จดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ฉบับที่ ๑๑๘ “คนจน” กับ “วัฒนธรรมความจนในสังคมไทย”

Page 1

ภาพลายเส้นชุมชนที่ตรอกใต้โดย ดร. ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์



เปิด : ศรีประเด็ น ศักร วัลลิโภดม “คนจน” กับ “วัฒนธรรมความจนในสังคมไทย” ในแนวคิดทางมานุษยวิทยาของข้าพเจ้า “ความจน” [Poverty] ในสังคมไทยปัจจุบัน วิเคราะห์ได้เป็น ๒ อย่าง อย่างแรกคือ คนจนที่แลเห็นเป็นคนๆ ไป [Individual] เป็น ความจนทีพ่ จิ ารณาจากระดับรายได้ทตี่ ำ�่ สุดซึง่ ไม่เพียงพอต่อการด�ำรง ชีพ เป็นสิ่งที่ทางรัฐและสังคมต้องให้เงินช่วยเหลือ อย่างเช่นการจัด กองทุนหมู่บ้านที่ท�ำมาแต่สมัยนายทักษิณ ชินวัตร และสืบเนื่องมา จนถึงรัฐบาลยุคปฏิวัติของ คสช. ในปัจจุบัน อย่างที่สองคือ “วัฒนธรรมความจน” ซึ่งเป็นแนวคิดและ การศึกษาทางมานุษยวิทยาที่มาจากการศึกษาชุมชนในนิวยอร์กและ เม็กซิโกของ “ออสการ์ ลูวิส” ใน ค.ศ. ๑๙๖๖ ซึ่งเป็นแนวคิดที่ห่าง ไกลกับความคิดของนักวิชาการสมัยโพสต์โมเดิร์น ในปัจจุบันมาก “วัฒนธรรมความจน” ของออสการ์ ลูวสิ เป็นเรือ่ งของวิถชี วี ติ ของคนที่อยู่รวมกันในชุมชนท้องถิ่นในสังคมที่เปลี่ยนผ่านจากสังคม ชาวนาที่เป็นเกษตรกรรม [Peasant Society] มาเป็นสังคมเมืองใน ยุคอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องจากการโยกย้าย ถิน่ ฐานของผูค้ นทีเ่ คยอยูก่ นั มานานในท้องถิน่ ต้องละทิง้ อาชีพเดิมทาง เกษตรกรรมและการเลีย้ งสัตว์ ทีเ่ คยมีทดี่ นิ ทีท่ ำ� กินของตนเอง เข้ามา เป็นแรงงานรับจ้างตามเมืองและแหล่งอุตสาหกรรม อันเป็นเหตุให้เกิด การพลัดพรากจากครอบครัว และการล่มสลายของชุมชนในท้องถิ่น เมื่ อโยกย้ า ยเข้ า มาอยู ่ ใ นพื้ น ที่ ซึ่ ง เป็ น เมื อ งและแหล่ ง อุตสาหกรรมแล้ว ไม่อาจปรับตัวให้ทันกับความเจริญทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และวัฒนธรรมของคนเมืองได้ เกิดภาวะความล้าหลังตาม ไม่ทนั สมัย ก็กลายเป็นกลุม่ คนทีเ่ ร่รอ่ น สร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยตามพืน้ ทีต่ า่ งๆ ที่ไม่พัฒนาทั้งในเขตเมืองและตามชายขอบของที่เป็นปริมณฑล ดัง เช่น บรรดานักผังเมือง นักสังคมสงเคราะห์เรียกว่าพื้นที่แออัดและ สกปรกเต็มไปด้วยโรคภัย [Slum and Blight Area] แต่ออสการ์ ลูวิส แลเห็นว่าเป็นกลุ่มวัฒนธรรมย่อยของ สังคมใหญ่ที่เรียกว่า Subculture ของกลุ่มชนที่มีวิถีชีวิตร่วมกัน เป็น สังคมหรือชุมชน [Community] ในสังคมเมือง [Urban Society] โดย สร้างสังคมของคนในชุมชนทีเ่ ป็นวัฒนธรรมย่อยดังกล่าวนี้ เหมือนกัน กับความเป็นชุมชนทัว่ ไปทีป่ ระกอบด้วยครอบครัวที่ให้ความส�ำคัญกับ แม่ ทีม่ บี ทบาทมากกว่าพ่อในการดูแลเลีย้ งดูลกู เหนือระดับครอบครัว ขึน้ ไปก็คอื การสัมพันธ์ทางสังคมกับครอบครัวอืน่ ทีเ่ ข้ามาอยูร่ วมกันใน พื้นที่เดียวกัน ท�ำให้คนแต่ละครอบครัวเหล่านี้ที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันมี

ความสัมพันธ์กันในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในการมีชีวิต รอดร่วมกัน ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นวิถีชีวิตที่มีความรู้สึกร่วมทุกข์สุขในการ เป็นกลุ่มเดียวกัน สิ่งนี้ข้าพเจ้าเรียกว่า “ชีวิตวัฒนธรรม” ที่มีลักษณะเป็น องค์รวม ท�ำให้คนในกลุ่มวัฒนธรรมย่อยมีปึกแผ่นทางสังคม [Social Solidarity] สูงกว่าบรรดาชุมชนอื่นในสังคมเมืองทั้งหลาย แต่ต่าง จากชุมชนเมืองเหล่านั้นเมื่อน�ำมาเปรียบเทียบ ท�ำให้เกิดความเหลื่อม ล�้ำในเรื่องฐานะความเป็นอยู่ รายได้ และมาตรฐานในการด�ำรงชีวิต ความแตกต่างเหลือ่ มล�ำ้ นีค้ อื ทีม่ าของค�ำว่า วัฒนธรรมความ จน [The Culture of Poverty]

ชุมชนบ้านบาตรและบ้านเรือนในอดีต วัฒนธรรมความจนจะไม่พบมากในสังคมชนบทที่เป็นสังคม ชาวนา [Peasant Society] เพราะความแตกต่างในชีวิตวัฒนธรรม แทบไม่มี เพราะอยู่ในระดับใกล้เคียงกันหมดและความยากจนยากไร้ ของปัจเจกบุคคล อันได้รบั การดูแลช่วยเหลือจากคนในครอบครัวหรือ จากองค์กรของชุมชนเอง เช่น ในชุมชนของคนมุสลิมในภาคใต้จะมีกฎ เกณฑ์ที่เป็นประเพณีให้คนในสังคมที่มีรายได้มากต้องเสียภาษีคนจน ให้กับองค์กรของชุมชนที่จะมีหน้าที่รับรู้ว่าคนใดและครอบครัวใดที่ ยากจนและขัดสน ก็จะน�ำเงินเหล่านั้นไปให้ความช่วยเหลือ แม้แต่ใน ชุมชนของคนพุทธคนที่เดือดร้อนขัดสนก็อาจมีชีวิตรอด มีที่อยู่อาศัย


ตามวัดหรือกับพี่น้องที่จะต้องดูแลไม่ ให้อดตายเพราะความยากจน และชุมชนบ้านใดถิน่ ใดเกิดมีคนยากจนอดอยากก็จะเป็นทีด่ ถู กู เหยียด หยาม โดยชุมชนอื่นๆ ในท้องถิ่น สมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ที่เป็นยุคแรกๆ ของการปรับ เปลีย่ นประเทศให้เป็นสังคมอุตสาหกรรม ได้มกี ารเคลือ่ นย้ายของผูค้ น ในสังคมชาวนาในชนบทเข้ามาหางานท�ำและหาทีอ่ ยูอ่ าศัยในเขตเมือง โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครที่มีการขยายตัวอย่างกว้างขวาง ปรากฏการณ์ทคี่ นชาวนาเข้ามาตั้งหลักแหล่งท�ำมาหากินใน เมืองนี้ เรียกว่า Peasantization of Urban Society ซึง่ ข้าพเจ้าจ�ำได้วา่ ประมาณปี ค.ศ. ๑๙๖๒ ทีข่ า้ พเจ้ากลับจากออสเตรเลียมาเก็บข้อมูลภาค สนามเพื่อท�ำวิทยานิพนธ์นั้น ก็ได้แลเห็นปรากฏการณ์ Peasantization นี้ จากการทีม่ คี นทางภาคอีสานเข้ามามาก เกิดร้านค้า อาหารส้มต�ำ ไก่ยา่ งทีม่ าพร้อมกับบรรดาเพลงลูกทุง่ ทีก่ ลายเป็นทีน่ ยิ มของคนเมือง ทั่วไปอย่างรวดเร็ว การเคลื่อนย้ายของคนชนบทโดยเฉพาะจากทางภาคอีสาน นั้น มีทั้งการเข้ามาเป็นแรงงานรับจ้างท�ำงานตามฤดูกาล เช่น ใน ฤดูแล้งและว่างเว้นจากการท�ำนาท�ำไร่แล้วกลับไปกับพวกที่เข้ามาทั้ง ครอบครัว อันเนื่องจากเป็นพวกไม่มีที่ดินท�ำกิน มักเข้ามาอยู่อาศัย พักพิงตามชุมชนเก่าๆ ในเมืองตามย่านต่างๆ จนท�ำให้บรรดาชุมชน เมืองเหล่านั้นมีสภาพแออัด หลายๆ แห่งกลายเป็นชุมชนแออัดและ พื้นที่สกปรกที่ทางราชการเรียกว่า Slum and Blight Area เป็นสิ่งที่ เสื่อมโทรมและล้าหลังทั้งผู้คนและสภาพแวดล้อม จะต้องได้รับการ พิจารณาใหม่หรือไม่ก็ให้เคลือ่ นย้ายไปอยูท่ อี่ นื่ โดยเฉพาะบรรดาผูค้ น ทีอ่ ยู่ในแหล่งพืน้ ทีแ่ ออัดและเสือ่ มโทรมเช่นนี้ ก็มกั จะถูกมองโดยคนใน สังคมเมืองรุ่นใหม่ที่อยู่ในแหล่งที่อยู่อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีและ ทันสมัย ซึ่งคือคนรุ่นใหม่หรือไม่ก็ย้ายเข้ามาใหม่จากที่อื่นๆ จากต่าง จังหวัดหรือต่างประเทศเข้ามาเป็นพลเมืองในยุคใหม่จ�ำนวนมาก มัก ดูถูกว่าเป็นคนยากจน ไม่มีอาชีพการท�ำมาหากินที่แน่นอน มักละเมิด กฎหมาย เล่นการพนัน ลักขโมย รวมทั้งเป็นอันธพาล ในยามใดที่มี คดีความในเรื่องการละเมิดกฎหมายเกิดขึ้น ทั้งทางรัฐและคนเมืองก็ มักจะคิดว่าเป็นการกระท�ำของคนด้อยโอกาสเหล่านั้น แหล่งชุมชนแออัดที่เรียกว่าเป็นแหล่งเสื่อมโทรมดังกล่าว นี้ คือผู้คนภายในที่มีวิถีชีวิตร่วมกันที่ไม่ได้ระดับมาตรฐานของความ เป็นอยู่ของความเป็นเมืองคือ “วัฒนธรรมความจน” [The Culture of Poverty] เป็นความยากจนที่มองจากข้างนอกเข้ามา ความยากจนที่มองจากวิถีชีวิตร่วมกัน ที่เรียกว่าเป็นชีวิต วัฒนธรรมนั้น ทางรัฐและสังคมไทยในส่วนรวมมักไม่เข้าใจ แต่จะ เข้าใจเพียงว่าความจนเป็นเรื่องของความขัดสนในเรื่องเงินทองที่เป็น รายได้อันเป็นเรื่องของปัจเจกบุคคล จึงมักจะให้ความช่วยเหลือเป็น รายๆ ไป จากการบริจาคหรือจากการตัง้ เป็นกองทุนแล้วแจกจ่ายผ่าน องค์กรหรือหน่วยงาน จนเกิดเรื่องการยักยอกและการทุจริตในเรื่อง เงินช่วยเหลือคนจนในขณะนี้

