เปิด : ศรีประเด็ น ศักร วัลลิโภดม เขาขุนน�้ำนางนอน : ภูศักดิ์สิทธิ์ของแอ่งเชียงแสน
ดอยขุนน�้ำนางนอนในปัจจุบัน ภาพจาก : www.news1live.com ทุกวันนี้คนไทยทั่วประเทศคงไม่มีใครปฏิเสธว่าไม่เคยได้ยิน หรือไม่รู้จักค�ำว่า “เขาขุนน�้ำนางนอน” และ “ถ�้ำหลวง” ที่เด็กนัก ฟุตบอลทีมหมูป่าอะคาเดมี่ เข้าไปเที่ยวและติดอยู่ในถ�้ำจนเกือบไม่ รอดชีวิต เป็นเหตุให้คนไทยและคนทั่วโลกระดมทั้งความรู้และพละ ก�ำลังไปช่วยเหลือให้รอดมา เหตุการณ์ครั้งนี้นับเป็น ปรากฏการณ์ท างศีลธรรมและ มนุษยธรรมอย่างแท้จริง และนับได้วา่ เป็นเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ ด้วย ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยจากหลักฐานของการสร้าง บ้านแปงเมืองของข้าพเจ้าในภูมวิ ฒ ั นธรรมของดินแดนล้านนาในภาค เหนือของประเทศไทย ทีป่ รากฏตามทีล่ าดลุม่ และทีร่ าบลุ่มในบริเวณ ระหว่างเขา [Intermountain Area] ที่เรียกว่า หุบ [Valley] และแอ่ง [Basin] นัน้ เขาขุนน�ำ้ นางนอนเป็นภูเขาศักดิส์ ทิ ธิข์ องแอ่งเชียงแสนใน จังหวัดเชียงราย ซึง่ เป็นทีร่ าบลุม่ โอบล้อมด้วยภูเขาทุกด้าน ด้านตะวัน ตก คือเขาขุนน�้ำนางนอนที่เป็นขอบของเทือกเขาแดนลาวที่เป็นพื้นที่ ของรัฐฉานในเขตประเทศพม่า ทางเหนือ เป็นเขาที่อยู่ในเขตพม่าที่มี ล�ำน�ำ้ สายและล�ำน�ำ้ รวกมาสบกันเป็นล�ำน�ำ้ ใหญ่ไหลผ่านทีล่ าดลุม่ ทาง ตอนเหนือของแอ่งเชียงแสนไปออกแม่น�้ำโขงทางตะวันออกที่ต�ำบล สบรวก หรือที่เรียกกันในปัจจุบันว่า “สามเหลี่ยมทองค�ำ” ล�ำน�้ำรวก คือเส้นเขตแดนที่แบ่งเขตประเทศไทยออกจากประเทศพม่า
จากสบรวกลงมาทางใต้จนถึงปากล�ำน�้ำแม่ค�ำใกล้กับเมือง เชียงแสน มีเขาเตีย้ ๆ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นขอบของแอ่งเชียงแสนก่อนทีจ่ ะถึง บริเวณชายฝั่งแม่น�้ำโขง และตอนปลายเขากลุ่มนี้ซึ่งเป็นที่ลาดลุ่ม ชายขอบลงแม่น�้ำโขง ล�ำน�้ำรวก และเมืองเชียงแสนทางตอนล่างที่ ใกล้กบั ปากล�ำน�ำ้ แม่คำ� ทางด้านใต้ของแอ่งเชียงแสน มีกลุม่ เขาเตีย้ ๆ จากอ�ำเภอแม่จัน เป็นขอบแอ่งเป็นบริเวณที่มีล�ำน�้ำสองสายจากทาง ตะวันตก ผ่านแอ่งเชียงแสนมาออกแม่น�้ำโขงใต้เมืองเชียงแสนลงมา ล�ำน�้ำทั้งสองนี้คือ “ล�ำน�้ำแม่จัน” กับ “ล�ำน�้ำแม่ค�ำ” ล�ำน�้ำแม่จันไหลผ่านช่องเขาทางใต้ของเขาขุนน�้ำนางนอน เลียบกลุ่มเขาแม่จันมาสมทบกับล�ำน�้ำแม่ค�ำที่ ไหลมาจากขุนน�้ำนาง นอนกลายเป็นล�ำน�้ำแม่ค�ำไหลผ่านเมืองเชียงแสนไปออกแม่น�้ำโขงที่ ปากค�ำ กลุ่มเขาของแม่จันจากอ�ำเภอแม่จันมาออกปากล�ำน�้ำค�ำนี้คือ ทิวเขาทีก่ นั บริเวณแอ่งเชียงแสนของล�ำน�ำ้ แม่สาย ล�ำน�ำ้ ค�ำ และล�ำน�ำ้ แม่จนั ออกจากลุม่ น�ำ้ แม่กกทีน่ บั เนือ่ งเป็นบริเวณแอ่งเชียงรายทีม่ ลี ำ� น�ำ้ แม่ลาวและแม่กกรวมไหลกันมาออกแม่น�้ำโขงที่ต�ำบลสบรวก อาจกล่าวได้ว่า “ทิวเขาแม่จัน” นี้คือ สันปันน�้ำที่แบ่งแอ่ง เชียงรายออกจากแอ่งเชียงแสน แต่ที่ส�ำคัญยิ่งไปกว่าการแบ่งสันปัน น�้ำก็คือ ทางเชิงเขาฟากฝั่งแอ่งเชียงรายเป็นที่ลุ่มต�่ำเต็มไปด้วยหนอง บึงที่เรียกว่า “หนองหล่ม” คือหนองที่มีน�้ำซับหรือน�้ำใต้ดินที่มีระดับ น�้ำไม่คงที่ เช่น เวลาฝนตกและมีน�้ำใต้ดินมาก น�้ำอาจท่วมท้นท�ำให้
เกิดน�ำ้ ท่วมดินถล่มกลายเป็นทะเลสาบได้ หรือเมือ่ น�ำ้ ใต้ดนิ ลดน้อยลง แผ่นดินโดยรอบก็จะแห้งกลับคืนมา ท�ำให้คนเข้าไปตั้งถิ่นที่อยู่อาศัย โดยรอบของหนองหรือทะเลสาบนั้นได้ ในการศึกษาทางภูมิวัฒนธรรมของการสร้างบ้านแปงเมือง ในแอ่งเชียงแสนจากต�ำนาน ของข้าพเจ้าและบิดาคือ อาจารย์มานิต วัลลิโภดม พบว่าแอ่งเชียงแสนเป็นทีเ่ กิดของเมืองทีเ่ ป็นต้นก�ำเนิดของ คนไทยสองเมือง คือ “เมืองเวียงพางค�ำ” เชิงที่ราบลุ่มของเขาขุนน�้ำ นางนอนทีอ่ ยูข่ อบเขาใกล้กบั ล�ำน�ำ้ แม่สายทีอ่ ยูท่ างตอนเหนือของแอ่ง เชียงแสน กับ “เมืองเวียงหนองหล่ม” ที่อยู่ชายขอบทิวเขาแม่จันทาง ฟากลุ่มน�้ำแม่กกซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของแอ่งเชียงแสน ต�ำนานที่กล่าว ถึงการสร้างบ้านแปงเมืองที่ว่านี้ เป็นต�ำนานของคนสองเผ่าพันธุ์ คือ “คนไทย” และ “คนลัวะ” ต�ำนานของคนไทยคือ “ต�ำนานสิงหนวัติ” ส่วนต�ำนานของ คนลัวะคือ “ต�ำนานเกี่ยวกับปู่เจ้าลาวจก” ความต่างกันของต�ำนานทั้ง สองก็คอื ต�ำนานของคนไทยคือต�ำนานของคนทีเ่ ข้ามาในแอ่งเชียงแสน จากภายนอก ในขณะที่ต�ำนานปู่เจ้าลาวจกเป็นต�ำนานของคนที่มี ถิ่นฐานอยู่ในแอ่งเชียงแสนมาก่อน ต�ำนานของคนลัวะตั้งถิ่นฐานอยู่ บนที่สูง เช่น เชิงเขาและเขาเตี้ยๆ ส่วนของคนไทยตั้งหลักแหล่งใน ที่ราบลุ่มใกล้แม่น�้ำ ล�ำน�้ำและหนองบึง และคนเหล่านี้ก็เข้ามาพร้อม กันกับความเชื่อในเรื่องของผีบนท้องฟ้า เช่น ผีแถนและพญานาคที่ เป็นเจ้าของแผ่นดินและน�้ำ ดังเช่นบริเวณใดที่เป็นหนองบึง ที่มีน�้ำซับก็จะเชื่อว่าเป็น “รู ของพญานาค” เมื่อมาผสมกับความเชื่อทางพุทธศาสนาแล้วก็มักจะ สร้างพระมหายอดเจดีย์ ณ ต�ำแหน่งที่เป็นรูของพญานาค ให้เป็น หลักของบ้านและเมือง ส่วนความเชื่อของคนลัวะไม่มีเรื่องผีบนฟ้า เช่น ผีแถน ผีฟ้า และพญานาค ซึ่งเป็นสัตว์เนรมิต แต่เชื่อในเรื่อง สิ่งศักดิ์สิทธิ์บนดิน และสัตว์ธรรมชาติที่เป็นสัตว์กึ่งน�้ำกึ่งบก เช่น งู ปลาไหล จระเข้ ตะกวด เหี้ย ที่ถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของความอุดม สมบูรณ์ รวมทั้งความเชื่อในเรื่องผู้หญิงเป็นใหญ่กว่าผู้ชายในสังคม เช่น ผู้ที่เป็นเจ้าเมืองและปกครองคนคือผู้ที่เป็นหญิง ฯลฯ จากหลักฐานทางโบราณคดีที่ได้ศกึ ษาและส�ำรวจมาเกีย่ วกับ คนลัวะที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บนที่สูงตามเขาและเนินเขาเหล่านี้พบว่า ระบบ ความเชือ่ ของคนลัวะได้พฒ ั นาขึน้ เป็น “ระบบหินตัง้ ” [Megalithic] คือ มีการแยกพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ออกจากพื้นที่ธรรมดาสาธารณ์ด้วยแท่งหิน ก้อนหิน หรือแผ่นหิน รวมทั้งการก�ำหนดลักษณะภูเขา ต้นไม้ เนินดิน ให้เป็นแหล่งทีส่ ถิตของอ�ำนาจเหนือธรรมชาติ เช่น การก�ำหนดให้เป็น ที่ฝังศพของคนส�ำคัญ หรือไม่ก็เป็นบริเวณที่สัมพันธ์กับการอยู่สถิต ของอ�ำนาจเหนือธรรมชาติ และพื้นที่ในการมาประกอบพิธีกรรมร่วม กัน ฯลฯ การฝังศพของบุคคลส�ำคัญมักจะถูกก�ำหนดให้ฝังไว้ในที่สูง ที่ไม่ไกลจากสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่อาจจะเป็นโขดหิน เพิงหิน หรือกอง หินสามก้อนหรือสามเส้าที่อาจจะเป็นก้อนหินธรรมชาติ หรือเป็นของ จดหมายข่าว
ที่เคลื่อนย้ายจากที่อื่นมาประดิษฐานไว้ ในขณะทีบ่ ริเวณทีฝ่ งั ศพจะท�ำให้เป็นเนินดินล้อมเป็นรูปกลม หรือรูปเหลีย่ ม รวมทัง้ น�ำแท่งหินหรือก้อนหินมาปักรอบในระยะทีห่ า่ ง กันเป็นสี่ก้อนหรือมากกว่านั้นโดยไม่ก�ำหนดตามจ�ำนวนอย่างใด และ บริเวณที่วางศพก็จะมีเครื่องเซ่นศพที่อาจจะเป็นเครื่องประดับ อาวุธ และภาชนะดินเผา รวมทั้งเครื่องใช้บางอย่าง คนที่อยู่ในที่สูง เช่น พวกลัวะที่กล่าวมานี้ตั้งถิ่นฐานกระจายอยู่มากมายตามเขาต่างๆ ใน เขตแคว้นล้านนา อาจแบ่งออกได้เป็นหลายเผ่า [Tribes] แม้ว่าจะเป็น ชาติพันธุ์เดียวกันก็ตาม บางเผ่ามีพัฒนาการทางสังคมและการเมือง ใหญ่โตเป็นเมืองเป็นรัฐ [Tribal State] เกิดขึ้นมา ซึ่งแลเห็นได้จาก การสร้างเนินดินที่มีคูน�้ำและคันดินล้อมรอบเป็น “เวียง” ขึ้นเพื่อการ อยู่อาศัย การจัดการน�้ำและการป้องกันการรุกรานของข้าศึกศัตรู เหนือความเชื่อในเรื่องพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ท่ีเป็นแหล่งฝังศพของ คนส�ำคัญ โขดหินและเนินศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นแหล่งพิธีกรรมดังกล่าวมา นี้ ก็เป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์ที่มีลักษณะโดดเด่นทางธรรมชาติ ไม่ว่าจะ เป็นขุนเขาหรือยอดเขาที่มีความสูงเป็นที่สุดเหนือบริเวณเขาทั้งหลาย หรือที่มีรูปร่างแบบไม่ธรรมดาที่ชวนให้คนที่เห็นมีจินตนาการนึกเห็น เป็นเรื่องราวอะไรต่างๆ ก็ได้ ก็คือบรรดาขุนเขาที่สัมพันธ์กับต�ำนาน ความเชื่อในเรื่องของความเป็นมาของบ้านเมืองที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น บรรดาขุนเขาเหล่านี้ที่โดดเด่นในภาคพื้นล้านนาก็มี เช่น ดอยหลวง เชียงดาว ดอยสุเทพ ดอยด้วน ดอยตุง ฯลฯ ซึ่งในที่นี้ “ดอยตุง” ก็คือดอยที่สูงสุดของขุนเขาขุนน�้ำนาง นอน ในพงศาวดารโยนกทีก่ ล่าวถึงเรือ่ งราวของกลุม่ คนลัวะในตระกูล ของปู่เจ้าลาวจกที่ต่อมาพัฒนาการเป็นราชวงศ์ลวจักราชของพญา มังรายปฐมกษัตริยเ์ มืองเชียงใหม่ ในพงศาวดารไม่เรียกว่า “ดอยตุง” แต่เรียกว่า “ภูสามเส้า” จากรูปร่างที่ปรากฏอยู่ของดอยสามดอยใน บริเวณใกล้เคียงกัน คือ ดอยจ้อง ดอยผูเ้ ฒ่า และดอยตุง ซึง่ ในบรรดา ดอยทัง้ สามนี้ ดอยตุงอยู่ในระดับสูงทีส่ ดุ เป็นทีซ่ งึ่ มีการน�ำพระธาตุมา ประดิษฐานไว้เหนือดอยที่รู้จักกันในนามของดอยตุง ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณผาสามเส้าหรือขุนน�้ำนางนอน
4
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ค�ำว่า “ตุง” โดยทั่วไปหมายถึงธงที่เป็นสัญลักษณ์ในทาง ศาสนาและความเชื่อ แต่ผู้รู้ในท้องถิ่นบางท่านบอกว่า “เป็นบริเวณ ที่มีน�้ำมารวมกัน” ในต�ำนานของดอยตุงจากพงศาวดารโยนกบอกว่า บนดอย ตุงเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยและทีท่ ำ� กินของกลุม่ คนลัวะทีม่ ปี เู่ จ้าลาวจกเป็นผูน้ ำ� ท�ำการเพาะปลูกพืชพันธุ์ด้วยการใช้เสียมตุ่น (เครื่องมือหิน) ในการ พรวนดิน ต่อมาได้เคลื่อนย้ายลงจากบนเขามาสร้างบ้านแปงเมืองที่ เชิงเขาใกล้กับล�ำน�้ำสายที่ตอนปลายน�้ำเรียกล�ำน�้ำรวก และเรียกชื่อ เมืองนี้ว่าหิรัญนครเงินยางที่เป็นต้นก�ำเนิดให้เกิดเมืองเชียงแสนขึ้น เป็นรัฐเป็นนครในสมัยต่อมา โดยมีกษัตริยผ์ เู้ ป็นต้นตระกูลมีพระนาม ว่า “ลวจักราช” ผูท้ ำ� ให้เกิดรัฐเชียงแสนขึน้ กษัตริยส์ ำ� คัญของราชวงศ์ นี้คือ “ขุนเจือง” เป็นผู้ที่แผ่อ�ำนาจของรัฐเชียงแสนกว้างใหญ่ไปทั้ง สองฟากของแม่น�้ำโขง และต่อมาจากขุนเจืองอีก ๔ รัชกาล ก็มาถึง พญามังรายผูส้ ถาปนาแคว้นล้านนาขึน้ โดยมีเมืองส�ำคัญอยูท่ เี่ ชียงใหม่ การสร้างเมืองขึน้ ทีเ่ ชิงดอยตุงใกล้กบั ล�ำน�ำ้ ทีก่ ล่าวในต�ำนาน ปู่เจ้าลาวจกนี้มีเมืองอยู่จริงในบริเวณเชิงเขา “ดอยเวา” อันเป็นแนว เขาต่อเนื่องจากดอยจ้องลงไปจดล�ำน�้ำสายที่กั้นเขตแดนไทย-พม่าที่ ต�ำบลท่าขี้เหล็ก แต่คนท้องถิ่นในปัจจุบันไม่ได้เรียกว่าเมืองหิรัญนคร เงินยางดังกล่าว ในต�ำนานลวจักราชผูม้ ตี น้ ตระกูลเป็นคนลัวะบนดอย ตุง แต่เรียกชื่อเมืองว่า “เวียงพางค�ำ” เป็นบ้านเกิดเมืองนอนของ “พระเจ้าพรหมมหาราช” มหาราชพระองค์แรกของชนชาติไทยในดิน แดนประเทศไทย เป็นการอ้างเรือ่ งราวในต�ำนานสิงหนวัตขิ องกลุม่ คน ไทยทีเ่ คลือ่ นย้ายจากทะเลสาบตาลีฟู หรือหนองแส เป็นต้น แม่นำ�้ โขง ในมณฑลยูนนานของประเทศจีน เป็นกลุ่มของชนเผ่าไทยที่อยู่ในพื้น ราบท�ำนาในทีล่ มุ่ ทีเ่ ชือ่ กันว่าอพยพผ่านเขตอ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ตามล�ำน�ำ้ แม่กกลงมาสร้างบ้านแปงเมืองอยู่ ณ บริเวณหนองหล่มใกล้ กับแม่น�้ำโขงใกล้กับเมืองเชียงแสน ในต�ำนานนี้บอกว่าผู้น�ำของชนเผ่าไทยคือ “พญาสิงหนวัติ” สร้างเมืองในบริเวณ “หนองหล่ม” โดยได้รับการช่วยเหลือจาก พญานาคผู้เป็นเจ้าของแผ่นดินและน�้ำที่หนองหล่มนี้ จึงมีการตั้งชื่อ เมืองให้เป็นเกียรติแก่พญานาคว่า “โยนกนาคพันธุ์” โดยเอาชื่อเผ่า ที่เรียกว่า “ยวน” หรือ “โยนก” มาผสมกับชื่อนาคพันธุ์ของพญานาค ตนนั้น กษัตริย์ราชวงศ์สิงหนวัติครองเมืองโยนกนาคพันธุ์มาหลาย ชั่วคน บ้านเมืองก็ล่มจมน�้ำไปอันเนื่องมาจากความชั่วร้ายของผู้คนที่ ไปจับปลาไหลเผือกจากหนองน�้ำมากิน ท�ำให้ต้องมาตั้งเมืองใหม่ขึ้น ที่ “เวียงปรึกษา” ริมฝั่งแม่น�้ำโขงใกล้กับปากล�ำน�้ำค�ำเป็นเมืองใหม่ ขึ้นมาแทนเมืองหนองหล่ม แต่เชื้อสายของพญาสิงหนวัติให้แยกย้าย ไปสร้างบ้านแปงเมืองที่อยู่เหนือน�้ำไปยังลุ่มน�้ำแม่กกและแม่ลาวใน เขตจังหวัดเชียงราย มี “เมืองชัยนารายณ์และชัยปราการ” เป็นต้น แต่กลุ่มหนึ่งไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่แม่สายเชิงดอยตุงและตั้งชื่อ เมืองว่า “เวียงพางค�ำ” ตามพระนามของพญาพังคราชผู้เป็นพระราช จดหมายข่าว
5
ภาพถ่ายทางอากาศบริเวณเมืองเชียงแสน
