ำเรือมาจอดอยู่แถวนี้ พ่อ ตั้ง ๑๐ คน ส่วนมากก็ย้ายมาจากอยุธยา ฉันยังกลับไปที่อ�ำเภอ แม่ซื้อเรือล�ำหนึ่งเพื่อให้ลูกไปโรงเรียน เสนาอยู่เพราะมีพี่ชายอยู่ที่นั่น น้องชายก็ยังอยู่ที่ผักไห่ ก๋งฉันเป็นคนจีนไหหล�ำ แซ่โง้ว มาจากเมืองจีน สมัยก่อนเขา เรือล�ำอื่นๆ ที่มาก่อนฉันเยอะ ฉัน มาทีหลัง ตอนฉัน มา ไปดูงิ้วที่ศาลเจ้าตรงนี้ ก๋งฉันเมื่อก่อนท�ำอาชีพนับติ้วข้าว แต่ยายฉัน ฉันก็มาโดดเดี่ยวนอกจากจะมีพี่ที่มาอยู่ก่อนหน้านี้แล้ว ระยะหลัง เป็นคนไทยที่ขายถ่าน น้องชายของยายก็ล่องเรือข้าว มาจอดที่ศาล ก็รับพ่อแม่มาอยู่ด้วย เจ้าแม่ทับทิม แถวนี้จะมีเรือถ่านเป็นส่วนใหญ่ มีเรือทราย เรือข้าว สมัยก่อนจะไปซื้อเศษไม้ที่โรงเลื่อยจากบางโพมาสร้างบ้าน ขึ้นอยู่ที่ท่าวัดราชาฯ เรือเล็กๆ ก็จะมารับไปขายอีกทอดหนึ่ง
จดหมายข่าว
12
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ส่วนอาชีพนักประด�ำน�้ำก็มีมาพร้อมๆ กัน พวกประดาน�้ำจะ มาจากผักไห่ มาจอดเรืออยู่แถวนี้ โดยคุณพ่อที่วัดคาทอลิกจะสร้าง สะพานไม้ไว้ให้ ข้างบนก็จะมีการขายผักต่างๆ นอกจากนั้นก็มีเรือที่ เป็นคริสต์ที่มาไล่ๆ กัน บางบ้านก็มีอาชีพหาปลา ช่วงที่ฉันอายุ ๒๐ ปี คนขายถ่านเริ่มลดลงไปเพราะคนใช้ แก๊สกันเยอะและเรือก็มีน้อยไม่เหมือนเดิม คนจากเรือก็กระจายขึ้น บกไปประกอบอาชีพอื่นๆ อย่างฉันก็ไปขายของอยู่ข้างโรงเรียน ส่วน ลูกฉันท�ำงานประจ�ำกินเงินเดือน สมัยก่อนจอดเรือเรียงๆ เป็นตับๆ จนถึงวัดราชาฯ แถวนี้มีประมาณ ๑๐๐ กว่าหลังคาเรือน ตอนที่เป็น เรือก็มีจ�ำนวนประมาณเท่านี้ นอกจากขายถ่านแล้วยังมีเรือขายผัก ขายก๋วยเตี๋ยว ขายกาแฟ บ้าง ส่วนมากที่อยู่ที่นี่เป็นเครือญาติกัน ไม่ ได้มีงอกเงยมาก แถบนี้ก็มีทั้งคาทอลิกกับพุทธ ทราบมาว่ารัฐจะท�ำการอนุรกั ษ์อาชีพนักประดาน�ำ้ ไว้ เพราะ สมัยนี้ไม่มีที่อื่นแล้ว กลุ่มชุมชนมิตรคามไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นชุมชน แต่ เ ป็ น ชุ ม ชนราชผาทั บ ทิ ม ร่ ว มใจได้ ขึ้ น ทะเบี ย นถู ก กฎหมายกั บ กรุงเทพมหานคร แต่เราตั้งหัวหน้าชุมชนกันขึ้นมาด้วยตัวเอง เวลาท�ำบุญต้องข้ามฝั่งไปทางโน้น เช่น งานศพ เพราะฝั่งนี้ ไม่มีเมรุ เมื่อก่อนจะมีพระพายเรือมารับบาตร แต่ปัจจุบันพายไม่ไหว แล้วเพราะคลืน่ เยอะพายล�ำบาก การสร้างบ้านเมือ่ ก่อนต้องเอาไม้จาก เรือมาสร้าง น�ำแพมาพยุงเรือไว้สองข้างโดยใช้ลูกบวบเพราะขึ้นคาน ไม่ไหว ระยะหลังลูกคลืน่ แรงกระทบเรือก็แตกได้ เลยแยกชิน้ ส่วนเรือ กลายมาเป็นบ้าน ทางรัฐเขาก็มีการหาที่หาทางให้ มีการประชุมที่ศาลเจ้า ชาวบ้านก็รับรู้ เขาเรียกไปประชุมก็ไปฟัง ทาง สจล. บอกว่าจะมา พัฒนาตรงนี้แล้วจะไม่ไล่ชุมชนออก จริงๆ ก็ไม่เห็นด้วย แต่ถ้ารัฐ จะพัฒนาจริงๆ เราก็ไม่สามารถไปขัดขวางความเจริญได้ ไม่ทราบว่า ใครเป็นคนพูดรู้แต่ว่าเป็นอาจารย์จากที่ไหนสักแห่ง แต่หากจะไล่จริงๆ ก็ไม่รวู้ า่ ต้องไปอยูไ่ หน แล้วนักประดาน�ำ้ จะไปท� ำ มาหากิ น อะไร เพราะทุ ก วั น นี้ เ ขาก็ ยั ง ประกอบอาชี พ นี้ กันอยู่ เขาก็ด�ำไปทั่ว ทางสาทรก็ไป ไปเรือเล็กนี่แหละ มีประมาณ ๒๐ ครอบครัว ถือว่าเป็นอาชีพเก่าแก่ของชุมชนพอสมควร ๔. ผ่องศรี บัวศรี, ชุมชนมิตรคาม ๑, อายุ ๔๙ ปี ในชุมชนยังมีบางหลังที่ ไม่ได้ขึ้นกับชุมชน แต่เราก็ยังดูแล เขาเหมือนเดิม เพียงแต่ว่าเขาไม่มีสิทธิมีเสียงในการเลือกตั้งเท่านั้น ตรงข้างๆ บ้านไทยรัฐเป็นโรงไอติมเก่าทั่วไป มิตรคาม ๒ เขาไม่ได้ เข้าร่วมชุมชนมานานแล้ว แต่เขายังมีผู้น�ำของเขาอยู่คือ พี่อี๊ด พื้ น ที่ ที่ เป็ น เรือ ที่ขึ้น มาคือ จุดนี้ ชุมชนนี้ครอบครั วเก่ ามี ประมาณ ๗๐ หลังคาเรือน ถ้าจะนับครอบครัวขยายจะมีประมาณ ร้อยกว่า เท่าที่รู้จากผู้ใหญ่มิตรคาม ๒ มีอาชีพค้าถ่าน ขายข้าว ส่วนมิต รคาม ๑ ก็มีขายถ่าน ขายข้า ว หาปลา ขายของพวก ก๋วยเตี๋ยวเรือที่พายเรือ กาแฟ ส่วนประดาน�้ำเป็นอาชีพที่ต่อมาจาก
จดหมายข่าว
13
ผ่องศรี บัวศรี ชุมชนมิตรคาม ๑
อาชีพขายถ่าน คุณตาบ้านนัน้ บอกว่าทีเ่ ลิกขายถ่านเพราะว่าทางรัฐเริม่ เรียก ภาษีแพงขึ้น พวกภาษี ไม้ และมีการเริ่มควบคุมป่าไม้จึงท�ำให้ถ่าน ลดน้อยลง เขาเลยเลิกเพราะมันไม่คุ้มค่า ล่องแต่ละทีนี้ต้องจ้างเรือ ไปลากมาก บ้านเรานีแ่ รกเริม่ คุณตาท่านเป็นคนหาปลา เป็นกลุม่ คนญวน ที่อพยพมาจากอยุธยา กลุ่มญวนก็มีหลายกลุ่มญวนพุทธก็ไปอยู่ฝั่ง ของญวนพุทธส่วนญวนคริสต์ก็จะอยู่บริเวณนี้ สมัยรัชกาลที่ ๓ ท่าน พระราชทานที่ดินให้ แต่คนเขมรนั่นมาก่อน มีมาตั้งแต่สามร้อยกว่าปี แล้ว ตรงนี้เพียงแค่ ๑๘๐ ปี พระราชทานเป็นที่ของกลุ่มญวนอพยพ จริงๆ แล้วญวนเขาจะอยู่ข้างบนเป็นส่วนใหญ่มีแค่ไม่กี่หลังที่อยู่ตรงนี้ เมื่อก่อนเขาก็อยู่เรือกัน หาปลา อยู่ตั้งแต่ข้างบนมีบ้านไม่ กีห่ ลัง แม่บอกว่าสาเหตุที่ไม่เลือกขึน้ ไปอยูข่ า้ งบนเพราะว่าท�ำอาชีพหา ปลาต้องการอยู่เรือ ก็มีการถอยเรือลงมาเรื่อยๆ จนมาอยู่ริมน�้ำ เมื่อ ก่อนถนนเส้นสามเสน ๑๓ เป็นคลองยาวมาจนถึงหน้าโรงเรียนพาณิชย์ ต่อมาก็ถมมาเรื่อยๆ จนคุณตาต้องถอยเรือลงมาอยู่ตรงนี้จนไม่มีที่ จากเดิมที่เรือจะจอดตามซอกคลอง พอเขาถมเราจึงต้องถอยออกมา บางคนทีค่ า้ ถ่าน พอเลิกค้าไปแล้วก็จอดเรือปักหลักกันอยูท่ นี่ ี่ อย่างคุณตาบ้านนั้นพอขึ้นจากเรือแกก็มาอยู่เป็นแพ แต่เหมือนกับว่า เรือด่วนวิง่ แล้วคลืน่ แรงก็อยูไ่ ม่ได้ จนได้สร้างขึน้ มาเป็นบ้านเป็นเสาขึน้ มา ถ้าเป็นเรือตรงมิตรคาม ๒ จะมีคุณยายอยู่ล�ำหนึ่ง ล�ำสุดท้ายแล้ว การจะเข้าทางเข้ามิตรคามสองต้องปีนขึน้ เพราะเขาท�ำเขือ่ น ส่วนพื้นที่ที่จอดรถด้านนอกนั้นเป็นของวัดเขมร วัดคอนเซ็ปชัญ ชุมชนญวน เขมรข้างบน เท่าที่ทราบบาทหลวงท่านไม่ให้ เรียกว่าชุมชน ให้เรียกเป็นหมู่บ้าน เรื่องของพื้นที่ถ้าจะเปรียบเทียบ พื้นที่กับโครงเดิมทุกอย่างยังเหมือนเดิม เพียงแต่ว่าเรื่องของภาษา ภาษาญวนจะน้อยลงไปแล้ว ส่วนภาษาเขมรหายไปเลย ไม่ได้ยินแล้ว กลืนไปหมดกับปัจจุบนั แล้ว ภาษาญวนปัจจุบนั คนทีเ่ ป็นญวนกับญวนก็ จะใช้สอื่ สารกันอยู่ เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ทีค่ ุณแม่สามีเสีย เขา ยังมีการสวดเป็นภาษาญวนอยู่ตอนเย็น หลังจากนั้นสองปีก็เลิกใช้ไป