จดหมายข่าว

ตามที่กล่าวมาแล้วนี้พอสรุป ให้เห็นได้ว่า การพัฒนาบ้าน เมืองเข้าสู่สมัยใหม่ที่เป็นการเปลี่ยนผ่านจากสังคมเกษตรกรรม แบบชาวนาตั้งแต่สมัยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้นมา นั้น มีทั้งสิ่งที่เรียกว่าความก้าวหน้าในความเป็นเมืองสมัยใหม่กับ ความล้าหลังทางวัฒนธรรมของกลุ่มชนที่อยู่มาแต่เดิมกับคนกลุ่ม ใหม่จากชนบทเข้ามาอยู่รวมกันก่อให้เกิดภาวะความแออัดในเรื่อง ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรม ท�ำให้เกิดความเหลื่อม ล�้ำและแตกต่างทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ทั้งรัฐและพลเมืองรุ่น ใหม่แลเห็นว่าเป็น “คนยากจน” อยู่ ในพื้นที่แออัดและเสื่อมโทรม ที่เรียกว่า Slum and Blight Area ทั้งหมดนี้ น�ำไปสู่อคติในเรื่อง ชีวิตความเป็นอยู่ของคนด้อยโอกาสเหล่านี้ว่านอกจากยากจนแล้วยัง มีพฤติกรรมนอกกฎหมายทีเ่ ป็นแหล่งอันธพาลเล่นการพนัน ลักขโมย อันเป็นที่รังเกียจของคนเมือง นีค่ อื สิง่ ทีท่ างหน่วยราชการของรัฐ เช่น หน่วยงานรับผิดชอบ ทางผังเมืองและนักวิชาการทางสังคมศาสตร์ในยุคนั้น แลเห็นว่าต้อง ท�ำการโยกย้ายเวนคืนทีด่ นิ และสร้างสถานที่ใหม่ พืน้ ที่ใหม่ให้มาแทน โดยการฟ้องขับไล่ หรือไม่ก็ให้คา่ ชดเชยเป็นเงินเป็นทองไปหาทีอ่ ยู่ใหม่ ดังเช่นการกระท�ำของกรุงเทพมหานคร ในการจัดการชุมชนชาวตรอก ที่ชุมชนป้อมมหากาฬเป็นตัวอย่าง สิ่งเหล่านี้คือสิ่งที่นักมานุษ ยวิทยาแต่ปี ค.ศ. ๑๙๖๖ ให้ ความส�ำคัญกับกลุ่มคนด้อยโอกาสที่อยู่ ในพื้น ที่ซึ่งทางรัฐว่าเป็น แหล่งเสื่อมโทรม เป็นวัฒนธรรมย่อยของสังคมเมืองที่ผู้คนที่อยู่ร่วม กันในพื้นที่มีชีวิตวัฒนธรรมที่เรียกว่า “วัฒนธรรมความจน” แต่เมืองไทยและวงการศึกษาทางมานุษ ยวิทยาเกี่ยวกับ สังคมเมืองไม่มี มาจนปี ค.ศ. ๑๙๖๘ เมื่อรองศาสตราจารย์ ดร.อคิน รพีพฒ ั น์ ผูเ้ ป็นอาจารย์จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไปศึกษาขั้น ปริญญาเอกทางมานุษยวิทยาทีม่ หาวิทยาลัยคอร์เนลล์ สหรัฐอเมริกา และเข้ามาท�ำงานภาคสนามในสังคมเมืองกรุงเทพมหานครโดยเลือก

การรื้อบ้านเลขที่ ๙๙ ในชุมชนป้อมมหากาฬ วันที่ ๗ ก.พ. พ.ศ. ๒๕๖๑ 4

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


คนซ้าย อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม คนขวา ดร. ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ ศึกษาเก็บข้อมูลที่ชุมชนแออัดที่เรียกว่า “สลัม” [Slum] ท่านอาจารย์อคินจึงนับเนื่องเป็นนักมานุษยวิทยาคนไทยคน แรกที่ท�ำการศึกษาชุมชนในเมืองอย่างแท้จริง ผลการศึกษาของท่าน ก็คือแหล่งที่เรียกว่า “สลัม” หรือ “ชุมชนแออัด” นั้น คือชุมชนที่มี โครงสร้างทั้งด้านสังคมและวัฒนธรรมอย่างชัดเจน ซึง่ ในความเห็นของข้าพเจ้าเป็น ชุมชนในวัฒนธรรมความจน [Culture of Poverty] นั่นเอง จากนั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ความเป็นชุมชนและชีวติ วัฒนธรรมของแหล่งทีเ่ รียกว่า Slum และ Blight Areas ก็แพร่หลายเป็นทีร่ บั รูไ้ ปทัง้ คนในหน่วยราชการทีร่ บั ผิดชอบของ รัฐกับของทางฝ่ายประชาสังคม โดยเฉพาะคนที่เป็นเจ้าหน้าที่ทางรัฐ นัน้ ค่อนข้างเฉือ่ ยชาทัง้ ๆ ทีร่ วู้ า่ ชุมชนสลัมนัน้ ต้องเน้นทีค่ น ต้องพัฒนา ที่คน แต่กลับยังใช้วิธีการเดิมอยู่ เช่น พยายามไล่ รื้อ ขับไล่ กล่าวหา เพราะง่ายต่อการปฏิบัติ ในขณะที่คนที่อยู่ในภาคประชาสังคมมีการ เคลือ่ นไหวผลักดันต่อรองเพือ่ การด�ำรงอยูท่ างชีวติ วัฒนธรรมร่วมกัน ของคนในชุมชน ซึ่งในทุกวันนี้ก�ำลังเพิ่มพูนความขัดแย้งมากกว่าแต่ เดิมอันมีเหตุมาจากทางผังเมืองและหน่วยงานของรัฐต้องการพัฒนา โครงสร้างและขอบเขตของบ้านเมืองสมัยใหม่เพื่อขานรับความเป็น ๔.๐ ทางเศรษฐกิจและสังคมในยุคโลกาภิวัตน์ การศึกษาวิจัยทางมานุษยวิทยาของ อาจารย์ ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ ในสังคมเมืองยุคเปลี่ยนผ่านจากสังคมเกษตรกรรมเข้าสู่ การเป็นสังคมอุตสาหกรรมนั้น ในส่วนรวมได้ท�ำให้สังคมรับรู้ว่าสิ่งที่ เรียกว่า ชุมชนแออัดและแหล่งเสือ่ มโทรมนัน้ คือชุมชนของมนุษย์ เช่น เดียวกันกับมนุษย์ที่อยู่ในชุมชนทั้งหลาย แม้เจ้าหน้าทีข่ องรัฐและหน่วยราชการ ตลอดจนพวกนายทุน พ่อค้าที่ยังยึดมั่นกับค�ำว่าแหล่งเสื่อมโทรมเหล่านั้นจะไม่ยอมรับและ ไม่มีวันเข้าใจ แต่ผู้คนที่อยู่ ในชุมชนแออัดเหล่านั้น ได้ตระหนักใน ความเป็นมนุษย์ที่จะต้องอยู่ร่วมกันและมีวัฒนธรรมร่วมกันที่จะได้มี

จดหมายข่าว

5

ชีวิตรอด จึงเกิดการเคลื่อนไหวและตื่นตัวมาโดยตลอด ซึ่งเห็นได้จาก การคัดค้าน ต่อรอง และขัดขืนต่อโครงการพัฒนาบ้านเมืองทีท่ ำ� ให้เกิด ความวิบัติขึ้นในชีวิตวัฒนธรรมของพวกตน อาจารย์อคินคือนักมานุษยวิทยาในสังคมเมืองของประเทศ ในขณะนี้ก็ว่าได้ที่เรียนรู้และรู้จักชุมชนในวัฒนธรรมความจน อีกทั้ง พยายามช่วยเมือ่ เกษียณอายุราชการจากสถาบันในมหาวิทยาลัย ได้รบั การเชิญจากส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ให้เป็นที่ปรึกษา ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับบรรดาชุมชนแออัดทีอ่ ยู่ในพืน้ ทีค่ วามรับผิดชอบ ของส�ำนักงาน ข้าพเจ้าไม่ทราบว่าส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จะเห็นคุณค่าในค�ำเสนอแนะน�ำของอาจารย์อคินเป็นอย่างไร แต่คง ไม่ถึงเป็นแบบเดียวกันกับบรรดาส�ำนักงานของทางราชการทั้งหลาย เช่น กรุงเทพมหานครและผังเมืองเป็นอาทิทดี่ มู กี จิ กรรมในทางลบกับ ชุมชนในวัฒนธรรมความจนเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง ในส่วนของข้าพเจ้าและมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ได้ รั บ ค� ำ แนะน� ำ และอนุ เ คราะห์ จ ากอาจารย์ อ คิ น ให้ รั บ ทุ น อุ ด หนุ น จากส� ำ นั ก งานทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นพระมหากษั ต ริ ย ์ เ พื่ อ ท� ำ การศึ ก ษา ประวัตศิ าสตร์สงั คมของบรรดาชุมชนในพืน้ ทีเ่ ขตของกรุงเทพมหานคร ที่อยู่สองฝั่งของคลองบางล�ำพู-โอ่งอ่างและคลองผดุงกรุงเกษม ที่มี แหล่งชุมชนแออัดทีจ่ ะต้องได้รบั การเคลือ่ นย้ายและปรับปรุงมากมาย เป็นผลให้ได้ความรู้ความเข้าใจในข้อเท็จจริงของความ เป็นชุมชนมนุษ ย์ที่คนภายนอกมองว่าเป็นแหล่งมั่วสุมมั่วยาเสพติด เสื่อมโทรมและนอกกฎหมายนั้น ที่แท้คือชุมชนมนุษย์ท่ีคนในชุมชน ยังมีวิถีชีวิตร่วมกันในวัฒนธรรมความจนนั่นเอง ชุมชนดังกล่าวนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นชุมชนชาวตรอกที่กลาย เป็นกลุ่มวัฒนธรรมย่อย [Subculture] ของสังคมใหญ่ในท้องถิ่นที่ เรียกว่า “ย่าน” หรือ “บาง” เช่น ชุมชนชาวตรอกบ้านบาตรที่เป็น ส่วนหนึ่งของย่านใหญ่ที่มีวัดสระเกศเป็นศูนย์กลาง และชุมชนชาว ตรอกที่ป้อมมหากาฬ อันมีวัดราชนัดดาเป็นศูนย์กลาง ความต่าง กันของชุมชนชาวตรอกทั้งสองแห่งนี้คือ ชุมชนป้อมมหากาฬถูกไล่ รื้อท�ำลายโดยโครงการพัฒนาเมืองใหม่ของกรุงเทพมหานครที่ยังมี แนวคิดติดกับการพัฒนาพื้นที่แต่ไม่เห็นผู้คนในชุมชนที่มีชีวิตสืบเนื่อง มาหลายยุคสมัย แต่ในท�ำนองตรงข้ามชุมชนชาวตรอกของบ้านบาตร ยังด�ำรงอยูข่ องคนในชุมชนรุน่ ใหม่ทสี่ บื เนือ่ งวิถชี วี ติ ความเป็นอยูม่ าแต่ รุ่นเก่าหลายชั่วคนแต่สมัยรัชกาลที่ ๑ ซึ่งแม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง เติบโตไปกว่าแต่เดิมก็เป็นการเปลี่ยนแปลงที่คนในชุมชนมีส่วนร่วม ในการพัฒนากับส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ที่มีรอง ศาสตราจารย์ ดร.อคิน รพีพัฒน์ เป็นที่ปรึกษา