บิดาของพระเจ้าพรหมมหาราช แต่จากหลักฐานทางโบราณคดีมีร่อง รอยของเมืองหรือเวียงอยู่จริงที่เชิงดอยตุงใกล้ล�ำน�้ำสาย กลุ่มชนเผ่า ไทยในที่ราบลุ่มท�ำนาเหมือง นาฝาย ต่างจากการท�ำไร่นาของคนลัวะ ที่อยู่บนที่สูง และเมืองนี้ก็เป็นต้นก�ำเนิดของการสร้างเหมืองฝายโดย กษัตริย์ผู้ครองเมืองที่เรียกว่า “เหมืองแดง” สร้างจากการชักน�้ำสาย สาขาหนึ่งที่ ไหลลงจากทิวเขาดอยตุงมาท�ำนาในที่ลุ่มทางด้านตะวัน ออกของเมือง ในการศึ ก ษาส� ำ รวจทางโบราณคดี ข องข้ า พเจ้ า ทั้ ง จาก ภาพถ่ายทางอากาศและการศึกษาภาคพืน้ ดินได้ความว่า เป็นเมืองรูป สี่เหลี่ยมค่อนข้างเป็นผืนผ้าแบบไม่สม�่ำเสมอ พอแลเห็นแนวคูน�้ำและ คันดินเป็นรูปเหลี่ยมค่อนข้างชัดทางตะวันตกเฉียงเหนือ อันเป็นด้าน ติดกับภูเขาขุนน�้ำนางนอนที่มีความยาวประมาณ ๑,๐๑๐ เมตร และ ทางด้านใต้ประมาณ ๑,๐๒๓ เมตร ทางด้านเหนือแนวก�ำแพงและคูนำ�้ คดเคีย้ วอันเนือ่ งมาจากเป็นบริเวณทีร่ บั น�ำ้ จากล�ำห้วยทีล่ งจากเขาเพือ่ ชักให้ไหลผ่านคูเมืองออกไปลงพื้นที่ราบลุ่มทางตะวันออก ในขณะ ทีท่ างด้านตะวันออกทีอ่ ยู่ในทีล่ าดลุม่ ไม่มรี อ่ งรอยของแนวคันดินและ คูน�้ำปล่อยให้เปิดกว้างเป็นที่รับน�้ำของล�ำห้วยและล�ำเหมืองที่มาจาก เขาทางมุมเมืองด้านเหนือต่อกับด้านตะวันตก และการที่มีคูน�้ำและ คันดินไม่ครบทุกด้านเช่นนีก้ ส็ ะท้อนให้เห็นว่าการสร้างคูนำ�้ และคันดิน ของเวียงพางค�ำไม่ใช่เป็นเรื่องของการป้องกันการรุกรานของศัตรูใน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ยามสงครามเป็นเรื่องส�ำคัญ หากเป็นเรื่องการจัดการน�้ำในเรื่องการ ป้องกันน�้ำป่าบ่าไหลเข้าท่วมเมืองประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่ง ก็คือการชักน�้ำเข้ามาใช้ในเมืองและเบนน�้ำเขาตามล�ำเหมืองออกไป ยังพืน้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยและท�ำกินของผูค้ นทีอ่ ยูน่ อกเมืองทางด้านตะวันออก ลักษณะรูปพรรณสัณฐานและต�ำแหน่งเมืองติดกับภูเขาเช่น นี้มีลักษณะคล้ายกันกับ “เมืองเชียงใหม่” ที่ตั้งอยู่ตรงที่ลาดหรือเชิง เขาดอยสุเทพ ดังแลเห็นได้จากแนวคูน�้ำและก�ำแพงเมืองชั้นนอกที่มี ไม่ครบ โดยปล่อยให้ด้านเหนือของตัวเมืองปล่อยโล่งเพื่อให้น้�ำจาก ล�ำห้วยไหลผ่านทีล่ าดไปลงแม่นำ�้ ปิงทางทิศตะวันออก ท�ำให้ดา้ นตะวัน ออกไม่มีแนวคันดินและคูน�้ำ แต่มีการขุดเหมืองแม่ข่าชักน�้ำผ่านด้าน ตะวันออกของเมืองลงไปออกตั้งแต่น�้ำปิงที่ต�ำบลไชยสถาน อ�ำเภอ หัวดงแทน แนวคันดินและคูน�้ำรูปไม่สม�่ำเสมอของเมืองชั้นนอกของ เชียงใหม่ที่น่าจะเป็นของเดิมที่มีมาก่อนการสร้างเมืองเชียงใหม่ ใน สมัยพญามังรายเป็นเมืองเพือ่ การจัดการน�ำ้ ที่ไม่เน้นการป้องกันข้าศึก เช่นเดียวกันกับเวียงพางค�ำ พอมาถึงสมัยพญามังรายจึงมีการสร้าง เมืองสร้างคูนำ�้ และคันดินเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มแบบเมืองสุโขทัยขึน้ มา ตาม ต�ำนานที่ว่าพญามังรายทูลเชิญให้พญาร่วงจากสุโขทัยมาช่วยสร้าง เมือง ซึ่งต่อมาในรัชกาลพระเมืองแก้วก็มีการสร้างก�ำแพงก่อด้วยอิฐ มีใบเสมาอันเป็นลักษณะก�ำแพงเมืองที่ได้รบั อิทธิพลตะวันตกเช่นเดียว กับเมืองในสมัยอยุธยา
ภาพถ่ายทางอากาศเวียงพางค�ำที่แม่สาย ช่วงก่อน พ.ศ. ๒๕๐๐
จดหมายข่าว
ส�ำหรับเวียงพางค�ำนัน้ ก็มรี อ่ งรอยบางอย่างทีม่ กี ารสร้างแนว คันดินและคูน�้ำใหม่ขึ้นภายในบริเวณเมืองเดิมเป็นรูปสี่เหลี่ยมแต่มี ขนาดเล็กที่ยังดูอะไรไม่ชัดเจน เพราะมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ในสมัย ปัจจุบัน ยกเว้นร่องรอยของสระน�้ำโบราณหลายแห่งที่มีความหมาย ต่อการใช้น�้ำในความเป็นอยู่ของคนเมือง รวมทั้งเนินดินไม่สม�่ำเสมอ อีกหลายแห่งที่ยังไม่มีการขุดค้นทางโบราณคดีเพื่อศึกษา การที่กล่าวพาดพิงเปรียบเทียบไปถึงเมืองเชียงใหม่ ในที่นี้ ก็เพื่อที่จะชี้ให้เห็นว่า ทั้งเชียงใหม่ในแอ่งเชียงใหม่มีอะไรที่คล้ายกัน กับเมืองเวียงพางค�ำในแอ่งเชียงแสนอย่างมาก เริ่มแต่เรื่องของภูเขา ศักดิส์ ิทธิ์ขนุ น�ำ้ นางนอนกับดอยสุเทพ กับการสร้างบ้านแปงเมืองของ เมืองส�ำคัญที่ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาอันเป็นที่ลาดลุ่มลงสู่ที่ชุ่มน�้ำ ที่รับ น�้ำลงมาจากล�ำน�้ำล�ำห้วยและล�ำเหมืองฝายจากทิวเขาทางด้านตะวัน ตก และมีล�ำน�้ำสายใหญ่หล่อเลี้ยง เช่น ล�ำน�้ำปิงและล�ำน�้ำสาย จาก บริเวณต้นน�ำ้ ทีล่ าดลงจากทิวเขา ท�ำให้เกิดการท�ำเหมืองฝายเพือ่ การ ท�ำนาข้าวที่เลี้ยงผู้คนพลเมืองให้อย่างมากมาย และท�ำให้เกิดการ กระจายตัวของบ้านและเมืองไปตามล�ำน�้ำธรรมชาติและล�ำเหมือง เป็นบ้านเมืองของการท�ำนาแบบทดน�ำ้ [Wet Rice] ทีเ่ รียกว่า นาด�ำ [Transplanting Rice] ดังเห็นได้จากบริเวณที่ราบลุ่มด้านตะวัน ออกของทั้งทิวเขาขุนน�้ำนางนอนและเขาดอยสุเทพ เขา “ขุนน�ำ้ นางนอน” คือชือ่ ในปัจจุบนั แต่กอ่ นในต�ำนานเป็น เขาของคนลัวะที่เรียกว่า “ภูสามเส้า” ต่อมาเปลี่ยนเป็น “ดอยตุง” อันเนื่องมาจากการสร้างพระธาตุบนยอดเขาที่สูงสุดในบริเวณนี้ ข้าพเจ้าเคยขึ้นไปส�ำรวจดูบริเวณเขานี้ ในเวลาอันจ�ำกัดไม่ พบร่องรอยของโขดหินศักดิส์ ทิ ธิ์ หรือเนินดินทีฝ่ งั ศพคนส�ำคัญในรอบ หินตั้งเหมือนในที่อื่น แต่พบบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ปัจจุบันยังเป็นสถานที่ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ทน ซึง่ พอน�ำมากล่าวตีความได้วา่ น่าจะเป็นแหล่งศักดิส์ ทิ ธิ์ ของคนลัวะก่อนการสร้างพระธาตุดอยตุงทีม่ ากับความเชือ่ ของคนเผ่า ไทย-ลาวในล้านนาและล้านช้างทีเ่ ชือ่ ว่าที่ใดมีนำ�้ ซับหรือน�ำ้ ใต้ดนิ เป็นรู พญานาคจะมีการสร้างพระธาตุในทางพุทธศาสนาขึ้นปิดรูนาค ท�ำให้ มีการสร้างพระธาตุดอยตุงขึน้ ในบริเวณนี้ และเปลีย่ นชือ่ ภูสามเส้ามา เป็นดอยตุงทางพุทธศาสนาแทน จนมาปัจจุบนั คนทัว่ ไปรุน่ ใหม่ๆ ก�ำลัง ลืมชือ่ ดอยตุงมาเป็นเขาขุนน�ำ้ นางนอนแทน โดยเอาต�ำนานท้องถิน่ ของ คนรุ่นหลังๆ มาอธิบาย แต่เหตุการณ์ทมี่ กี ารช่วยเหลือเด็กนักฟุตบอลทีมหมูปา่ อะคา เดมีโ่ ดยทัง้ คนไทยและคนทัว่ โลกนัน้ ท�ำให้ขา้ พเจ้าได้เห็นและเข้าใจใน สิ่งใหม่อย่างหนึ่งก็คือ ทิวเขาขุนน�้ำนางนอนเป็นแหล่งน�้ำใต้ดินที่ใหญ่ โตตลอดแนวเขาที่บรรดาน�้ำที่มาจากที่สูงบนเขาทางด้านตะวันตกที่ แผ่ยาวไปในเขตรัฐฉานของพม่ามาสะสมอยู่ ใต้ทิวเขาก่อนที่จะไหล ออกพื้นที่ราบลุ่มทางด้านตะวันออกตามล�ำห้วย ล�ำเหมืองใหญ่น้อยที่ เป็นต้นน�้ำท�ำให้เกิดการท�ำเหมือง ฝาย ขยายพื้นที่การเพาะปลูกและ การตั้งถิ่นฐานของผู้คน จนกลายเป็นแอ่งเชียงแสนขึ้นมา การเป็นทิวเขาของการสะสมน�้ำใต้ดินที่อยู่ชายขอบเทือก 6
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เขาและทีส่ งู ทีม่ ที ลี่ าดลุม่ และราบลุม่ อันเป็นพืน้ ทีท่ างการเกษตรกรรม ปลูกข้าวเช่นนีเ้ ป็นเหมือนกันทัง้ แอ่งเชียงแสนและเชียงใหม่ ดังเห็นได้ จากร่องรอยของเหมืองฝายมากมายนับไม่ถ้วน ในปัจจุบันที่ก�ำลังจะ เปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคของบ้านเมืองในสังคมอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ ดอยตุงที่ก�ำลังเปลี่ยนเป็นดอยขุนน�้ำนางนอนนั้นข้าพเจ้าเผอิญได้รับ รู้การให้ความหมายใหม่จากผู้รู้ที่เป็นคนท้องถิ่นว่า ค�ำว่าดอยตุงนั้น คงไม่ได้หมายความว่าเป็นดอยทีม่ ตี งุ ทีแ่ ปลว่าธงทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ทาง พุทธศาสนา แต่หมายถึงพืน้ ทีแ่ ละขอบเขตทีน่ ำ�้ มาตุงอยูก่ ระมัง ก็ดสู ม เหตุสมผลดีกับการมีบ่อน�้ำใต้ดินหรือน�้ำขังที่เป็นบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์บน ยอดดอยตุงตรงเนินที่จะสร้างพระธาตุดอยตุง ในทุกวันนี้คนไม่รู้จักภูสามเส้าของคนลัวะและก�ำลังลืมดอย ตุงของคนล้านนา แต่คนทัง้ ประเทศรูจ้ กั ต�ำหนักแม่ฟา้ หลวงของสมเด็จ ย่าและบรรดาชาวเขาเผ่าใหม่ๆ ที่เคลื่อนย้ายเข้ามาตอนหลังและใน ปัจจุบนั ก�ำลังพูดถึงเขาขุนน�ำ้ นางนอนและถ�ำ้ หลวง รวมถึงทางรัฐและ เอกชนคาดหวังว่าจะพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วต่างๆ นานา ที่ไม่ได้ คิดถึงผลที่ตามมาทางสภาพแวดล้อมธรรมชาติและวัฒนธรรมจะเกิด ความฉิบหายอย่างไร ปั จ จุ บั น คนเรี ย กเขานี้ ว ่ า เขาขุ น น�้ ำ นางนอนที่ ม ากั บ การ
เปลี่ยนแปลงของต�ำนานบ้านเมืองที่คนรุ่นหลังในปัจจุบันสร้างและ เรียกกัน ซึ่งกลายเป็นเรื่องความรักและการพลัดพรากของเจ้าหญิง ผู้เป็นธิดาของเจ้าผู้ครองเมือง ซึ่งคงหมายถึงเมืองเวียงพางค�ำในเขต อ�ำเภอแม่สาย ซึ่งคนชาติพันธุ์ไทยใหญ่เป็นกลุ่มส�ำคัญที่สร้างต�ำนาน เมืองเวียงพางค�ำและพระเจ้าพรหมมหาราช คือ “ผู้น�ำวัฒนธรรม” [Culture Hero] และนางนอนของขุนเขาขุนน�้ำก็คือพระธิดาของ กษัตริย์ที่เป็นคนไทยใหญ่ ซึ่งต�ำนานก็บานปลายมาถึงเรื่องความ รักที่เป็นโศกนาฏกรรมของเจ้าหญิงกับคนเลี้ยงม้าที่เกิดความเชื่อว่า คือ“พระครูบาบุญชุ่ม” ผู้ประกอบพิธีกรรมช่วยเด็กนักฟุตบอลหมูป่า ให้รอดชีวิตออกมาจากถ�้ำหลวง การเปลี่ยนแปลงของเรื่องในต�ำนานและชื่อสถานที่ตลอด จนบุคคลส�ำคัญเกี่ยวกับเขาขุนน�้ำนางนอนดังกล่าวนี้ ได้สะท้อนให้ เห็นถึงความจริงของการเปลีย่ นแปลงทางภูมวิ ฒ ั นธรรมของพืน้ ทีแ่ อ่ง เชียงแสนที่มีขุนเขาน�้ำนางนอนเป็นประธาน ว่าเป็นแอ่งของที่ลาดลุ่ม และกลุม่ ทีม่ กี ารเคลือ่ นย้ายของคนหลายชาติพนั ธุจ์ ากภายนอกทีผ่ ลัด กันอพยพเคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานในแอ่งเชียงแสนของจังหวัด เชียงรายถึงสามสิบชนชาติและชาติพันธุ์ในหนังสือสามสิบชนชาติใน เชียงรายของอดีต ส.ส.บุญช่วย ศรีสวัสดิ์
ความ ทางสังคมและวัฒนธรรม หลาก : วลัยลักษณ์ ทรงศิริ หลาย “เมืองประวัติศาสตร์กรุงเทพฯ” และการเดินทางย้อนรอยการจัดการเมืองประวัติศาสตร์ที่ไม่มีชีวิต (๓) ปัญหาพืน้ ฐานทางความคิดเรือ่ ง “ความดัง้ เดิม ความแท้จริง” [Authenticity] ในการอนุรักษ์เมืองเก่าของประเทศไทยท�ำให้เกิด ความขัดแย้งในการอนุรักษ์และศึกษาเรื่องเมืองประวัติศาสตร์หรือ ย่านเก่าต่างๆ คือ ผู้มีหน้าที่อนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์จะเข้าใจว่า ชุมชนเหล่านั้นต้องสืบสายเลือด สืบตระกูลมาจากคนในยุคสร้างบ้าน แปงเมืองและยังท�ำงานช่างหัตถกรรมต่างๆ เช่นเดียวกับชุมชนใน ต�ำแหน่งที่ระบุไว้ในเอกสารทางประวัติศาสตร์ ในขณะที่ชาวบ้านที่อยู่อาศัยโดยทั่วไปนั้นทราบและรับรู้ว่า ชุมชนนั้นมีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา [Living Community] มีผู้ ย้ายเข้าและย้ายออกไปโดยเหตุต่างๆ กลุ่มคนดั้งเดิมเป็นใคร และ จดหมายข่าว
กลุ่มคนที่ย้ายเข้ามาใหม่คือใคร โดยยอมรับผู้มาใหม่ให้เป็นส่วนหนึ่ง ของชุมชนจากการช่วยเหลือและท�ำกิจกรรมในชุมชนร่วมกัน แต่ก็ยัง เป็นชุมชนอยู่ ท�ำให้เกิดปัญหาเมื่อต้องพิจารณาว่าชุมชนใดควรถูกไล่รื้อ หรือชุมชนใดควรได้รับการสงวนไว้ และมีสิทธิโดยชอบธรรมในที่อยู่ อาศัยนัน้ และการประเมินคุณค่าของชุมชนต่างๆ โดยไม่ศกึ ษาค้นคว้า ข้อมูลโดยรอบด้าน ท�ำให้ให้คณ ุ ค่าน้อย เมือ่ ไม่เข้าใจจึงสนใจแต่เฉพาะ สิ่งที่เห็นประจักษ์คือโบราณสถานหรือโบราณวัตถุและสิ่งที่จับต้องได้ ตามองเห็นเท่านั้น 7
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ปัจจุบันของพื้นที่ทางสังคมของคนย่านเก่าในเมืองประวัติศาสตร์ การศึ ก ษาเพื่ อ ท� ำ ให้ เ ห็ น ความเป็ น ไปของบ้ า นเมื อ ง จากการสัมภาษณ์ตามประเด็นในช่วงอายุของผู้อยู่อาศัยในย่าน กรุงเทพมหานครที่เป็นย่านเก่าหรือส่วนหนึ่งของเมืองประวัติศาสตร์ ของรัฐตามที่คณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ได้ก�ำหนดขอบเขตไว้ ประกอบกับการศึกษาทางเอกสารและการวิเคราะห์ตามภูมวิ ฒ ั นธรรม เพื่อท�ำให้เห็นการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลาและตามพื้นที่ ซึ่งข้อ สังเกตในการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพเหล่านี้ ท�ำให้การอยู่อาศัยใน เมือง การใช้พนื้ ทีข่ องชุมชนในเมืองในย่านเก่าหรือเมืองประวัตศิ าสตร์ ในปัจจุบนั ถูกจัดการอย่างไรและเปลีย่ นพืน้ ทีท่ างสังคมของชุมชนและ ผูอ้ ยูอ่ าศัยตลอดจนผูท้ เี่ ข้ามาใช้งานในย่านเก่าหรือเมืองประวัตศิ าสตร์ นี้อย่างไรได้ชัดเจนทีเดียว
แผนที่กรุงเทพฯ ราว พ.ศ. ๒๔๗๔ แสดงพื้นที่ศึกษาย่านเก่าต่างๆ
หลังจากช่วงต้นกรุงฯ ที่อาจก�ำหนดระยะเวลาได้ในช่วงราว รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ จนถึงต้นรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทีบ่ า้ นเมืองยังคงมีรปู แบบการ ด�ำเนินชีวติ และอาศัยอยูก่ บั ริมน�ำ้ ล�ำคลองโดยใช้เป็นเส้นทางคมนาคม หลักและเป็นส่วนหนึ่งในการด�ำเนินชีวิตอย่างสมบูรณ์ เมืองยังไม่มี การสร้างถนนหนทางต่างๆ ยังไม่มีห้างร้านตามอาคารตึกแถวต่างๆ จนเมื่อบ้านเมืองและชุมชนเกือบทั่วกรุงเทพมหานครและบริเวณใกล้ จดหมายข่าว
เคียงเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สมัยการเป็นเมืองแบบตะวันตกในรูปแบบ ชุมชนเมือง [Urban Community] ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เป็นต้นมา จึงเริม่ มีความซับซ้อนของกลุม่ คนทีม่ ี หลายอาชีพ หลายศาสนา และความเชื่อ หลากชาติพันธุ์ที่แยกกันอยู่ ตามละแวกต่างๆ ทีถ่ กู แบ่งแยกออกจากกันด้วยถนนหนทาง ล�ำคลอง และตึกรามที่เป็นห้องแถว จนกลายเป็นชุมชนเมืองแบบละแวกบ้าน [Neighborhood] ที่เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมแบบชุมชนที่ แตกต่างไปจากสมัยต้นกรุงฯ ในเวลาต่อมาแม้ว่าวัดและศาสนสถานในระบบความเชื่อยัง ด�ำรงอยู่ แต่สภาพแวดล้อมและภูมทิ ศั น์ของเมืองเปลีย่ นไป ความเป็น เมืองทางน�้ำใช้เส้นคมนาคมทางน�้ำที่เริ่มไปหันมาใช้เส้นทางบก คือ การสร้างถนนใหญ่เล็กขึ้นมาแทนที่ถนนใหญ่ๆ เกิดการถมคลองและ สร้างถนนจ�ำนวนมากภายในพระนคร โครงสร้างทางกายภาพทีส่ ำ� คัญ คือแนวก�ำแพงเมือง ประตูเมือง ประตูช่องกุด และป้อมต่างๆ ที่เคย สร้างขึ้นอย่างแข็งแรงแข็งแกร่งต่างทยอยพังและถูกรื้อลงไป เพื่อใช้ พืน้ ทีท่ ำ� อาคารทีท่ ำ� การของรัฐและอาคารพาณิชย์ และเหลืออยูจ่ นถึง ปัจจุบันในฐานะเป็นโบราณสถานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น จนเมื่อเข้าสู่ยุคที่เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยการส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรและการอุตสาหกรรม ต่างๆ ตั้งแต่หลัง พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้นมา ก็เริ่มเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ ของเมืองหลวงแห่งนี้ไปมากทีเดียว จนเมืองขยายออกไปไร้ทิศทางที่ ชัดเจนและไม่ได้รับการวางแผนมาก่อน เกิดมลพิษ จากอุตสาหกรรม และการคมนาคมที่ไม่มรี ะบบขนส่งทีเ่ พียงพอ ผูค้ นย้ายเข้ามาในเมือง หลวงเพือ่ โอกาสในการท�ำงานทีม่ ากขึน้ และประชากรเพิม่ อย่างทวีคณ ู การสร้างโครงสร้างสาธารณูปโภคต่างๆ ในปัจจุบนั การพัฒนาพืน้ ทีข่ องเมืองหลวงแห่งนี้ ทีข่ ยายอาณา บริเวณไปยังพื้นที่ปริมณฑลซึ่งเคยเป็นเรือกสวนไร่นามาก่อนก็ยังวิ่ง ตามภาวะล้มเหลวในการก�ำหนดผังเมืองที่ไม่มที ศิ ทางดังกล่าวนัน่ เอง การท�ำประวัตศิ าสตร์บอกเล่านัน้ เป็นเพียงภาพตัวแทนเพียง ส่วนน้อยของชุมชนและย่านต่างๆ ที่ยังคงอยู่ น�ำมาใช้เขียนน�ำเสนอ เรือ่ งราวเกีย่ วกับพืน้ ทีย่ า่ นเก่าทีส่ มั พันธ์กบั ชีวติ ทางสังคมหรือพืน้ ทีท่ าง สังคมที่สามารถท�ำให้เห็นประวัติศาสตร์ของผู้คนและประวัติศาสตร์ ของสังคมคนในย่านเมืองเก่าหรือเมืองประวัตศิ าสตร์กรุงเทพมหานคร ได้ในมิติที่ยังไม่มีการท�ำวิจัยหรือศึกษาในช่วงเวลาที่ผ่านมา สภาพบ้านเมืองทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลา หลังแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๔ และในราว ๕๐ กว่าปีที่ผ่านมานี้อาจนับเป็นช่วงชีวิตของผู้คนเพียงชั่วชีวิตเดียว ดั ง นั้ น จึ ง ยั ง พอมี ผู ้ ที่ จ ดจ� ำ สภาพแวดล้ อ มแบบเดิ ม และเห็ น สภาพ แวดล้อมแบบใหม่ของเมือง ผู้ที่เคยอยู่ในสังคมละแวกบ้าน [Nieghbourhood] แบบเดิมและสังคมที่ถูกไล่รื้อจากถิ่นที่อยู่บางแห่งในการ จัดระเบียบของเมืองประวัติศาสตร์ที่ ไม่ได้มีข้อมูลการศึกษาชุมชน รองรับเพียงพอ จนท�ำให้เกิดมติคณะรัฐมนตรีในการเบียดขับชุมชน 8
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ให้ออกไปจากพืน้ ทีโ่ ดยสร้างความเดือดร้อนให้ประชาชนที่ไม่ยนิ ยอม ซึ่งไม่ใช่เป็นหลักการที่ปฏิบัติการเพื่ออนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์แห่ง ใดสมควรน�ำมาใช้ เมื่อลงพื้นที่ศึกษาท�ำให้เข้าใจความเป็นย่านของเมืองเก่า กรุงเทพมหานครทีแ่ บ่งลักษณะความเป็นชุมชน อาจแบ่งตามลักษณะ ภูมิวัฒนธรรมต่างๆ และแบ่งตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ของย่านต่างๆ ในขอบเขตของพื้นที่ตามภูมิวัฒนธรรมที่ถูกสร้างใน ช่วงเวลาต่างๆ ตามประเด็นข้างต้น ดังนี้
ภาชนะต่างๆ มีการท�ำเครื่องใช้ เช่น ดินสอ กระดาษ สมุด การทอผ้า และยารักษาโรคที่พัฒนาเป็นล�ำดับทั้งแบบไทยและแบบจีน ฯลฯ เป็น กิจกรรมในวิถีชีวิตของคนเมืองที่เจริญสูงสุดในช่วงรัชกาลพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก่อนจะเริ่มแออัดและมีการใช้พื้นที่ มากเกินกว่าจะรับได้ตงั้ แต่ราว พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นต้นมา จนต้องมีคณะ กรรมการดูแลและจัดการอนุรกั ษ์กรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า รวม ทัง้ หน่วยงานของกรุงเทพมหานครทีต่ อ้ งเข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดการ เมืองตามล�ำดับ “ตามแนวคลองเมืองชัน้ นอกทีข่ ดุ ขึน้ ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” บริเวณนีเ้ ป็นส่วนทีเ่ ป็นความต้องการวางแผน การขยายเมืองในรูปแบบดั้งเดิม คือใช้แนวล�ำคลองขุดขยายออก ไปตามปริมณฑลของเมือง ซึ่งก็ได้ผลในระดับหนึ่ง แต่ยุคสมัยที่มี การเปลี่ยนแปลงหลังจากสนธิสัญญาเบาว์ริงแล้ว ท�ำให้มีการขยาย กิจกรรมทางเศรษฐกิจออกไปตามริมฝั่งแม่น้�ำทางใต้ของพระนคร ที่กลายเป็นย่านเศรษฐกิจ ย่านการค้า และย่านที่อยู่อาศัยซึ่งมีศูนย์ รวมความศรั ทธาของแต่ละศาสนิก เรียกได้ว่าเป็นชุมชนนานาชาติ ขนาดใหญ่ที่ยังคงสืบเนื่องมาจนปัจจุบัน ความเปลี่ยนแปลงจาก ขนบธรรมเนียมของการขยายบ้านเมืองแบบเดิมหมดไปพร้อมกับการ ตัดถนนในรูปแบบตะวันตกจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะในบริเวณพื้นที่ว่าง นอกก�ำแพงพระนครเดิมแต่อยูภ่ ายในแนวคลองผดุงกรุงเกษม ในย่าน ของเศรษฐกิจของชาวจีนที่ขยายจากย่านส�ำเพ็งไปตามถนนที่เกิดขึ้น ใหม่ โดยมีถนนเยาวราชเป็นส�ำคัญ
ถนนราชด�ำเนินกลางยามเช้าจากภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๐ เห็นย่านสองฝั่งคลองหลอดวัดราชนัดดาฯ ไปจนจรดแนวคลองโอ่งอ่าง ภูเขาทอง ตึกแถวริมถนน และบ้านเรือนของข้าราชการ และประชาชนทั่วไปอยู่อย่างหนาแน่นทั้งสองฝั่งถนนราชด�ำเนินกลาง
“ตามแนวคลองคูเมืองเดิม” ที่ถือว่าเป็นย่านสัญลักษณ์ ของพระนครอันเป็นสถานที่ต้ังของพระบรมมหาราชวังและเป็น ที่ ประดิษฐานสิ่งศักดิ์สิทธิ์ควรค่าเมืองอันเป็นสัญลักษณ์สูงสุดในความ ศรัทธาและการบริหารราชการแผ่นดิน อันเป็นสัญลักษณ์ของการเป็น บ้านเมืองแบบเก่าตามประเพณีของสังคมสยามแต่โบราณ “ตามแนวคลองเมืองที่สร้างในครั้งสร้างพระนคร” ในครั้ง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ภายในก�ำแพงเมืองและคูเมืองที่สร้างตามแบบโบราณนั้นมีย่านที่อยู่ อาศัยของผู้คนพลเมืองที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และศาสนา มีย่านค้าขายที่ ใช้ตลาดน�้ำและเส้นทางน�้ำรวมทั้งใช้เป็นเส้นทางการ เดินทางเป็นส�ำคัญ เป็นย่านที่อยู่อาศัยของชาวบ้านในชุมชนที่สร้าง งานช่างฝีมือที่ ใช้ในวัฒนธรรมและชีวิตประจ�ำวันแบบดั้งเดิม มีการ ทอผ้าหลากหลายรูปแบบ การท�ำบาตรพระ การท�ำเครื่องเงินส�ำหรับ จดหมายข่าว
9
แผนที่กรุงเทพฯ ราวปี พ.ศ. ๒๔๗๔ นิธิเล็ก-ประไพ ิยะพั เพืมู่อลแสดงแนวคู คลองเมืวิอรงต่ างๆนธุ์
ส่วนสภาพในปัจจุบันของย่านต่างๆ มีรายละเอียด ดังนี้
“ย่านท่าเตียน” แหล่งชุมชนทีเ่ คยเป็นศูนย์รวมทัง้ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และ การคมนาคมได้ซบเซาลงหลังจากที่เกิดตลาดย่อยตลาดค้าส่งของ ซูเปอร์สโตร์ใหญ่ๆ ขึ้นมามากมาย การคมนาคมทางบกสะดวกและ การสัญจรทางน�้ำลดบทบาทลง อีกทั้งยังมีกลุ่มทุนจากต่างประเทศ เข้ามาสร้างห้างสรรพสินค้าทัง้ ขายส่งและขายปลีก หลังจากตลาดสด ย้ายจากท่าเตียนไปอยู่ที่ปากคลองตลาดแล้ว ที่ท่าเตียนจึงเหลือแต่ ตลาดปลาเค็มกับตลาดโชห่วยหรือร้านค้าของช�ำที่นับวันจะยิ่งเหลือ น้อยเจ้าลงทุกที ชุมชนท่าเตียนตลอดแนวแม่น�้ำเจ้าพระยามีเนื้อที่ราว ๓.๕ ไร่ อาคารที่อยู่อาศัยและร้านค้าส่วนใหญ่ราว ๘๐ เปอร์เซ็นต์เป็น ของส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ส่วนที่เหลือเป็นของวัด พระเชตุพนฯ และเอกชน บริเวณริมน�้ำแต่เดิมปลูกอาคารค่อนข้าง หนาแน่น ชาวบ้านท�ำอาชีพค้าขาย ตลอดแนวย่านถนนท้ายวัง แต่เดิม มีการขนส่งสินค้าตลอดวันเพราะมีตลาดการค้าขายส่งและขายปลีก เป็นท่าเรือข้ามฟากและรถโดยสาร บริ เ วณนี้ อ ยู ่ ใ นขอบเขตของกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ชั้ น ในที่ มี กฎหมายห้ามการก่อสร้างหรือต่อเติมอาคารใดๆ รวมทั้งการสร้าง หรือขยายเป็นที่พักอาศัย โดยการควบคุมของคณะกรรมการอนุรักษ์ กรุงรัตนโกสินทร์ และมีนโยบายที่จะจัดพื้นที่อนุรักษ์เพื่อเป็นบริเวณ พักผ่อนโดยการรือ้ อาคารเพือ่ สร้างสวนสาธารณะ เปิดพืน้ ทีม่ มุ มองให้ เห็นวัดอรุณราชวรารามอย่างเด่นชัด จัดพืน้ ทีท่ างเท้าและเปลีย่ นแปลง กิจกรรมของย่านเมืองที่เป็นกิจกรรมเพื่อการค้าขายอาหาร ผักและ ผลไม้ตลอดจนดอกไม้ที่รับมาจากย่านสวนต่างๆ แบบเดิมที่ปัจจุบัน เปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้อมทางฝัง่ ธนบุรแี ละทางนนทบุรีไปจนถึงย่าน ชานเมืองปริมณฑลของกรุงเทพฯ ให้เป็นย่านอุตสาหกรรมและทีพ่ กั จน หมดแล้ว การค้าขายบริเวณนีจ้ งึ ลดลงอย่างมากและกลายเป็นตลาดที่ ถูกปรับปรุงใหม่ในบริเวณปากคลองตลาดและกลายเป็นย่านท่องเทีย่ ว นั่งพักผ่อนดื่มกินชมแม่น�้ำมากกว่ากิจกรรมอย่างอื่น นโยบายเหล่านี้มีหน่วยงานที่น�ำไปปฏิบัติคือ ส�ำนักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัติย์มีโครงการปรับปรุงฟื้นฟูกลุ่มอาคาร อนุรักษ์ตลาดท่าเตียนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ “โครงการปรับปรุงฟื้นฟู กลุ ่ ม อาคารอนุ รั ก ษ์ ใ นพื้ น ที่ บ ริ เ วณรอบพระบรมมหาราชวั ง ” ที่ ประกอบไปด้วย ๓ โครงการย่อย คือ โครงการปรับปรุงฟื้นฟูอาคาร อนุรกั ษ์อาคารตึกแถวถนนหน้าพระลาน โครงการปรับปรุงฟืน้ ฟูอาคาร อนุรกั ษ์บริเวณท่าช้างวังหลวง และโครงการปรับปรุงฟืน้ ฟูกลุม่ อาคาร อนุรักษ์บริเวณตลาดท่าเตียน และทางกรุงเทพมหานครมารับช่วงต่อ เพื่อจัดระเบียบการใช้ทางเท้าซึ่งเน้นประโยชน์ใช้สอยส�ำหรับผู้เดิน ถนนและนักท่องเที่ยวและเพื่อความสะอาด สงบ เรียบร้อย ภายใน ช่วงเวลากว่า ๓-๔ ปีที่ผ่านมา เพื่อจัดระเบียบและควบคุมพื้นที่ไม่ให้ จดหมายข่าว
มีการค้าบนทางเท้าบริเวณถนนมหาราช ตัง้ แต่ทา่ เตียนถึงท่าช้าง ถนน หน้าพระลาน และถนนหน้าพระธาตุ ให้ผู้ค้าหาบเร่แผงลอยบริเวณ ถนนมหาราชตั้งแต่ท่าเตียนถึงท่าช้าง ถนนหน้าพระลาน และถนน หน้าพระธาตุ ตลาดดอกไม้และพืชผักบริเวณปากคลองตลาด เพื่อ จัดระเบียบและขอคืนทางเท้า โดยให้ย้ายผู้ค้าไปบริเวณตลาดที่จัดไว้ รองรับ อาคารย่านการค้าต่างๆ รายรอบพระบรมมหาราชวังจึงพบเห็น การค้าขายเช่นเดิมอยู่บ้างและก�ำลังเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมในย่าน การค้าไปจากความคุ้นเคยเดิมๆ จนน่าจะหมดสิ้น อย่างไรก็ตามมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ทางธุรกิจที่นี้ให้เป็น ๑ ใน ๖ โครงการแลนด์มาร์กริมแม่น�้ำเจ้าพระยาของบริษัทเอกชนแห่ง หนึง่ และยังเป็นทีต่ งั้ ของพืน้ ทีก่ อ่ สร้างโครงการรถไฟฟ้าใต้ดนิ (MRT) สายสีน�้ำเงินโดยมีสถานีสนามไชยตั้งอยู่ทางทิศเหนือของปากคลอง ตลาดและสะพานเจริญรัช ๓๑ ภายในเขตคลองคูเมืองเดิมซึ่งเป็น พื้นที่เมืองเก่า การค้ า ที่ เ คยคึ ก คั ก หายไป อาคารที่ ถู ก บู ร ณะทั้ ง โดย ส�ำนักงานทรัพย์สินฯ และวัดพระเชตุพนฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์เริ่ม เปลี่ยนมือเพื่อให้ผู้เช่ารายอื่นได้เข้ามาใช้งานเพราะผู้เช่ารายเก่าไม่ ซ่อมแซมหรือจัดระเบียบ ธุรกิจส่วนใหญ่เป็นเรือ่ งของกิจกรรมการท่อง เที่ยว การเปิดร้านอาหารเพื่อชมทิวทัศน์ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา การเล่น ดนตรีจากร้านอาหารนั้นรบกวนผู้อยู่อาศัยเดิมโดยมากและมีนักท่อง เที่ยวชาวต่างประเทศจ�ำนวนมากขึ้นในทุกวัน ชาวบ้านและผู้ค้าขาย แบบผิดกฎหมายเพราะผู้ขายริมทางเท้าให้ความเห็นว่า การด�ำเนิน ชีวิตที่ท่าเตียนในทุกวันนี้เปลี่ยนไปมาก คนซื้อของในตลาดน้อยลง มากและผู้ค้าก็น้อยลงเช่นกัน ร้านอาหารขายของกินแบบธรรมดาก็ หายไป เปลีย่ นมาเป็นร้านกาแฟหรือร้านอาหารเข้ามาแทนรวมทัง้ ร้าน ขายของทีร่ ะลึก และบางร้านทีค่ า้ ขายสินค้าในชีวติ ประจ�ำวันก็ตอ้ งปิด ตัวลง ขณะนี้ตลาดท่าเตียนก�ำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนแปลงอย่างถึงราก เหง้าโดยแท้จริง “ย่านบางล�ำพู” ย่านชุมชนทางทิศเหนือนัน้ มีตลาดบางล�ำพูเป็นศูนย์กลางและ เป็นชุมชนทีม่ กี ารอยูอ่ าศัยหลากหลายกลุม่ ชาติพนั ธุม์ าตัง้ แต่ตน้ กรุงฯ ถือเป็นตลาดริมน�้ำและท่าน�้ำเพื่อการคมนาคม เป็นแหล่งขนถ่ายและ แลกเปลี่ยนสินค้า พืชผักผลไม้จากย่านฝั่งธนบุรีและนนทบุรีตลอดจน พืน้ ทีส่ วนทีอ่ ยูไ่ กลออกไปทางฝัง่ ตะวันตกของแม่นำ�้ เจ้าพระยาก่อนจะ พัฒนากลายเป็นตลาดบกที่ส�ำคัญ ซึ่งแตกต่างไปจากตลาดท่าเตียนที่ เป็นตลาดขายส่งสินค้ามีความโดดเด่นในเรื่องของผลิตภัณฑ์ของสด ของแห้งจากชายฝั่งทะเล เป็นส�ำคัญ สิ่งเหล่านี้ตกทอดมาจนท�ำให้ ย่านบางล�ำพูมคี วามสืบเนือ่ งความเจริญรุง่ เรืองในการเป็นย่านค้าขาย มาตลอดไม่แพ้ตลาดทางชานพระนครฝั่งตะวันออก เช่น สะพานหัน หรือส�ำเพ็งไปจนถึงตลาดใหม่ทนี่ างเลิง้ แต่ปจั จุบนั ย่านบางล�ำพูซบเซา ลงโดยสิ้นเชิง การท�ำการค้านั้นขึ้นอยู่กับการจราจรที่ถูกปรับเปลี่ยน อยู่เสมอและการท่องเที่ยวเป็นส�ำคัญ หน้าที่การเป็นตลาดเพื่อหาซื้อ 10