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เหมือนกับว่าบาทหลวงแต่ละองค์จะปฏิบัติไม่เหมือนกัน เปลี่ยนกฎ ใหม่ไปเรื่อยๆ พื้นที่ของโบสถ์เขมรจะยาวไปจนถึงวัดราชาฯ เลย โดยจะมีคลองกั้น ส่วนชาวพุทธทีอ่ ยู่ในชุมชนเวลาไปท�ำบุญจะข้ามฝัง่ ไปฝัง่ ทาง โน้น อย่างวันนีม้ งี านศพเขาก็ไปวัดภคินฯี ส่วนใหญ่กจ็ ะไปเผากันทีน่ นั่ เพราะวัดราชผาฯ และวัดราชาฯ เป็นวัดหลวงไม่มีเมรุเผา ส่วนใหญ่ก็ จะไปตักบาตรหรือท�ำบุญกันนิดหน่อย ความสั ม พั น ธ์ กั บ พื้ น ที่ ด ้ า นบนจะมี กิ จ กรรมร่ ว มกั น คื อ กิจกรรมศาสนาเท่านั้น เพราะเป็นคริสต์เหมือนกัน ส่วนเราก็จัดพิธี ของเราเช่นกัน อย่างเช่น เทศกาลคริสต์มาสเพื่อต้อนรับคุณพ่อ บาทหลวงและพระกุมาร จะมีการแห่โดยจะมีบาทหลวงมีสัตบุรุษ ที่จะเดินลงมาหาเรา สิ้นปีก็มีการแห่แม่พระเพื่อขอพร เราก็มีการ จัดแท่นพระไว้คอย และกิจกรรมเฉพาะในชุมชนของเราที่ไม่ได้เกี่ยว กับข้างบนคือกิจกรรมวันเด็ก แต่เด็กที่อื่นก็มีมาร่วมส่วนกิจกรรมที่ เป็นทางการ อย่างมีการประชุมก็จะแยกกันไปเลย ปัจจุบันทั้งเขมรและญวนอยู่ปะปนกันก็มี อย่างบางบ้านที่มี การแต่งงานกัน บางคนก็ไปอยู่เขมร บางคนก็ไปอยู่ญวน ปัจจุบันนี้ เขาอยู่ร่วมกันได้ ไม่เหมือนเมื่อก่อนที่ไม่ค่อยถูกกัน วัยรุ่นสมัยก่อน จะไม่ถูกกัน โครงการเลียบแม่น�้ำเราได้ทราบ อาจารย์จากลาดกระบังก็ เข้ามา มีการเรียกตัวแทนเข้าไปประชุม ทางอาจารย์ลาดกระบังเห็น ว่าเฉพาะกลุม่ มิตรคามกลุม่ เดียวเป็นชุมชนทีม่ เี อกลักษณ์และน่าสนใจ อย่างเช่นอาชีพนักประดาน�้ำซึ่งหาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว การประดาน�้ำ ของเขาเป็นการใช้วิธีแบบภูมิปัญญาชาวบ้านและต้องการจะอนุรักษ์ อาชีพนี้ไว้ ซึง่ ชาวบ้านเขาก็เห็นด้วยเพราะไม่อยากไปจากตรงนี้ โดยที่ ได้ทำ� ข้อตกลงกัน อาจารย์ทา่ นบอกว่าต้องการให้จดั ศูนย์การเรียนรูไ้ ว้ สักมุมหนึง่ มีคนหนึง่ พ่อเขามีเรือเก่าและพร้อมจะยกพืน้ ที่ให้เป็นศูนย์ อนุรักษ์ซึ่งก�ำลังจะท�ำ เวลานักท่องเที่ยวมาจะได้น�ำของที่งมมาได้ไป จัดโชว์ไว้ตรงนั้น แต่ลา่ สุดมีความรูส้ กึ กึง่ ๆ ว่าจะสามารถอยูต่ อ่ ได้จริงไหม ซึง่ ตอนแรกมีความมัน่ ใจว่าอยูไ่ ด้แน่นอน แต่หลังจากการประชุมทุกครัง้ ก็มีความเปลี่ยนแปลงทุกครั้ง แต่อาจารย์ก็พยายามให้สร้างศูนย์การ เรียนรู้เพื่อมาต่อรองกับรัฐบาล ว่ามีการปรับภูมิทัศน์ของบ้านเมือง แล้วจะสามารถอยู่ต่อได้หรือไม่ เห็นว่าเขาจะมีการตอกเสาเข็มจากพระรามเจ็ดเป็นต้นมา ตอนนี้เขายังไม่ได้จัดหาที่อยู่ใหม่ให้เรา เพียงแต่เขายื่นข้อเสนอให้ เราจัดศูนย์การเรียนรู้ไปก่อน ตรงชุมชนราชผาฯ เขายื่นแล้ว เขาไม่ ได้ยนื่ ข้อเสนอให้เป็นศูนย์การเรียนรูเ้ พราะกลุม่ ทางนัน้ ไม่มเี อกลักษณ์ ในการต่อรอง มิตรคาม ๒ ก็เช่นกัน มีเฉพาะมิตรคาม ๑ เท่านั้น แต่ มิตรคาม ๒ และ ชุมชนราชผาฯ เขาจะไม่ยอม ไม่ใช่อยูๆ่ เขาจะมาเสนอข้อเสนอให้ อันดับแรกเขาให้เราตัง้ กลุม่ ออมทรัพย์กนั ขึน้ มาเพือ่ ทีจ่ ะไปช่วยในเรือ่ งของบ้านมัน่ คง ตอนนี้
จดหมายข่าว
เราก็ตั้งกันได้ปีนึงแล้ว โดยเก็บเดือนละ ๕๐๐ บาท ซึ่ง ๒ กลุ่มนั้นเขา เคยตั้ง แต่ว่าเกิดความล้มเหลวในการจัดการของเขา แต่ของเราเรา รวมตัวกันจัดตั้งขึ้นมา มีบัญชีเฉพาะของกลุ่มนี้อยู่ ถ้าจะให้เราไป ต้องยื่นข้อเสนอมาว่าจะให้เราไปอยู่ตรงไหน อยู่แบบไหน สถานที่จะให้เราไปอยู่เป็นไปได้หรือไม่ว่าจะให้ไปอยู่ริม แม่น�้ำที่ ไม่ไกลกรุงเทพฯ มากนัก เพราะคนที่เขามีวิถีชีวิตกับแม่น�้ำ อย่างคนหาปลา คนด�ำน�้ำ เขาก็ต้องการจะอยู่ริมน�้ำเพราะสามารถ จอดเรือได้ และจัดกลุ่มให้เราใหม่ ช่วยเหลือเราไม่ใช่อยู่ๆ จะไล่เรา ไปไม่มีการช่วยเหลือเรา แต่ฟังมายังงงอยู่เลย เหมือนกับว่าจะให้เรา ไปอยู่แฟลตของการเคหะฯ และยังต้องไปเสียค่าผ่อนอีก คือบางคน ที่ไม่มรี ายได้หรือรายได้ไม่เพียงพอกับค่าผ่อน จะต้องท�ำอย่างไร และ ให้เราไปนี่จะให้ค่ารื้อถอนหรือค่าเยียวยาเราแบบไหน คือพวกเรามันคนจน ถ้าไม่มีการช่วยเหลือที่เพียงพอเราจะ ท�ำกันอย่างไร แทนที่จะเอาเงินงบประมาณหลายสิบล้านไปท�ำอย่าง อื่น เอามาเยียวยาพวกเราบ้างไม่ได้หรือ เราเคยเสนอไปแล้วว่าถ้าจะ ให้เราไป เราขอเป็นที่ เราไม่อยากได้แฟลต เพราะเป็นที่สามารถท�ำ มาหากินได้ดว้ ย อีกอย่างพวกเราไม่เคยอยูแ่ ฟลตถึงแม้วา่ เราจะอยูก่ นั แบบจนๆ แบบนี้ ยังโล่งโปร่ง ไม่เหมือนการอยู่ในกล่องสี่เหลี่ยมแบบ นั้น คนที่นี่คือคนกลุ่มเดิม ที่รู้จักกันหมดเป็นชุมชนกันแล้ว ถ้าข้อเสนอไม่ชัดเจนเราก็จะไม่รับ ส่วนใหญ่ยังเหนียวแน่น กันอยู่เพราะมีวิถีชีวิตกันอยู่ที่นี่ ทั้งอาชีพต่างๆ ลูกก็ยังเรียนหนังสือ กันแถวนี้ โรงพยาบาลก็อยูแ่ ถวนี้ ทุกคนยังอยากอยูท่ นี่ ี่ ให้เขาท�ำอะไร เขาก็จะท�ำ ให้จัดศูนย์การเรียนรู้ก็จะท�ำ ๔. สุชาติ พวงเข้ม, ชุมชนซังฮี้, อายุ ๖๘ ปี ผมเป็นคนอยุธยา คนทีน่ สี่ ว่ นใหญ่มาจากต่างจังหวัดทัง้ นัน้ มา กันทางเรือ มาค้าขาย รุน่ ผมเอาเรือเป็นทีอ่ ยูแ่ ละบ้านทีอ่ ยุธยาก็มี สมัย ก่อนตอนอายุ ๑๕-๑๖ ปี ได้ไปอยูแ่ ถวริมคลองเทเวศร์ เรือทีอ่ ยูก่ นั ล�ำไม่ ใหญ่ จุอย่างเก่งก็ประมาณสิบกว่าเกวียน เกวียนหนึง่ ประมาณพันกิโล สมัยก่อนเรือนั้นจะจอดที่ ไหนก็ได้ เช่น สามเสนนี่จอดได้ ทั้งสองฝั่งก็เลยอยู่กันในเรือมาตลอด เริ่มต้นที่มาอยู่ที่นี่เพราะตรงคลองเทเวศร์เมื่อก่อนเขายิง กัน เลยต้องย้ายออกมา มาตั้งหลักที่ใต้สะพาน พื้นที่ตรงนี้ส่วนใหญ่ เป็นคนจีน ตรงศาลเจ้านั้น การค้าขายกับเรือเริ่มอยู่ไม่ได้แล้ว เพราะ เรือเราล�ำเล็ก เรือที่เริ่มเข้ามาจอดช่วงนั้นไม่เยอะ เมื่อประมาณยี่สิบ กว่าปีก็เริ่มเยอะมากขึ้น เพราะอยู่เรืออยู่ไม่ไหวแล้ว เริ่มรั่วก็หาอะไร มาอุดกัน จ�ำเป็นต้องทิ้งเรือ รุ่นนั้นมีการน�ำพื้นเรือขึ้นมาสร้างที่อยู่ บางคนแทบไม่ได้ลงทุนอะไรเลย ลงทุนเพียงแค่ตะปู เพราะเมื่อก่อน ไม้มเี ยอะ มากับน�ำ้ ทีพ่ ดั มา ตรงนีเ้ ริม่ มีมาประมาณ ๒๐ กว่าปี คือเรือ ใครจมคนนั้นก็ขึ้นก่อน เอาที่ตรงที่เรือจอดนั่นแหละเป็นที่ของตัวเอง หลังจากที่ไม่อยูเ่ รือแล้วก็แยกย้ายกันท�ำอาชีพบนบก ท�ำงาน กทม.บ้าง ค้าขายบ้าง อย่างผมนี่ก็ขายของที่ตรงเทเวศร์ ขายพวก 14
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ของกิน แถวๆ คลองผดุงฯ ทางฝั่งไก่ย่าง ตรงนีเ้ พิง่ จะมาเป็นชุมชนได้แค่ประมาณ ๑๕ ปีเท่านัน้ โดยที่ รัฐไม่ได้จดั การให้ พวกเราจัดการกันเอง กระทัง่ ทะเบียนบ้านชัว่ คราว เราก็ช่วยกัน แต่ตรงมิตรคามนั่นเป็นพื้นที่แน่นแฟ้น เขาอยู่กันมานาน บ้านแต่ละหลังๆ มีหลักฐานกันทั้งนั้น บ้านที่พวกผมอยู่เป็นหลักลอย เท่านั้น นี่ก็เพิ่งท�ำได้ไม่กี่ปี จะท�ำอะไรกันขึ้นมาหน่อยกรมเจ้าท่าก็เข้า มาเตือนแล้ว มิตรคามมีสองโซน โซนหนึง่ มี ๕๕ หลัง อีกโซนหนึง่ ประมาณ ๖๐ หลัง ตรงนี้ใช้ชื่อชุมชมว่าชุมชนซังฮี้ ฝั่งสะพานทางโน้นเป็นชุมชน ราชผาทับทิมร่วมใจ นีเ่ พิง่ จะมาตัง้ รวมกันได้ประมาณ ๒๐ กว่าปี ศาล เจ้าแม่ทับทิมมีมานานแล้ว เรามาอยู่ทีหลัง เรื่องความสัมพันธ์กับศาล ก็เป็นเรื่องของแต่ละคน คือคนในชุมชนก็แยกย้ายกันไปท�ำมาหากิน ตอนเย็นก็เข้ามานอนแค่นั้น ชุมชนนี้มีประมาณสามสิบหลัง คือใครมี พี่น้องก็ตามกันเข้ามาอยู่ มีอยู่บ้านหลังหนึ่งที่มาก่อนผมซึ่งตอนนี้แก อายุ ๘๐ แล้ว เมือ่ ก่อนมากับเรือเหมือนกัน พอเรือพังก็ขนึ้ มาตรงนีเ้ ลย ชุมชนมิตรคามเลยเขือ่ นออกไป เขามาอยูก่ อ่ นฝัง่ ทางนี้ เมือ่ ก่อนตอนที่ยังไม่มีเขื่อนมีมากกว่านี้ พอมีเขื่อนเขาก็เอาบ้านออกไป ด้วย เขื่อนเพิ่งจะมาแค่ไม่กี่ปีนี่เอง เมื่อวานรู้สึกว่าเขาจะมาประชุมอยู่ข้างในนี้ แต่ผมไม่ได้ เข้าไป เหมือนกับว่าจะมาจัดสรรที่ให้อยู่ อยูท่ างบางใหญ่ พุทธมณฑล สาย ๓ นครชัยศรี และเขาจะตกลงกันอย่างไรไม่รู้ แต่ส่วนตัวผม