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ความ ทางสังคมและวัฒนธรรม หลาก : วลัยลักษณ์ ทรงศิริ หลาย “เมืองประวัติศาสตร์กรุงเทพฯ” และการเดินทางย้อนรอยการจัดการเมืองประวัติศาสตร์ที่ไม่มีชีวิต (๒) ปัญหาพืน้ ฐานทางความคิดเรือ่ ง “ความดัง้ เดิม ความแท้จริง” [Authenticity] ในการอนุรักษ์เมืองเก่าของประเทศไทยท�ำให้เกิด ความขัดแย้งในการอนุรักษ์และศึกษาเรื่องเมืองประวัติศาสตร์หรือ ย่านเก่าต่างๆ ประการหนึ่งคือ ผู้มีหน้าที่อนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์ จะเข้าใจว่า ชุมชนเหล่านั้นต้องสืบสายเลือด สืบตระกูลมาจากคนใน ยุคสร้างบ้านแปงเมืองและยังต้องท�ำงานช่างหัตถกรรมต่างๆ เช่นเดียว กับชุมชนในต�ำแหน่งที่ระบุไว้ในเอกสารทางประวัติศาสตร์ ในขณะที่ชาวบ้านที่อยู่อาศัยโดยทั่วไปนั้นทราบและรับรู้ว่า ชุมชนนั้นมีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา [Living Community] มีผู้ ย้ายเข้าและย้ายออกไปโดยเหตุต่างๆ กลุ่มคนดั้งเดิมเป็นใคร และ กลุ่มคนที่ย้ายเข้ามาใหม่คือใคร โดยยอมรับผู้มาใหม่ให้เป็นส่วนหนึ่ง ของชุมชนจากการช่วยเหลือและท�ำกิจกรรมในชุมชนร่วมกัน แต่ก็ยัง เป็นชุมชนอยู่ ท�ำให้เกิดปัญหาเมื่อต้องพิจารณาว่าชุมชนใดควรถูกไล่รื้อ หรือชุมชนใดควรได้รับการสงวนไว้ และมีสิทธิโดยชอบธรรมในที่อยู่ อาศัยนัน้ และการประเมินคุณค่าของชุมชนต่างๆ โดยไม่ศกึ ษาค้นคว้า ข้อมูลโดยรอบด้าน ท�ำให้เห็นคุณค่าของชุมชนในตรอกซอกซอยต่างๆ น้อยลง เมือ่ ไม่เข้าใจ จึงให้สนใจแต่เฉพาะสิง่ ทีเ่ ห็นประจักษ์คอื โบราณ สถานหรือโบราณวัตถุและสิ่งที่จับต้องได้ตามองเห็นเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่และผู้คนในเมืองประวัติศาสตร์กรุงเทพฯ การสร้างเมืองในยุคต่างๆ แบ่งพืน้ ทีต่ ามสภาพแวดล้อมแบบ ดัง้ เดิม พิจารณาจากการก�ำหนดใช้พนื้ ทีแ่ นวคูคลอง และคลองขุดสาย ต่างๆ อันเป็นธรรมชาติของเมืองริมน�ำ้ และใกล้กบั ปากแม่นำ�้ ทีต่ อ่ เนือ่ ง กับทะเล มีระบบน�ำ้ ขึน้ น�ำ้ ลงและน�ำ้ หลากในฤดูกาลต่างๆ ตัง้ แต่ครัง้ แรก สร้างจนถึงยุคท�ำให้ทนั สมัย [Modernization] ในครัง้ รัชกาลพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่เริ่มตัดถนนสายแรกเป็นต้น มา ในสมัยต้นกรุงฯ พื้นที่ภายในเมืองชั้นในประกอบไปด้วย สถานทีส่ ำ� คัญอันเป็นหัวใจในการบริหารราชการแผ่นดินคือ “พระบรม มหาราชวัง” ส่วนด้านหน้าพระบรมมหาราชวังทางทิศเหนือคือ “ทุง่ พระ เมรุหรือสนามหลวง” ด้านทิศตะวันตกติดกับริมแม่น�้ำเจ้าพระยาคือ “วัดมหาธาตุยวุ ราษฎร์รงั สฤษดิฯ์ ” ซึง่ เป็นวัดมีมาแต่เดิมชือ่ “วัดสลัก” การบูรณะและสร้างต่อมาเพือ่ ประสงค์ให้เป็นวัดทีม่ กี ารบรรจุพระบรม

จดหมายข่าว

สารีริกธาตุและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชของเมืองตาม แบบแผนราชธานีจากกรุงศรีอยุธยา พื้นที่ต่อเนื่องทางด้านเหนือคือ “พระราชวังบวรสถานมงคล” หรือ “วังหน้า” มีอาณาเขตจรดริมคลอง คูเมืองชัน้ ในด้านทิศเหนือและติดริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา ด้านใต้พระบรม มหาราชวังคือ “วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ” หรือ “วัดโพธิ์” วัด นีถ้ อื เป็นพระอารามหลวงทีม่ คี วามส�ำคัญมาตลอดทุกรัชกาลแห่งกรุง รัตนโกสินทร์ ทางตะวันออกเป็นศาลหลักเมืองและศาลเทพารักษ์สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำเมืองและวังเจ้านายโดยรอบ เป็นวังที่สร้างประทาน พระราชโอรสและพระเจ้าหลานเธอ “ทรงกรม” ในพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พืน้ ทีช่ นั้ ในสุดของกรุงเทพมหานคร ถือว่าเป็นศูนย์กลางแห่ง พระราชวงศ์และสถานทีว่ า่ ราชการของผูม้ อี ำ� นาจสูงสุดในการปกครอง ถือว่าเป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ สามารถบอกเล่าประวัตศิ าสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร์ อันเป็นสถานที่ของเจ้านายชั้นสูงและพระบรมวงศานุวงศ์ ปัจจุบันไม่ได้มีการใช้งานดังเดิมแล้วเพราะได้เปลี่ยนแปลง ไปเป็นสถานทีส่ ำ� คัญทางประวัตศิ าสตร์ การศาสนา และพิธกี รรมของ บ้านเมือง ในกรณีของวังหน้าได้รื้อระบบเดิมตั้งแต่รัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ท�ำให้พระราชวงศ์ในกลุม่ วังหน้าหมด บทบาทในการกุมก�ำลังส�ำคัญหรือการบริหารบ้านเมืองลงจนเป็นเพียง สามัญชน พระราชบวรสถานในปัจจุบนั กลายเป็นพิพธิ ภัณฑสถานแห่ง ชาติและมหาวิทยาลัย พื้นที่บริเวณนี้ราว ๑.๘๖ ตารางกิโลเมตรในปัจจุบัน โดย ย้ายอาคารที่ท�ำการของรัฐบาลออกไป ย้ายการเรียนการสอนใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ออกไป และย้ายย่านตลาดท่าเตียนและ ตลาดท่าช้างและท่าพระจันทร์ ตลอดจนจัดการสร้างสวนสาธารณะ นคราภิรมย์และการประกาศห้ามสร้างที่อยู่อาศัยในเขตนี้ ท�ำให้ เปลี่ ย นภู มิ ทั ศ น์ ข องพื้ น ที่ ร อบพระบรมมหาราชวั งไปโดยสิ้ น เชิ ง กรุงเทพมหานครชั้นในกลายเป็นจุดท่องเที่ยวและการศึกษาของนัก ท่องเที่ยวชาวต่างประเทศและชาวไทย รวมทั้งเป็นสถานที่พักผ่อน หย่อนใจชมความสวยงามของวัด วัง และภาพวัดอรุณราชวรารามฯ ริมแม่น�้ำทางฝั่งธนบุรี ซึง่ ในกรณีนอี้ าจท�ำให้ความหมายของการเป็นศูนย์กลางของ 6

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


อ�ำนาจการปกครองหายไป ส่วนสัญลักษณ์แห่งการเป็นพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ นั้นจืดจางลง นอกเสียจากเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปควรค่าเมือง แล้ว สถานทีต่ า่ งๆ พืน้ ทีภ่ ายในพืน้ ทีค่ คู ลองเมืองเดิมทุกวันนีอ้ าจกลาย เป็นสัญลักษณ์ [Icon] ของกรุงรัตนโกสินทร์เพือ่ การท่องเทีย่ วมากกว่า สัญลักษณ์ในทางอื่นๆ คลองคู เ มื อ งที่ ขุ ด ขึ้ น เป็ น คลองล้ อ มรอบเมื อ งแรกของ กรุงเทพมหานครในสมัยเมื่อแรกสร้างกรุงฯ พ.ศ. ๒๓๒๖ เรียกกัน ทั่วไปตามสถานที่ซึ่งล�ำคลองผ่านแตกต่างกันไปตามย่านชุมชนหรือ วัดและความนิยมตามช่วงเวลาคือ คลองบางล�ำพูหรือคลองวัดสังเวชฯ คลองสะพานหัน คลองวัดเชิงเลน (วัดบพิตรพิมุข) หรือคลองโอ่งอ่าง นับระยะทางจากคลองทีข่ ดุ เชือ่ มแม่นำ�้ เจ้าพระยาทางทิศเหนือไปออก แม่น�้ำเจ้าพระยาทางทิศใต้บริเวณใกล้วัดสามปลื้มหรือวัดจักรวรรดิ ราชาวาสฯ รวมระยะทางราว ๓.๖ กิโลเมตร ป้อมและก�ำแพงเมืองที่สร้างในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ นั้นก่อสร้างอย่างคงทนแข็งแรงแต่ปล่อย ทิ้งและทรุดโทรมลงตามล�ำดับ และมาบูรณะในครั้งรัชกาลพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จนเริ่มในสมัยราวรัชกาลพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึงเริม่ มีการรือ้ แนวก�ำแพงและป้อม ลง เนือ่ งจากไม่ตอ้ งใช้รกั ษาและป้องกันเมืองแล้ว เริม่ จากก�ำแพงช่วง หน้าวัดราชบูรณะฯ ราว พ.ศ. ๒๔๓๙ และเมื่อมีการเดินรถรางสาย รอบเมืองหรือสายดุสติ ก�ำแพงพระนครค่อยๆ ถูกรือ้ ลงเพือ่ ขยายถนน ตั้งแต่ราว พ.ศ. ๒๔๔๘ และทยอยรื้อไปเรื่อยๆ ปัจจุบันนี้คงเหลือประตูเมืองเพียงแห่งเดียวและแนวก�ำแพง เมืองทีต่ อ่ เนือ่ งกับประตูนนั้ ระยะทางประมาณ ๔๐ เมตรทีห่ น้าวัดบวร นิเวศวิหาร และก�ำแพงเมืองทีต่ อ่ เนือ่ งกับป้อมมหากาฬระยะราว ๑๗๐ เมตรเท่านั้น ป้อมเหลือเพียง ๒ แห่งคือ “ป้อมพระพระสุเมรุ” และ “ป้อมมหากาฬ” ซึง่ บริเวณโดยรอบป้อมพระสุเมรุนนั้ ท�ำสวนสาธารณะ ส่วนป้อมมหากาฬมีโครงการท�ำสวนสาธารณะเช่นกัน