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
สรรพสินค้าแบบเดิมนั้นหมดลงไปแล้ว หลังจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในการจัดการเมือง ของกรุงเทพมหานคร คลองบางล�ำพูเริ่มเน่าเสียอย่างหนัก เพราะ กรุงเทพมหานครสร้างประตูกั้น น�้ำที่ปากคลองที่ติดต่อกับแม่น�้ำ เจ้าพระยาทุกด้าน และห้ามไม่ให้มกี ารใช้เส้นทางน�ำ้ เพือ่ การสัญจรอีก ต่อไป และท�ำให้คลองคูเมืองกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบการระบาย น�้ำของเมืองในย่านเก่า
สะพานเฉลิมวันชาติ พ.ศ. ๒๔๘๓ จากนิตยสาร Life สองฝั่งคลองโอ่งอ่าง ยังเห็นโรงไม้และเรือกระแชงขนาดใหญ่ส�ำหรับบรรทุกสินค้าในคลองโอ่งอ่าง
ชาวบางล�ำพูจึงมีโครงการ “จักรยานน�้ำบ�ำบัดน�้ำเสีย” ใน พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั โดยคาดหวังจะมีสว่ น ช่วยบ�ำบัดน�้ำเสียและเป็นการออกก�ำลังกาย เกิดการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์จึงร่วมกับตัวแทนจากกรมอู่ทหารเรือซึ่งให้ความอนุเคราะห์ ในการออกแบบและจัดสร้างและมีการเติมน�้ำอีเอ็มเป็นระยะๆ น�้ำใน คลองบางล�ำพูจงึ ดีขนึ้ อย่างเห็นได้ชดั โดยไม่ตอ้ งใช้การร้องขอการเปิด ประตูระบายน�ำ้ ทีป่ ากคลองในการควบคุมของรัฐ แต่เป็นการแก้ปญ ั หา ทีป่ ลายเหตุ ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของกรุงเทพมหานครไม่สามารถเอือ้ ให้ ชาวกรุงเทพฯ หันกลับไปมีนำ�้ ใสหรือมีการหมุนเวียนของกระแสน�ำ้ ขึน้ น�้ำลงดังเช่นความเป็นเมืองริมน�้ำในอดีตได้อีกต่อไป การจัดการท่องเทีย่ วโดยกรุงเทพมหานครทีพ่ ยายาม “เสริม เสน่ห์” ของกรุงเทพฯ เช่น การท�ำช่องทางขี่จักรยานไปตามย่านร้าน ค้าและวัดวังต่างๆ มีผลท�ำให้ร้านค้าริมถนนที่ก�ำลังอ่อนแรงลงอยู่ แล้ว ปิดตัวลงไปเตรียมย้ายออกอีกจ�ำนวนมาก การย้ายออกหรือลด การด�ำเนินกิจการหรือยุตริ า้ นค้าต่างๆ เริม่ เห็นได้อย่างชัดเจนในระยะ สองสามปีที่ผ่านมา เนื่องจากไม่มีลูกค้าและไม่สามารถร่วมใช้ “พื้นที่ สาธารณะ” ช่วยในการค้าขายเช่นในอดีต ถือเป็นวิกฤตอีกประการ หนึ่งที่ท�ำให้ย่านบางล�ำพูเงียบเหงาขึ้นเรื่อยๆ สวนทางกับการเปิดทีพ่ กั แบบโฮสเทล [Hostel] หรือโรงแรม ขนาดเล็กมีหอ้ งพักรวมราคาประหยัดทีก่ ำ� ลังใช้ตกึ ต่างๆ ทีเ่ คยท�ำการ ค้าหรือพักอยูอ่ าศัยในอดีตท�ำทีพ่ กั รองรับนักท่องเทีย่ วทีต่ อ้ งพักภายใน จดหมายข่าว
11
ย่านเก่าและเรียนรูส้ ภาพแวดล้อมและพืน้ ทีท่ อ่ งเทีย่ วและผูค้ นอยูอ่ าศัย ไปด้วยพร้อมกันในราคาไม่แพงดังเช่นความนิยมในการท่องเที่ยวที่ ผ่านมา และเป็นกลุม่ นักท่องเทีย่ วที่ไม่ชอบการพักในสถานทีแ่ บบถนน ข้าวสารและในย่านที่มีความอึกทึก ร้านอาหารและร้านขายเครื่องดื่ม มึนเมามากมาย จึงเป็นธุรกิจทีก่ ำ� ลังได้รบั ความสนใจอย่างมากของคน กลุ่มใหม่และเก่าที่เข้ามาด�ำเนินการในย่านบางล�ำพูทุกวันนี้ ตั้งแต่ปากคลองบางล�ำพูไปจนถึงวัดสามพระยาและย่าน วัดใหม่อมตรสเป็นย่านกลุ่มบ้านดนตรีตระกูลส�ำคัญๆ ในดนตรีไทย ที่ผูกพันอยู่กับวังเจ้านาย โดยเฉพาะในสายวังหน้าและไม่ใช่ฝ่ายวัง หน้าที่มีวงดนตรีปี่พาทย์ประจ�ำวัง และเมื่อตั้งกรมมหรสพหลวงที่วัง จั น ทรเกษมในรั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ข้าราชการและครูดนตรีนาฏศิลป์ต่างๆ นักดนตรีคนส�ำคัญๆ ล้วน ผูกพันอยู่อาศัยใกล้กับวังเจ้านายและสถานที่ท�ำงาน ย่านบางล�ำพูจึง กลายเป็นย่านคนดนตรีอยูอ่ าศัยกันคึกคักมากหน้าหลายตาแต่ลว้ นคุน้ เคยเป็นเครือญาติกนั โดยมาก กล่าวกันว่ามาตัง้ แต่ครัง้ รัชกาลพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทีเดียว บ้านดุรยิ ประณีตถือว่าเป็นบ้านดนตรีไทยแบบเดิมทีย่ งั คงอยู่ จนถึงทุกวันนี้ และปรับเปลีย่ นวิธกี ารเรียนการสอนจากแบบโบราณที่ กินอยู่ในบ้านครูมาเป็นการสอนแบบไปกลับทีเ่ น้นการเผยแพร่ความรู้ และสืบทอดการดนตรีตอ่ ไป ถือว่าเป็น”บ้านครูดนตรี” ทีย่ งั คงเหลืออยู่ อย่างสมบูรณ์ แตกต่างไปจากบ้านดนตรีอื่นๆ ที่ได้รับผลกระทบจาก การจัดการพื้นที่เช่าอยู่อาศัย เช่น บ้านพาทยโกศลที่แถบวัดกัลยาณ์ฯ และบ้านศิลปบรรเลงที่บ้านบาตร ซึ่งย้ายไปเปิดมูลนิธิฯ เพื่อการสอน ดนตรีไทยในย่านอื่นของกรุงเทพมหานคร แต่สภาพสังคมของย่านฝั่งซอยวัดสังเวชวิศยารามฯ ย่าน บางล�ำพูในปัจจุบันนั้น แทบจะไม่เหลือรากเหง้าของคนรุ่นเก่ามาก นัก เพราะบ้านเรือนต่างๆ เปลี่ยนมือและเป็นบ้านเช่าส่วนใหญ่ และ ปัจจุบันที่เห็นความต่างได้ชัดเจนคือการกลายเป็นเกสต์เฮาส์ ซึ่งขยับ ขยายมาจากทางที่พักแถบถนนข้าวสารและยังไม่มีการควบคุมและ การจัดการทีด่ ี เจ้าของทีด่ นิ ย่านนีส้ ว่ นใหญ่จะขายทีด่ นิ และบ้านเก่าใน ราคาสูงมากเพือ่ รองรับธุรกิจการท่องเทีย่ วและเป็นย่านการพักอาศัย ที่แตกต่างไปจากที่พักราคาถูกหรือโฮสเทลทั่วไป บริเวณที่ต่อเนื่องมาจากวัดสังเวชวิศยารามฯ ย่านบางล�ำพู คือแถบวัดสามพระยาเป็นหมู่บ้านริมแม่น�้ำเจ้าพระยาที่อยู่ทางเหนือ ปากคลองบางล�ำพูขึ้นมา บริเวณนี้เรียกกันตามชื่อวัดสามพระยาเดิม ที่ชื่อวัดบางขุนพรหมว่าคลองบางขุนพรหมหรือคลองวัดสามพระยา ทีร่ า้ นลานทองซึง่ เป็นร้านขายใบลานแห่งสุดท้ายของย่านบาง ขุนพรหมอายุสบื เนือ่ งมานับร้อยปี ปัจจุบนั ปิดตัวลงไปแล้ว อดีตของที่ นีค่ อื มีลกู ค้าทีม่ ารับใบลานมีหลายเจ้า แต่คอ่ ยๆ หายไปจนเหลือทีเ่ ดียว เป็นเจ้าประจ�ำคือ “ร้าน ส. ธรรมภักดี” ซึง่ จะน�ำไปจารหรือพิมพ์ตอ่ ไป ส่งจนถึงราวๆ พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่ท�ำชุดสุดท้ายและร้านลานทองปิดตัวลง และไม่ได้ส่งให้อีก ในช่วงก่อนที่ร้านจะปิดตัวก็มีการรับเครื่องจักสาน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ท�ำจากใบลานและของทีร่ ะลึกต่างๆ เช่น หมวกใบลานท�ำจากทับลาน ทีท่ ำ� จากใบลานมาจ�ำหน่ายทีร่ า้ น ซึง่ ก็พอขายได้ แต่เมือ่ ใบลานหายาก และมีราคาสูง เนื่องจากการบุกรุกป่าสมบูรณ์มากขึ้นจนหาใบลานที่ สมบูรณ์และมีขนาดใหญ่มากพอไม่ได้ จึงต้องยุติการท�ำใบลานไป ปัจจุบันมีองค์กรอย่าง “พิพิธบางล�ำพู” ซึ่งไม่ได้ขึ้นอยู่กับ หน่วยงานศึกษาของคณะกรรมการอนุรกั ษ์กรุงฯ หรือกรุงเทพมหานคร แต่เกิดขึ้นจากการผลักดันของชาวบ้านในย่านบางล�ำพูและกรม ธนารักษ์เจ้าของสถานที่ผู้จัดแสดงและบริการเปิดปิดดูแลสถานที่ กล่าวว่าตนเองไม่มีหน้าที่เพื่อท�ำการศึกษาหรือเก็บเครื่องมือในการ ท�ำใบลานทั้งหมดไปเพราะเป็นสถานที่จัดแสดงแต่ไม่ได้ท�ำงานศึกษา วิจยั และไม่มสี ถานทีเ่ ก็บรักษา จึงน�ำไปแต่สว่ นของการพิมพ์ อุปกรณ์ ท�ำใบลานที่เหลืออยู่ชุดเดียวก็กระจัดกระจายไป จนปัจจุบันในอาคาร ของพิพธิ บางล�ำพูก็ไม่นา่ ทีจ่ ะมีการเก็บรักษาสิง่ ของเครือ่ งมือในการท�ำ ใบลานอบแห้งทั้งหมดแบบดั้งเดิมไว้ได้ ความรู้เหล่านั้นค่อยๆ หายไป โดยไม่ได้มกี ารบันทึกอย่างละเอียดเพือ่ การศึกษาในย่านเมืองเก่าหรือ เมืองประวัติศาสตร์แห่งนี้แต่อย่างใด “ชุมชนวัดสามพระยา” ดูจะเป็นตัวอย่างที่ดีแห่งหนึ่งในการ จัดการพื้นที่อยู่อาศัยของชาวบ้านและยังคงความสัมพันธ์ในระหว่าง วัดและชุมชน ชุมชนวัดสามพระยาที่มีอยู่ราว ๗๕ หลังคาเรือนและ จ�ำนวนผู้คนเพียง ๕๐๐ กว่าคนนั้น แม้จะไม่ใช่ผู้ที่เคยอยู่อาศัยมา แต่แรกสร้างวัดหรือชุมชนบ้านลานในอดีตเลยก็ตาม แต่ก็เช่าที่วัด สามพระยาอยู่อาศัยกันนับหลายสิบปีขึ้นไป บ้านเรือนอยู่ริมแม่น�้ำ เจ้าพระยาแต่ทางวัดไม่อนุญาตให้เปิดบ้านพักแรมหรือเกสต์เฮาส์แบบ ที่ชุมชนอื่นๆ ประสบปัญหากัน รวมทั้งไม่มีการเปิดห้องเช่าให้ส�ำหรับ แรงงานชาวต่างชาติหรือคนจากถิ่นต่างๆ เข้ามาใช้พื้นที่มากมายเช่น บริเวณอื่นๆ และที่ส�ำคัญซึ่งอาจจะแตกต่างจากชุมชนในที่ดินของวัด อื่นๆ หลายแห่งในกรุงเทพมหานครก็คือ ธรรมเนียมปฏิบัติจากพระ สงฆ์รุ่นเก่าวางกฎไว้ว่าห้ามไล่ชาวบ้านออกจากพื้นที่ของวัดซึ่งจะน�ำ ความเดือดร้อนมาให้ชาวบ้าน จนถือว่าเป็นกุศลโชคของชาวบ้านชุมชน วัดสามพระยาอย่างยิ่งทีเดียว ใบลาน
จดหมายข่าว
“ย่านถนนวิสทุ ธิกษัตริย”์ ซึง่ ตัดขึน้ ในราวรัชกาลที่ ๕ ในช่วง หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองไปแล้วกลายเป็นสถานบันเทิง ย่านค้า รถมือสอง และย่านโรงพิมพ์และหนังสือพิมพ์ เช่น “หนังสือพิมพ์สาร เสรี” มาจนถึง “หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ” ในซอยวรพงษ์ ส่วนชุมชนบริเวณ วัดใหม่อมตรสต่อมากลายเป็นแหล่งโสเภณีที่ขึ้นชื่อไป อย่างไรก็ตาม บริเวณวัดสามพระยาและอินทรวิหารที่บางขุนพรหมก็ยังเป็นแหล่ง พ�ำนักเดิมของข้าราชการผู้มีอ�ำนาจระดับสูงในยุคสมัยของการเมือง แบบรัฐทหารในช่วงเวลาหนึ่ง บางขุนพรหมทุกวันนี้อาณาบริเวณส่วนใหญ่กลายเป็นพื้นที่ ท�ำการของธนาคารแห่งประเทศไทย การเปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้อม ของประเทศที่ท�ำให้กิจการค้าใบลานเป็นเพียงเรื่องเล่าที่เพิ่งจบบท ไป ส่วนถนนลอยฟ้าและทางขึ้นสะพานพระราม ๘ ที่กินพื้นที่ถนน เดิมและกิจกรรมเดิมในย่านวิสุทธิกษัตริย์คืองานสงกรานต์ประจ�ำปี ซึ่งท�ำให้บางขุนพรหมและถนนวิสุทธิกษัตริย์นั้นเปลี่ยนแปลงจนเหลือ เพียงความทรงจ�ำและบรรยากาศเงียบๆ เท่านั้น “ตรอกสุเหร่าชุมชนมัสยิดจักรพงษ์” ซึ่งชาวบ้านดั้งเดิม ล้วนเป็นลูกหลานช่างทอง ช่างที่ท�ำทองรูปพรรณ อันหมายถึงเครื่อง ประดับต่างๆ เมื่อสี่สิบกว่าปีที่แล้ว ผู้มีการศึกษาจะออกไปประกอบ อาชีพข้างนอกราวๆ ๔๐% แล้ว ในขณะทีก่ ลุม่ ช่างทองยังคงท�ำทองอยู่ ที่บ้านในราว ๖๐% แต่ในปัจจุบันนั้นผู้ท�ำอาชีพช่างทองล้วนสูงวัยและ ไม่มีผู้ท�ำอาชีพนี้สืบทอดต่อไปอีก ส่วนทาง “มัสยิดตึกดิน” เป็นกลุ่มชาวมุสลิมกลุ่มเดียวกัน แต่กระจัดกระจายออกมาตัง้ บ้านเรือนอยูร่ มิ คลองหลอดวัดราชนัดดาฯ ส่วนหนึง่ ก่อนทีจ่ ะให้ยา้ ยเมือ่ ตัดถนนราชด�ำเนิน พ.ศ. ๒๔๔๒ อยูต่ ดิ กับ ชุมชนตรอกบวรรังษี กลุม่ ชาวบ้านทีน่ ที่ งั้ ชาวพุทธและมุสลิมทีเ่ รียกว่า ตรอกแขกมาแต่เดิม บางบ้านยังประกอบอาชีพทั้งตีทองค�ำเปลว ท�ำ ทองรูปพรรณ ก่อนจะย้ายออกไปท�ำกิจการหลังไฟไหม้ใหญ่เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๖ และต้องการขยายพื้นที่เพื่อท�ำงานได้สะดวกขึ้น การท�ำทองค�ำเปลวเคยอยู่ในยุคเฟื่องฟูที่สุดช่วงฉลองกรุง รัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี และมีการซ่อมบูรณะพระบรมมหาราชวัง ช่วงนั้นทองค�ำเปลวจะขายดีทุกบ้าน เพราะจะต้องท�ำส่งในวัง ลูกค้า หลักๆ จะเป็นช่างและพระที่วัด โดยจะอยู่ในต่างจังหวัดเป็นส่วนใหญ่ การเปลี่ยนแปลงของการท�ำทอง เริ่มตั้งแต่การเริ่มมีเครื่องจักรที่ใช้ ในการท�ำทองเมือ่ ประมาณ ๔-๕ ปีทแี่ ล้ว ส่งผลให้การท�ำทองแบบมือ ซบเซาลง รวมถึงเรื่องของเศรษฐกิจที่ราคาทองสูงขึ้น ทองค�ำเปลวที่ เคยเป็นวัตถุดิบในการน�ำไปติดโบสถ์ก็เปลี่ยนไป ชุมชนใน “ตรอกบวรรังษี” ถือเป็นอาณาบริเวณที่ติดต่อ เชื่อมถึงกันซึ่งคนภายนอกอาจจะยากที่จะแยกออกจากกันได้ชัดเจน แต่โครงสร้างทางสังคมของชุมชนบวรรังษีทเี่ ป็นกลุม่ ชาวบ้านทีน่ บั ถือ พุทธศาสนาต้องแตกสลายไป เกิดจากการไล่รอื้ จากเจ้าของกรรมสิทธิ์ คือวัดบวรนิเวศฯ เป็นส�ำคัญ ท�ำให้ชาวบ้านไม่สามารถรวมตัวกันได้ เข้มแข็งแตกต่างไปจากชาวมัสยิดตึกดินที่ได้รบั พระราชทานโฉนดทีด่ นิ 12
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เพือ่ อยูอ่ าศัยเป็นชุมชนมาแต่อดีต ท�ำให้ไม่มปี ญ ั หาเรือ่ งกรรมสิทธิแ์ ม้ ชุมชนจะถูกไฟไหม้และต้องย้ายออกไปบางส่วนก็ตาม แต่เมื่อยังคง มีมัสยิดรวมทั้งผู้สอนศาสนาและกรรมการทั้งมัสยิดและชุมชนที่เข้ม แข็ง ท�ำให้คนที่อยู่ดั้งเดิมและผู้ที่ย้ายออกไปยังคงมีความสัมพันธ์ไป มาหาสู่กันเช่นเดิม แต่บริเวณคลองที่ถูกถมและเป็นบ้านเรือนนั้นเป็น ที่สาธารณะ ซึ่งกรุงเทพมหานครรับผิดชอบดูแลและอาจจะจัดการไล่ รื้อในเวลาต่อไปก็เป็นไปได้ ทั้งชุมชนมัสยิดตึกดินและชุมชนตรอกบวรรังษีดูเป็นชุมชน ดัง้ เดิมเหมือนกัน แต่มคี วามแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชดั อาจจะมีปจั จัย มาจากเอกสารสิทธิ์ในการอยูอ่ าศัยและความเป็นชุมชนแบบพุทธและ อิสลามทีม่ ขี อ้ ก�ำหนดซึง่ สร้างการรวมกลุม่ และการช่วยเหลือในชุมชน ที่แตกต่างกันนั่นเอง “ย่านบ้านพาน” บ้านพานอยู่บริเวณตรงข้ามวัดตรีทศเทพฯ มีพื้นที่ดั้งเดิม ติดกับคลองโอ่งอ่างและจรดตรอกบ้านหล่อที่ติดกับวัดปรินายกฯ การจัดการเมืองเข้าใจพื้น ที่ผิดพลาดมาเป็นเวลานาน จนปัจจุบัน กรุงเทพมหานครก็ยังตั้งป้าย “บ้านพานถม” ตรงข้ามวัดบวรนิเวศฯ ที่ข้ามคลองโอ่งอ่างไปตัดทางวัดตรีทศเทพฯ ฝั่งตะวันตก ซึ่งนับว่า เข้าใจผิดกันมาหลายรุ่น