ผม ไม่เอาด้วยเพราะถ้าจะย้ายจริงๆ ผมจะกลับต่างจังหวัด เขามาสองคน เหมือนกับมาช่วยเหลือหาที่ให้และให้จัดตั้ง กลุ่มออมทรัพย์ แต่ทางนี้ไม่เหมือนทางมิตรคาม เพราะมิตรคามเขา มีการรวมกลุ่มกัน ส่วนทางเรานี้ต่างคนต่างอยู่ หากเขาให้ย้ายจริงๆ ก็คงต้องย้าย เรื่องที่อยู่แบบนี้มีคนเข้ามาคุยสองรอบแล้ว ……. ข้อมูลจากการส�ำรวจเมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่ผ่านมา ท�ำให้ทราบว่าชุมชนริมแม่น�้ำเจ้าพระยาในบริเวณนี้นั้นมี ที่มาต่างกัน โดยแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มคือ ชุมชนดั้งเดิมที่มีเชื้อสาย ชาวเขมรและชาวญวนที่ถูกอพยพโยกย้ายมาตั้งแต่ต้นกรุงฯ และเป็น คริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก เป็นชุมชนที่ไม่ได้อยูอ่ าศัยอยูร่ มิ แม่น�้ำ และมีอาชีพที่ไม่ต้องพึ่งพาริมแม่น�้ำแต่อย่างใด รวมทั้งพื้นที่ อยู่อาศัยนั้นขึ้นอยู่กับทางวัดซึ่งจะมีสังกัดการจดทะเบียนลงบันทึกที่ แน่นอน และยังคงใช้ทั้งกรรมสิทธิ์ร่วมจากทางวัดและแยกกรรมสิทธิ์ กลุ่มที่ ๒ คือกลุ่มทางชุมชนมิตรคามที่ ไ ม่ได้เป็นชุมชน จดทะเบียนกับกรุงเทพมหานครแต่อย่างใด เป็นชาวเรือที่เคยใช้เรือ รับขนส่งสินค้าจากทางชุมชนริมแม่น�้ำในเขตภาคกลางขึ้นมาค้าขาย และอยูอ่ าศัยมานานราว ๔๐ กว่าปีแล้ว มีทงั้ ทีเ่ ป็นชาวคริสตังและชาว พุทธ โดยมาขอสิทธิ์อยู่อาศัยกับทางวัดทั้งสองแห่ง มีอาชีพที่น่าสนใจ คือการรับจ้างด�ำน�้ำแบบโบราณ การอยู่อาศัยในน�้ำเพราะเดิมใช้เรือ มาก่อนแล้วจึงกลายมาเป็นแพและกลายมาเป็นบ้านบนน�ำ้ ในภายหลัง
จดหมายข่าว
15
สุชาติ พวงเข้ม ชุมชนซังฮี้
ซึ่งกรุงเทพมหานครถือว่าเป็นการบุกรุกพื้นที่แม่น�้ำเจ้าพระยา โดยไม่ เห็นพัฒนาการของชุมชนและสังคมบ้านเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปและ ไม่มีพื้นที่รองรับส�ำหรับชาวเรือผู้เดินทางค้าขายเร่ร่อนและไม่มีที่อยู่ อาศัยถาวร กลุ่มนี้ถูกบอกเล่าจากทาง สจล. ว่าจะสงวนไว้ส�ำหรับท�ำ ข้อมูลเพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ แต่ชาวบ้านมารับรู้ภายหลังว่าคงไม่น่า จะมีการยกเว้นการไล่รอื้ แต่อย่างใด และยังกังวลเรือ่ งการท�ำมาหากิน ที่มีอาชีพเป็นชาวน�้ำกันอยู่โดยมาก อีกกลุ่มหนึ่งอยู่ทางแถบสะพานซังฮี้ เป็นชาวเรือเช่นกัน แต่ ขึ้นจากน�้ำเนื่องจากการขนส่งทางเรือหมดสิ้นลงอย่างสมบูรณ์และไม่ สามารถยกเรือขึน้ คานเพราะราคาสูงและไม่สามารถไปจอดเรืออยู่ใน ริมคลองที่ใดๆ ได้อีกในราว ๑๕ ปีที่ผ่านมา เป็นชุมชนที่ไม่มีเอกสาร สิทธิ์ใดๆ นอกจากบุกรุกพืน้ ทีร่ มิ ตลิง่ ทีด่ แู ลโดยกรมเจ้าท่าและจ�ำต้อง รับสภาพถ้ามีการไล่รื้อชุมชนริมแม่น�้ำต่อไป นอกจากนี้ยังพบว่า ชาวบ้านจ�ำนวนมากไม่รับรู้ข้อมูลจาก โครงการของรัฐทีแ่ น่นอนจากที่ สจล. อ้างอิงถึงการศึกษาจนกลายเป็น งานน�ำเสนอในสือ่ โทรทัศน์ เช่น การอธิบายความเป็นชุมชนในบริเวณ นี้จากผู้รับผิดชอบท�ำโครงการศึกษาและออกแบบ หรือการน�ำเสนอ ภาพการออกแบบทีป่ รากฏเผยแพร่ในเพจประชาสัมพันธ์ของโครงการ เช่น การสร้างเรือก�ำปั่นของชาวโปรตุเกสเป็นจุดสังเกต ซึ่งบริเวณนี้ เป็นเพียงพื้นที่วัดที่ชาวบ้านเชื้อสายโปรตุเกสจากกรุงศรีอยุธยาครั้ง สุดท้ายเข้ามาพ�ำนัก ที่ก็ยังมีที่วัดกัลหว่าร์และวัดซางตาครู๊สอีกด้วย อีกทั้งอยู่ประชิดกับ “ท่าวาสุกรี” ที่เป็นท่าเรือหลวงส�ำหรับงานพระ ราชพิธขี องพระนคร จึงไม่เห็นความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องออกแบบให้มกี าร จอดเรือก�ำปัน่ จ�ำลองดังกล่าวที่ไม่มขี อ้ มูลในงานประวัตศิ าสตร์รองรับ นอกจากนี้ยังมีข้อสังเกตเป็นข้อปลีกย่อยที่ท้วงติงอีกมากที่ ทยอยออกมาเรือ่ ยๆ ถือเป็นความไม่สมบูรณ์ของข้อมูลอย่างยิง่ ทีเดียว ส�ำหรับการออกแบบสิ่งที่ส�ำคัญและน่าจะมีผลกระทบมากต่อสังคม ไทยถึงในระดับรากเหง้าวิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ ตลอดจนสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงที่ยากจะแก้ไขทีเดียว
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
พระนคร บัโดยนอภิทึญกญา นนท์นาท
“ขนมเต่า” ในเทศกาลหยวนเซียว ที่ศาลเจ้าโจวซือกง ตลาดน้อย
ขนมเต่าที่ทางศาลเจ้าโจวซือกงจัดเตรียมไว้ในแต่ละปี จะท�ำขึ้นราว ๑,๐๐๐ คู่ (ที่มา : คุณสมชาย เกตุมณี)
“ย่านตลาดน้อย” เป็นชุมชนชาวจีนที่มีการตั้งถิ่นฐานอยู่ สืบกัน มาตั้งแต่สมัยรัตนโกสิน ทร์ตอนต้น บริเวณที่ตั้งของตลาด น้อยอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก เป็นชุมชนที่ขยายตัวต่อ เนื่องมาจากย่านส�ำเพ็งตั้งแต่แถบวัดปทุมคงคาเรื่อยมาถึงปากคลอง ผดุงกรุงเกษมทางด้านใต้ ชุมชนชาวจีน ที่ย่านตลาดน้อยประกอบด้วยชาวจีน หลาก หลายกลุ่ม กลุ่มที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานแรกสุด คือ ชาวจีนฮกเกี้ยน และ ได้สร้าง “ศาลเจ้าโจวซือกง” ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๔๗ เพื่อเป็นศูนย์รวม ของชาวจีนฮกเกีย้ น ถือว่าเป็นศาลเจ้าทีม่ คี วามเก่าแก่มากทีส่ ดุ ในย่าน
จดหมายข่าว
ตลาดน้อย เดิมเป็นวัดชื่อ “ซุนเฮงยี่” มีเทพประธานของศาลเจ้า คือ เทพโจวซือกงหรือหมอพระเช็งจุย้ โจวซือ ซึง่ เป็นหมอพระทีช่ าวฮกเกีย้ น ให้ความเคารพนับถือ ทุกปีในช่วงหลังเทศกาลตรุษ จีนประมาณ ๑๕ วัน ศาลเจ้า โจวซือกงจะมีการจัดงาน “เทศกาลหยวนเซียว” ซึ่งเป็นงานส่งท้าย เทศกาลตรุษจีน ความน่าสนใจของงานนีอ้ ยูท่ ขี่ องมงคลประจ�ำเทศกาล คือ “ขนมเต่า” ซึ่งนอกจากจะมีความหมายอันเป็นมงคลตามคติจีน แล้ว ยังพบว่าขนมที่ท�ำเป็นรูปเต่าเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในกลุ่ม วัฒนธรรมชาวจีนฮกเกี้ยน 16
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
“หยวนเซียว” เทศกาลส่งท้ายตรุษ จีน หยวนเซียวหรือง่วนเซียว ตามส�ำเนียงจีนแต้จิ๋ว เป็นงาน เฉลิมฉลองส่งท้ายเทศกาลตรุษ จีน จัดขึ้นในช่วงเดือนอ้ายตามปฏิทิน จันทรคติ ค�ำว่า หยวนเซียว ตามรูปศัพท์ภาษาจีนแปลว่า คืนแรก หมายถึงคืนเพ็ญแรกของปี เทศกาลหยวนเซียวจึงถือเป็นประเพณี รื่นเริงที่จัดขึ้นก่อนการเริ่มต้นท�ำกิจการงานในปีใหม่ เทศกาลหยวนเซี ย วถื อ เป็ น ประเพณี เ ก่ า แก่ อ ย่ า งหนึ่ ง ของชาวจี น มี วิ วั ฒ นาการมาจากการจุ ด ประที ป เพื่ อ การบู ช า เดือนดาวในช่วงเดือนอ้าย ตามลัทธิศาสนาดั้งเดิมของจีน ต่อมาเมื่อ มีการยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา ประเพณีดังกล่าวได้ถูกผสม ผสานเข้ากับคติการจุดประทีปโคมไฟเพือ่ เป็นพุทธบูชาในวันมาฆบูชา จึ ง ท� ำให้ กิ จ กรรมนี้ แ พร่ ห ลายมากยิ่ ง ขึ้ น และกลายเป็ น เทศกาล หยวนเซียว ตามประเพณีดั้งเดิมของจีน นอกจากการไหว้เจ้าและ บรรพบุรุษแล้ว ยังมีการจุดประทีปโคมไฟและมีการจัดงานเทศกาล เที่ยวชมโคมไฟที่ถูกประดับประดาอย่างสวยงาม ปัจจุบันประเทศจีน และไต้หวันยังมีการจัดเทศกาลแสดงโคมไฟสวยงาม (The Lantern Festival) ในช่วงเทศกาลดังกล่าว