ป้อมมหากาฬ

จดหมายข่าว

7

ในช่วงต้นกรุงฯ มีการขยายตัวของวังเจ้านาย สถานที่อยู่ อาศัยของขุนนางข้าราชการ และวัดต่างๆ จากคลองเมืองชั้นในมา ทางตะวันออกมากขึ้น ส่วนทางฝั่งคลองเมืองนอกก�ำแพงเมืองก็มี ชุมชนและวัดเรียงรายกันไปตัง้ แต่ปากคลองบางล�ำพูจนถึงปลายคลอง โอ่งอ่าง วังนั้นตั้งเรียงรายตามถนนมหาไชยและถนนบ�ำรุงเมือง ไปจนถึงแถบวัดสุทัศน์ฯ และริมฝั่งคลองหลอดวัดราชบพิธฯ วังเจ้านายในพื้นที่บริเวณดังกล่าว ส่วนใหญ่เป็นวังของพระ ราชโอรสของรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วังของ เจ้านายในพระบวรราชวังหรือวังหน้าจากบริเวณคลองคูเมืองชั้นใน มาทางแถบแนวชานพระนครและริมก�ำแพงเมืองส่วนทีต่ ดิ กับริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา ปัจจุบนั ทีด่ นิ และอาคารวังหลายแห่งในราชสกุลสายวังหน้า ถูกขายออกไปให้เอกชน บ้างอยู่ในการดูแลของส�ำนักงานทรัพย์สิน​ฯ และการเช่าต่อเนือ่ งท�ำอาคารส�ำนักงานต่างๆ บ้างก็รอื้ ออกไปเป็นย่าน ตลาดก่อนที่จะกลายเป็นพื้นที่ท�ำการพาณิชย์ต่างๆ วังทีป่ ระทับในพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั ส่วนใหญ่ถกู รือ้ ไปแทบหมดแล้วนอกจาก “วังกรมพระสมมต อมรพันธ์” (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระ สมมตอมรพันธ์) ทีก่ ลายเป็นพืน้ ทีช่ มุ ชนใหม่ทเี่ คยเช่าทีอ่ ยูอ่ าศัยกันมา เนิน่ นาน ส่วนวังบางแห่งถูกขอซือ้ และบริจาคเป็นโรงเรียน เช่น บริเวณ ที่ดินของโรงเรียนเบญจมราชาลัย บ้างกลายเป็นย่านอาคารพาณิชย์ โดยเฉพาะบริเวณริมถนนมหาไชยและถนนบ�ำรุงเมืองที่ขายขาดไป บ้างและยังเก็บรักษาผลประโยชน์ในนามมูลนิธิฯ ของราชสกุลบ้าง และกลายเป็นพื้นที่ในการดูแลของส�ำนักงานทรัพย์สินฯ บ้าง วั ง หลายแห่ ง ที่ เ คยมี อ าณาบริ เ วณกว้ า งขวางเปลี่ ย นมา เป็นส่วนหนึ่งของย่านการค้าที่ต่อเนื่องมาจาก “วังบูรพา” อันกว้าง ใหญ่ หลังจากสมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช และ พระทายาทขายวังนั้นแก่นักธุรกิจเพื่อสร้างเป็นย่านการค้าและโรง ภาพยนตร์ ๓ โรง ในช่วงก่อน พ.ศ. ๒๕๐๐ ไม่นานนัก วังบูรพาถือ เป็นแหล่งบันเทิงของพระนครที่ทันสมัยและยอดนิยมอยู่นานยี่สิบกว่า ปีกอ่ นจะร่วงโรยเพราะการดูภาพยนตร์ในโรงหมดความนิยมและเกิด สถานย่านค้าแบบใหม่ๆ ขึ้นมาอีกมากและอย่างรวดเร็ว กลุม่ ชุมชนชาติพนั ธุท์ ถี่ กู อพยพเคลือ่ นย้ายจากถิน่ ฐานเดิมมา เพราะความขัดแย้งระหว่างบ้านเมืองในช่วงต้นกรุงฯ เมื่อเลือกผู้คน จ�ำนวนหนึง่ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นผูช้ ำ� นาญหรือมีฝมี อื ทางงานช่างต่างๆ เช่น ช่างทอง ช่างเงิน ช่างไม้ ช่างเรือ ช่างก่อสร้าง ฯลฯ จึงให้ตงั้ บ้านเรือน เป็นชุมชนอยูภ่ ายในก�ำแพงพระนคร เช่น ชุมชนชาวมุสลิมจากปาตานี น่าจะเป็นผู้มีความรู้หรือมีฝีมือทางช่างทองต่างๆ ที่อาจเคยอยู่ในราช ส�ำนักเป็นข้าหลวงมาแต่เดิม ถูกกวาดต้อนมาครั้งรัชกาลพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวให้เข้าสังกัดที่อาสาจามซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่ ที่แถบคลองมหานาคต่อคลองบางกะปิและโรงไหมหลวงที่ ใกล้กับ วัดตองปุหรือวัดชนะสงครามฯ สืบต่อกันมาเป็นชุมชนมัสยิดจักรพงษ์ และกระจายกลายเป็นผู้คนในชุมชนมัสยิดตึกดินในทุกวันนี้ ช่างทอง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


เชือ้ สายมลายูนสี้ ร้างผลงานเครือ่ งทองแบบเก่าส�ำหรับราชส�ำนัก บาง ท่านเป็นขุนนางและท�ำงานให้กรมช่างสิบหมู่ และเป็นช่างทองของราช ส�ำนักสยามด้วย ช่างทองเหล่านี้เป็นช่างแกะลายฝีมือดีด้วย ดังนั้นจึงกลาย เป็นผู้รับท�ำแม่พิมพ์โลหะเหรียญต่างๆ โดยเฉพาะเหรียญที่ระลึกของ พระและวัดต่างๆ เมื่อมีการย้ายกองกษาปณ์จากในพระบรมมหาราช วังมาตั้งที่บริเวณวังของเชื้อพระวงศ์ในย่านวังหน้าในสมัยรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ก็มชี า่ งทองจากชุมชนมัสยิด จักรพงษ์ไปท�ำงานเป็นเจ้าหน้าที่รัฐสืบทอดต่อกันมาจนเมื่อย้ายโรง กษาปณ์ออกไปจากย่านนี้ ส่วนชุมชนรอบวัดตองปุหรือวัดชนะสงครามฯ ที่เป็นชุมชน มอญจ�ำนวนมากตัง้ บ้านเรือนอยูอ่ าศัยรายล้อมวัดชนะสงครามฯ และ ใกล้เคียงกับบริเวณย่านวังเชื้อพระวงศ์วังหน้าตลอดมาจนถึงถนน ข้าวสาร ชุมชนมอญกลุ่มนี้คือกลุ่มที่ช่วยรบครั้งศึกท่าดินแดงที่มีกรม พระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทน�ำทัพ จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ที่ดินโดยรอบและแปลงวัดตองปุเป็นวัดมอญและเปลี่ยนนามวัดใหม่ เป็นวัดชนะสงครามฯ ส่วนชาวมอญทางย่านบ้านลานหรือใกล้วัดบาง ขุนพรหมหรือวัดสามพระยา เป็นมอญเก่าที่มีหลักฐานปรากฏว่าย้าย ถิ่นฐานมาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีแล้ว ชุมชนที่ตรอกบ้านพาน เป็น “ช่างเงิน” ที่สืบเชื้อสายมาจาก กลุ่มชาวลาวเวียงจันทน์ ซึ่งถูกอพยพโยกย้ายมาตั้งแต่ครั้งเจ้าอนุวงศ์ มีหลักฐานปรากฏว่าภายในก�ำแพงพระนครนั้นมีชุมชนลาวอีกแห่งคือ “บ้านลาว” หรือ “บ้านกระบะ” และเมื่อต้องตัดถนนเจริญกรุงในครั้ง รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ชุมชนกลุ่มบ้านเหล่า นี้จึงหายไป และอาจกลายเป็นพลเมืองที่กระจัดกระจายไม่รวมกลุ่ม อยู่ ในพระนคร ส่วนเจ้าลาวนั้นให้ปลูกวังอยู่ทางฝั่งธนบุรีแถบสวน บางยีข่ นั อีกส่วนหนึง่ น่าจะออกไปอยูอ่ าศัยบริเวณนอกก�ำแพงพระนคร ซึ่งปัจจุบันเป็นย่านวัดอินทาราม ท�ำการเกษตรท�ำสวนต่างๆ ในย่าน บางขุนพรหมซึ่งอยู่ไม่ไกลนักจากบ้านพาน ช่างเงินที่สืบงานช่างฝีมือ ต่อมาก็กระจายความรู้และงานท�ำผลิตภัณฑ์จากพานเงินให้กับคนใน ชุมชนรอบๆ ด้วย และกลายเป็นขุนนางในระบบราชการส่วนหนึ่ง จนกระทั่ ง งานช่ า งฝี มื อ เหล่ า นี้ ถู ก ท� ำ เลี ย นแบบด้ ว ยวั ส ดุ ร าคาถู ก จนสูญหายไปทั้งหมดกว่า ๔๐ ปีที่ผ่านมา ส่วนบริเวณย่านตีทองที่ถนนตีทองนั้นเลิกตีทองมานาน พอควร แม้ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ก็ มีเพียงไม่กแี่ ห่ง แต่จะมาท�ำกันมากทีต่ รอกบวรรังษีหลังวัดบวรนิเวศฯ ในปัจจุบัน บริเวณย่านนี้ต่อเนื่องกับทางบ้านหม้อที่เคยค้าเพชรและ มีช่างจีนท�ำทองรูปพรรณตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ และเมื่อ เปิดเป็นย่านท�ำทองรูปพรรณส่งร้านทองทางเยาวราชและที่อื่นๆ ก็มี แรงงานชาวต่างจังหวัดทัง้ ในภาคกลางและอีสานเข้ามาเป็นลูกจ้างท�ำ ทอง ต่อมาในช่วงราวสิบปีที่ผ่านมา แรงงานเหล่านั้นก็เริ่มรับท�ำทอง รูปพรรณเองโดยสามารถเปิดหน้าร้านค้าขายเครือ่ งทอง รับซ่อมแซม