แผนผังบริเวณตรอกบ้านพานและบ้านนายเตา ที่เคยเป็นผู้ผลิตเครื่องเงินขันน�้ำพานรองแต่ดั้งเดิม
บ้านพานเป็นกลุ่มบ้านช่างเช่นเดียวกับบ้านช่างอื่นๆ ใน ละแวกรอบกรุงฯ เช่น บ้านหล่อ บ้านบาตร บ้านบุ บ้านทองค�ำเปลว บ้านดอกไม้ บ้านหม้อ บ้านช่างพลอย ฯลฯ กลุ่มบ้านช่างต่างๆ เหล่า นี้ถือเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของบ้านเมืองแบบเก่าและมีวัดเป็น ศูนย์กลางของชุมชน นับจากหลัง พ.ศ. ๒๔๙๓ การท�ำพานแบบโบราณดั้งเดิม ก็ไม่เคยหวนกลับมาอีกเลย ตรอกบ้านพานเปลี่ยนแปลงไปจนแทบ จดหมายข่าว
13
ไม่เหลือเค้าเดิม เพราะบ้านนายเตาหลายหลังหายไปหรือแบ่งที่ขาย ให้กับผู้อื่นจนเกือบหมด คนส่วนใหญ่ย้ายออกจากการงานที่ต้องเดิน ทางออกนอกพืน้ ที่ บ้านส่วนใหญ่ให้คนจากภายนอกเช่า เช่น ชาวอาข่า มาอาศัยเพื่อขายของย่านตรอกข้าวสารซึ่งเริ่มอยู่อาศัยถาวรและมี จ�ำนวนมากด้วย “ย่านตรอกศิลป์และตรอกตึกดิน” ชุมชนสองฝั่งคลองหลอดวัดราชนัดดาฯ ใกล้ศาลาว่าการ กรุงเทพมหานคร ในย่านตรอกศิลป์และตึกดินหากเป็นบ้านเรือนที่ เป็นของเอกชนส่วนใหญ่กม็ กั จะขายหรือให้เช่า ทุกวันนีม้ กี ลุม่ นักธุรกิจ หรือเอกชนสถาปนิกขอเช่าหรือซื้อทั้งบ้านและที่ดินจากผู้สืบทอดเดิม ไปปรับปรุงใหม่ [Renovation] เพื่อเป็นที่พักของนักท่องเที่ยว โดย เฉพาะบริเวณตรอกศิลป์ที่มีทางแยกแคบๆ ซึ่งเชื่อมต่อไปถึงตรอก ต่างๆ หลังอาคารริมถนนราชด�ำเนินกลาง และด้านหลังตึกแถวริมถนน ดินสอ บ้านเก่าหลังต่างๆ ที่เคยถูกปิดเพราะทางแคบ รถยนต์เข้าไม่ ได้และผู้สืบทอดปล่อยให้ทรุดโทรมและย้ายออกไปบ้างจ�ำนวนหลาย หลังกลายเป็นแหล่งพ�ำนักในบรรยากาศบ้านเรือนข้าราชการในอดีต ที่ปรับปรุงเพื่อรับนักท่องเที่ยวที่หวนหาอดีตในยุคปัจจุบัน การที่สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปและเคยมีไฟไหม้ รวม ทั้งครอบครัวที่ละทิ้งบ้านไว้ให้เช่าหรือขายขาด ท�ำให้ตรอกศิลป์และ ตรอกตึกดินมีคนจากต่างจังหวัดรวมทั้งผู้ที่อยู่เดิมมาเช่าอยู่ในสภาพ แวดล้อมที่ ไม่ดีนัก ส�ำหรับคนนอกเป็นพื้นที่ถือว่าอันตรายและน่า กลัว เคยมียาเสพติดระบาดมากจนถึงปัจจุบัน เพราะเป็นพื้นที่ซึ่ง สามารถเดินข้ามตรอกริมคลองหลอดจนไปออกทั้งตรอกแถบวัด มหรรณพารามฯ และตรอกอื่นๆ แม้แต่กลุ่มวัยรุ่นในปัจจุบันก็ยังไม่ พ้นวงจรปัญหาเหล่านี้ “ย่านตรอกหลังวัดราชนัดดาฯ” เป็นบ้านเรือน โรงเรียน และบ้านไม้เก่าทัง้ ทีป่ ลูกในทีด่ นิ ส่วน ตัวและทีด่ นิ ของส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ มีตรอกขนาด เล็กเลีย้ วเข้าไปได้อกี หลายแยกซึง่ สามารถเดินติดต่อไปทางตึกริมถนน ราชด�ำเนินกลาง สุดปลายทางของตรอกวัดราชนัดดาฯ จากต้นทาง จากถนนดินสอก็คือแนวก�ำแพงวัดราชนัดดาฯ ที่เปิดให้เดินเข้าออก ได้สะดวก และชาวบ้านที่นี่ก็มีความสัมพันธ์กับวัดที่ดี กลุ่มบ้านเหล่านี้มีทั้งพื้นที่ส่วนบุคคล ที่ดินวัด และที่ดินของ ส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ส่วนบ้านของลูกหลานใน ตระกูลขุนนางข้าราชการต่างๆ ยังคงอยู่ที่เดิมโดยมากไม่ได้ย้ายออก ไป บางส่วนเริ่มมีการน�ำบ้านมาปรับปรุงใหม่จากนักธุรกิจภายนอก เช่นเดียวกับทางฝั่งตรอกศิลป์ ปัจจุบันชุมชนทางฝั่งตรอกศิลป์นั้นกลายเป็นพื้นที่ซึ่งมีการ เข้ามาท�ำธุรกิจที่พักหรือโรงแรมแบบที่ ใช้บ้านไม้ที่ปรับปรุงใหม่ซึ่ง ก�ำลังเป็นที่นิมยมกันในปัจจุบัน มีทั้งเจ้าของแต่เดิมปรับปรุงเองและ การขายขาดให้กับคนภายนอก ส่วนชุมชนทางฝั่งตรอกหลังวัดราช นัดดาฯ ยังคงเป็นบ้านเดิมของลูกหลานเจ้าของบ้านแต่เดิม เพราะอยู่ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ในที่ดินของส�ำนักงานทรัพย์สินฯ ประการหนึ่ง และลูกหลานยังคงอยู่ อาศัยเป็นปกติอีกประการหนึ่ง จึงยังไม่เห็นการปรับปรุงบ้านเก่าเป็น แบบโรงแรมหรือทีพ่ กั แต่โดยรวมยังคงเห็นความดัง้ เดิมของชุมชนเก่า อยู่มากทีเดียว “ย่านตรอกเฟื่องทองและตรอกวิสูตร” แต่เดิมในครั้งรัชกาลที่ ๕ บันทึกไว้ว่าบริเวณนี้เคยมีการ ตีทองค�ำเปลวอยู่บ้าง แต่ก็ ไม่มากเท่ากับแถบตรอกบวรรังษี ต่อ มาราวๆ ๒๐-๓๐ ปีที่ผ่านมา คนจีนที่อพยพจากแผ่นดินใหญ่หลัง สงครามโลกครัง้ ที่ ๒ จากทีเ่ คยเป็นช่างท�ำทองรูปพรรณก็กลายมาเป็น คนขายเครือ่ งประดับซึง่ มีหน้าร้านและฐานะค่อนข้างดี ขยับขยายออก จากพื้นที่ย่านท�ำทอง ไปท�ำธุรกิจอื่นๆ บ้างหรือไปอยู่ตามแหล่งอื่นๆ บ้างและงานช่างทองรูปพรรณที่ตรอกเฟื่องทองและตรอกวิสูตรทุก วันนี้ จึงกลายเป็นงานของช่างทองจากแรงงานลูกจ้างชาวอีสานเป็น ส่วนใหญ่
ร้านยาหมอหวาน บริเวณตรอกหม้อ
ใกล้กับตรอกเฟื่องทองที่มีทางออกไปยังถนนราชบพิธฯ บริเวณนั้นเรียกกันว่า “ตรอกหม้อ” ซึ่งถือว่าเป็นตลาดสดแห่งสุดท้าย ในย่านเมืองเก่า แต่ก็เป็นตลาดสดที่จัดตั้งขึ้น มาใหม่เพื่อรองรับ พนักงานข้าราชการในละแวกนีเ้ ท่านัน้ ใกล้กบั ตลาดตรอกหม้อแต่เดิม บริเวณที่เชื่อมกับถนนบ�ำรุงเมืองและถนนตีทองได้นั้นเป็นที่ตั้งของ ร้านหมอยาออกแบบอาคารและบ้านพักอาศัยด้วยสถาปนิกครัง้ รัชกาล พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั สวยงามชือ่ “ร้านหมอหวาน” ซึง่ เป็นหมอยาค้าขายยาหลายต�ำรับสืบทอดตกมาถึงรุน่ ลูกหลานเหลน การด�ำเนินกิจการเพื่อสืบทอดมรดกจากบรรพบุรุษที่ร้าน ยาหมอหวานในปัจจุบัน แม้ยังอยู่ในขั้นตอนการด�ำเนินงานในระยะ เริ่มแรก แต่ก็พบว่าเป็นไปได้ด้วยดีพอประมาณ แต่ด้วยความมุ่งมั่น และความสามารถของเจ้าของกิจการเป็นส�ำคัญ นับเป็นหนึง่ ในธุรกิจ ดัง้ เดิมในย่านเมืองประวัตศิ าสตร์ทสี่ ามารถน�ำมาผลิตใหม่และใช้ฐาน ความรูท้ สี่ บื ทอดกันมาทีม่ อี ยูป่ รับปรุงขึน้ มาใหม่ได้อย่างน่านับถือ และ จดหมายข่าว
แทบจะหาไม่ได้แล้วในทุกวันนี้ “ย่านวังบูรพา” การค้ า ที่ ย ่ า นวั ง บู ร พาซบเซาไปเพราะหมดยุ ค ของโรง ภาพยนตร์และห้างสรรพสินค้าแบบเดิม ท�ำให้ร้านค้าทั่วบริเวณนี้ กิจการค่อนข้างซบเซาจนไม่อาจเทียบกับยุครุง่ เรืองได้แต่อย่างใด นับ ว่าเป็นความรุ่งเรืองของยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาจนถึงหลัง สมัยเปลีย่ นแปลงการปกครอง และในยุคสมัยทีเ่ กิดสงครามเวียดนาม ตลอดจนชีวติ ความเป็นอยูข่ องวัยรุน่ เยาวชน ผูค้ นในสังคมทัง้ หมดได้ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอเมริกันอย่างเต็มที่ ย่านวังบูรพานัน้ เป็นประจักษ์พยานของการเปลีย่ นทางสังคม ได้อย่างเห็นชัดที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งความเจริญถึงขีดสุดและความตกต�่ำ ที่สุดของย่านธุรกิจแห่งนี้เกิดขึ้นในช่วงเวลาไม่นานนัก “ย่านส�ำเพ็งและเยาวราช” ชาวจีนที่เข้ามาอยู่อาศัยในย่านส�ำเพ็งนั้นเกาะกลุ่มกันเป็น กลุ่มๆ โดยสร้างศาลเจ้าเฉพาะตนเองเป็นหลัก ที่มีมากที่สุดคือ ชาว จีนเชื้อสายแต้จิ๋ว ชาวฮกเกี้ยน กวางตุ้ง ไหหล�ำ และแคะ มีศาลเจ้า เช่น ศาลเจ้ากวนอู ศาลเจ้าฮ้อนหว่อง ในตรอกศาลเจ้าโรงเกือกของ คนจีนฮากกาหรือจีนแคะ ศาลเจ้าเซียงกงของชาวฮกเกี้ยน ส่วนบริเวณระหว่างถนนเจริญกรุงและถนนเยาวราชรวม พืน้ ทีร่ าว ๑๔ ไร่กว่า มียา่ นรวมสรรพสินค้าส�ำคัญคือ “เวิง้ นครเกษม” ต่อมาจึงได้พระราชทานที่ดินผืนดังกล่าวแก่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงเห็นว่า บริเวณนี้มีชุมชนเกิดขึ้นแล้วจึงได้ถมจนกลายเป็นที่โล่งกว้างใหญ่ ตั้ง ชื่อว่า “เวิ้งนาครเขษม” มีความหมายถึง เวิ้งอันเป็นที่รื่นรมย์ของชาว เมือง และปัจจุบันทายาทได้ขายที่ดินนี้ให้เอกชนรายใหญ่ไปแล้ว จน ท�ำให้พ่อค้าเก่าในย่านนี้ต้องย้ายออกจากร้านค้าและยุติการท�ำอาชีพ ดั้งเดิมในที่สุด นอกจากนี้บริเวณหัวถนนยังมีร้านพลอยของชาวตามินหรือ ทมิฬจากอินเดียใต้เหล่านีอ้ ยู่ในย่านร้านค้าของคนจีนทีส่ ำ� เพ็งทีป่ จั จุบนั เป็นร้านขายแห ขายอวนและเครื่องมือทางการเกษตรต่างๆ มีร้าน ขายผ้าเป็นม้วนๆ ของคนซิกข์ ร้านขายของเบ็ดเตล็ดต่างๆ ของคน จีน หากเข้าไปใกล้ๆ พาหุรัดร้านค้าเริ่มจะขายของมีค่ามากขึ้นเป็น ร้านเพชรร้านทองและเสือ้ ผ้าเครือ่ งประดับ เปิดด�ำเนินกิจการมาเกือบ ๑๐๐ ปีได้ ปัจจุบนั การค้าพลอยหรือหินสีไม่ได้ดมี ากเช่นในอดีต เพราะ จีนสามารถผลิตพลอยที่ท�ำด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เข้ามา จ�ำหน่าย และลูกค้าที่ลดน้อยลง ย่านส�ำเพ็งจึงมิใช่มแี ต่เพียงกลุม่ คนจีนเท่านัน้ แต่เป็นเสมือน ศูนย์กลางการค้าขายที่น�ำพาพ่อค้าต่างกลุ่มชาติพันธุ์มาค้าขายและ อยู่อาศัย จนกลายเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจตั้งแต่เริ่มสร้างกรุงฯ จนถึง ปัจจุบัน (ยังมีต่อ) 14
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
บันทึก จากท้องถิ่น จิราพร แซ่เตียว
โรงเจกับชาวไทยเชื้อสายจีนที่สามย่าน อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง เนือ่ งจากค�ำชักชวนของท่านผูใ้ หญ่หนึง่ ในคณะกรรมการโรง เจ สมาคมพุทธศาสตร์สงเคราะห์ (พ่งไล้ซ�ำเซียวเกาะ) อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง ว่า “ถ้าอยากจะรู้เรื่องคนไทยเชื้อสายจีนที่สามย่าน ซึ่ง เป็นคนกลุม่ ใหญ่ในเมืองแกลง สัมภาษณ์อย่างเดียว คงไม่รอู้ ะไร ต้อง มาร่วมงานโรงเจ ซึ่งมีกิจกรรมทั้งปี ส�ำหรับในเดือนพฤษภาคมนี้ก็จะ มีงานวันวิสาขบูชา และวันคล้ายวันประสูติองค์ฮุดโจ้ว จัดตั้งแต่วันที่ ๒๗-๓๐ พฤษภาคม หรือปลายปีก็จะมีงานกินเจซึ่งเป็นงานใหญ่ จะ ได้รวู้ า่ คนไทยเชือ้ สายจีนทีส่ ามย่านเค้านับถืออะไร มีพธิ อี ะไรกันบ้าง” แล้วจึงค้นหาปฏิทินที่จัดท�ำขึ้นโดยโรงเจเพื่อแจกจ่ายให้ร้านค้าและ สานุศิษย์ได้ทราบกิจกรรมในรอบปีของโรงเจส่งให้ด้วยความเอื้อเฟื้อ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการท�ำความเข้าใจคนจีนสามย่านผ่านประเพณี พิธีกรรมของคนในวัฒนธรรมครั้งนี้ เทพเจ้า พระพุทธเจ้า วัฒนธรรมความเชื่อที่หลอมรวมความเป็นจีน วัฒนธรรมจีนหยัง่ รากลึกมาหลายพันปีจากการหลอมรวมคติ ความเชื่อและประเพณีพิธีกรรมจากหลากหลายแหล่งที่มา ทั้งความ เชื่อในอ�ำนาจนอกเหนือธรรมชาติตั้งแต่สังคมยุคบุพกาลดังปรากฏ ในต�ำนานเทพเจ้าผู้สร้างโลก ลัทธิเต๋า ลัทธิหรู (ขงจื๊อ) ดังปรากฏ ชื่อเทพเจ้าผู้เป็นเซียนบุคคลต่างๆ และที่ส�ำคัญพระโพธิสัตว์ และ พระพุทธเจ้าตามคติพุทธมหายาน ดังปรากฏรายนามพระโพธิสัตว์ นับไม่ถว้ น รวมถึงพระพุทธเจ้าหลากหลายพระองค์ สร้างความสับสน แก่ผู้ไม่คุ้นชิน ศาลเจ้า โรงเจ หรือวัดจีนต่างๆ จึงต้องระบุชื่อเทพเจ้า และก�ำกับล�ำดับการไหว้ก่อนหลัง เพื่อการจัดระเบียบและสร้างความ มัน่ ใจสบายใจให้กบั ผูม้ าไหว้ขอพรจากเทพเจ้าว่าจะไหว้ดพี ลีถกู ได้ผล ตอบแทนสมใจปรารถนา เพือ่ ท�ำความรูจ้ กั กับเทพเจ้าและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิข์ องชาวจีนเพิม่ เติม นวรัตน์ ภักดีค�ำ เสนอการจัดแบ่งเทพและสิ่งศักดิ์สิทธิ์จีนตาม ประวัติที่มา ดังนี้ หนึ่ง เทพในปกรณัมนิทานโบราณของจีน คือ เทพเจ้าใน ต�ำนานการสร้างโลกของจีน และต�ำนานเกี่ยวกับบรรพกษัตริย์ซึ่งได้ รับการยกย่องเป็นเทพเจ้า เช่น ผานกู่ หนี่ว์วา เฉินหนง และหวางตี้ ฯลฯ สอง เทพในลัทธิเต๋าและลัทธิหรู มีเทพเจ้าส�ำคัญๆ ซึ่งเป็นที่ จดหมายข่าว
15