นอกจากนี้ในอดีตยังนิยมเล่นปริศนา โคมทีม่ กี ารแต่งบทร้อยกรองเป็นปริศนาค�ำทายประกอบกับโคมไฟใน เทศกาลอีกด้วย ส�ำหรับชุมชนชาวจีนในไทย มีการจัดงานวันหยวนเซียวขึ้น ตามศาลเจ้าต่างๆ ด้วยเช่นกัน ในอดีตถือเป็นงานรืน่ เริงทีม่ คี วามคึกคัก เป็นอย่างมาก พบว่ามีทงั้ การแห่โคม ชมโคม และการเล่นทายปริศนา โคมหรือเต็งหมี่ ที่เคยมีการพิมพ์รวบรวมปริศนาต่างๆ ไว้เป็นหนังสือ แต่ในปัจจุบันความคึกคักของเทศกาลหยวนเซียวดังที่กล่าวมานี้เลือน หายไปมากแล้ว คงเหลือเพียงการเซ่นไหว้เทพเจ้าตามศาลเจ้าต่างๆ เท่านั้น เทศกาลโคมไฟที่ศาลเจ้าโจวซือกง งานเทศกาลหยวนเซียวยังคงเป็น ประเพณีส�ำคัญในรอบ ปีของศาลเจ้าโจวซือกงย่านตลาดน้อย นอกเหนือไปจากเทศกาล ตรุษ จีน ทิ้งกระจาด และกินเจ งานวันหยวนเซียวจะจัดขึ้นภายหลัง จากวันตรุษ จีนราว ๑๕ วัน ดังเช่นปีนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ซึ่งตรงกับวันมาฆบูชา ภายในวันงาน ชาวจีนโดยเฉพาะ กลุ่มฮกเกี้ยนทั้งที่อาศัยอยู่ภายในย่านตลาดน้อยและจากที่อื่นๆ ที่มี ความศรั ทธาในเทพเจ้าโจวซือกง ต่างเดินทางมาร่วมงานกันอย่าง คึกคัก ผู้คนเริ่มทยอยมาที่ศาลเจ้าตั้งแต่ช่วงเช้าตรู่ของวันเรื่อยไป จนถึงช่วงหัวค�่ำ พิธีกรรมที่ท�ำร่วมกันที่ศาลเจ้าในวันหยวนเซียว ประกอบ ด้วยการจุดเทียนเพื่อบูชาเทพเจ้า การเซ่นไหว้ขอพรเทพเจ้าและ ท�ำบุญบ�ำรุงศาลเจ้าด้วยการซื้อขนมมงคลต่างๆ ที่ศาลเจ้าเตรียมไว้ โดยเฉพาะขนมเต่าซึง่ ท�ำขึน้ เป็นพิเศษเฉพาะเทศกาลหยวนเซียวเท่านัน้ จากนัน้ ในช่วงค�ำ่ จะมีการแสดงงิว้ ทีบ่ ริเวณด้านหน้าศาลเจ้า เพือ่ ถวาย
จดหมายข่าว
17
บรรยากาศภายในศาลเจ้าโจวซือกงในวันเทศกาลหยวนเซียว
เทพเจ้าและเป็นมหรสพที่สร้างความรื่นเริงให้แก่คนทั่วไป ขั้ น ตอนการไหว้ ใ นวั น หยวนเซี ย วที่ ศ าลเจ้ า โจวซื อ กง ไม่มีความซับซ้อนมากนัก เริ่มต้นด้วยการน�ำเทียนคู่หนึ่งไปจุดที่ บริเวณลานด้านหน้าศาลเจ้า ซึง่ ทางศาลเจ้าได้เตรียมโต๊ะทีด่ า้ นบนวาง โครงเหล็กส�ำหรับเป็นเชิงเทียน ต�ำแหน่งที่จะวางเทียนมีทั้งที่ต้องจอง ไว้ก่อนล่วงหน้า เพื่อเลือกต�ำแหน่งปักเทียนตามต้องการ โดยจะมี การก�ำหนดต�ำแหน่งเป็นหมายเลขเอาไว้ คนทีจ่ องล่วงหน้าอาจยึดตาม เลขมงคลที่ตนเองเชื่อถือ หรือเลขทะเบียนรถ ทะเบียนบ้าน ผู้ท�ำพิธี ทีม่ าเป็นประจ�ำทุกปีมกั จะจองกับศาลเจ้าไว้กอ่ นและจะซือ้ เทียนทีศ่ าล เจ้าเตรียมไว้ให้ ส่วนผูท้ ตี่ อ้ งการน�ำเทียนมาเองก็สามารถท�ำได้เช่นกัน โดยทางศาลเจ้าจะจัดทีท่ างส่วนหนึง่ ไว้ให้ การจุดเทียนประทีปเพือ่ บูชา เทพเจ้าเช่นนี้ นอกจากคติความเชื่อเรื่องความเจริญรุ่งเรืองแล้ว ส่วน หนึง่ เชือ่ ว่ามีความสัมพันธ์กบั การจุดประทีปบูชาในวันเพ็ญเดือนมาฆะ อันเป็นผลมาจากการผสมผสานกับพระพุทธศาสนา เมื่อจุดเทียนแล้วจะเป็นขั้นตอนการไหว้ขอพรจากเทพเจ้า เริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการไหว้ ที ก งหรื อไหว้ ฟ ้ า ดิ น มี ก ารตั้ งโต๊ ะ ไหว้ ที ก ง ทางด้านหน้าของศาลเจ้า จากนั้นจึงค่อยเข้าไปภายในศาลเจ้าเพื่อ ท�ำการสักการะเทพอากงหรือเทพโจวซือกง หมอพระที่ชาวฮกเกี้ยน ให้ความเคารพนับถือ อันเป็นประธานของศาลเจ้าแห่งนี้ แล้วจึงท�ำการ สักการะเทพเจ้าองค์อื่นๆ ที่ประดิษฐานอยู่ภายในศาลไม่ว่าจะเป็น เทพเจ้ากวนอู เจ้าแม่ทับทิม เทพตั่วเหล่าเอี้ย และ ๓๖ ขุนพลเทพเจ้า เป็ นต้ น ก่ อ นจะปิ ดท้ ายด้ วยการไหว้ ท วารบาลที่ ด ้ า นหน้ า ประตู ทางเข้าศาลเจ้า วันงานทางศาลเจ้ายังจัดเตรียมของไหว้และขนมมงคลแบบ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ส้ม ขนมเปี๊ยะ เอาไว้ให้ผู้ที่เดินทางมาศาลเจ้าซื้อ กลับไป ถึงแม้ว่าจะมีราคาสูงกว่าท้องตลาด แต่ถือว่าเป็นการท�ำบุญ บ�ำรุงศาลเจ้าและเชื่อว่าเป็นของมงคล เพราะเป็นของที่ผ่านความ ศักดิ์สิทธิ์จากศาลเจ้าแล้ว ถ้าน�ำกลับไปรับประทานจะมีแต่โชคลาภ ความรุ่งเรืองทั้งต่อตนเองและครอบครัว
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
นอกจากนี้ยังมีสิงโตน�้ำตาล ที่ภาษาจีนเรียกว่า ถึ่งไซ และ เจดียน์ ำ�้ ตาล เรียกว่า ถึง่ ถะ ทีท่ างศาลเจ้าเตรียมไว้จำ� นวนหนึง่ เพือ่ ให้ ผู้ที่ศรัทธาสามารถจองและน�ำกลับไปตั้งบูชาที่บ้านได้ โดยนิยมน�ำไป เป็นคู่ ทัง้ สิงโตน�ำ้ ตาลและเจดียน์ ำ�้ ตาลถือเป็นของไหว้ประจ�ำเทศกาล หยวนเซียวที่นิยมแพร่หลายโดยทั่วไปตามศาลเจ้าต่างๆ โดยเฉพาะที่ ศาลเจ้าของจีนแต่จวิ๋ ด้วยเหตุนี้คนไทยจึงมักเรียกเทศกาลหยวนเซียว ว่า สารทสิงโตน�้ำตาล สิงโตน�้ำตาลและเจดีย์น�้ำตาล ท�ำจากน�้ำตาลทรายน�ำมาขึ้น รูปในแม่พิมพ์รูปสิงโตหรือเจดีย์แบบจีน อาจมีการแต่งแต้มสีสัน เช่น สีชมพู หรือว่าปล่อยเป็นสีขาวตามธรรมชาติ นอกจากนีย้ งั มีสงิ โตทีท่ ำ� จากถั่วตัดประดับด้วยแป้งปั้น ตบแต่งเป็นรายละเอียดในส่วนหน้าตา และหนวดเคราของสิงโต แล้วแต่งแต้มด้วยสีสันต่างๆ ใน บาญชีขนมต่างๆ ที่จัดแสดงในงานนิทรรศการสินค้าพื้น เมืองในงานพระราชพิธีสมโภชพระนครครบ ๑๐๐ ปี พ.ศ. ๒๔๒๕ มีการกล่าวถึง สิงโตน�้ำตาล อยู่ในหมวดขนมต่างๆ ของจีนที่ท�ำด้วย แป้ง ถั่ว เจือน�้ำตาล ว่า มีชาวจีนท�ำขายที่ย่านส�ำเพ็ง ราคาขายจะคิด ชั่งตามน�้ำหนัก ปัจจุบันสิงโตน�้ำตาลมีจ�ำหน่ายอยู่หลายร้านในย่าน ส�ำเพ็ง เยาวราช ซึง่ คติการท�ำสิงโตน�ำ้ ตาลและเจดียน์ ำ�้ ตาลนี้ นอกจาก เป็นสิ่งของที่มีความหมายอันเป็นมงคลแล้ว น่าจะมีที่มาจากการผสม ผสานกับคติทางพระพุทธศาสนาด้วย โดยเฉพาะการท�ำเจดีย์น�้ำตาล นอกจากขนมต่างๆ ดังทีก่ ล่าวไปแล้ว สิง่ ทีเ่ ป็นของไหว้พเิ ศษ ที่ทางศาลเจ้าจัดเตรียมไว้เฉพาะส�ำหรับงานหยวนเซียวเป็นประจ�ำ ทุกปีคือ “ขนมเต่า” ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของงานหยวน เซียวทีศ่ าลเจ้าโจวซือกง และเป็นประเพณีทสี่ บื ทอดกันมายาวนาน อีก ทั้งเป็นไปได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมชาวจีนฮกเกี้ยน เนื่องจาก พบว่ามีความนิยมใช้ขนมที่ท�ำเป็นรูปเต่าในงานประเพณีต่างๆ ของ ชาวจีนฮกเกี้ยนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในที่อื่นๆ ด้วยเช่นกัน “ขนมเต่า” ในวัฒนธรรมจีนฮกเกี้ยน ในหลายวัฒนธรรมทัว่ โลก “เต่า” มีความหมายแสดงถึงการ มีอายุยืนยาวและความมั่นคง ด้วยลักษณะทางกายภาพของเต่าที่มี ความแข็งแกร่ง มีกระดองที่สามารถป้องกันภัยอันตราย และมีอายุ ยืนยาวตามธรรมชาติ ในวัฒนธรรมจีนก็มีการให้ความส�ำคัญกับเต่า ในฐานะสัตว์ศักดิ์สิทธิ์และเป็นสัญลักษณ์มงคลที่แสดงถึงความมีอายุ ยืน พลังความแข็งแกร่ง และการยืนหยัด ในต�ำนานการสร้างโลก และจักรวาลของจีนกล่าวว่า เต่ามีส่วนช่วย ผานกู่ เทพบิดรของชาว จีนสร้างโลก นอกจากนี้ตั้งแต่ยุคจีนโบราณยังมีความเชื่อว่ากระดอง เต่าสามารถใช้ท�ำนายอนาคตได้อีกด้วย ในกลุ่มชาวจีนฮกเกี้ยนทั้งที่ ในประเทศจีน ไต้หวัน และ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และหลายจังหวัดทางภาคใต้ของไทย เช่น ตรัง พังงา ภูเก็ต ฯลฯ พบว่ามีการท�ำขนมรูปร่างเต่าเพือ่ น�ำมาใช้ในเทศกาลส�ำคัญต่างๆ และ