จดหมายข่าว

ตัวเรือนแหวนต่างๆ จนกลายเป็นเจ้าของกิจการและกลายเป็นส่วน หนึง่ ของชุมชนตรอกเฟือ่ งทอง-ตรอกวิสตู รสืบต่อจากชาวจีนทีก่ จิ การ ในรุ่นต่อมาก็เริ่มไปท�ำอาชีพอื่นๆ แทบหมดแล้ว ดังนั้นชุมชนบริเวณ นี้จึงยังคงคึกคัก เศรษฐกิจหมุนเวียนในพื้นที่อย่างเห็นได้ชัดและไม่ดู เงียบเหงาเหมือนชุมชนย่านอื่นๆ กรณีนี้คือการต่ออายุของชุมชนและของเมือง ด้วยเหตุที่ คนในพื้นที่เดิมนั้นย้ายออกไปตามยุคสมัย และยังเหลืออยู่เพียงบาง บ้านเท่านั้นที่ได้รับที่ดินพระราชทานจากการเป็นขุนนางในยุคเก่าริม คลองหลอดวัดราชบพิธฯ และเพือ่ นบ้านส่วนใหญ่ในทุกวันนีก้ ลายเป็น คนจากต่างจังหวัดที่ยังไปกลับบ้านเกิดของตนและน�ำเอาญาติพี่น้อง แรงงานมาฝึกเป็นช่างฝีมือ ต่ออายุให้กับงานช่างที่เป็นเครื่องประดับ ในยุคปัจจุบัน แม้จะไม่ได้สืบงานช่างฝีมือจากกรมช่างสิบหมู่หรืองาน ช่างชั้นสูงแต่อย่างใด และถือเป็นชีพจรให้กับเมืองและชุมชนในย่าน เก่าแถบนี้ กลุ่มชาวญวนที่อพยพมาคราวองเชียงชุนและองเชียงสือ อย่างสืบเนื่องตั้งแต่ครั้งสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และเมื่อไฟไหม้ ชุมชนคงโยกย้ายไปอยูท่ างกาญจนบุรหี รือไปรวมกับกลุม่ ทางวัดญวน สามเสนหรือวัดญวนสะพานขาวในภายหลัง ส่วนวัดขอผาติกรรมไปอยู่ แถบตลาดน้อยแห่งหนึ่ง อีกแห่งหนึ่งกลายเป็นวัดในจีนนิกายไป และ บริเวณนี้ก่อสร้างใหม่เป็นย่านถนนพาหุรัด ชุมชนชาวเขมรนั้นตั้งบ้านเรือนอยู่ใกล้กับวังเจ้านายของตน คือ วังเจ้าเขมร โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ พระราชทานให้ ทีร่ มิ คลองเมืองเยือ้ งปากคลองหลอดวัดราชนัดดาฯ ฝัง่ ตรงข้ามวัดสระ เกศฯ เมื่อนักองเองหรือสมเด็จพระนารายณ์รามาธิบดีฯ พร้อมโอรส คือนักองจันหรือสมเด็จพระอุไทยราชา ซึ่งประสูติ ณ วังที่กรุงเทพฯ กลับไปครองราชย์ยังกัมพูชาแล้ว ทั้งพระองค์และพระราชโอรสธิดา ก็ยังเคยกลับมาพ�ำนักอยู่ท่ีกรุงเทพฯ อันเนื่องจากมีพระราชวงศ์เป็น เจ้าจอมในกรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระราชวงศ์ชนั้ สูงองค์ อื่นๆ ส่วนย่านบ้านเขมรที่ปัจจุบันอยู่ ใกล้กับชุมชนบ้านบาตรนั้นไม่ หลงเหลือชาวบ้านที่สืบเชื้อสายมาแต่เดิม ส่วนชาวบ้านให้ไปตั้งบ้าน เรือนอยู่แถบย่านบ้านทวายแถบวัดดอน และชาวเขมรที่นับถือคริสต์ ศาสนานัน้ ให้ไปอยูร่ วมกลุม่ กับชุมชนชาวคริสต์ทวี่ ดั บ้านเขมร สามเสน หรือวัดคอนเซ็ปชัญ ชาวทวายและตะนาวศรีนนั้ กล่าวไว้สองแห่งคือ ชุมชนบริเวณ ย่านหลังวัดมหรรณพาราม ซึ่งยังกล่าวถึงชุมชนนี้ ไว้ในสมัยรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ชุมชนน่าจะเป็นส่วนที่ติด กับถนนตะนาวไปทางสีแ่ ยกคอกวัว ปัจจุบนั คงเหลือแต่ชอื่ ถนนเท่านัน้ และชุมชนตรอกทวายอยู่เหนือบ้านบาตรซึ่งมีถนนบ�ำรุงเมืองตัดผ่าน และปัจจุบันเหลือเพียงชื่อตรอกทวาย ส่วนตัวชุมชนขนาดใหญ่อีก กลุม่ หนึง่ มีบนั ทึกว่าให้ยา้ ยไปอยูบ่ ริเวณทางใต้ของพระนครบริเวณวัด ยานนาวาและวัดดอน และบริเวณนี้ในอดีตเรียกว่า อ�ำเภอบ้านทวาย ก่อนจะเปลี่ยนเป็นอ�ำเภอยานนาวา 8

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ส่วนชาวจีนนัน้ ตัง้ แต่เมือ่ ย้ายชุมชนออกไปอยูท่ างแถบส�ำเพ็ง เพือ่ จะสร้างพระบรมมหาราชวัง และให้ชาวจีนกลุม่ ใหญ่กลับไปอยู่ ณ หัวเมืองภาคตะวันออกตามเดิมหลังผลัดเปลีย่ นแผ่นดินสมเด็จพระเจ้า กรุงธนบุรีแล้ว ชาวจีนส่วนใหญ่ก็ตั้งชุมชนอยู่ที่ย่านสะพานหันเรื่อย ไปจนถึงส�ำเพ็ง ถือเป็นตลาดบกขนาดใหญ่ที่สุดในพระนคร นอกจาก นี้เมื่อสร้างถนนมากขึ้นในพระนครก็มีคนจีนแทรกอยู่ไปในทุกชุมชน โดยหากมีการปลูกตึกก็มกั จะเช่าตึกอยูอ่ าศัยและท�ำการค้าไปด้วยจน เกิดเป็นแหล่งการค้ากระจายไปทุกย่านที่มีการตัดถนนผ่านและสร้าง ตึกที่มักอยู่ด้านหน้าพื้นที่วังของเจ้านายต่างๆ ให้เช่า กลุม่ คนจีนทีอ่ ยูด่ า้ นนอกก�ำแพงพระนคร โดยเฉพาะส่วนทีต่ ดิ กับแม่นำ�้ เจ้าพระยา บริเวณตลาดท่าเตียนถือเป็นย่านค้าขายส�ำคัญมา ตัง้ แต่ยคุ ต้นกรุงฯ เพราะยังคงมีศาลเจ้าศักดิส์ ทิ ธิข์ องชาวแต้จวิ๋ ทีส่ บื ไป ได้ถึงสมัยต้นกรุงศรีอยุธยายังคงอยู่ที่ตลาดท่าเตียน เคยมี ไฟไหม้ ครั้งใหญ่ลามไปติดประตูหอรบและวังเจ้านายด้วย จนท�ำให้เกิดนาม “ท่าเตียน” ต่อมาเมื่อเริ่มปลูกตึกให้เช่าท�ำการค้าในสมัยรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ก็ตอ้ งใช้ความพยายามเชิญ ชวนให้เข้ามาเช่าท�ำการค้าเพื่อความสะอาดเรียบร้อยมากขึ้น แต่ย่าน การค้าบริเวณนีน้ นั้ คึกคักเพราะสะดวกแก่การรับส่งสินค้าจ�ำนวนมาก จากแหล่งผลิตทางชายฝัง่ ทะเล จากทางสวนทางฝัง่ ธนบุรแี ละนนทบุรี และเป็นศูนย์กลางของการคมนาคมในอดีตทีจ่ ะเดินทางไปยังหัวเมือง ต่างๆ ในเขตภาคกลาง ซึ่งมีคลองเชื่อมแม่น�้ำในทุกเส้นทางเป็นเครือ ข่ายที่กว้างขวางมาก จนเลิกใช้เมื่อมีทางรถยนต์มากขึ้นเพียงเมื่อราว ๔๐ ปีที่ผ่านมานี้เอง ทุกวันนี้ตลาดท่าเตียนที่ถูกปรับปรุงใหม่และยุติความจอแจ ไปแล้ว ตลาดขายส่งสินค้าอาหารแห้งเหลือเพียงไม่กี่เจ้า ส่วนหนึ่ง กลายเป็นพื้นที่โฮสเทลส�ำหรับนักท่องเที่ยว บางส่วนที่เป็นตึกแถวอยู่ ในทีด่ นิ ของวัดพระเชตุพนและส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ ซึง่ อยู่ในแผนงานของกรรมการอนุรกั ษ์กรุงฯ ทีจ่ ะเปิดพืน้ ทีย่ า่ นอาคาร สถาปัตยกรรมตั้งแต่ย่านท่าพระจันทร์ ท่าช้างวังหลวง หน้าพระลาน และท่าเตียน การซ่อมอาคารเสร็จแล้วใช้เวลาหลายปี และปัจจุบนั ด้วย การไล่รอื้ ผูค้ า้ ทางเท้าและกิจกรรมของเมืองมีเฉพาะนักท่องเทีย่ วเป็น ส่วนมาก การค้าขายที่เป็นปกติธรรมดาในชีวิต เช่น ร้านอาหารทั่วไป ร้านหนังสือ ร้านค้าวัสดุ ร้านโชห่วยต่างๆ ก็คอ่ ยๆ ปิดตัวเองและกลาย เป็นร้านอาหารและร้านค้าเพื่อนักท่องเที่ยวแทน ย่านการค้า เช่น บางล�ำพูซึ่งเป็นตลาดค้าขายของสารพัดทั้ง ของทันสมัยและของสวน เป็นย่านตลาดอาจจะมีมาก่อนสมัยรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั แต่มาเจริญมากและมีการ สร้างตึกแถวทางแถบถนนตานีหรือถนนบ้านแขก ถนนสิบสามห้าง ถนนข้าวสารจนเป็นถิ่นฐานที่คนจีนเข้ามาค้าขายอยู่มาก ตลาดยอด และตลาดทุเรียนล้วนถูกไฟไหม้ใหญ่ๆ หลายครัง้ จนเหลือเพียงตลาด เล็กๆ ค้าขายกระจัดกระจายไป และค่อยๆ มีคนน้อยลงจนปั​ัจจุบัน ถือว่าตลาดบางล�ำพูเคยเป็นตลาดที่รุ่งเรือง และปัจจุบันถนนข้าวสาร

จดหมายข่าว

9

ในแถบนี้กลายเป็นย่านการค้าส�ำหรับนักท่องเที่ยว ควรกล่าวได้ว่าตลาดสดที่ยังอยู่และเหลือเพียงแห่งเดียวใน เขตย่านเก่าชัน้ ในทีค่ วรนับว่าเป็นตลาดสดโดยสมบูรณ์คอื ตลาดตรอก หม้อ แม้ในอดีตจะมีตลาดสดที่เป็นตลาดที่รับมาขายจากตลาดค้าส่ง เช่น ปากคลองตลาด ตลาดท่าเตียน และตลาดมหานาค ตลาดสด แทบทุกแห่งในย่านชุมชนนั้นไม่มีสภาพเป็นตลาดสดแล้ว นอกจาก บางแห่งที่ยังคงขายในห้องแถวของตนเองบ้าง เช่น ตลาดสดสะพาน วันชาติ ตลาดสดตรอกบ้านพานถมทีม่ อี ยูไ่ ม่กแี่ ผงค้า ส่วนตลาดตรอก หม้อนั้นติดตลาดมานานพอสมควรแต่ผู้ค้าเป็นกลุ่มพ่อค้าแม่ค้าจาก นอกพื้นที่ แต่คัดสรรวัดถุดิบมาขายค่อนข้างดี และจะขายแต่เช้ามืด จนเพียงสายๆ ให้กบั ข้าราชการทีย่ งั พอมีอยู่ในแถบนัน้ และคนทีย่ งั อยู่ อาศัยตามตึกแถวร้านค้าในอาณาบริเวณรอบวัดสุทศั น์ฯ ไปจนถึงย่าน หลังกระทรวงมหาดไทย ส่วนย่านวังบูรพานัน้ การค้าซบเซาไปแล้ว เพราะเกิดย่านการ ค้าใหม่ๆ มาแทนที่ รวมทั้งห้างสรรพสินค้าใหม่ๆ ตามย่านชุมชนและ ธุรกิจอืน่ ๆ จากการขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็วภายในราว ๔๐ ปีที่ ผ่านมาย่านเฉลิมกรุงและบริเวณตลาดมิง่ เมืองทีป่ รับเป็นดิโอลด์สยาม

ย่านถนนตีทอง ริมวัดสุทัศน์ฯ พลาซ่านัน้ ไม่ได้มผี คู้ า้ และผูซ้ อื้ มากนักในปัจจุบนั แม้จะมีการปรับปรุง พื้นที่เพื่อท�ำการค้าที่แตกต่างไปจากเดิมก็ตาม ย่านแพร่งสรรพศาสตร์ แพร่งภูธร และแพร่งนราที่เคย เป็นพื้นที่ย่านการค้าอาหารที่คึกคักนั้น หลังจากการย้ายออกไปของ ข้าราชการทั้งที่กระทรวงกลาโหม กรมการรักษาดินแดน หน่วยงาน ในกระทรวงมหาดไทย ฯลฯ ที่เคยอยู่โดยรอบจึงไม่มีลูกค้ามากนัก และซบเซาลงตามล�ำดับ ทั้งยังคงมีปัญหากับกรุงเทพมหานครที่ออก กฎหมายเวนคืน ที่ดินริมถนนหลายสายเพื่อขยายถนนรวมทั้งถนน ตะนาว ถนนแพร่งสรรพศาสตร์ ถนนตรอกสาเก และการตัดถนนใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๖ จนปัจจุบัน แต่ก็ยังมีผลผูกพันในทางกฎหมายอยู่ จนทุกวันนี้ พืน้ ทีแ่ พร่งภูธรและแพร่งสรรพศาสตร์และด้านหลังอาคาร ถนนราชด�ำเนินบางแห่งอยู่ ในโครงการปรับปรุงของกรรมการกรุง รัตนโกสินทร์อีกด้วย บริเวณย่านเสาชิงช้าตลอดจนบริเวณถนนรายรอบวัดสุทศั น์ฯ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