รู้จักกันดี คือ เง็กเซียนฮ่องเต้ และโป๊ยเซียนหรือแปดเซียน ประกอบ ด้วย ทิกว๋ ยลี้ ฮัน่ เจงหลี และลือ่ ท่งปิน เป็นต้น สาม พระพุทธเจ้า พระ โพธิสัตว์ พระอรหันต์ และเทพรักษาพระพุทธศาสนามหายานแบบ จีน เช่น พระศากยมุนีพุทธเจ้า พระไภษัชยคุรุพุทธเจ้า เจ้าแม่กวนอิม หรือพระศรีอาริยเมตไตรย (พระสังกัจจายน์จีน) ฯลฯ สี่ เทพที่เดิม เป็นบุคคลธรรมดา แต่เป็นวีรบุรุษ หรือเป็นบุคคลในประวัติศาสตร์ จีน ที่ประกอบคุณงามความดีเป็นที่ยกย่องมากสมัยยังมีชีวิตอยู่ เมื่อ ตายแล้วชาวจีนจึงยกย่องให้เป็นเทพเจ้า เช่น เทพเจ้ากวนอู หมอฮัว โต๋ เทพเจ้างักฮุย และเทพเจ้าหมาจู่ (เจ้าแม่ทับทิม) ฯลฯ ห้า เทพ ในวรรณกรรมจีน เป็นตัวละครที่ต่อมาได้รับการยกย่องนับถือเป็น เทพเจ้า เช่น เทพเจ้าเห้งเจียจากวรรณกรรมเรือ่ งไซอิว๋ และเทพนาจา จากวรรณกรรมจีนเรื่องห้องสิน ฯลฯ (นวรัตน์ ภักดีค�ำ. เทพเจ้าและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์จีน. ส�ำนักพิมพ์อมรินทร์: กรุงเทพฯ. ๒๕๕๓, หน้า ๒-๓) ในโรงเจต่างๆ จะเห็นการผสมผสานเทพเจ้าเหล่านี้ คือมี ทั้งเซียน เทพเจ้า พระโพธิสัตว์ พระพุทธเจ้า ที่เป็นรูปเคารพ ภาพ จิตรกรรมฝาผนังต�ำนานเรื่องราวคติสอนใจเช่นเดียวกับวัดพุทธใน นิกายเถรวาท หรือศาสนสถานในศาสนาอื่นๆ ส�ำหรับ “องค์ฮ้อเอี้ยฮุ้นเซี๊ยโจ้ว” หรือ “องค์ซักบ่อเซียน” ที่ ชาวเมืองแกลงนับถือและจัดงานวันคล้ายวันเกิดพร้อมๆ กับงานวัน วิสาขบูชาในแต่ละปีนนั้ เป็นเทพเจ้าทีช่ าวจีนนับถือในเรือ่ งฮวงจุย้ ฤกษ์ ยามมงคล โหราศาสตร์ แม้คณะศิษย์ที่เรียกว่า “กีเซ็ง” ผู้ช่วยองค์ ฮุดโจ้วของโรงเจแห่งนี้ ออกตัวว่าไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้ แต่ ก็ได้เข้ามาช่วยงานโรงเจหลายสิบปี และยินดีที่จะเล่าให้บรรดาคนรุ่น หลังฟังว่า “องค์ฮุดโจ้วนี้ เป็นเทพเจ้าองค์หนึ่งใน “โป๊ย จุง เซีย ฮุค” ตามตัวหนังสือ โป๊ย ก็คือแปด จุง ก็แปลว่าองค์ เซีย ก็อัจฉริยะ ฮุค คือ พระพุทธเจ้า รวมแล้วคือพระพุทธเจ้าแปดพระองค์ เป็นความเชือ่ ความศรั ทธาในศาสนาพุทธที่คนอ�ำเภอแกลงนับถือสืบทอดกันมา” จากข้อมูลต่างๆ เข้าใจได้วา่ องค์ฮอ้ เอีย้ ฮุน้ เซีย๊ โจ้วนีน้ า่ จะเป็นเทพเจ้าที่ เป็นวีรบุรษุ ซึง่ ได้รบั การยกย่องให้เป็นเทพเจ้าจากค�ำว่าเซียน หรือเสิน ในภาษาจีนกลาง เมือ่ ผนวกกับอิทธิพลของศาสนาพุทธแบบมหายานที่ เสริมเข้ามาก็ได้รบั การยกย่องให้เป็นฮุดโจ้ว เทพเจ้าหรือพระพุทธเจ้า ดังที่กล่าวมา มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ภาพเก่าโรงเจ
จากงานกินเจ สู่สมาคมพุทธศาสตร์สงเคราะห์ (พ่งไล้ซ�ำเซียวเกาะ) หากจะกล่าวถึงที่มาของโรงเจ หรือสมาคมพุทธศาสตร์ สงเคราะห์ (พ่งไล้ซ�ำเซียวเกาะ) อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง คงต้อง ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๔ เมื่อกลุ่มชาวจีนที่นับถือศาสนาพุทธ นิกายมหายาน ริเริ่มจัดพิธีกรรมกินเจขึ้นที่ตลาดสามย่าน ต�ำบลทาง เกวียน โดยขณะนัน้ ยังไม่มโี รงเจส�ำหรับประกอบพิธี ต้องอาศัยสถาน ทีค่ อื ร้านจิบเซ้งโอสถซึง่ อยูบ่ ริเวณหน้าทีว่ า่ การอ�ำเภอแกลงเก่า เมือ่ ใน แต่ละปีมคี นมาร่วมงานกินเจมากขึน้ เรือ่ ยๆ คณะกรรมการและผูม้ จี ติ ศรัทธาทีม่ าร่วมงานจึงได้รว่ มกันรวบรวมทุนทรัพย์จดั ซือ้ ทีด่ นิ แห่งใหม่ เพือ่ เป็นสถานทีป่ ระกอบพิธกี ารกินเจ และเป็นศาสนสถาน บริเวณข้าง ตลาดเก่า ตรงข้ามร้านสมชัยพานิชปัจจุบัน โดยตั้งชื่อว่า “ฮะเฮงตั๊ว” และใช้สถานที่นี้ประกอบพิธีกินเจแทนพื้นที่ร้านจิบเซ้งโอสถซึ่งจัดกัน มาแต่เดิม ค�ำว่า “ฮะเฮงตัว๊ ” มีผรู้ ภู้ าษาจีนช่วยกรุณาแปลความหมาย ให้ว่าหมายถึง ศาลเจ้าที่รวมเทพเจ้าหลายๆ องค์เอาไว้ด้วยกัน และ นอกจากเป็นศาลเจ้าทีผ่ นั ตัวมาใช้เป็นโรงเจแล้ว “ฮะเฮงตัว๊ ” แห่งนีย้ งั เคยเป็นพื้นที่ของโรงเรียนจีนในสามย่านอยู่ช่วงหนึ่ง จนในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ บรรดาพ่อค้าประชาชนชาวไทยเชือ้ สาย จีนในเขตพืน้ ทีอ่ ำ� เภอแกลงได้รว่ มกันจัดงานล้างป่าช้าขึน้ เป็นครัง้ แรก โดยเชิญคณะกรรมการสมาคมอนุศาสตร์สงเคราะห์ (เสีย่ วพ่งไล้เซ็งฮง ตั้ง) อ�ำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี มาเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือและให้ ค�ำแนะน�ำในการจัดงาน และมีองค์ฮ้อเอี้ยฮุ้นเซี๊ยโจ้ว เป็นองค์พิธีกร ศาสนกิจพิธีต่างๆ ซึ่งได้เป็นผู้แนะน�ำให้ชาวอ�ำเภอแกลงจัดตั้งเป็น สมาคม พร้อมทั้งให้ชื่อว่า “พ่งไล้ซ�ำเซียวเกาะ” หรือแปลเป็นภาษา ไทยว่า “สมาคมพุทธศาสตร์สงเคราะห์ จากข้อบอกกล่าวหรือทีส่ านุศษิ ย์ผศู้ รัทธาเรียกว่า “ค�ำบัญชา จากองค์เทพเจ้าฮ้อเอี้ยฮุ้นเซี๊ยโจ้ว” ที่ว่า ‘ศิษยานุศิษย์ทั้งหลายจงตั้ง มั่นในสัจธรรม ต้องไม่ลืมบุญคุณของผู้ให้ และขอให้จัดตั้ง พ่งไล้ซ�ำ เซียวเกาะ หรือสมาคมพุทธศาสตร์สงเคราะห์ และต่อไปจะต้องสร้าง ศาสนสถานฮะเฮงตัว๊ เพือ่ เป็นการร�ำลึกตลอดไป’ (ประวัตคิ วามเป็นมา การก่อตั้งสมาคมพุทธศาสตร์สงเคราะห์ และฮะเฮงตั๊ว อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง. ไม่ระบุปีที่พิมพ์) จดหมายข่าว
น�ำมาสู่การจัดหาสถานที่ จัดหาคณะกรรมการ และจัดตั้ง พ่งไล้ซ�ำเซียวเกาะ หรือสมาคมพุทธศาสตร์สงเคราะห์ ซึ่งต่อมาได้จด ทะเบียนจัดตัง้ เป็นสมาคมต่อทางราชการในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ และจัดหา จัดซื้อที่ดินแห่งใหม่ เนื้อที่ประมาณ ๖ ไร่เศษ ติดถนนสุขุมวิท ต�ำบล ทางเกวียน เพื่อเป็นสถานที่ตั้งโรงเจ และด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้ง พิธีกรรมทางศาสนาความเชื่อ และกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ จนถึงปัจจุบัน คุณสมเดช เซียวสกุล หัวหน้าฝ่ายฌาปนกิจ คุณอุระพงศ์ พูนสวัสดิพงศ์ หัวหน้าหน่วยกู้ภัย และคุณภูวนาถ บุเงิน ฝ่ายภาพและ การสือ่ สารของโรงเจช่วยกันเล่าเสริมว่า “บรรยากาศของคนจีนในสาม ย่าน ส่วนมากจะมารวมตัวในวันทีม่ กี จิ กรรมทีโ่ รงเจซึง่ มีหลายวัน เมือ่ ก่อนใช้สถานทีโ่ รงเรียนจีนเก่า อยู่ใกล้ตลาดเย็น ทีก่ ล่าวว่าองค์ฮดุ โจ้ว ท่านบัญชานัน้ คือมีการอัญเชิญท่านมาดูตรวจทีต่ อนกลางคืน แต่กอ่ น บริเวณนี้เป็นป่ายาง มีคนสองคนถือไม้หลิวคล้ายไม้ง่าม เขียนเป็นตัว หนังสือ เมื่อประมาณกว่า ๖๐ ปีก่อน ไม่มีถนน ท่านรู้ได้อย่างไรว่า จะเจริญเหมือนทุกวันนี้ ท่านเป็นคนออกแบบ ดูสถานที่ จะมีคนอ่าน คนจดบันทึกจากสิ่งที่องค์ฮุดโจ้วเขียนออกมา ตอนย้ายและท�ำการเปิดศาลมีพระเกจิดังในพื้นที่มาสวดท�ำ พิธี และท�ำเหรียญรุ่นแรกออกมา ๑ รุ่น จากนั้นมาก็มีกิจกรรมต่างๆ มาเรื่อยๆ งานกินเจจะจัดทุกปี งานล้างป่าช้าจะท�ำ ๑๐ ปีต่อหนึ่งครั้ง เทศกาลอัญเชิญสัมพเวสีจัด ๕ ปีต่อหนึ่งครั้ง การจัดพิธีการแต่ละ ครั้งใช้เงินเยอะ แต่ทางสมาคมก็ได้รับความร่วมมือจากผู้ใจบุญร่วม กันบริจาค สมาคมพุทธศาสตร์สงเคราะห์มีการร่วมมือกันเป็นเครือ ข่าย มีลำ� ดับสมาคม ในกรณีของทีแ่ กลงแห่งนีเ้ ป็นล�ำดับที่ ๓ ล�ำดับที่ ๑ อยู่ที่อ�ำเภอพานทอง ชลบุรี ซึ่งก็คือ สมาคมอนุศาสตร์สงเคราะห์ (เสีย่ วพ่งไล้เซ็งฮงตัง้ ) อ�ำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ทีอ่ ญ ั เชิญองค์ฮอ้ เอี้ยฮุ้นเซี๊ยโจ้วมาช่วยเหลือคราวงานล้างป่าช้า ล�ำดับที่ ๒ อยู่ที่อ�ำเภอ ขลุง จันทบุรี อันนี้เรียกว่าอยู่ในเครือ “พ้ง” ที่นับถือ “องค์ฮ้อเอี้ยฮุ้น เซีย๊ โจ้ว” ด้วยกัน และยังมีสมาคมในเครือล�ำดับอืน่ ๆ กระจายไปทัว่ ทุก พืน้ ที่ เหตุทตี่ อ้ งย้ายจากโรงเรียนจีนมาจัดหาและสร้างในพืน้ ทีแ่ ห่งใหม่ ริมถนนสุขมุ วิท เพราะพืน้ ทีเ่ ดิมคับแคบไม่เพียงพอต่อการจัดกิจกรรม ต่างๆ ของพุทธศาสนิกชนที่มาร่วมงาน” งานวันวิสาขบูชาและวันคล้ายวันประสูติองค์ฮุดโจ้ว กิจกรรมวันวิสาขบูชาและวันคล้ายวันประสูตอิ งค์เทพเจ้าฮ้อ เอี้ยฮุ้นเซี๊ยโจ้ว (องค์ฮุดโจ้ว) จัดในเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา เป็นการ จัดฉลองวันเกิดให้องค์เทพเจ้า มีมหรสพคือ งิ้วและหนังกลางแปลง ถวายตลอดทั้ง ๔ วัน และก�ำหนดการแต่ละวันประกอบด้วย วันทีห่ นึง่ เป็นการอัญเชิญกระถางธูป “ปึงเถ้ากง” ทุกศาลเจ้า ในเขตอ�ำเภอแกลงขึน้ ประดิษฐาน ณ แท่นบูชา ในโรงเจ จะมีสานุศษิ ย์ ที่ได้รับมอบหมายไปด�ำเนินการ จากที่ส�ำรวจดูประกอบไปด้วย “ปึง เถ้ากง” จากศาลเจ้าพ่อท่าปอ หนองน�้ำขุ่น แหลมท่าตะเคียน วังปลา 16
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
พิธีถวายเครื่องทรงองค์ฮุดโจ้ว
ประแส พังราด เขาดิน หนองกันเกรา ทางเกวียน สามย่าน หนอง แตงโม สองสลึง บ้านกร�่ำ เนินดินแดง วังหว้า ทะเลน้อย วังหิน นา ยายอาม แป๊ะกงชุมแสง หนองจั่น ฮกเต๊ก และต้นไทร การเชิญเช่นนี้ประหนึ่งการเชิญเจ้าพ่อทุกองค์มาร่วมงาน ร่วมชมมหรสพ ซึ่งสะท้อนให้เห็นเครือข่ายความร่วมมือของผู้คนใน เขตอ�ำเภอแกลงในปัจจุบัน วันที่สองเปิดให้ชาวบ้านชาวเมืองทุกคนเข้าร่วมไหว้องค์ฮุด โจ้ว ปึงเถ้ากง และเทพเจ้าทุกพระองค์ วันที่สามเป็นวันประกอบพิธีบูชาและถวายพระพร หรือที่ เรียกว่า “เค็งจก” เนือ่ งในวันคล้ายวันประสูตขิ ององค์ฮดุ โจ้ว และร่วม รับประทานอาหารเจในตอนเทีย่ ง วันนีย้ งั เป็นวันทีต่ รงกับวันวิสาขบูชา ซึง่ ถือว่าเป็นวันคล้ายวันประสูตขิ องพระศากยมุนพี ทุ ธเจ้าเช่นเดียวกัน วันที่สี่มีกิจกรรมตลอดวัน ในช่วงเช้าเป็นพิธีบูชาปึงเถ้ากง ช่วงบ่าย เป็นการไหว้กลางแจ้ง ไหว้เหล่าสัมพเวสี หรือผีไม่มีญาติ ที่เรียกว่า “โพวโต้ว” จะมีผู้คนเอาของมาไหว้ และบริจาค ข้าวสาร อาหารแห้ง ผลไม้ต่างๆ และมีผู้มารับบริจาค ซึ่งมีทั้งการโปรยทาน การไหว้เหล่า สัมพเวสี ไหว้วญ ิ ญาณผูล้ ว่ งลับไปแล้ว ซึง่ ไม่ได้ไหว้แต่ในวาระวันคล้าย วันเกิดเทพเจ้าเช่นนีเ้ ท่านัน้ ยังมีในวาระอืน่ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่วง การกินเจราวเดือนตุลาคมจะมีผู้เข้าร่วมพิธีมากกว่าครั้งนี้ ช่วงดึก ราวสามทุ่มจะเป็นพิธีการ “คุยกี” ค�ำนี้เป็นภาษา จีนแต้จิ๋ว หรือถ้าเปรียบกับไทยก็คือการที่องค์ฮุดโจ้วลงประทับทรง สานุศษิ ย์ทมี่ เี รือ่ งถาม ขอให้องค์ฮดุ โจ้วตอบข้อสงสัยหรือช่วยเหลือจะ มาติดต่อแจ้งชือ่ นามสกุล วันเดือนปีเกิด แจ้งเรือ่ งทีต่ อ้ งการถามหรือ ขอให้องค์ฮดุ โจ้วช่วยเหลือ โดยส่วนใหญ่จะเป็นการถามหรือการขอพร ในเรือ่ งของสุขภาพความเจ็บป่วย การขอให้องค์ฮดุ โจ้วช่วยดูฤกษ์ยาม ในการประกอบกิจการต่างๆ เมื่อถึงเวลาที่องค์ฮุดโจ้วประทับทรง ผู้ ประทับทรงจะใช้ไม้หลิวที่เป็นง่ามเขียน โดยศิษยานุศิษย์หลายคนจะ ช่วยกันดู และอ่านออกเสียงค�ำเหล่านั้น เพื่อป้องกันความผิดพลาด ยืนยันว่าถ้อยค�ำทีอ่ งค์ฮดุ โจ้วสือ่ สารนัน้ ถูกต้อง และมีหนึง่ คนท�ำหน้าที่ เป็นผูบ้ นั ทึก บันทึกเหล่านีค้ อื สิง่ ทีเ่ รียกกันว่าค�ำบัญชาขององค์ฮดุ โจ้ว จดหมายข่าว
17
ว่าท่านจะแนะน�ำแต่ละท่านที่ส่งค�ำถามมาว่าจะต้องไปท�ำอะไรต่อไป เช่น ถามมาเรื่องความเจ็บป่วย องค์ฮุดโจ้วอาจเขียนรายชื่อตัวยาให้ ไปซื้อมาแก้ไขความเจ็บป่วย หรือบางท่านอาจจะได้รับ “ฮู้” หรือผ้า ยันต์ไว้พกเป็นเครื่องราง ฯลฯ มีบ้างมาให้องค์ฮุดโจ้วเจิมศีรษะ บ้าง น�ำเด็กทารก น�ำรถ น�ำศาลเจ้าที่ (ตี่จู๋เอี๊ย) มาให้เจิมเพื่อความเป็นสิริ มงคล พิธีคุยกีนี้ในแต่ละเดือนจะจัดขึ้นในวันพระตามปฏิทินจีน ราวห้าทุ่มเป็นการประกอบพิธีถวายเครื่องทรงองค์ฮุดโจ้ว และเทพเจ้าทุกพระองค์ที่มาร่วมงาน เครื่องทรงนี้จะเรียกว่า “เกา เพ้า” เป็นลักษณะของเครื่องกระดาษที่เป็นหมวก ชุดเสื้อผ้าขององค์ เทพซึ่งถูกน�ำมาเผาส่งช่วงท้ายของรายการ ก่อนที่จะเผา องค์ฮุดโจ้วจะมีบัญชาขานรายชื่อศิษยานุศิษย์ ผู้ได้รับมอบหมายอัญเชิญเครื่องทรงของเทพแต่ละองค์ ผู้ที่มีรายชื่อ จะท�ำหน้าทีน่ ำ� เครือ่ งทรงไปเผาในพืน้ ทีก่ ลางแจ้งตามล�ำดับ เช้าวันถัด ไปจะเป็นการอัญเชิญกระถางธูปของปึงเถ้ากงทัง้ หมดในอ�ำเภอแกลง กลับไปยังศาลเจ้าถือเป็นอันเสร็จพิธี นอกจากนี้ในการฉายงิว้ และหนัง กลางแปลงในแต่ละคืนยังมีการแจกข้าวสารให้ผู้ที่อยู่ดูมหรสพจนจบ น�ำกลับไปบริโภคเพื่อเป็นสิริมงคล
“คุยกี” การประทับทรงและค�ำบัญชาจากเทพเจ้า
ส�ำหรับหน้าที่ของโรงเจจากอดีตถึงปัจจุบัน สะท้อนความ เปลีย่ นแปลงจากค�ำบอกเล่าทีว่ า่ “เมือ่ ก่อนคนจีนใช้โรงเจเป็นทีพ่ บปะ สังสรรค์ กินน�้ำชาหรือเล่นดนตรีจีน สีซอ ตีขิม ร้องบรรเลงเพลงจีน คุยเล่นกัน ปัจจุบนั บรรยากาศเหล่านี้ไม่มแี ล้ว รวมทัง้ เรือ่ งทีม่ ที พี่ กั ให้ คนมานอนค้างช่วงเทศกาลกินเจ ก็ไม่ได้ใช้งานส�ำหรับการพักค้างอีก ต่อไป” อย่างไรก็ตามโรงเจยังเป็นสาธารณสถานส�ำหรับบ�ำบัดทุกข์ ภัย กิจกรรมท�ำบุญ บริจาคทาน และสาธารณกุศลต่างๆ ตลอดปี ปัจจุบันเทคโนโลยีการสื่อสารที่รวดเร็วท�ำให้ทางโรงเจมีการเพิ่มช่อง ทางการสือ่ สารกิจกรรมต่างๆ สูส่ าธารณะทางเฟซบุก๊ เป็นการต่อเชือ่ ม คนเก่ากับคนใหม่ ส่งต่อการให้และรับของผูค้ นชาวเมืองแกลงและย่าน ใกล้เคียงอีกช่องทางหนึง่ ถือเป็นการส่งต่อรูปแบบพิธกี รรมความเชือ่ ที่ยังไม่ได้เสื่อมสลายไปไหน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ขอขอบคุณ คุณสมเดช เซียวสกุล, คุณอุระพงศ์ พูนสวัสดิพงศ์, คุณภูวนาถ บุเงิน, เฮียตี๋ เฮียอ็อด เฮียชา คณะท�ำงานและคณะกรรมการสมาคมพุทธ ศาสตร์สงเคราะห์ (พ่งไล้ซ�ำเซียวเกาะ) อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง
วัดสะพานหิน : ร่องรอยพื้นที่ต้นน�้ำศักดิ์สิทธิ์ก่อนเมืองสุโขทัย
พนมกร นวเสลา
พระอัฏฐารสปางประทานอภัยประทับยืนในวิหาร