จดหมายข่าว
ให้ในโอกาสพิเศษ เช่น พิธมี าโง่ยหรือพิธคี รบรอบเดือนของเด็กชาวจีน ฮกเกี้ยน เพื่อให้เด็กเติบโตมามีสุขภาพดี สมบูรณ์แข็งแรง วันคล้าย วันเกิดของผู้อาวุโสจะนิยมน�ำขนมเต่าไปมอบให้เพื่ออวยพรให้มีอายุ ยืนนานด้วยเช่นกัน รูปแบบของขนมเต่าพบว่าแบ่งออกเป็น ๒ แบบ รูปแบบที่ นิยมกันแพร่หลายคือ ขนมเต่าสีแดง เรียกเป็นภาษาจีนฮกเกี้ยนว่า ขนมอังกู๊ ค�ำว่า “อัง” แปลว่า สีแดง ส่วนค�ำว่า “กู๊” แปลว่า เต่า ท�ำมาจากแป้งข้าวเหนียว มี ไส้หวานท�ำด้วยถั่วกวน ขั้นตอนการท�ำ จะน�ำแป้งอัดลงไปในพิมพ์ไม้ทที่ ำ� เป็นรูปกระดองเต่า ซึง่ มีคำ� มงคลเป็น ภาษาจีนอยู่ เมือ่ เสร็จแล้วน�ำไปนึง่ จะได้ขนมทีม่ รี ปู ร่างเหมือนกระดอง เต่า ส่วนใหญ่นยิ มท�ำเป็นสีแดงอันเป็นสีมงคลของชาวจีน ปัจจุบนั ขนม อังกูไ๊ ม่เพียงแต่เป็นของไหว้ในเทศกาลหรือมอบให้กนั ในโอกาสพิเศษ เท่านั้น แต่ยังนิยมรับประทานกันเป็นของว่างอีกด้วย ส่วนขนมเต่าอีกรูปแบบหนึ่ง คือ แบบที่ท�ำอย่างซาลาเปา โดยใช้แป้งสาลีปั้นเป็นรูปเต่า ซึ่งเป็นแบบที่ ใช้เป็นของไหว้หลัก ในเทศกาลหยวนเซียวที่ศาลเจ้าโจวซือกง แต่ละปีทางศาลเจ้าจะ ท�ำขนมเต่าเตรียมไว้ส�ำหรับให้คนที่มาร่วมงานสามารถท�ำบุญกับ ศาลเจ้า ด้วยการซื้อขนมเต่ากลับบ้านไปได้ การท�ำขนมเต่ารูปแบบนี้ ศาลเจ้าจะต้องท�ำเตรียมไว้ล่วงหน้า ๓-๔ วัน โดยมีชาวบ้านในย่าน ตลาดน้อยมาช่วยท�ำด้วย แป้งที่ ใช้ท�ำขนมเต่าลักษณะนี้จะใช้แป้งสาลี ขั้นตอนการ ท�ำคล้ายกับวิธีการท�ำซาลาเปา ปั้นเป็นรูปเต่า แล้วติดเมล็ดถั่วด�ำ เป็นลูกตา จากนั้นน�ำไปนึ่ง แต่เมื่อนึ่งแล้วจะต้องน�ำมาผึ่งให้แป้งแห้ง สนิท เพือ่ ให้ไม่ขนึ้ ราและเก็บได้นานขึน้ จากนัน้ จะน�ำมาเขียนค�ำมงคล เป็นภาษาจีนลงบนกระดองเต่า ส่วนมากเป็นค�ำมงคลที่ประกอบด้วย ๔ พยางค์ อวยพรให้เจริญรุ่งเรือง เช่น 万事如意 แปลว่า หมืน่ เรือ่ งสมปรารถนา หมายถึงขอให้สมปรารถนาในทุกๆ สิง่ เป็นต้น ผู้เขียนค�ำมงคลเป็นภาษาจีนเป็นผู้อาวุโสที่อยู่ภายในย่านตลาดน้อย นอกจากนี้มีขนมเต่าแบบพิเศษ คือ ท�ำเป็นรูปเต่าตัวใหญ่ที่มีเต่า ตั ว เล็ ก ขี่ อ ยู ่ บ นหลั ง มี ค วามหมายที่ สื่ อ ถึ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ์ มีลูกหลานมากมาย ในแต่ละปีศาลเจ้าโจวซือกงจะท�ำขนมเต่าแบบนี้มาไว้ที่ศาล เจ้าประมาณ ๑,๐๐๐ คู่ คนที่มาไหว้ในวันหยวนเซียวนิยมซื้อกลับ ไปเป็นคู่ ขนมเต่าแบบนี้ไม่นิยมน�ำไปกินกัน แต่จะไปตั้งไว้ที่บ้านเพื่อ ความเป็นสิริมงคล ราคาของขนมเต่าที่ศาลเจ้าจะแตกต่างกันไปตาม ขนาด เช่น เต่าขนาดเล็กจะมีราคาคู่ละ ๑๒๐ บาท ส่วนขนมเต่า แดงหรืออังกู๊มีการท�ำมาวางขายที่ศาลเจ้าเช่นกัน แต่มีจ�ำนวนไม่มาก ราว ๔๐ คู่ เพราะคนไม่ค่อยนิยม เนื่องจากบูดเสียง่าย เก็บได้ไม่นาน นอกจากนี้ผู้ที่มาไหว้ที่ศาลเจ้าในงานหยวนเซียวจะเตรียมขนมเต่า มาเองก็ได้ ซึ่งพบว่าในวันงานมีบ้านที่อยู่ในละแวกศาลเจ้าโจวซือกง ท�ำขนมเต่ามาตั้งวางขายบริเวณหน้าบ้านด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ย่านตลาดน้อยพบว่ามีเพียงศาลเจ้าโจวซือกง 18
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ซึ่ ง เป็ น ศาลเจ้ า ฮกเกี้ ย นเท่ า นั้ น ที่ นิ ย มใช้ ข นมเต่ า เป็ น ของไหว้ หลักในเทศกาลหยวนเซียว ขณะที่ชุมชนชาวจีนฮกเกี้ยนที่อยู่ทาง ภาคใต้ ข องประเทศไทย เช่ น จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต นิ ย มใช้ ข นมเต่ า ทีท่ ำ� ขึน้ จากแป้งสาลีเป็นของไหว้ในเทศกาลชิดโง่ยปัว่ หรือชิดโง่ยพ้อต่อ (วันสารทจีน) ในช่วงขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๗ ท�ำขนมเต่าสีแดงที่มี ทั้งขนาดเล็กและใหญ่ นอกจากจะมีการเขียนค�ำมงคลลงบนกระดอง เต่าแล้ว ยังมีการประดับลวดลายสวยงาม เช่น รูปดอกไม้ ใบไม้ อีกด้วย อาจกล่ า วได้ ว ่ า การใช้ ข นมเต่ า เป็ น ของไหว้ ใ นเทศกาล หยวนเซี ย ว ถื อ เป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่ น ่ า สนใจอย่ า งหนึ่ ง ของศาลเจ้ า โจวซือกง ย่านตลาดน้อย โดยน่าจะมีความเกี่ยวข้องกับความนิยม ใช้ขนมที่ท�ำเป็นรูปเต่าในโอกาสพิเศษและเทศกาลต่างๆ ที่พบมาก ในกลุ่มชาวจีนฮกเกี้ยนนั่นเอง
ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๔ (กุมภาพันธ์), ๑๖๒-๑๖๕. ประทุม ชุม่ เพ็งพันธุ.์ สัตว์มงคลจีน ประเพณีและความเชือ่ จากอดีตถึงปัจจุบนั . (กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก), ๒๕๕๔. เพ็ ญ พิ สุ ท ธิ์ อิ น ทรภิ ร มย์ . “ชาวฮกเกี้ ย นในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ : จ� ำ นวนเปลี่ ย นแปลงแต่ บ ทบาทมิ ไ ด้ เ ปลี่ ย นไป” ใน สายธารแห่ ง อดี ต รวมบทความประวัติศาสตร์เนื่องในวาระครบรอบ ๖๐ ปี ศ.ดร.ปิยนาถ บุนนาค. (กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย), ๒๕๕๐
เว็บไซต์ “Cultural depictions of turtles” ที่มา: https://en.wikipedia.org/ wiki/Cultural_depictions_of_turtles “อังกู๊-ขนมเต่า” ที่มา : http://phuketcuisine.com
ข้อมูลสัมภาษณ์ ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ฮกเกี้ยน. (กรุงเทพฯ : สมชัย กวางทองพานิชย์, ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ สมชาย เกตุ ม ณี , ผู ้ ดู แ ลภายในศาลเจ้ าโจวซื อ กง ตลาดน้ อ ย, สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท ม.มหิดล), ๒๕๔๓. ถาวร สิกขโกศล. เทศกาลจีนและการเซ่นไหว้. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๗. ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ อ้างอิง
นิภาพร รัชตพัฒนกุล. “ตลาดน้อย : พัฒนาการชุมชน” ใน ศิลปวัฒนธรรม
คน
ย่โดยานเก่ า วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
ชีวิตที่วัดโพธิ์และตลาดท่าเตียนของ
“จุล อรุณวิจิตรเกษม” ชีวิตเร่ร่อนแต่มีผู้ชุบเลี้ยงเป็นสมเด็จฯ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ ๒ พระองค์ ผมชื่อนายจุล อรุณวิจิตรเกษม อายุ ๗๖ ปี เกิดที่บ้านบึง ชลบุรี มากรุงเทพฯ แล้วพลัดหลงกับแม่ มานอนอาศัยอยู่ริมม้านั่งที่ จะข้ามฟากวัดอรุณฯ ม้านั่งตัวนั้นยังอยู่จนทุกวันนี้ นอนอยู่เป็นปี แต่ บังเอิญโชคดี เจอคนเฒ่าคนแก่สมัยก่อนเขาเอือ้ อาทรเห็นว่าไม่มหี ลัก แหล่ง น�ำไปฝากกับพระองค์นั้นองค์นี้ช่วยรับบาตร ต่อมาสมเด็จเผื่อน (สมเด็จพระวันรัต, อดีตเจ้าอาวาส วัดพระเชตุพน ช่วง พ.ศ. ๒๔๘๔-๒๔๙๐) ไม่มีเด็กรับใช้ จึงไปฝาก “สมเด็จเผื่อน” อีก ตอนนั้นอายุราว ๗-๘ ขวบ ท�ำให้ไปอยู่วัดมีโอกาส ซึมซับเรื่องราวต่างๆ ภายหลังสมเด็จฯ เผื่อนมรณภาพ ก็ฝากต่ออีก กับ “สมเด็จปุ่น” (สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
จดหมายข่าว
19
จุล อรุณวิจิตรเกษม