เรือ่ ยไปจนถึงสีก่ กั๊ เสาชิงช้า สีก่ กั๊ พระยาศรี และย่านแพร่งทัง้ สามแพร่ง นัน้ ถูกเปลีย่ นแปลงพืน้ ทีจ่ ากชุมชนดัง้ เดิมในสมัยต้นกรุงฯ ให้เป็น “ย่าน การค้าแบบสมัยใหม่” บริเวณแรกๆ ของพระนคร การค้าทัง้ หลายยังคงสืบเนือ่ งมาจนถึงปัจจุบนั ทีย่ งั มีรอ่ งรอย ของร้านค้าเก่าๆ รวมทัง้ การเป็นย่านโรงพิมพ์แบบพาณิชย์และการท�ำ หนังสือทีม่ นี กั คิดหลายท่านอยูบ่ ริเวณถนนเฟือ่ งนครสืบทอดกันต่อมา จนเริม่ หายไปเมือ่ ราวสามทศวรรษทีผ่ า่ นมานีเ่ อง เป็นพืน้ ทีส่ ญ ั ลักษณ์ ของการเริ่มเข้าสู่ยุคการเปลี่ยนแปลงให้ทันสมัย [Modernization] ตัง้ แต่ชว่ งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั และพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชุมชนหลังวัดราชนัดดานั้น ส่วนใหญ่เป็นที่ดินของตระกูล ขุนนางและข้าราชการที่กลายเป็นที่เอกชน บางส่วนเป็นที่ดินเช่าจาก วัดและบางส่วนเป็นที่ดินของส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ส่วนชุมชนวัดเทพธิดารามฯ นั้นเคยเกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่ และท�ำให้มี การสร้างตึกแถวใหม่ ส่วนบ้านไม้เดิมๆ นัน้ เป็นของตระกูลข้าราชการ และขุนนางแต่เดิมที่ยังอยู่บ้างหรือย้ายออกไปแล้วเปิดให้เช่า และมี เหลืออยู่ไม่มากนัก ชาวบ้านทั้งสองฝั่งคลองพูดเป็นค�ำเดียวกันว่าก่อนการสร้าง ประตูน�้ำปิดปากน�้ำทั้งสองด้าน คลองหลอดนี้มีน�้ำใสและขึ้นลงตาม ระบบในธรรมชาติของแม่นำ�้ ใกล้ปากอ่าวเช่นเดียวกับแม่นำ�้ เจ้าพระยา เรือถ่านหรือเรือค้าขายต่างๆ ยังเคยเข้ามาและเป็นเส้นทางสัญจร ไปยังพระบรมมหาราชวังและสถานที่อื่นๆ ภายในพระนครได้สะดวก ปัจจุบนั ระบบระบายน�ำ้ ของกรุงเทพมหานครทีท่ ำ� ให้เป็นระบบปิด และ สร้างเขื่อนคอนกรีตริมน�้ำทุกแห่งท�ำให้น�้ำในคลองหลอดที่เคยช่วย ให้ระบบน�้ำไหลเวียนได้ดีก็ไม่สามารถระบายได้กลายเป็นน�้ำเน่าเสีย สีคล�้ำนิ่งๆ เท่านั้น ภายในพื้น ที่เมืองกรุงเทพฯ ที่สร้างครั้งพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ นี้ มีพื้นที่ราว ๒.๓ ตารางกิโลเมตร ถือว่า เป็นพื้นที่ของการอยู่อาศัยของชาวบ้านทั้งที่เป็นกลุ่มชาติพันธ์ุต่างๆ และพลเมืองโดยทั่วไป มีกลุ่มบ้านที่ท�ำงานช่างเป็นกลุ่มใหญ่และยัง สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น ที่บ้านบาตร ชุมชนมัสยิดจักรพงษ์ ฯลฯ ย่านการค้าทีย่ งั สืบทอดอยู่ เช่น ย่านสังฆภัณฑ์บนถนนบ�ำรุงเมือง ย่าน การค้าทัง้ ทีเ่ ป็นห้างสรรพสินค้าต่างๆ เช่น ในย่านพาหุรดั ตลาดมิง่ เมือง เฉลิมกรุง ซึง่ ย่านการค้าของชาวต่างประเทศหลายแห่งก็เติบโตกลาย เป็นบริษัทที่แตกแขนงออกไปยังงานอุตสาหกรรมอื่นๆ ส่วนที่ซบเซา ก็กลายเป็นอดีตตามวัฏจักรของระบบเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ในภาพรวมของย่านต่างๆ ตามทีก่ ล่าวมาแล้วถือว่าชุมชนชาว บ้านที่อยู่แบบดั้งเดิมค่อยๆ ย้ายออกไปจากที่พักเดิมด้วยหลายสาเหตุ เช่น การถูกเวนคืนในย่านตรอกพระยาเพชรฯ หรือชุมชนป้อมมหากาฬ พื้นที่ชุมชนที่บุกรุกคลองสาธารณะและปลูกที่พักอาศัย เช่น บางส่วน ของชุมชนวัดสระเกศฯ ที่ก�ำลังถูกขอให้โยกย้ายเพื่อให้คืนพื้นที่แก่วัด และท�ำสวนสาธารณะวัดสระเกศฯ ด้วย พื้นที่ในตรอกย่านเก่าหลาย

จดหมายข่าว

แห่งเจ้าของเดิมค่อยๆ ทยอยขายไปเรือ่ ยๆ เพือ่ ขยับขยายพืน้ ทีก่ ารอยู่ อาศัย เป็นการพยุงฐานะและแบ่งปันมรดกในระหว่างพีน่ อ้ ง บ้านเรือน หลายแห่งเมือ่ ผูใ้ หญ่เสียชีวติ และลูกหลานต้องออกไปท�ำงานต่างถิน่ จึง ปล่อยให้เช่าและไม่สามารถบูรณะหรือซ่อมแซมได้เนื่องจากไม่มีทุน เพียงพอ ผู้ที่มาอยู่อาศัยก็กลายเป็นผู้มารับจ้างท�ำงานในย่านการค้า ที่ยังมีอยู่ ผู้ที่ยังอยู่ส่วนหนึ่งเป็นเจ้าของดั้งเดิม หากสามารถดูแลได้ ก็นับว่าไม่มีปัญหา แต่เป็นเพียงส่วนน้อย มีเจ้าของบ้านและเจ้าของ สิทธิ์หลายรายย้ายออกจากพื้นที่ บางรายก็มีลูกหลานรุ่นปัจจุบันหัน กลับมาใช้สถานที่เดิมเพื่อท�ำธุรกิจที่พักและการท่องเที่ยว สภาพแวดล้อมในย่านชุมชนเมืองเก่าในขอบเขตที่คณะ กรรมการกรุงรัตนโกสิน ทร์จัดว่าเป็นย่านเมืองชั้นในและเป็นเขต อนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์นั้น หากเมื่อพิจารณาน�ำเอานโยบายที่ได้ เริม่ ใช้มาตัง้ แต่แผนแม่บทเพือ่ การอนุรกั ษ์ประกาศใช้ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ อันเป็นมติของคณะรัฐมนตรี ซึ่งต้องการย้ายหน่วยราชการออกจาก พื้นที่ย่านเมืองประวัติศาสตร์ เปิดพื้นที่โบราณสถานรวมทั้งนโยบาย ของกรุงเทพมหานครที่ต้องการจัดพื้นที่ถนนราชด�ำเนินเสียใหม่ และ จัดการชุมชนทีด่ ไู ม่สะอาดหรือใช้ทางเท้าและเห็นว่าไม่ใช่ชมุ ชนดัง้ เดิม ตามที่เข้าใจกันเองโดยไม่ศึกษาให้แน่ชัดออกไปจากพื้นที่ ออกไปจาก ย่านเดิม อีกทั้งในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา บริเวณนี้กลายเป็นสถานที่เกิด การชุมนุมประท้วงนับได้หลายกลุม่ และหลายครัง้ ทัง้ บริเวณท้องสนาม หลวง ถนนราชด�ำเนินตลอดสายไปจนถึงย่านนอกเมือง ชุมชนย่าน เก่าที่ค้าขาย เช่น ย่านบางล�ำพู มีผู้คนจับจ่ายสินค้าน้อยลงจนเห็นได้ ชัด นับเป็นเหตุการณ์วิกฤตของบ้านเมืองและส่งผลต่อการใช้พื้นที่ เมืองเก่าค่อนข้างมาก ก็ดูจะเป็นสาเหตุหลักที่ท�ำให้ผู้คนที่ใช้ชีวิตใน การท�ำงานทีน่ รี่ วมทัง้ ใช้ชวี ติ อยูอ่ าศัยในบริเวณนีล้ ดน้อยลงตามล�ำดับ กลายเป็นเมืองที่มีสภาพสวยงามสะอาดขึ้น แต่ไม่มีผู้คนอยู่อาศัยเช่น ในอดีต และกิจกรรมทางสังคมของผู้คนต่างๆ ก็ล้วนแต่เปลี่ยนแปลง ไป บริเวณนอกเมือง เช่น บริเวณคลองมหานาคและชุมชนโดย รอบ จากการศึกษาท�ำให้เห็นว่าชุมชนที่เกิดขึ้นครั้งรัชกาลพระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจนถึงพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัวล้วนเป็นชุมชนที่เกิดขึ้นเนื่องจากทางน�้ำทั้งสิ้น และที่ลุ่ม ทั้งสองฝั่งคลองมหานาคนี้เป็นพื้นที่ท�ำนาส�ำหรับพระมหานคร การ ขยายตัวของชุมชนทั้งสองฝั่งของคลองมหานาคก็เพิ่มขึ้นๆ จนไปจด คลองบางกะปิที่เป็นคลองขุดจากฝั่งตะวันออกของคลองโอ่งอ่างแถว บ้านบาตรออกไปยังทุ่งบางกะปิ อันเป็นจุดที่คลองมหานาคถูกขุดมา รวมกันเป็นคลองแสนแสบ ริมคลองมหานาคนี้มีชุมชนที่เป็นมุสลิมอาสาจามจากกรุง ศรีอยุธยาและที่เข้ามาสมทบภายหลังเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่นอกเมืองที่ เป็นเขตห่างไกลตัง้ แต่ราวสมัยกรุงธนบุรี ต่อเนือ่ งกับชุมชนมุสลิมจาก ปาตานีและทางไทรบุรีที่ถูกอพยพเข้ามาอยู่อาศัยในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว 10

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ทุกวันนี้คลองมหานาคและคลองแสนแสบที่เคยกว้างมาก แคบลงและกลายเป็นเส้นทางขนส่งที่ ใช้ร่วมกับระบบระบายน�้ำของ กรุงเทพมหานครเพือ่ ป้องกันน�ำ้ ท่วมย่านในเมือง ดังนัน้ คลองแสนแสบ จึงเน่าเสียเพราะลักษณะการใช้งานดังกล่าว ส่วนที่ยังคงเป็นเส้นทาง คมนาคมที่ค่อนข้างรวดเร็วแต่อันตรายซึ่งสามารถขนส่งผู้คนออกไป ยังย่านอื่นๆ ที่เส้นทางถนนท�ำไม่ได้ในเวลาอันรวดเร็ว ส่วนบริเวณทีม่ กี ารขยายเขตพระนครในสมัยรัชกาลพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการขุดคลองเมืองผดุงกรุงเกษมเป็น คูเมืองชั้นนอกนั้น มีการสร้างวังใหญ่ๆ ให้กับพระโอรสพระธิดาและ เจ้านายสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เรียงราย