โบราณสถานต่างๆ บริเวณเมืองเก่าสุโขทัยคือภาพสะท้อนให้ เห็นถึงความเจริญรุง่ เรืองทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในช่วง พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ อย่างไรก็ตาม พืน้ ฐานของเมืองสุโขทัยและใน บริเวณลุม่ น�ำ้ ยมมิได้เริม่ เกิดขึน้ เมือ่ พุทธศตวรรษที่ ๑๙ เท่านัน้ หากแต่ มีร่องรอยของการตั้งถิ่นฐานของผู้คนมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สืบเนือ่ งมาจนถึงสมัยสุโขทัย ปัจจัยหนึง่ ทีท่ ำ� ให้พนื้ ทีแ่ ห่งนีม้ กี ารอยูส่ บื เนือ่ งกันมาอย่างยาวนานคือเรือ่ งของทรัพยากรและสภาพภูมศิ าสตร์ที่ เอือ้ ต่อการด�ำรงอยูข่ องบ้านเมืองพร้อมกับการปรับตัวให้เข้ากับสภาพ แวดล้อมในพืน้ ที่ โบราณสถานบริเวณเมืองสุโขทัยมิได้มสี ถานะเพียง แค่ภาพแทนความรุ่งเรืองทางศาสนาเท่านั้น หากแต่ยังมีความหมาย ถึงการควบคุมหรือการสร้างพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ในพืน้ ทีท่ รัพยากรทีส่ ำ� คัญ ของบ้านเมือง ณ บริเวณแหล่งต้นน�ำ้ ทีอ่ ยู่ใกล้เคียงหล่อเลีย้ งบ้านเมือง บริเวณเชิงเขาหลวงแห่งนี้มาอย่างยาวนาน และจากการส�ำรวจพื้น ที่เพื่อถ่ายท�ำรายการ “อดีต ใน อนาคต” ตอน “นครรัฐสุโขทัยในสยามประเทศ” พบข้อมูลตามการ สันนิษฐานของนักวิชาการหลายท่านว่าโบราณสถานบางแห่ง เช่น “วัด สะพานหิน” น่าจะเป็นพืน้ ทีต่ น้ น�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิท์ สี่ บื เนือ่ งมาตัง้ แต่กอ่ นสมัย สุโขทัย จดหมายข่าว
ส�ำหรับร่องรอยชุมชนโบราณก่อนการเกิดขึ้นของเมือง สุโขทัย พบว่าอาณาบริเวณโดยรอบของเมืองสุโขทัยมีร่องรอยของ การตั้งถิ่นฐานผู้คนก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙ อย่างชัดเจน นับตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในบริเวณพื้นที่ต้นล�ำน�้ำแม่ล�ำพัน มีแหล่ง โบราณคดีที่ส�ำคัญคือ แหล่งโบราณคดีบ้านวังหาด ต�ำบลตลิ่งชัน อ�ำเภอบ้านด่านลานหอย เป็นแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ต่อเนือ่ งจนถึงสมัยทวารวดี ทัง้ เป็นแหล่งถลุงเหล็กและพบโบราณวัตถุ พวกเครื่องมือเหล็กและภาชนะดินเผาตลอดจนลูกปัดแก้ว จี้ห้อยคอ ดุนลายรูปลิงหรือสิงห์ท�ำด้วยทองค�ำและเงิน เหรียญศรีวัตสะ และ เหรียญรูปพระอาทิตย์ในสมัยทวารวดี ขณะที่บริเวณเมืองสุโขทัยได้ พบโบราณวัตถุพระพุทธรูปยืนสมัยทวารวดีและที่เมืองศรีสัชนาลัย พบร่องรอยโบราณสถานสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยทวารวดี จากการขุดค้นทางโบราณคดีที่วัดชมชื่นด้วยเช่นกัน การแพร่กระจาย โบราณวัตถุในสมัยทวารวดี ในลุ่มน�้ำยมดังกล่าวสัมพันธ์กับเส้นทาง ล�ำน�ำ้ ของแต่ละชุมชน โดยเส้นทางหลักคือน�ำ้ แม่ลำ� พันและแม่นำ�้ ยม ดังนั้นการค้นพบร่องรอยชุมชนสมัยทวารวดี ในบริเวณลุ่ม น�้ำยมสะท้อนให้เห็นถึงการแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดีจาก บริเวณลุ่มน�้ำเจ้าพระยาขึ้นมายังบริเวณลุ่มน�้ำยมเช่นเดียวกับลุ่มน�้ำ 18
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
อื่นๆ เช่น ลุ่มน�้ำน่านในเขตจังหวัดพิษณุโลก ปัจจุบันพบใบเสมาหิน สลักภาพพระพุทธรูปประทับนั่งแบบทวารวดีที่วัดหน้าพระธาตุ เมือง นครไทย (อ�ำเภอนครไทย) และชิ้นส่วนพระพุทธรูปสมัยทวารวดีที่ เขาสมอแคลง (อ�ำเภอวังทอง) ฯลฯ และต่อมาร่องรอยชุมชนความ เป็นเมืองปรากฏอย่างชัดเจนมากขึ้นในช่วงที่กลุ่มวัฒนธรรมขอมเข้า มามีบทบาทในพื้นที่ดังปรากฏร่องรอยโบราณสถาน เช่น ปรางค์เขา ปู่จา ปราสาทศาลตาผาแดง และปราสาทที่วัดพระพายหลวง ก่อนที่ จะเกิดการสร้างเมืองสุโขทัยในเวลาต่อมา บริเวณเทือกเขาหลวงและเขตภูเขาด้านทิศใต้และตะวันตก เฉียงใต้ถอื แหล่งต้นน�ำ้ ล�ำธาร ซึง่ มีระบบการจัดการชลประทานในรูป แบบของท�ำนบทดน�้ำและอ่างเก็บน�้ำที่เรียกว่า ตระพัง ถือเป็นระบบ ชลประทานแบบเมืองสุโขทัยที่เป็นอัตลักษณ์ ทรัพยากรน�ำ้ เป็นทรัพยากรทีเ่ ป็นปัจจัยส�ำคัญต่อพัฒนาการ ของบ้านเมืองสมัยโบราณ ส�ำหรับเมืองสุโขทัยในตรีบูรซึ่งเป็นเมืองที่ เกิดขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ มีลักษณะเมืองในผังสี่เหลี่ยมมีคัน ดินซ้อนกันสามชั้น ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบลาดเอียงและมีล�ำน�้ำส�ำคัญคือ ล�ำน�้ำแม่ล�ำพันที่มีต้นน�้ำในเขตอ�ำเภอเถิน จังหวัดล�ำปาง และล�ำน�้ำ คลองเสาหอจากเขาหลวงทางทิศตะวันตกของเมืองสุโขทัย จากสภาพ ภูมิศาสตร์ดังกล่าวเมืองสุโขทัยมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม โดยมีระบบการจัดการน�้ำและควบคุมน�้ำเพื่อให้บ้านเมืองด�ำรงอยู่ได้ ทั้งในช่วงฤดูน�้ำและฤดูแล้ง ประการแรก จากการเป็นพื้นที่ลาดเอียงโดยมีแหล่งต้นน�้ำ จากทางเทือกเขาหลวงทางทิศตะวันตกบริเวณแนวด้านหน้าเขาทาง ทิศตะวันออกพบร่องรอยของการท�ำคันดินหรือท�ำนบส�ำหรับชะลอน�ำ้ เช่น บริเวณระหว่างช่องเขาพระบาทใหญ่และเขาพระบาทน้อยทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองสุโขทัย มีคนั ดินชะลอน�ำ้ ที่ไหลมาจาก “โซก พระร่วง ลองพระขรรค์” จากการส�ำรวจเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๖ เป็นคัน ดินในแนวทิศเหนือ-ใต้มีความยาว ๔๙๐ เมตร สูง ๘ เมตร และกว้าง ๓๐ เมตร ท�ำนบบริเวณนี้ต่อมาเรียกกันทั่วไปว่า “สรีดภงส์” จากการส�ำรวจของคุณพิทยา ด�ำเด่นงาม นักโบราณคดีของ กรมศิลปากรพบว่า ถัดไปทางทิศใต้ห่างจากตัวเมืองสุโขทัยประมาณ ๗ กิโลเมตรพบคันดินชะลอน�้ำที่ไหลมาจาก “โซกพระแม่ย่า” มายัง พืน้ ทีช่ อ่ งเขาระหว่างเขาสะพานเรือและเขากุดยายชีในแนวทิศเหนือใต้ ขนาดความยาว ๑,๑๗๕ เมตร กว้าง ๒๕ เมตร ถือเป็นท�ำนบที่ เป็นสรีดภงส์อีกแห่งหนึ่ง การท�ำคันดินเหล่านี้มีประโยชน์ในการช่วยชะลอความแรง ของกระแสน�้ำและกักเก็บน�้ำที่หลากมายังพื้นที่นาและชุมชนทางทิศ ตะวันออกของเขาหลวงทั้งเมืองสุโขทัยและทางทิศใต้ยังมีชุมชนอื่นๆ ตั้งถิ่นฐานอยู่ด้วยเช่นกัน เห็นได้จากโบราณสถานบนเขาปู่จา เป็นต้น อย่างไรก็ตามนอกจากท�ำนบที่ชะลอน�้ำระหว่างช่องเขาแล้ว ถัดออกมาบนพื้นที่ลาดยังคงพบแนวท�ำนบในแกนทิศเหนือ-ใต้ ทั้ง ทางทิศเหนือและใต้ของเมืองสุโขทัย รวมทั้งแนวคันดินบางแห่ง เช่น จดหมายข่าว
19
บริเวณทางทิศตะวันตกของเมืองสุโขทัยยังท�ำหน้าที่ในการเบนน�้ำให้ ลงคูเมืองสุโขทัยทางประตูอ้อ (ทางทิศตะวันตกของเมืองสุโขทัย) ประการทีส่ อง ระบบการจัดเก็บน�ำ้ อีกรูปแบบหนึง่ ของเมือง สุโขทัยคือการกักเก็บน�้ำไว้ในตระพังหรือสระน�้ำ ซึ่งรูปแบบดังกล่าว เกิดขึ้นก่อนการเกิดเมืองสุโขทัย เช่น ที่วัดพระพายหลวง ฯลฯ และ ต่อมาเมื่อเกิดเมืองสุโขทัยขึ้นแล้วพบว่ามีโบราณสถานหลายแห่งที่ ตั้งอยู่บริเวณกึ่งกลางตระพัง เช่น วัดตระพังทอง วัดตระพังเงิน วัด สระศรี ฯลฯ น�้ำที่ล้อมรอบโบราณสถานเหล่านี้อาจมีความหมายเป็น น�้ำศักดิ์สิทธิ์และเป็นอุทกสีมาไปพร้อมๆ กับการเป็นน�้ำกินน�้ำใช้ของ ชาวเมืองสุโขทัยดังปรากฏในจารึกหลักส�ำคัญ
แผนภาพทิศทางการไหลของน�้ำจากเทือกเขาหลวงไปทางทิศตะวันออก
การจัดการดูแลรักษาต้นน�ำ้ ทีเ่ ห็นได้ชดั ของเมืองสุโขทัย คือ การสร้างพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิบ์ ริเวณทีท่ างน�ำ้ ไหลผ่านจากเทือกเขาลงสูเ่ ขต ทีร่ าบ เพือ่ ดูแลสภาพแวดล้อมและควบคุมการใช้ทรัพยากรมิให้บคุ คล ใดมาผูกขาดการใช้ทรัพยากร โดยท�ำให้เป็นพื้นที่สาธารณะและยก ให้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เพื่อการแบ่งปันดูแลทรัพยากร ใช้ความเชื่อ เกีย่ วกับสิง่ เหนือธรรมชาติมาก�ำกับ อีกนัยหนึง่ อาจหมายถึงการท�ำให้ น�้ำมีความศักดิ์สิทธิ์หรือบริสุทธิ์โดยการไหลผ่านสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ใน พืน้ ทีบ่ ริเวณเมืองสุโขทัยมีเทือกเขาหลวงทางทิศตะวันตกของเมือง มี หลักฐานในสมัยสุโขทัยสะท้อนให้เห็นว่าชาวเมืองเชือ่ ว่าเป็นทีส่ ถิตของ “พระขพุงผี” ซึ่งเป็นผี ใหญ่ที่สุดหรือผีปกปักรักษาเมืองในโลกทัศน์ ของชาวสุโขทัย ขณะที่ตามแนวเทือกเขามีร่องรอยโบราณสถานบน เทือกเขาขนาดย่อมด้านหน้าสุด ตั้งเรียงรายซึ่งแต่ละแห่งตั้งอยู่ใกล้ กับทางน�ำ้ ที่ไหลผ่านซอกเขามาสูต่ วั เมืองสุโขทัยทางทิศตะวันออก ถัด มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ทางขึ้นโบราณสถานวัดสะพานหิน
มาอีกเวิง้ เขาอีกแห่งของเทือกเขาหลวงมีรอ่ งรอยศาสนสถานในระบบ ความเชือ่ ท้องถิน่ คือ “ถ�ำ้ พระแม่ยา่ ” ประดิษฐานพระแม่ยา่ ทีด่ จู ะเป็น รูปเคารพสตรีที่เพิงผาเหนือโซกพระแม่ย่าที่เป็นล�ำน�้ำส�ำคัญของท้อง ถิ่นบริเวณนอกเมืองสุโขทัยด้านทิศใต้ การสร้างศาสนสถานและรูป เคารพดังกล่าวนี้สัมพันธ์กับเส้นทางล�ำน�้ำหรือโซกน�้ำไปทางทิศตะวัน ออก อันเป็นนัยของการใช้อ�ำนาจเหนือธรรมชาติหรือระบบความเชื่อ ทางศาสนามาควบคุมแหล่งทรัพยากรน�้ำส�ำคัญของท้องถิ่นและของ เมืองสุโขทัย “วัดสะพานหิน” นั้นเป็นหนึ่งในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของล�ำน�้ำ ส�ำคัญที่ไหลหล่อเลีย้ งชุมชนก่อนเมืองสุโขทัย บริเวณพืน้ ทีต่ น้ น�ำ้ ทาง ทิศตะวันตกของเมืองสุโขทัยปรากฏศาสนสถานต่างๆ เรียงราย อยูบ่ นเชิงเขาในกลุม่ เทือกเขาหลวง อาทิ วัดสะพานหิน วัดเขา พระบาทน้อย วัดอรัญญิก วัดเจดีย์งาม วัดเขาพระบาทใหญ่ กลุ่มวัดอรัญญิกตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของ เมืองสุโขทัยบนภูเขาขนาดย่อมไม่สูงมากนัก มีทางเดิน ขึน้ เขาปูดว้ ยหินชนวน ในเขตโบราณสถานของวัดมีพระ อัฏฐารส หรือ พระพุทธรูปประทับยืนปางประทาน อภัย ซึ่งได้รับการบูรณะแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ประดิษฐานอยู่ในวิหารในผังสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า พระอัฏฐารส องค์นี้น่าจะเป็นพระอัฏฐารสองค์เดียวกับที่ปรากฏใน ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ความว่า “...ในกลางอรัญญิก มี พิหารอันณื่ง... ใหญ่สูงงาม...มีพระอัฎฐารศอันณื่งลุก ยืน...” ในจารึกหลักที่ ๑ นี้ยังระบุว่าในวันเดือนดับและ วันเพ็ญพ่อขุนรามค�ำแหงทรงช้างเผือกชื่อ “รูจาครี “ มาไหว้พระในอรัญญิกซึ่งน่าจะรวมถึงวัดแห่งนี้ อย่างไรก็ตามแม้ว่าโบราณสถานวัดสะพาน หินจะสร้างขึน้ ในสมัยสุโขทัย แต่พบพระพุทธรูปศิลปะ สมัยทวารวดีประทับยืน รวมทัง้ พบฐานหินชนวนสีเ่ หลีย่ ม มีหลุมอยู่กึ่งกลางซึ่งอาจเป็นฐานเดิมของพระพุทธรูปที่ ประดิษฐานอยู่ในพืน้ ทีแ่ ห่งนี้ สะท้อนให้เห็นว่าพืน้ ทีแ่ ห่งนี้ จดหมายข่าว
เคยเป็นพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิม์ าตัง้ แต่สมัยทวารวดี สอดคล้องกับบริเวณพืน้ ที่ ทางทิศตะวันออกของวัดสะพานหินเป็นทีต่ งั้ ของศาสนสถานและชุมชน เก่าก่อนเมืองสุโขทัยคือบริเวณ “วัดพระพายหลวง” ที่มีคูน�้ำขนาด ใหญ่ลอ้ มรอบศาสนสถาน โดยรับธารน�ำ้ จากบริเวณเขาพระบาทน้อย และบริเวณนีม้ คี นั ดินชะลอน�ำ้ บริเวณวัดศรีชมุ คันดินดังกล่าวน่าจะท�ำ หน้าทีเ่ บนน�ำ้ ลงตระพังวัดพระพายหลวง ซึง่ เป็นกลุม่ ศาสนสถานก่อน สมัยสุโขทัย จนเมือ่ มีการสร้างเมืองในผังสีเ่ หลีย่ มมีตรีบรู แล้วจึงมีการ ใช้ล�ำน�้ำจากโซกพระร่วงฯ ลงสู่คลองเสาหอเบนน�้ำลงคูเมืองสุโขทัย ทางประตูอ้อในเวลาต่อมา การน�ำน�้ำจากแถบเขาแถบวัดสะพานหิน จึงมีการใช้ส�ำหรับเมืองสุโขทัยลดน้อยลง อาจารย์ศรีศกั ร วัลลิโภดม ได้ตงั้ ข้อสังเกตว่า แต่เดิมพืน้ ทีแ่ ห่ง นี้น่าจะเป็นที่สิงสถิตของผีต้นน�้ำที่ส�ำคัญมาตั้งแต่ก่อนสมัยทวารวดี เพราะเมื่อถึงสมัยทวารวดีระบบความเชื่อทางศาสนาพุทธได้เข้ามา บูรณาการกับความเชื่อท้องถิ่นเกิดเป็นการสร้างพุทธศาสนสถานขึ้น ในพื้นที่แห่งนี้ โดยบริเวณโบราณสถานวัดสะพานหินพบหลักฐานชิ้น ส�ำคัญคือพระพุทธรูปประทับยืนท�ำวิตรรกะมุทราบนฐานบัว มีความ สูงเกือบ ๓ เมตร ซึ่งเป็นพระพุทธรูปยืนแบบทวารวดีใหญ่ที่สุดเท่าที่ เคยค้นพบมา (ปัจจุบนั จัดแสดงอยูท่ พี่ พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แต่บันทึกไม่ตรงกันว่าน�ำมาจากวัดมหาธาตุ สุโขทัย) และนอกจากนี้ ยังพบพระพุทธรูปประทับยืนแบบทวารวดีขนาดย่อมกว่าซึง่ จัดแสดงอยู่ ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามค�ำแหง เป็นหลักฐานที่สะท้อนให้เห็น ถึงการให้ความส�ำคัญกับพืน้ ทีต่ น้ น�ำ้ แห่งนี้ จนกระทัง่ ถึงในสมัยสุโขทัย ยังคงให้ความส�ำคัญกับพืน้ ทีด่ งั กล่าวด้วยการสร้างโบราณสถาน วัดสะพานหินในรูปแบบของศิลปะสุโขทัยด้วยเช่นกัน ดังนั้นวัดสะพานหินจึงเป็นภาพสะท้อนของพื้นที่ ศักดิ์สิทธิ์ต้น น�้ำแห่งหนี่งที่เกิดขึ้นก่อนการสร้างเมือง สุโขทัย กล่าวคือ เป็นแหล่งน�้ำที่มีการใช้งานปรากฏ หลักฐานชัดเจนมาตั้งแต่สมัยทวารวดี ซึ่งอาจมีบ้าน เมืองเป็นชุมชนขนาดเล็กตั้งถิ่นฐานอยู่และสัมพันธ์กับ ตระพังน�้ำที่ล้อมรอบวัดพระพายหลวงก่อนการเกิดขึ้น ของเมืองสุโขทัย จนกระทั่งมาถึงสมัยสุโขทัยภายหลัง จากสร้างบ้านแปงเมืองเป็นนครรัฐแล้วยังคงให้ความ ส�ำคัญกับพื้นที่แห่งนี้อยู่ด้วยการสร้างวัดสะพานหินอันมี พระอัฏฐารสเป็นพระพุทธรูปองค์สำ� คัญ เป็นการสืบเนือ่ ง ของแนวคิดในการสร้างพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิจ์ ากการจัดการน�ำ้ ในอดีตจนมาเป็นศาสนสถานส�ำคัญของเมืองสุโขทัย ในเวลาต่อมา พระพุทธรูปประทับยืนศิลปะทวารวดีขนาดใหญ่ ขนาดสูงกว่า ๓ เมตรพบที่วัดสะพานหิน จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