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ภาพริมแม่น�้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าเตียนที่เห็นออฟฟิศศาลต่างประเทศหน้าวัดโพธิ์ ครั้งรัชกาลที่ ๔ สร้างภายหลังครั้งไฟไหม้ใหญ่
(ปุ่น ปุณฺณสิริ)) หรือ “สมเด็จป๋า” เหตุที่ ได้เรียนหนังสือ เพราะ วั น หนึ่ ง ท่ า นให้ อ ่ า นหนั ง สื อ พิ ม พ์ ใ ห้ ฟ ั ง เรานั่ ง เฉยอ่ า นไม่ อ อก บอกท่านว่าผมไม่ได้เรียนหนังสือ ท่านบอกไปตามผู้ใหญ่มาเอา ไปฝากเรียน ตอนนั้นอายุเกินแล้ว ฝากแล้วลดอายุให้เรียบร้อย ให้เข้าเรียนตามเกณฑ์ได้ พอหลังจากไปเรียนประถมที่วัดโพธิ์ ผมไปเรียนโรงเรียน พระนครวิทยาลัย แล้วเปลี่ยนเป็นโรงเรียนพาณิชย์ อยู่ตรงหน้าศาล ซอยบุรณะศิริ ช่วงนั้นผมก�ำลังจะเข้ามหาวิทยาลัย ช่วงนั้นยังไม่ถึง พ.ศ. ๒๕๐๐ ผมเจอคุณจิตร ภูมิศักดิ์ เขามาหาหนังสืออ่านที่วัด อ่าน พวกใบลานเก่ง บังเอิญเป็นช่วงเวลาใกล้จะรื้อต�ำหนักจึงเคลื่อนย้าย พวกตูพ้ ระธรรมทัง้ หลายออกมาเพือ่ ทีจ่ ะทุบกระเทาะปูนฉาบใหม่ ผม เลยเปิดให้คณ ุ จิตรมาอ่าน เพราะเรารุน่ เด็กกว่าเขา อ่านไปอ่านมา อีก ๒ วันได้ข่าวว่าต�ำรวจไล่จับ ผมได้ความรู้จากเขามากมาย เขาแนะน�ำ หลายอย่าง สมัยก่อนผู้คนมีใจเอื้อเฟื้อกัน หลั ง จากจบมั ธ ยม ผมเข้ า เรี ย นคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอยู่ได้ ๒-๓ ปี เรียนจุฬาฯ แค่ปี ๓ แล้วออกมาท�ำงาน ในสมัยนัน้ พวกโรงโม่หนิ ต่างๆ เขาก�ำลังจะดัดแปลง จากเครื่องยนต์มาใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เราไปดัดแปลงท�ำให้ดีขึ้นและ
จดหมายข่าว
ปลอดภัยและสะดวกขึน้ ท�ำงานจนเพลินจนเขาคัดชือ่ ออกแล้ว ท�ำงาน ดีกว่าท�ำในกลุ่มโรงโม่หินแถวสระบุรีกับราชบุรี ได้กลับไปอยู่ที่เมืองชลฯ บ้าง ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๙๓ กลับ ไปอยู่ร่วมปี เพราะย่าไม่สบาย รกรากที่อยู่เมืองชลฯ เดี๋ยวนี้หมดแล้ว แต่ยงั มีอกี สายหนึง่ แต่เราไม่เจอ สายนีเ้ ป็นพีช่ ายคนโตของเตีย่ ผม เขา ท�ำประมงอยู่แถวสัตหีบ เป็นแต้จิ๋ว แซ่เฉินหรือแซ่ตั้ง ตั้งนั้นเป็นภาษา แต้จิ๋ว เฉินนั้นเป็นภาษากลาง ผมยังอยู่วัดโพธิ์ ไปท�ำงานกลับมายังรับใช้สมเด็จฯ เพราะ ว่าสมเด็จไม่มีคน อยู่จนกระทั่งท่านเสีย ท่านฝากไว้กับสมเด็จป๋า ก็ เตรียมตัวถูกไล่เพราะไม่ทราบมาก่อน สมเด็จป๋าเรียกเข้าไปบอกว่า สมเด็จเขาให้เอ็งอยูก่ บั ข้า ท่านเป็นเจ้าคณะภาค ต้องไปตรวจภาค ไป แจกพัดตาลปัตรทุกปี ก็สนุกได้ติดตามท่านไปด้วย ท�ำงานอยู่เป็นช่างไฟฟ้าตลอด เพราะเรียนมาน้อยจึงต้อง ค้นคว้าไขว่หาความรู้ ดูจากภาษาอังกฤษบ้างแต่อยากเรียนภาษา จีนแล้วไม่ได้เรียน เพราะรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศให้ ยุ บ โรงเรี ย นจี น ที่ วั ด โพธิ์ โรงเรี ย นซ้ อ นกั น อยู ่ คื อ โรงเรียนเทศบาลกับโรงเรียนตงมิ้นตงฮัก และโรงเรียนสอนบาลีให้ พระอีกโรงเรียนหนึ่ง 20
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
สมเด็ จ ป๋ า ท่ า นคิ ด แผนใหม่ ใ นภายหลั ง จึ ง ตั้ ง สมาคม ทวีธามิตร แล้วร่วมกันตั้งโรงเรียนโพธิ์พิทยากร เอาพวกมหาเก่าๆ มาสอน ครูภาษาจีนมาสอนบ้าง เพิ่งมาเจ๊งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๕ นี้ เพราะคนที่อยากเรียนรู้น้อยลง แต่ตอนนี้มาเฟื่องฟูอีกแล้ว เห็นเดิน มาหาโรงเรียนจีน ผมเพิง่ กลับมาอยูเ่ มือ่ ๑๐ กว่าปีนเี้ อง เพราะมีความมุง่ หมาย ว่าอยากให้วัดโพธิ์เป็นมรดกโลก เพิ่งย้ายมาราว พ.ศ. ๒๕๔๒ ก่อน หน้านัน้ มีศาลาหลังใหญ่อยูห่ ลังหนึง่ ผมอาศัยอยูต่ รงศาลาทัง้ หลังเลย ไม่มีครอบครัว เพิ่งจะมาเจอคุณยายอยู่กันมา ๓๐ ปีแล้ว จึงย้ายออก มาเช่าอยู่ตึกแถวของวัดด้านนอก ผมท�ำอาชีพนี้ตั้งแต่ยังหนุ่มจนกระทั่งอายุ ๖๐ กว่า จึงเริ่ม มาเก็บงานในวัด สายไฟขึงโยงไปโยงมาทั้งตัวในอาคารนอกอาคาร เวียนหัวไปหมด เก็บสายไฟในวัดลงดินให้เรียบร้อยใช้เวลาร่วม ๒๐ ปี แล้วท�ำไฟฟ้าในตัวอาคารเดินในท่อเหล็ก ร้อยสายต่างๆ อาคารบางหลังใช้เวลาเป็นปี ไม่ใช่จู่ๆ นึกจะวาง ต้องรอ จังหวะ เขาจะซ่อมเมื่อไรหรือเขายังไม่ซ่อม แล้วจะหาเงินที่ไหน ถ้า ทุบสกัดจะหลุดมาไหม ต้องมีเวลาเตรียมการ อย่างกรมศิลปากรรุ่น เก่าๆ รู้จักผมทุกคน บางทีเชิญมาคุยที่วัดตอนกลางคืนกับคุณสิทธิชัย ตั้งตรงจิตร ผม แล้วมีอธิบดีกรมศิลปากร ส�ำนักงบ สถาปนิก รวม ๕-๖ คนนั่งประชุมกัน อธิบดีศิลปากรบอกว่าเอาอย่างนี้ลองท�ำราย ละเอียดขึ้นมา ซ่อมอะไรบ้าง ท�ำออกมา ๑๐ ชุด จะหางบประมาณ รายปีให้ บางทีได้มา ๕ ล้านบ้าง ๑๐ ล้านบ้างอธิบดีกับส�ำนักงบเขา ช่วยวัด ไม่งั้นพัง ไม่เหลือแม้แต่โครงหลังคา ช่วงหลังๆ ผมดูแลวัดเกี่ยวกับเรื่องระบบท่อระบายน�้ำ เมื่อ ก่อนนี้ปีหนึ่งน�้ำจะท่วม ๖ เดือน ท่วมครึ่งวัด แล้วท�ำท่อใหม่ สูบน�้ำทิ้ง ไป เป็นพระราชด�ำริของพระเจ้าอยู่หัวท่านมายกช่อฟ้า ท่านมองถนน ข้างนอก ข้างในระดับต�ำ่ ท่านเจ้าคุณระวังน�ำ้ จะท่วมวัด ท�ำอะไรได้ทำ� เสีย รับสั่งอย่างนี้ เราเริ่มเลย ขุดท่อระบายน�้ำรอบวัด แล้วตั้งเครื่อง สูบ เราท�ำมาเรือ่ ยทีนงี้ านต่อเนือ่ งผูกพันกันหลังนีช้ นหลังนี้ ต้องท�ำต่อ กันไปเรื่อย พอเสร็จจากในพุทธาวาส มาสังฆาวาสแล้วเก็บพวกสาย โทรศัพท์ สายไฟ รุงรัง รถปิคอัพเกือบ ๑๐ คันที่ใช้ขน แล้วปลดทิ้ง ไม่ได้ใช้ ผมน� ำ เอาสายไฟลงดิ น ส� ำ เร็ จ แต่ ก็ วุ ่ น วายไปหมด บังเอิญมีลูกศิษย์วัดที่ดี ที่ไปเป็นผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวง เวลามีอะไร เช่น ขั ด ข้ อ งช่ ว ยจั ดการให้ทีพ วกนี้โทรศัพท์ แล้วแห่ กั น มาช่ วย วัดโพธิ์นี้เลี้ยงคนได้ดี ในอนาคตข้างหน้าผมไม่รู้ “โอ้วัดโพธิ์เป็นวัดกษัตริย์สร้าง ไม่โรยร้างรุ่งเรืองดังเมืองสวรรค์” ... (นิราศพระแท่นดงรัง) ในอดีตวัดโพธิ์นี้คนธรรมดาเข้าเป็นปกติไม่ได้ เพราะเปิด ให้เฉพาะวันธรรมสวนะ วันโกน วันพระ ๒ วัน มี ๑๘ ศาลาที่มี จารึกอยู่ ด้านนอกมีศาลาแจกแกงเก่าของวัด เนื่องจากชาวบ้าน
จดหมายข่าว
21
ตลาดขายส่งสินค้าของแห้งที่ยังเหลืออยู่ภายในตลาดท่าเตียน