สองฝั่งคลองเมืองหรือคลองโอ่งอ่าง-บางล�ำพู ช่วงหลังรัชกาลที่ ๕ ไปแล้ว ไปตามสองฝั่งคลองผดุงกรุงเกษมและย่านพระราชวังดุสิตด้านเหนือ ของพระนคร การขยายตัวของชนชัน้ สูงและคนในเมืองนีร้ วมไปถึงสอง ฝัง่ น�ำ้ ของคลองมหานาคไปคลองแสนแสบจนปทุมวัน เมือ่ เกิดชุมชนก็ เกิดวัดอันเป็นศูนย์กลางของชุมชนใหญ่ขึ้นมา สิง่ หนึง่ ทีเ่ กิดควบคูก่ บั การขยายบ้านเมืองจากฝัง่ คลองเมือง บางล�ำพู-โอ่งอ่างมายังพื้นที่ภายในพระนครชั้นนอกที่มีคลองผดุง กรุงเกษมเป็นคลองเมืองก็คอื เกิดวัดอันเป็นศูนย์กลางของชุมชนเพิม่ ขึ้น มีการขุดคลองเข้าวัดผ่านวัดเพิ่มขึ้น มีทั้งวัดหลวงและวัดราษฎร์ ครั้งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บ้านเมืองและ ชุมชนเกือบทั่วกรุงเทพมหานครและบริเวณใกล้เคียงก็เปลี่ยนแปลง เข้าสูส่ มัยการเป็นเมืองแบบตะวันตก แม้วา่ วัดและศาสนสถานในระบบ ความเชื่อยังด�ำรงอยู่ แต่สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของเมืองเปลี่ยน ไป ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา จากข้อสังเกตแผนที่กรุงเทพฯ ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ที่ยัง มีร่องรอยของคลองคูรอบวัดรวมทั้งคลองซอยคลองเชื่อมจากล�ำน�้ำ หลักสูช่ มุ ชนต่างๆ ยังมีอยู่ แต่หลังจากนัน้ แล้วคงถูกถมมาเรือ่ ยๆ โดย เฉพาะเมือ่ มีความเติบโตของเมืองหลังสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ เป็นต้นมา ความเป็นเมืองทางน�้ำใช้เส้นคมนาคมทางน�้ำหมดไปหันมาใช้เส้นทาง

จดหมายข่าว

11

บก คือการสร้างถนนใหญ่เล็กขึ้นมาแทนที่ถนนใหญ่ๆ เกิดขึ้นจาก การถมคลอง สร้างถนนทับ รวมทัง้ ล�ำคูคลองทีเ่ คยเข้าไปถึงชุมชนและ วัดเพือ่ การไปมาทัง้ เดินเท้าและเรือขนาดเล็กรวมทัง้ เป็นทรัพยากรท�ำ เพือ่ การบริโภคอุปโภค ผลทีเ่ กิดขึน้ ท�ำให้คคู ลองเหล่านีถ้ กู ถมไปเกือบ หมดสิ้น ส่วนที่ยังเหลืออยู่ก็ปล่อยไว้เพื่อเป็นทางระบายของเสีย เมื่อกรุงเทพฯ เปลี่ยนแปลงจากการเป็นเมืองทางน�้ำมาเป็น เมืองทางบกตั้งแต่ครั้งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวลงมานั้น นอกจากจะถมคลองและคูน�้ำไปเพื่อท�ำถนนแล้ว เกิด ชุมชนตรอกซอยแล้ว บรรดาตลาดน�้ำและตลาดบกที่เคยมีมาแต่ช่วง ต้นกรุงฯ ก็เริม่ หมดไป เกิดตลาดขึน้ มาใหม่ทมี่ ลี กั ษณะเป็นชุมชนตลาด ในตัวเอง โดยการรับอิทธิพลและออกแบบจากสถาปนิกชาวตะวันตก เช่น “ตลาดนางเลิ้ง” เป็นชุมชนย่านตลาดบกอีกแห่งที่มีพ่อค้าชาว จีนเข้ามาค้าขายจนเรียกว่าตลาดใหม่ที่ ใช้เรียกคู่กับย่านตลาดเดิม ที่ส�ำเพ็ง และด�ำเนินการค้าขายมาจนถึงปัจจุบัน แต่เมือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลงทางการปกครองทีเ่ ปลีย่ นแปลง จากการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองแบบ ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งน�ำการ เปลีย่ นแปลงโดยคณะราษฎร และมีนายทหารรวมทัง้ ผูไ้ ด้รบั การศึกษา จากต่างประเทศเป็นหลัก แม้จะไม่มีเหตุการณ์นองเลือดแต่ก็ท�ำให้ โครงสร้างทางสังคมในเมืองหลวง เช่น กรุงเทพมหานครเปลีย่ นแปลง ไปอย่างยิ่งนับจากการสร้างกรุงรัตนโกสินทร์เป็นต้นมา ท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างทางกายภาพของเมือง อย่างมาก เช่น กลุ่มวังของพระราชโอรสทรงกรมในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ในย่านสองฝัง่ คลองผดุงกรุงเกษมตลอดจน บ้านของขุนนางต่างๆ ในถนนพิษณุโลกและถนนหลานหลวง ทีบ่ รรดา เชื้อพระวงศ์และขุนนางเก่าต่อมาไม่สามารถดูแลได้ก็จะมีการรับซื้อ ต่อโดยรัฐบาลและปรับเปลี่ยนส�ำนักงานพระคลังข้างที่เป็นส�ำนักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หรือขายต่อแก่นักธุรกิจต่างๆ บ้าง ส่ง คืนแก่หลวงบ้าง โดยไม่มีการยึดหรือริบคืนเป็นของรัฐแต่อย่างใด สองฝั่งคลองผดุงกรุงเกษมซึ่งเคยเป็นย่านชุมชนและการ สร้างบ้านเมืองแบบสมัยใหม่และครั้งส�ำคัญในครั้งรัชกาลพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงเป็นพื้นที่ซึ่งถูกแปรเปลี่ยนไป เป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการแทบทั้งหมด รวมทั้งบ้านของขุนนาง ส�ำคัญในครัง้ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั เช่น บ้าน บรรทมสินธุ์ บ้านนรสิงห์ ทีเ่ ป็นท�ำเนียบรัฐบาลและสถานทีท่ ำ� งานของ รัฐบาล ฯลฯ ส่วนทีด่ นิ และวังอืน่ ๆ ก็กลายเป็นพืน้ ทีข่ องหน่วยงานของ รัฐและอาคารของเอกชนในทุกวันนี้

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


บันทึก จากท้องถิ่น

โดย พนมกร นวเสลา

“พลังท้องถิ่น” ในการฟื้นฟูโบราณสถานวัดโบสถ์ (ร้าง) อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี “บางละมุง” ในจังหวัดชลบุรปี รากฏร่องรอยหลักฐานโบราณ สถาน โบราณวัตถุและเอกสารที่บ่งบอกถึงความเก่าแก่ตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยา พบว่ามีการระบุชื่อ “บางละมุง” ปรากฏต�ำแหน่งเป็น เมืองชายทะเลอยู่ในสมุดภาพไตรภูมฉิ บับกรุงธนบุรี ส่วนหลักฐานทาง โบราณคดีพบว่าตลอดแนวริมคลองบางละมุงก่อนจะออกไปสู่ปากน�้ำ ต่อกับชายฝั่งทะเลมีร่องรอยของวัดในช่วงกรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่เรียง ราย ได้แก่ วัดโบสถ์ (ร้าง) วัดบางละมุง วัดนางเศรษฐี (ร้าง) และวัด ท่ากระดาน ซึง่ ถูกเปลีย่ นสภาพจนไม่เหลือร่องรอยเดิม วัดบางแห่งยัง คงสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบันคือวัดบางละมุง ส่วนวัดนางเศรษฐี (ร้าง) ซึ่งตั้งอยู่ในโรงเรียนชั้นประถม ได้รับการบูรณะโดยการสนับสนุนงบ ประมาณจากบริษั ทเอกชนขนาดใหญ่ และวัดโบสถ์ซึ่งอยู่ในละแวก ใกล้กับวัดบางละมุง ซึ่งเป็นวัดร้างไร้คนดูแลพึ่งจะได้รับความสนใจ เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ชุมชนโดยรอบวัดร้างแห่งนี้หรือเรียกกันว่าชุมชน เกาะโพธิ์ ได้ร่วมแรงร่วมใจช่วยกันดูแลรักษาโบราณสถานจนสะอาด น่าชื่นชม วัดโบสถ์ที่รกร้างไปแล้วเหลือเพียงอาคารที่เคยเป็นโบสถ์ หนึ่งหลังและเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองหนึ่งองค์ด้านหน้าอาคาร ด้าน หน้าอาคารมีประตูทางเข้าทางเดียวด้านหลังไม่มีประตู ผนังเจาะช่อง หน้าต่างด้านละ ๒ ช่อง ส่วนด้านบนชัน้ หลังคาเป็นหลังคาทรงจัว่ และ มีหลังคาลาดด้านหน้าและด้านหลังอาคารเนือ่ งจากยังปรากฏร่องรอย ของเสาไม้เก่าทีร่ องรับหลังคา จากค�ำบอกเล่าของนายวารี สามกิ อายุ ๗๑ ปี ชาวบ้านที่ชุมชนเกาะโพธิ์กล่าวว่า “...เสาไม้ข้างนอกเป็นของ ดั้งเดิม แต่ก่อนนี้มีทั้งข้างหน้าและข้างหลัง เป็นทรงส�ำเภา...” ชิ้นส่วน ของกระเบือ้ งหลังคาเดิมถูกเก็บไว้อยูภ่ ายในอาคาร ส่วนเจดียท์ อี่ ยูข่ า้ ง หน้าอาคารมีสภาพทรุดโทรมเหลือเพียงแต่ส่วนฐานลักษณะเป็นฐาน บัวคว�่ำบัวหงาย ส่วนท้องไม้ยืดค่อนข้างสูงซ้อนกันสามฐาน ด้านบน ส่วนกลางและส่วนยอดหักหายไป สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างขึ้นในสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนปลายร่วมสมัยกับวัดอื่นๆ ในละแวกเดียวกัน การรวมตัวกันของชาวบ้านชุมชนเกาะโพธิ์ ในการช่วยกัน รักษาโบราณสถานวัดโบสถ์ (ร้าง) นั้น นับว่าเป็นเรื่องของความ เคลื่อนไหวโดยพลังของคนในชุมชนอย่างแท้จริง เพราะก่อนการเริ่ม บูรณะโบราณสถานแห่งนี้ พืน้ ทีด่ งั กล่าวมีสภาพเป็นป่ารกชัฏ นายวารี