20
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
พระขพุงผีเทพยดา : “พระแม่ย่า” สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองสุโขทัย พชรพงษ์ พุฒซ้อน “ศาลพระแม่ย่า” ริมแม่น�้ำยม ใกล้ศาลากลาง จังหวัดในปัจจุบัน ในเมืองสุโขทัยธานีถือเป็นสถานที่ ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่งในจังหวัดสุโขทัย เนื่องจากเป็นที่ ประดิษฐาน “รูปเคารพพระแม่ยา่ ” สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิค์ เู่ มือง สุโขทัยที่ชาวเมืองสุโขทัยเคารพเลื่อมใสศรัทธาโดยมี ผู้มากราบไหว้สักการะอยู่ไม่ขาด สถานทีพ่ บรูปเคารพพระแม่ยา่ อยูท่ ถี่ ำ�้ บริเวณ บ้านโว้งบ่อของเทือกเขาหลวงในต�ำบลนาเชิงคีรี ถ�ำ้ นีม้ ี ลักษณะเป็นเพิงผาหรือ Shelter ไม่ใช่โพรงถ�้ำภายใน ภูเขาหินปูนแต่อย่างใด ด้านล่างคือโซกหรือล�ำธารน�ำ้ พระแม่ย่า ปัจจุบันกลายเป็นวัดป่าถ�้ำแม่ย่า (ธรรม ยุต) ตามต�ำนานที่เล่าสืบต่อกันมา ถ�้ำแห่งนี้เป็นที่ อยูข่ องพระนางเสืองหรือพระแม่ยา่ พระมารดาของ พ่อขุนรามค�ำแหงมหาราชมาบ�ำเพ็ญศีลภาวนาอยู่ ภายในถ�ำ้ บ้างก็สนั นิษฐานว่ารูปเคารพนีเ้ ป็นเทวรูป พระนารายณ์ ซึ่งพิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้วก็ไม่อาจ เป็นเทวรูปไปได้ รูปเคารพพระแม่ยา่ สลักด้วยหินชนวน เป็น รูปสตรีผอมสูง ใบหน้ายาวคล้ายพระพักตร์พระพุทธ รูปแบบสุโขทัย ผมมุ่นมวยสูง ๔ ชั้น ใส่ต่างหูยาว ใส่ เฉพาะสังวาลย์ไม่สวมเสือ้ และสวมผ้านุง่ แบบชายไหว ชายแครงเป็นเชิงชั้นทั้งสองข้างแบบศิลปะการนุ่งผ้าสตรีสมัยสุโขทัย ไม่สวมเสื้อหรือสไบ เปลือยส่วนบนทั้งหมดเห็นพระถันทั้งสองเต้า ใส่ก�ำไลแขน ก�ำไลข้อมือ และก�ำไลข้อเท้า สวมชฎาทรงสูง สวมรอง พระบาทปลายงอน ความสูงรวมแท่นประทับรวม ๕๒ นิ้ว หรือราว ๑๓๐ เซนติเมตร ชาวบ้านมีความเชื่อว่าเทวรูปพระแม่ย่าองค์นี้คือ “พระนางเสือง” พระมารดาของพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช ราวปี พ.ศ. ๒๔๕๘ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ได้ทรงสืบสวนเรื่อง ราวต่างๆ ของเมืองสุโขทัย พบรูปเคารพสตรีที่ชาวบ้านนับถือมาก บริเวณเทือกเขาหลวง ซึง่ ชาวบ้านแถวนัน้ เรียกว่า โซกพระแม่ยา่ ห่าง จากเมืองสุโขทัยเก่าทางทิศใต้ประมาณ ๗ กิโลเมตร และมีสมมติฐาน จากข้อความในจารึกหลักที่ ๑ ซึง่ กล่าวถึง “พระขพุงผี” ทีอ่ ยูท่ ศิ เบือ้ ง บนหัวนอนเมืองสุโขทัย และเนื่องจากไม่พบรูปเคารพอื่นใด จึงทรง สันนิษฐานว่า “พระแม่ย่า” องค์นี้น่าจะเป็น “พระขพุงผี” ชาวบ้านใน แถบนั้นเรียกรูปเคารพองค์นี้ว่า “พระแม่ย่า” ถ�้ำที่พบก็เรียกว่า “ถ�้ำ จดหมายข่าว
21
พระแม่ย่า” แต่ข้อมูลที่ โรม บุนนาค เขียนไว้กล่าวว่า สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถได้เสด็จไป ส�ำรวจเมืองสุโขทัย เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๕ และทรงนิพนธ์ไว้ใน หนังสือ “ก�ำเนิดเมืองสุโขทัยและสวรรคโลก” ในท�ำนอง เดียวกันว่ามีการค้นหาในบริเวณเทือกเขาหลวงตาม ข้อมูลในจารึกหลักที่ ๑ โดยเข้าใจว่าเบื้องหัวนอน นัน้ เป็นทิศเหนือ แต่หากทีถ่ กู แล้วคือทางทิศใต้ และ เสด็จไปพบรูปเคารพพระแม่ยา่ ทีถ่ ำ�้ พระแม่ยา่ นีด้ ว้ ย พระองค์เอง และทรงด�ำริให้น�ำไปเก็บรักษาไว้ที่ศาลา กลางจังหวัดสุโขทัยไม่เช่นนัน้ อาจจะสูญหายได้ (ผูจ้ ดั การ ออนไลน์, เผยแพร่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๙) “เมืองสุโขทัย” เป็นเมืองที่อิงภูเขา ตั้ง อยู่ด้านหน้าของเขาหลวงที่มีเชิงเขาและที่ลาดลงสู่พื้นที่ ราบลุ่มน�้ำท่วมถึงทางฝั่งตะวันตกสู่ล�ำน�้ำยม โดยมีการ รับน�้ำจากป่าเขามาใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค รวมถึงการ ท�ำการเกษตรและล�ำเหมืองน�ำน�้ำผ่านกลุ่มวัดอรัญญิก ผ่านก�ำแพงเมือง เข้ามากักไว้ตามตระพังใหญ่ในเมือง และบริเวณโดยรอบ ระบบการชลประทานทีน่ ำ� น�ำ้ จากบนเขา เข้ามาใช้ในเมืองนี้จะเห็นเป็นร่องรอยของท�ำนบเป็นคัน ดินใหญ่ ในจารึกเรียกว่า สรีดภงส์ และคันดินเล็กใหญ่อีกเป็นจ�ำนวน มาก รวมทัง้ ทีเ่ รียกกันว่า “ถนนพระร่วง” ทีเ่ ป็นแนวท�ำนบโบราณและ เป็นคันดินที่ใช้เป็นทางคมนาคมเป็นช่วงๆ ได้ด้วย ในด้านศาสนา สังคมสุโขทัยมีการนับถือทั้งศาสนาพุทธ นิกายมหายานและเถรวาท ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และการนับถือผี เมือ่ สุโขทัยรับพุทธศาสนาลังกาวงศ์โดยกษัตริยเ์ ป็นองค์ศาสนูปถัมภก ท� ำ ให้ พุ ท ธศาสนาแบบลั ง กาวงศ์ รุ ่ ง เรื อ งในสุ โ ขทั ย อย่ า งมาก ขนบประเพณีทางพุทธศาสนาที่ส�ำคัญ อย่างเช่น การบวช การนับถือ พระบรมธาตุ การไหว้บูชาพระพุทธรูป และนอกจากการนับถือศาสนาแล้ว ก็ยงั พบว่ามีการนับถือผี หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์อ�ำนาจเหนือธรรมชาติ โดยเป็นความเชื่อดั้งเดิมที่มี มาตั้งแต่โบราณ จะเห็นได้ว่าข้อความในจารึกที่ท�ำให้รู้จักชาวสุโขทัย มากทีส่ ดุ คือเรือ่ งราวความเชือ่ โลกนีแ้ ละโลกหน้า ซึง่ เป็นความเชือ่ ขัน้ พื้นฐานของคนในสมัยโบราณ นั่นก็คือการนับถือ “ผี” ความเชือ่ เกีย่ วกับผีของชาวสุโขทัยแบ่งออกเป็นสองประเภท มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
อย่างแรกคือ ผีบรรพบุรุษ หมายถึง วิญญาณของพ่อแม่ปู่ย่าตายาย ที่ตายไปแล้วหรือผีหัวหน้าหมู่บ้านที่เป็นบรรพบุรุษ ของหมู่บ้าน อย่าง ที่สองคือ ผีประจ�ำสถานที่ หมายถึง วิญญาณที่สถิต ณ ภูเขาใหญ่ ถ�้ำ ป่าไม้ แม่น�้ำล�ำธาร คอยปกปักรักษาพื้นที่เหล่านี้เอาไว้ โดยมี อ�ำนาจศักดิ์สิทธิ์ที่สามารถดลบันดาลให้คุณและโทษแก่ผู้ที่กระท�ำผิด ไม่ซื่อตรงในกิจการต่างๆ หรือกระท�ำผิดค�ำสาบาน เช่น พระขพุงผี เทพดา ผีประจ�ำเขาหลวงของเมืองสุโขทัย โดยมีบทบาทอย่างมากใน ระบบความเชื่อนี้ที่สืบต่อกันมา จากศิลาจารึกพ่อขุนรามค�ำแหง หลักที่ ๑ เป็นหลักฐานกล่าว ว่า “มีพระขพุงผีเทพดาในเขาอันนั้น เป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ขุน ผู้ใดถือเมืองสุโขทัยนี้แล้ ไหว้ดีผีถูก เมืองนี้เที่ยง เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลีบ่ถูก ผีในเขาอั้นบ่คุ้ม บ่เกรง เมืองนี้หาย” จากข้อความข้างต้น แปลได้วา่ เขาหลวงเป็นทีส่ ถิตของ “พระ ขพุงผี” มีอ�ำนาจต่อความเป็นไปของบ้านเมือง ผู้ปกครองจ�ำเป็นต้อง บูชาผีให้ถูกเพื่อความสงบสุขของผู้คนและบ้านเมือง
เพิงผาหรือถ�้ำพระแม่ย่า ในต�ำบลนาเชิงคีรี
อย่างไรก็ตาม ลักษณะรูปเคารพนี้ดูเป็นสตรีเพศอย่างเห็น ได้ชัด เกินกว่าที่จะเป็นรูปลักษณ์ของพระนารายณ์ เป็นสตรีมีเครื่อง ประดับอย่างสตรีโบราณผูส้ งู ศักดิ์ ประทับยืนตรงแขนทัง้ สองข้างแนบ พระกาย นุ่งผ้าปล่อยชายไหว ชาวบ้านจึงเชื่อว่าเป็นพระนางเสือง และสาเหตุที่เรียกพระแม่ย่า อันหมายถึง สตรีที่มีฐานะสูงสุด เป็นทั้ง พระมารดาและพระอัยยิกาแห่งเมืองสุโขทัย เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คอย ปกปักรักษาเมือง ป่าเขา หรือทรัพยากรต่างๆ ด้านหน้าถ�ำ้ นัน้ มีธารน�ำ้ ไหลผ่านเรียกว่าโซกพระแม่ย่า หล่อเลี้ยงอาณาบริเวณชุมชนแถบนี้ อีกเส้นทางน�้ำหนึ่งที่ไหลผ่านเพื่อเข้าไปยังตัวเมืองเก่าสุโขทัยในอดีต ตามที่กล่าวมาข้างต้น เพราะทางภูมิศาสตร์ส่วนนี้ ส่วนใหญ่เป็นป่า และที่เวิ้งเข้าไปในหุบเขาและซอกเขาจ�ำนวนมาก มีร่องรอยของแนว คันดินที่ตัดเข้าไป มีทรัพยากรมากมาย ถ�้ำพระแม่ย่าในบริเวณนี้จึง กลายเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ระบบความเชื่อของท้องถิ่นเรื่อง ผี หรือ จดหมายข่าว
อ�ำนาจสิ่งเหนือธรรมชาติ จึงถูกน�ำมาใช้เพื่อปกปักรักษาทรัพยากรที่ มีให้ยังคงอยู่สืบมา คล้ายคลึงกันกับที่อื่นๆ เช่น ในภาคอีสาน แต่ละ ท้องที่จะเรียกดอนปู่ตา ศาลปู่ตา ที่คอยปกปักรักษาพื้นที่นั้นๆ ฯลฯ พระยารามราชภักดีเจ้าเมืองสุโขทัยในเวลานัน้ จึงได้อญ ั เชิญ องค์เทวรูปองค์นี้ มาเก็บรักษาไว้ที่ศาลากลางจังหวัด โดยมีชาวเมือง สุโขทัยช่วยกันแห่อย่างเนืองแน่น เกิดฝนตกหนักเป็นอัศจรรย์เพราะ ขณะนั้นเป็นฤดูแล้งไม่ใช่ฤดูฝน และเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕ เมื่อจังหวัด สุโขทัยถูกเปลีย่ นเป็นจังหวัดสวรรคโลก รูปเคารพพระแม่ยา่ ก็ถกู ย้าย ไปประดิษฐานในศาลากลางจังหวัดสวรรคโลกในระยะหนึ่ง จนเมื่อ จังหวัดสวรรคโลกเปลีย่ นมาเป็นจังหวัดสุโขทัยตามเดิม รูปเคารพพระ แม่ย่าจึงกลับมาอยู่ ณ ศาลากลางจังหวัดสุโขทัยอีกครั้ง ต่ อ มาชาวสุ โ ขทั ย อั ญ เชิ ญ พระแม่ ย ่ า ออกมาแห่ ใ นวั น สงกรานต์ เพื่อร่วมกันสรงน�้ำและขอพร ทุกครั้งที่แห่จะมีฝนตกลง มาเป็นที่อัศจรรย์ทุกครั้ง จนกลายเป็นประเพณีแห่พระแม่ย่าในวัน สงกรานต์จะต้องมีฝนตกต้องตามฤดูกาล ข้าวกล้านาดี ไม่เกิดความ แห้งแล้ง และในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ นายเชื่อม ศิริสนธิ อดีตผู้ว่าราชการ จังหวัด เกรงว่า ถ้าน�ำรูปเคารพพระแม่ย่ามาแห่บ่อยๆ อาจท�ำให้ ตกหล่นเสียหายได้ จึงสร้างศาลให้เป็นทีป่ ระดิษฐานอยูร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ ยม ฝั่งตะวันออกตรงหน้าศาลากลางจังหวัดสุโขทัย เรียกว่า “ศาลพระ แม่ย่า” จึงได้ประดิษฐานอยู่ในที่แห่งนี้ตั้งแต่ปีนั้นเป็นต้นมา และได้ สลักท่อนศิลาเป็นองค์จ�ำลองขึ้นมาใหม่แทน เพื่อส�ำหรับออกแห่ให้ ประชาชนสรงน�้ำในวันมหาสงกรานต์ โดยทางเทศบาลเมืองสุโขทัย เป็นเจ้าพิธีขบวนแห่เรื่อยมา ปัจจุบัน ศาลพระแม่ย่า ที่มีเทวรูปจ�ำลอง ๒ องค์ ตั้งอยู่ ด้านหน้าตรงบันไดทางเข้าประตูศาล กิตติศัพท์ความศักดิ์สิทธิ์ของ พระแม่ย่าสุโขทัย นั้นเลื่องลือ ด้วยความเชื่อที่ว่าจะช่วยขจัดความ เดือดร้อน ขอพร ขอโชคลาภ เป็นสถานที่ชาวเมืองสุโขทัย หรือผู้คน จากทีอ่ นื่ ต่างมากราบไหว้ พากันปิดแผ่นทองค�ำเปลวทัว่ องค์ทำ� ให้มอง ไม่เห็นองค์จนใบหน้าอาจมองคล้ายรูปใบหน้าสตรีสูงอายุ สมกับชื่อ พระแม่ย่าจนกลายเป็นอุปทานให้เกิดขึ้นแก่ผู้พบเห็น รูปเคารพ “พระแม่ย่า” จากศาลในเพิงผาหรือถ�้ำปากประตู สู่ป่าเขาในบริเวณโซกพระแม่ย่า ที่เป็นรูปเคารพศักดิ์สิทธิ์ [Deity] เป็นเทพสตรีผู้พิทักษ์และก�ำกับอ�ำนาจเหนือธรรมชาติเพื่อดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติของป่าที่เป็นทรัพย์ส่วนรวมและต้นน�้ำล�ำธาร ที่หล่อเลี้ยงชาวบ้านเมืองสุโขทัยส่วนหนึ่ง ถือว่าเป็นรูปแบบที่สืบ เนื่องเรื่อยมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ก็เป็นได้ จนกลายมาเป็น เทพรักษาเมืองที่ดลบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลเพื่อความอุดม สมบูรณ์แห่งแผ่นดินของชาวจังหวัดสุโขทัยและคนทั่วไปในทุกวันนี้
22
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
หนังสือ : พิพิธภัณฑ์ และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
ข้าพเจ้านึกถึงพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น เพียงแค่อะไรก็ตามที่ขึ้นอยู่กับศักยภาพ ของผู้คนในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหา ความรู้ สิ่งของ สถานที่อาคาร และ ทุนรอนในการจัดการแสดงวิธีการจัดตั้ง พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่มูลนิธิฯ เกี่ยวข้อง ด้ ว ยก็ คื อ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น พี่ เ ลี้ ย ง คอย แนะน� ำ ช่ ว ยเหลื อ และสนั บ สนุ น ให้ คนภายในท้องถิ่นจัดสร้างขึ้น ทั้งดูแล และถ่ า ยทอดความรู ้ ใ ห้ แ ก่ ค นภายใน ด้วย ข้าพเจ้าคิดว่าการเคลื่อนไหวของ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท ้ อ งถิ่ น ในลั ก ษณะที่ เ ป็ น กระบวนการสร้ า งความรู ้ ที่ ไ ม่ ติ ด กรอบติ ด รู ป แบบและลื่ น ไหลไปตาม สถานการณ์และศักยภาพของท้องถิน่ คือ สิ่งที่อยู่ในทิศทางที่เหมาะสม ที่นอกจาก จะสามารถสร้ า งส� ำ นึ ก ร่ ว มของคนใน สังคมได้แล้ว ยังเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่จะน�ำไป สร้างเป็นความรู้ท้องถิ่นให้เด็กได้เรียน กันตามโรงเรียนอีกด้วย ศรีศักร วัลลิโภดม