เขาท�ำอาหารเป็นแกงใส่เรือมาแต่ไม่ให้ชาวบ้านเข้า เขาจะมี “เลกวัด” อยู่ราว ๒๐๐ คน วัดหลวงไม่ให้เข้าเพราะเคยมีเรื่อง เลกวัดคือผู้ที่รับใช้วัด ตามแต่พระท่านจะใช้ คือมีบ้านช่อง อยู่รอบๆ และหายไปตั้งแต่รัชกาลที่ ๖ บริเวณที่พัก (ใกล้กับตลาด ท่าเตียน) เป็นบ้านพักฝีพายมีอยู่ ๑๒ ครอบครัว เป็นห้องเล็กๆ จะ พักอยู่อาศัยอยู่ตามศาลา เช่น ศาลาย้อมผ้า ศาลาผ่าฟืน ฯลฯ กลุ่ม เลกวัดนัน้ มาจากพวกทาสทีเ่ ลิกทาสแต่ไม่มที ี่ไปจึงสมัครใจเป็นคนของ หลวง มีเงินเดือนใช้จ่าย ส่วนผู้ที่บวชที่วัดโพธิ์จะเป็นเชื้อพระวงศ์เสียส่วนใหญ่ เจ้า อาวาสตั้งตามพระราชอัธยาศัยของพระมหากษัตริย์ ส่วนใหญ่จะเป็น สมเด็จพระสังฆราชและต้องไม่ตำ�่ กว่าชัน้ ธรรมหรือชัน้ เทพ ท่านตัง้ ให้ ในพระอุโบสถ เครื่องประดับในวัดตามอาคารศาสนสถานต่างๆ จะมี ลักษณะที่โดดเด่นกว่าวัดอื่นๆ ในกรุงเทพฯ วัดโพธิ์เป็นวัดหลวงซ่อม บูรณะเพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ จ�ำนวนพระสงฆ์น่าจะมีมากที่สุดถึง ๖๐๐ รูป เพราะจะมี ติ้ว ๖๐๐ ติ้วแล้วจะมีคั่นสีด�ำไว้ที่ทุกจ�ำนวน ๕๐ น่าจะท�ำติ้วไว้มา ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ คุมไว้ที่ ๖๐๐ รูป พระเข้ามาบวชเรียนเยอะ มากสมัยนั้น มาเรียนที่วัดโพธิ์ เป็นแหล่งเรียนก่อนที่จะเกิดมหาจุฬาฯ ที่เพิ่งท�ำสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นที่เรียนสงฆ์ วัดโพธิ์มีระบบเดิมมาก่อน เป็นกฎบังคับพระราชาคณะจะต้องสอนหนังสือด้วย เดิมพระผู้ใหญ่ ท่านสอนเณรที่บวชอยู่ แล้วเอาลูกชาวบ้านมาสอนด้วย การศึกษา ของวัดโพธิ์เลิกตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๑๗ ปีเดียวกับที่ให้ลูกทาสเป็นอิสระ เมื่อถึงวันพระคนท่าเตียน แม่ค้าท่าเตียนมาขายดอกไม้ จะต้องจัดดอกไม้ถวายพระแก้วมรกตมาตั้งแต่รัชกาลที่ ๔ มาจนถึง รัชกาลที่ ๖-๗ เป็นธรรมเนียมของคนเก่า วั ดโพธิ์ มี เ รื่ อ งของวรรณคดี จี น ไทยมาก แต่ ส ่ ว นใหญ่ จิตรกรรมไทยหลังคารั่ว น�้ำฝนไหลลงมาเสร็จเลย แล้วบางที่อย่าง ในพระอุโบสถดี ในวิหารพระนอน เดิมหลังคาโครงในเขาจะบุด้วย ทองแดงเป็นแผ่น ช่วงสงครามโลกขโมยปีนขึ้นไปเลาะหมดเลย คน ไม่มีอยู่ด้วย ดาดที่เขาเรียกว่าดาดตะกั่ว ดาดทองแดงคือไว้กันฝนลง
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
มาชะภาพ ก็ท�ำให้ภาพจิตรกรรมเสียหายไปมาก ท่าเตียนนี้มาจากที่มีไฟไหม้ ๓ ครั้งใหญ่ๆ เมื่อรัชกาลที่ ๒ ไหม้แล้วถึงแปลงจากวังมาเป็นคลังสินค้า จากคลังสินค้าข้ามถนนมา เป็นของอิศรางกูร วังอยู่ตรงนั้น ถัดมาเป็นบ้านพระยารัตนาธิเบศร์ ติดกับซอยท่าเตียน ถนนเข้าประตูตลาดอยู่ทางซ้าย แล้วทางนี้เป็น ของเจ้าจอมมารดามรกต จากนั้นเป็นที่ของวัดก่อนที่ของศาลเจ้าราว ๔ ไร่ จึงเป็นวังกรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมผู้ทรงพระนิพนธ์เพลงลาว ดวงเดือน ซึ่งแต่เดิมเป็นบ้านของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธ�ำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) บิดาของเจ้าจอมมารดามรกตมาก่อน ท่านเคยท�ำโรงละคร ที่เรียกว่า “ปรินส์เทียเตอร์” กลุ ่ ม วั ง ท่ า เตี ย น เมื่ อ ก่ อ นนี้ ก รมหมื่ น มาตยาพิ ทั ก ษ์ อ ยู ่ พระองค์เป็นพระชนกของสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ซึ่งเป็น พระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจาก รัชกาลที่ ๕-๖ ลงมาแล้ว เปลี่ยนเป็นสถานีต�ำรวจ ท่านท�ำเครื่อง มุก ภายหลังย้ายไปอยู่ริมน�้ำหน้าตึกห้างบีกริม. ส่วนที่ทางนี้มอบ ให้กรมอะไรไม่ทราบ ภายหลังจึงเป็นสถานีต�ำรวจเมื่อรัชกาลที่ ๖ พระองค์ท่านซื้อหมด บางท่านถวายคืน บางท่านยากจนก็ซื้อคืน รวมทั้ ง กลุ ่ ม ตระกู ล กล้ ว ยไม้ เ ป็ น พระราชโอรสในรั ช กาลที่ ๒ พื้นที่นั้นท�ำเป็นกระทรวงพาณิชย์ในอดีตปัจจุบันคือสถาบันพิพิธภัณฑ์ การเรียนรู้แห่งชาติ ส่วนกลุ่มพระญาติและพระราชโอรสในรัชกาลที่ ๑ อยู่ทาง ริมวังสราญรมย์บ้าง แถวสวนกาแฟบ้าง หน้าวัดโพธิ์บ้าง กลุ่มพระ ราชโอรสในรัชกาลที่ ๒ อยู่ปะปนอีก ๓ องค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์ เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทกั ษ์เทเวศร์, พระองค์เจ้าขาว และ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์กลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ ผู้คนก็ท�ำมาหากินอยู่รอบๆ วัง ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เมื่อไฟ ไหม้แล้วสร้างศาลารับชาวต่างประเทศและศาลต่างประเทศ เวลาฝรัง่ มาหาทีเหม็น ทัศนะอุจาด เมือ่ เห็นแบบตึกจากสิงคโปร์ ท่านก็สร้างตึก ให้เช่าแล้วค้าขาย บ้านหนึ่ง ๔ ครอบครัวหุ้นกัน เพิ่งขึ้นตึกเมื่อสมัย รัชกาลที่ ๔ จากเรือนแพหลังคามุงแฝกริมแม่น�้ำทั้งนั้น สภาพคือทาง ฝั่งด้านนอกที่ติดริมแม่น�้ำที่ดินยื่นออกไปประมาณเกือบ ๑๐ เมตร เวลาที่น�้ำขึ้นน�้ำลงเหมือนแผ่นดินทรุดตลาดท้ายสนมนั้นมีพวกสนม เขาออกประตูภูผาสุทัศน์ประตูนี้ประตูเดียวออกมาซื้อข้าวของ เริ่ม แรกคนน้อยแต่ซื้อขายทางแถบนี้คล่องก็เลยเป็นตลาดคึกคักขึ้นมา ยุคสมัยทีต่ อ้ งขายวังคือรุน่ รัชกาลที่ ๗ หลังเปลีย่ นแปลงการ ปกครอง รัฐบาลตัดเงินพวกเชือ้ พระวงศ์ แต่ไม่ได้เปลีย่ นฉับพลันค่อยๆ เปลีย่ น ค่อยๆ กลืนกินผูค้ นไป การให้ความส�ำคัญแก่พระบรมมหาราช วัง แก่วัดหลวงน้อยลง ลูกศิษย์วดั โพธิน์ ถี้ อื ว่ามีดเี ยอะมาก เพราะถ้าอยูว่ ดั โพธิน์ ตี้ อ้ ง กินนอนกับพระ เช้าจัดส�ำรับให้พระแล้วค่อยไปโรงเรียน ครอบครัวไหน ชอบพอกับพระองค์ไหนเอาเลย เพราะว่าพระที่จะมาอยู่วัดโพธิ์ต้องมี อุปัชฌาย์จากวัดโพธิ์ คู่สวดต้องพระวัดโพธิ์ ถ้าหลุดจากองค์ประกอบ
จดหมายข่าว
นี้แล้ว เขาไม่รับ ปีหนึ่งๆ คนมาบวชเยอะเหมือนกัน เพิ่มขึ้น ไม่ขาด แต่ที่ ขาดกลัวเรื่องเด็กที่มาอยู่วัดไม่มี เพราะต้องหาอาจารย์ จะได้สั่งสอน ระบบเด็กวัดนี้เริ่มหายไป เรื่องเด็กวัด กลายเป็นเรื่องคนอุปถัมภ์วัด ด้วย เพราะระบบเช่นนี้หมายถึงอนาคตของวัด เมื่อถึงวัน “วัดกษัตริย์สร้าง ราษฎร์ซ่อม” ตอนเด็กๆ ผมจ�ำได้ในคืนเดือนเพ็ญผมชอบนั่งห้อยขาริมน�้ำ ดูพระจันทร์ ดูเงาที่ตกทอดลงบนผิวน�้ำ สวยงามมากเพราะตรงข้าม กับวัดอรุณฯ พอดี กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมหรือพระองค์เพ็ญรื้อศาลเดิม เฉพาะตัวองค์ท่าน “เจ้าพ่อกวนอู” รื้อศาลแต่เอาองค์ไว้ แต่ศาล “เจ้า แม่ทับทิม” เมื่อถูกรื้อกรมหลวงชุมพรฯ ท่านเชิญเอาไปไว้ที่วังเพราะ ท่านเป็นทหารเรือ องค์นี้ท่านนับถืออยู่ จึงเชิญไปไว้ที่วังนางเลิ้ง จู่ๆ ทายาทขายวังนางเลิ้ง ให้ใครมาเชิญเจ้าแม่ทับทิมไปไม่มีใครกล้ามา เชิญ เพราะเกิดเรื่องทุกครั้งคนที่จะมาเชิญต้องมีเหตุให้ท�ำไม่ได้ จน มีเขยของราชสกุลอาภากรมาบอกเล่ากับนายเมี้ยน ล่วงประพัทธ์ ซึ่ง เป็นคนขับรถของสมเด็จป๋า ท่านว่าเอามาไว้วดั โพธิ์ได้ รุง่ ขึน้ จึงเอาคน ไปขนย้ายไม่มอี ะไรเกิดขึน้ แต่วนั นัน้ ก็มคี นตาย ตกม้าตายบ้าง ถูกม้า เหยียบบ้าง ตอนนี้ยังอยู่ในวัดโพธิ์ คนที่รู้ดีคือคุณสิทธิชัย ตั้งตรงจิตร นายเมี้ยน ล่วงประพัทธ์ ผม คุณแถมเป็นนายทหาร เดี๋ยวนี้คงจะเสีย ชีวติ ไปแล้ว รวม ๔ คนที่ไปเชิญกลับ มีอยูว่ นั หนึง่ ทีเ่ ชิญแล้วมาไว้ทหี่ อ สมุดทีว่ ดั ในปัจจุบนั นี้ ตัวอาคารยังอยูส่ ร้างเสร็จ พ.ศ. ๒๔๙๐ เพือ่ เป็น อนุสรณ์ให้กับสมเด็จเผื่อน วั ด โพธิ์ นี้ อ ยู ่ ร อดเพราะความคิ ด ของพระสมเด็ จ ป๋ า สร้างโรงเรียนตั้งตรงจิตรของตระกูลตั้งตรงจิตรเกิดขึ้น เนื่องจาก เมื่อสัก ๔๐-๕๐ ปี ที่แล้ว วัดโพธิ์เต็มไปด้วยกุฎิผุพังเยอะ วัดไม่มีเงิน ตอนนั้นสมเด็จป๋าท่านเป็นเจ้าอาวาสมีเงินอยู่ ๔๐ บาท ท่านจะไป ซ่อมแซมอะไร งบประมาณหลังจากปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ถูกตัดแทบหมด ปีหนึ่งได้สองหมื่นกว่าบาท เปลี่ยนระบอบใหม่ วัดโพธิ์เดือดร้อน แย่กว่าเขาเพือ่ นเพราะว่าใหญ่ไป วัดกษัตริยส์ ร้าง ราษฎรซ่อม แต่เรา ได้อาศัยค่าเช่าจากพวกห้องแถวและการช่วยเหลือจากพ่อค้าที่ตลาด ท่าเตียนต่างๆ ที่โรงเรียนตั้งตรงจิตรเคยมีศาลาอยู่ ๖ หลัง แล้วอีก ๓ หลัง ที่อยู่ข้างใต้สุดเป็นที่ส�ำหรับพระนวกะบวชใหม่ อีกแถวหนึ่งคณะกุฎ คณะแถวพระมีพรรษาแก่เข้าหน่อยได้เข้าเรียนพวกบาลีแล้วบ้าง ตรงนั้นเขาจะมีก�ำแพงกั้น แล้วหลุดจากตรงนั้นจะมีคณะใต้สองแถว จะมีกลุ่มที่มี ประโยคสามประโยคสี่ จากตรงนั้นจะมีคณะกลาง พวกนี้ประโยคสูงคือประโยคห้า ประโยคหกขึ้นไปถึงประโยคเจ็ด แต่ ระหว่างแถวหัวท้ายนี้จะมีพระท่านเจ้าคุณดูแลอยู่ แต่ละแถว พอหลุด ไปคณะเหนือตัง้ แต่คณะหนึง่ ถึงนอ ๒๓ ระดับท่านเจ้าคุณชัน้ ผูใ้ หญ่ชนั้ 22
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เทพ ชั้นธรรม ฯลฯ แล้วมีจุดสังเกตหนึ่ง ถ้าประตูที่จะขึ้นกุฏิพวกนี้ จะเป็นเก๋งจีนซุ้มโบราณ ติดกระเบื้องจะมีรูปสัตว์ หมู หมา กา ไก่ แต่ละประตู ยศศักดิ์คนที่อยู่กุฏิ เป็นอย่างนี้ ถ้าคณะกลางจะเป็นจั่ว สามเหลี่ยม แต่ละซุ้มประตูด้านบนหรือด้านข้างหรือคอสองจะมีไก่มี นกแทบทุกประตูดูแล้วเพลิน เมื่อก่อนนี้ผมชอบเดินดู เพราะว่าพวก นี้เป็นเครื่องมงคลอย่างหนึ่ง แล้วอย่างวัดโพธิ์นี้ถ้าเข้าไปประตู ๑๖ ประตู แต่ละประตูนี้เขาจะมีค�ำอวยพรอยู่ มียันต์ขับไล่ผี ให้คุณ แต่ ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นประตูมังกรคู่หงส์ มังกรน�้ำเงิน หงส์สีแดง พวกนี้ ขับความอัปรีย์ทั้งหลายอย่าติดตามมาเข้าวัด แล้วด้านหลังคอสองจะ เป็นลายจีนบ้างไทยบ้าง คอสองพวกนี้ เขาจะอวยพรให้ปลอดภัยจาก ความโชคร้ายทัง้ หลาย เป็นคติจนี เยอะมาก มีประตูเดียว พอออกไปอยู่ ซ้ายมือ ด้านในจะเป็นรูปน�ำ้ เต้า ดอกโบตัน๋ แต่เขาอวยพรให้คณ ุ ร�ำ่ รวย แล้วหลุดจากรื้อคณะแถวกับคณะกุฎ คณะแถว คณะกลาง คณะกุฏิ หายหมดเลย ทีบ่ รรยายมาทัง้ หมด หายหมดเลย พระประท้วง กันมากเดินขบวนกัน แล้วมาสร้างโรงเรียนตั้งตรงจิตรพอลงมือสร้าง สร้างไม่ทันเสร็จกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มาขอเช่า เพื่อเอา นักเรียนนิสิตสหกรณ์เข้ามาเรียน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ย้าย มาจากกรมที่ดินมาที่วังของพระองค์เพ็ญ มาเช่าอยู่ คณะนิสิตเกษตร สหกรณ์รุ่นที่ ๑ รุ่นที่ ๒ จบจากวัดโพธิ์ทั้งนั้น ผมเจอยังจ�ำหน้าได้ ต่อมาภายหลังได้เงินเป็นก้อนมาจากผู้บริจาครายใหญ่ โรงเรียน พาณิชยการเชตุพนฯ ช่วยให้วดั โพธิร์ อดมา ทุกวันนี้ไปตัง้ ทีบ่ างมดตัง้ แต่ ๑๕ ปีที่แล้ว รวมทั้งพวกห้างขายยาตราใบโพธิ์ ตราจักรพระอินทร์ พวกนี้เขาช่วยเหลือวัดมาตลอด ช่วง พ.ศ. ๒๔๗๕ วัดโพธิ์ย�่ำแย่มาก ราวปี พ.ศ. ๒๔๘๘-๘๙ จึงเริ่มดีขึ้น ๑๐ กว่าปี ตอนที่สงครามโลก ครั้งที่ ๒ ราวปี พ.ศ. ๒๔๘๘ วัดปิดเงียบ พระกลัว พระเหลือสัก ประมาณ ๒๐-๓๐ สมัยก่อนเจ้าอาวาสต่างๆ วัดมากราบหลวงพ่อว่าอย่างไร ก็ตาม ขออย่าให้ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ เพราะจะต้องดูแลเยอะ ฝน ตกน�้ำท่วม ต้นหญ้าขึ้นเยอะ หลังคารั่ว สารพัด ทุกวันนี้ผลประโยชน์ที่วัดโพธิ์ เก็บจากฝรั่ง มีเท่านั้นแหละ พอดูแลตัวเองได้อยู่ได้สบาย เจ้าอาวาสประหยัดๆ บ้าง ทุก ๖ เดือน จะส่งบัญชีให้เขาตรวจ แต่วัดเป็นคนจัดการ ไม่ได้ให้ส�ำนักพุทธฯ เขา อยากจะขอดูให้เขาดู สมัยคุณทักษิณ ส�ำนักพุทธให้มีหน้าที่เข้ามาดู ด้วยแต่ยงั ไม่ได้ให้ทงั้ หมด ทีส่ าธารณสมบัตภิ ายหลังส�ำนักพุทธคืนหมด หลังๆ ประวัติศาสตร์ท่าเตียนจะเลือนๆ หายไป เราฟังมา คนละเรื่องกัน ไม่มีคนสนใจว่าเป็นมาอย่างไรจนตลาดเหลือตลาด เดียว ดีที่ชาวบ้านชาวตลาดขอไว้ทัน ไม่เช่นนั้นคงมีสภาพเดียวกับที่ ดิโอลด์สยาม พลาซ่า พื้นที่ของส�ำนักงานทรัพย์สินฯ อยู่ตรงถนนท่า เตียนไปจรดท่าโรงโม่ ส่วนจากตลาดท่าเตียนมาถึงปากซอยเป็นของ เจ้าจอมมารดามรกต เพราะเขาขายออกไป ไม่เช่นนั้นตึกสองข้างนี้ จะเหมือนกันไม่มีผิด สวยมาก ตึกนี้ยังอยู่เพราะกรรมการที่ท่าเตียน เก่งไม่ยอมให้รื้อ แต่ไล่กันมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๖-๑๗ เพราะค�ำอุทาน
ของจอมพลประภาส จารุเสถียรว่า “ถ้ารือ้ ตึกนีจ้ ะเห็นวัดโพธิ์ วัดอรุณฯ วิวสวยมากเลย” กลุ่มจีนท่าเตียนนี้ ส่วนใหญ่เป็นแต้จิ๋ว แซ่เฉิน กับแซ่แต้ มี ไหหล�ำเพียงครอบครัว ๒ ครอบครัวเท่านั้น นอกนั้นมีกวางตุ้ง เป็นอยู่ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๐๕-๐๗ สืบได้ประมาณนั้นเพราะว่าพวกนี้ส่วนใหญ่ จะอยู่ตามวัง เป็นคนจีน เป็นข้าราชบริพารติดเรือไป เป็นเชื้อจีนทั้ง นั้นแหละ ลงเรือแล้วเข้าไปท�ำงานอยู่ในวัง จะติดเรือไปเป็นกรรมกร ขนของขึน้ มีสงั กัดอยูว่ งั ไหน คนจีนในย่านท่าเตียนผสมไทยตัง้ แต่สมัย รัชกาลที่ ๕ แต่ยังไหว้เจ้า เหมือนกับเป็นคนที่วัฒนธรรมไทยสร้าง ขึ้นมาเป็นกลุ่มคนจีนที่อยู่เมืองไทย คือขอบคุณที่มีแผ่นดินอยู่ มีที่ซุก หัวนอน ถ้าไปเห็นบ้านไหนรู้เลยเชื้อสายจีน ต่อมาส่วนใหญ่เขาท�ำอาหาร ขายกาแฟ ในตลาดค้าขายทุก อย่าง จะเป็นถั่ว งา พวกหนังสัตว์ เป็นการขายส่งคือรับมาจากต่าง จังหวัด เขาเอาเรือมาขึ้นตรงนี้ มีท่าเรือแดง แต่ท่าโรงโม่ส�ำหรับเรือ ข้ามฟาก ท่าเรือแดงนี้วิ่งทางยาวกรุงเทพฯ ท่าหินวิ่งในคลองใกล้ๆ คลองแถวบางพลัด บางล�ำพู เอาส้ม เอาผลไม้นี้มาส่ง ส่วนท่าเรือ เขียววิ่งทางสุพรรณฯ ท่าเรือท่าเตียนหายไปเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ กว่าๆ นี้เอง เพราะ เมือ่ ก่อนอาศัยเรืออย่างเดียวเข้ามาค้าขาย ตรงนีเ้ หมือนกับเป็นตลาด ขนส่ง ขายส่ง ขายปลีก ทุกตลาดต้องมาซื้อของจากท่าเตียน ปลา เค็มหรือไม่เค็ม ทุกอย่างต้องเอาจากที่นี่หมด แม้กระทั่งพวกถั่ว เมื่อ มีความเจริญขึ้น เริ่มมีรถ การเดินทางรถจะสะดวกกว่าทางน�้ำ ตลาด หดตัว พอถึงในช่วงรัชกาลที่ ๖ เริ่มซบเซา พอถึงรัชกาลที่ ๗ ตลาด เริ่มฟื้นขึ้นมาหน่อย พอรัชกาลที่ ๘ มีสิ่งก่อสร้างปลูกขึ้นมาใหม่ ถนน เริม่ เป็นถนนคอนกรีต เริม่ เข้ามาตัง้ แต่พระบรมมหาราชวัง ถึงรัฐสภา มาเรื่อย แล้วพอถึงปลายๆ รัชกาลที่ ๘ พวกเรือที่เคยวิ่งค่อยๆ หมด ไป แล้วแจวที่ใช้แรงงานหายไปหมด สูแ้ รงเครือ่ งจักรเรือไม่ไหว แม้แต่ เรือข้ามฟากยังเปลี่ยนเป็นเรือเครื่องจักร ชุมชนท่าเตียนทุกวันนีพ้ วกเราช่วยกันดูแลดีทงั้ ประธานและ รองประธาน ทีฝ่ รัง่ เข้ามาเยอะๆ ก็เป็นห่วง มีคนข้างนอกเข้ามาเช่าท�ำ โรงแรมแล้วบางทีใช้เครื่องเสียงไม่เกรงใจหนวกหูดึกดื่น เพราะตอน นั้นอาคารจะพังเจ้าของเดิมปล่อย ทางวัดเขาเลยยื่นเงื่อนไขว่าถ้าไม่ ซ่อมจะยึดคืน เขาเลยหาคนมาลงทุนเลยกลายเป็นแบบนี้ แล้วเรือ่ งการใช้เสียงยังไม่ได้โวยกัน คนท่าเตียนแต่กอ่ นเขา อยูก่ นั เงียบ บ้านเปิดทิง้ ได้เลย หลังคาเรือนทัง้ หมด ๕๐๐ หลัง เดีย๋ วนี้ เหลือสัก ๓๐๐ หลัง แล้ว ส่วนใหญ่ทำ� อาชีพค้าขายกันทีต่ ลาดท่าเตียน บางคนลูกรับราชการอยู่ข้างบน พ่อเป็นพ่อค้าอยู่ข้างล่าง
จดหมายข่ จดหมายข่าวาว 2323 มูมูลลนินิธธิเล็ิเล็กก-ประไพ -ประไพวิวิรริยิยะพัะพันนธุธุ์ ์
จดหมายข่าว
24
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์