จดหมายข่าว

วัดโบสถ์ บางละมุง สามกิ ได้เล่าให้ฟงั ถึงความเป็นมาและช่วงก่อนการบูรณะโบราณสถาน แห่งนี้ไว้ว่า “...ชื่อเดิมเรียกวัดโบสถ์อยู่แล้ว...สภาพโบสถ์ก่อนบูรณะตี สังกะสีไว้ เพราะมีคนเข้ามาซ่อมไว้ครัง้ นึง แต่กอ่ นนีม้ นั จะมองไม่เห็น หรอกเพราะหญ้ามันคลุมเป็นป่า...” ต่อมาได้มกี ลุม่ บุคคลจากภายนอกชุมชนทีม่ คี วามสนใจศึกษา ท้องถิน่ ในภาคตะวันออกเข้ามาพบเห็น แล้วถ่ายรูปสภาพโบราณสถาน ดังกล่าวทีอ่ ยู่ในสภาพทรุดโทรมใกล้จะพังเผยแพร่ในสือ่ ออนไลน์พร้อม ทั้งท�ำป้ายไวนิลประกาศประชาสัมพันธ์ให้คนในพื้นที่และคนทั่วไปได้ เห็นคุณค่าและความส�ำคัญของวัดโบสถ์แห่งนี้ ซึง่ ได้รบั ความสนใจจาก บุคคลภายนอกจ�ำนวนมากรวมทั้งกรมศิลปากร ได้ลงพื้นที่ตรวจสอบ สภาพของโบราณสถานดังกล่าวเมื่อวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อส�ำรวจและประเมินความเสียหายทรุดโทรมของอาคาร อย่างไรก็ตามด้วยความร่วมแรงร่วมใจของคนในชุมชนเกาะ โพธิ์และในบริเวณใกล้เคียง ตลอดจนคนในท้องถิ่นบางละมุง รวมทั้ง ข่าวจากสื่อออนไลน์ที่ได้ชักชวนผู้ที่สนใจมาร่วมกันบูรณะ ได้รับเงิน บริจาคสนับสนุนมากถึง ๒ ล้านกว่าบาท ด้วยวิธีการบอกต่อกัน เมื่อ การด�ำเนินการของชุมชนแล้วเสร็จโบราณสถานวัดโบสถ์ (ร้าง) จึงมี สภาพที่ดี ไม่ทรุดโทรมรกเรื้อเหมือนแต่ก่อน นับเป็นปรากฏการณ์ทสี่ ะท้อนให้เห็นถึงพลังของคนในชุมชน ในการช่วยกันรักษาโบราณสถานในพืน้ ทีด่ ว้ ยก�ำลังและความสามารถ ของตนเอง “...ซ่อมมา ๒-๓ ปี ชาวบ้านท�ำกันเอง ไม่มีหน่วยราชการ 12

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


มาช่วยเราหรอก ...ก�ำแพง กับพื้นที่ปูไว้นั่นก็เงินชาวบ้านล้วนๆ...” หลังจากการบูรณะแล้วเสร็จ โบราณสถานวัดโบสถ์แม้จะร้าง แต่ไม่ได้ตงั้ อยูอ่ ย่างโดดเดีย่ วและแปลกแยกไปจากชุมชน หากแต่เป็น เสมือนพื้นที่สาธารณะทางศาสนาที่ส�ำคัญของชุมชนเกาะโพธิ์ นอก เหนือจากการกราบไหว้พระพุทธรูปด้านในอาคาร ยังใช้เป็นที่พักของ พระสงฆ์ที่ธุดงค์มาจากต่างถิ่น ที่มาบรรยายธรรมแก่ชาวบ้าน ส�ำหรับ “ชุมชนเกาะโพธิ์” ซึ่งตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่โดย รอบโบราณสถานวัดโบสถ์ (ร้าง) และเช่าที่ดินของกรมการศาสนาใน ปัจจุบันนี้ เดิมอพยพมาจาก “บ้านทุ่ง” อาณาบริเวณที่อยู่ในโครงการ ท่าเรือแหลมฉบัง

วารี สามกิ อายุ ๗๑ ปี อดีตชาวบ้านทุ่งในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมท่าเรือแหลมฉบัง ตัวแทนชาวบ้านเกาะโพธิ์ดูแลโบราณสถานในปัจจุบัน นายวารีเล่าให้ฟงั ว่า “...แต่เดิมก็อยูบ่ า้ นทุง่ บางละมุงนีแ่ หละ เค้าก็เรียกกันบ้านทุ่งตรงนั้น...” และยังกล่าวเสริมอีกว่า “...ก่อนหน้า นี้คนก็อยู่ข้างในกันหมด โดนเวนคืนไม่มีที่จะไป ก็มาเช่าที่วัดร้างนี้อยู่ กัน ชาวบ้านทุ่งมีที่ไปที่อื่นไม่เยอะหรอก ส่วนใหญ่ก็รวมกันอยู่ที่นี่...” การเวนคืนทีด่ นิ ในช่วงเวลานัน้ เป็นผลจากนโยบายการสร้าง ท่าเรือแหลมฉบังทีม่ มี านานตัง้ แต่ครัง้ รัฐบาลถนอม-ประภาสแล้ว แต่ คิดว่าไม่น่าจะเป็นจริงไปได้ จึงไม่ได้ขวนขวายหาที่ทางไป ต่อมาเมื่อ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มนี โยบายส�ำคัญข้อ หนึง่ คือ ส่งเสริมให้มนี คิ มอุตสาหกรรมในส่วนภูมภิ าค โครงการพัฒนา พืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลตะวันออกและโครงการพัฒนาพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลภาค

จดหมายข่าว

13

ใต้จึงเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม แต่ชุมชนบ้านทุ่งในย่านแหลมฉบัง ซึ่ง มีอาชีพทั้งท�ำนาและประมงพื้นบ้านต้องเผชิญกับความไม่เป็นธรรม ของกลุ่มนายทุนที่ต้องการกว้านซื้อที่ดินบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลและ ทางฝ่ายท้องถิ่นเองมักจะตกเป็นผู้ถูกกระท�ำและเสียเปรียบ “...เตี่ยอยู่บ้านคนเดียว แก่แล้ว มีคนเข้ามาขู่บ้าง อะไรบ้าง แล้วก็ไม่ได้ดูว่าเซ็นอะไรไป ๒๐ กว่าไร่ไม่ได้อะไรเลย...” เมื่อถูกเวนคืนที่ดินที่อยู่อาศัยท�ำให้ต้องย้ายมาเช่าที่อาศัย อยู่บริเวณรอบวัดโบสถ์ที่เป็นโบราณสถานร้าง ซึ่งกรมศาสนาดูแล และควบคุม ส่วนพื้นที่ทุ่งนาตรงที่เคยเป็นชุมชนบ้านทุ่งเดิมกลายเป็น ท่าเรือแหลมฉบังไปในทีส่ ดุ สภาพของชุมชนในปัจจุบนั มีลกั ษณะของ การอยู่รวมกันเป็นกลุ่มค่อนข้างหนาแน่นกว่าการอยู่อาศัยรอบนอก ปลูกเป็นบ้านชั้นเดียวแบบเรียบง่าย ขณะเดียวกันด้วยสถานะของ การเช่าทีก่ บั กรมศาสนาทีป่ ระกาศขึน้ ค่าเช่าเป็นจ�ำนวนเงินค่อนข้างสูง ประกอบกับแผนโครงการปรับปรุงพืน้ ทีร่ มิ ชายฝัง่ เป็นท่าเรือเฟสต่อมา ทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ในอนาคต ท�ำให้ชมุ ชนเกาะโพธิห์ รือชุมชนบ้านทุง่ เดิม และชุมชนประมงชายฝั่งอื่นๆ ไปจนถึงอ่าวอุดมอยู่ในภาวะไม่แน่นอน ยิง่ ไปกว่านัน้ ค่าตอบแทนการเวนคืนทีด่ นิ เพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถ ทีจ่ ะท�ำให้คนในชุมชนเกาะโพธิส์ ามารถยืนหยัดและพึง่ พาตนเองได้เช่น เดิม “...ค่าเวน (คืนที่ดิน) จะไปพออะไร บ้านนึงสองหมื่น สี่หมื่น ห้า หมื่น อย่างมากก็เป็นแสนจะไปซื้ออะไรได้ เมื่อราคาที่ดินก็ราคาเป็น ล้าน...” สภาพวิถีชีวิตปัจจุบันของคนในชุมชนยังคงประกอบอาชีพ เกี่ยวเนื่องกับประมงพื้นบ้าน คนสูงอายุรับจ้างถักแหท�ำอวน จ�ำพวก อวนปู อวนกุ้ง อวนปลา อวนหอยแมลงภู่ เป็นต้น มีครอบครัวหนึ่ง ยังออกเรือทางปากคลองบางละมุง บางครอบครัวรับซื้ออาหาร ทะเลไปขาย และคนรุ่นต่อมาก็มีอาชีพรับจ้างเป็นคนงานในโรงงาน อุตสาหกรรมที่มีอยู่ทั่วไปในย่านนี้ ส� ำ หรั บ ผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบโดยตรงจากโครงการของรั ฐ วิจารณ์ระบบการปกครองในปัจจุบันว่า เมื่อเริ่มน�ำเอาระบบเลือกตั้ง ระบบเทศบาล และตัวแทนพรรคการเมือง ผลที่ตามมาคือเกิดความ

เรือประมงพื้นบ้านในคลองบางละมุง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


แตกแยกภายในชุมชนเกิดขึ้นอย่างไม่เคยมีปรากฏมาก่อน “...คนใน หมู่บ้านเคยกลมเกลียวกันมาก ขนาดปลูกบ้าน ๓ วันก็เสร็จ เกี่ยวข้าว ทีนึง ๔๐-๕๐ คน มากันเต็มนา แต่พอมีเลือกตั้งก็แตกแยกแบ่งพรรค แบ่งพวกกันไป แทบไม่คยุ กัน...” นายวารีกล่าวถึงความหลังของสภาพ ชุมชนบ้านทุ่งแต่เดิม แม้ว่าชุมชนเกาะโพธิ์หรือชุมชนบ้านทุ่งนั้นจะเป็นหนึ่งใน ชุมชนที่ได้รบั ผลกระทบจากการถูกเวนคืนทีด่ นิ เพือ่ พัฒนาพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ตะวันออกเป็นพื้นที่อุตสาหกรรม แต่การอพยพลงมาอยู่บริเวณคลอง บางละมุงนัน้ ส่วนหนึง่ ก็เป็นความพยายามทีจ่ ะหาพืน้ ทีต่ งั้ บ้านเรือนให้ ใกล้เคียงกับสภาพความเป็นอยู่เดิมที่เคยอยู่ใกล้ชายฝั่งและสามารถ ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านได้ แม้จะต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ มากมาย แต่การยึดมั่นในหลักทางพุทธศาสนาและเห็นคุณค่าของ โบราณสถานได้ท�ำให้เกิดกระบวนการรวมกลุ่มและยึดมั่นร่วมกัน ภายในชุมชนจากการร่วมกันฟื้นฟูและอนุรักษ์จนกลายเป็นส่วนหนึ่ง ของพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของชุมชนที่ ได้รับผลกระทบ จากการพัฒนาอย่างเด่นชัด

เมือ่ เปรียบกับวัดร้างนางเศรษฐีที่ได้รบั การบูรณะจนสวยงาม และตั้งอยู่ภายในโรงเรียนจากบริษั ทเอกชนขนาดใหญ่ท่ีสวยงามแต่ ไม่มหี น้าทีต่ อ่ ชุมชนแต่อย่างใด ชาวบ้านเกาะโพธิท์ บี่ างละมุงจึงกลาย เป็นผู้ฟื้นโบราณสถานให้กลับมามีหน้าที่ทางสังคมและมีอายุสืบต่อ เป็นขวัญและศูนย์กลางของชุมชนบ้านทุ่งใหม่แห่งนี้ได้อีกครา บรรณานุกรม ผูจ้ ดั การออนไลน์. กรมศิลปากรตรวจโบสถ์รา้ งบางละมุง เตรียมแผน บูรณะครั้งใหญ่. เข้าถึงเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เข้าถึงได้จาก : https://mgronline.com/local/detail/9580000002280 ผู้จัดการออนไลน์. “ชาวบางละมุง” สุดเสียดาย! พบโบสถ์-เจดีย์สมัย อยุธยาไร้การเหลียวแล. เข้าถึงเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เข้า ถึงได้จาก : https://mgronline.com/local/detail/9580000001517 ข้อมูลสัมภาษณ์ นาย วารี สามกิ อายุ ๗๑ ปี

ศาลเจ้ายายหอมเลี้ยงเป็ด กับต�ำนานพื้นบ้านที่สร้างโบราณสถาน จังหวัดนครปฐม พชรพงษ์ พุฒซ้อน

พระประโทณเจดีย์ เมื อ งนครปฐมโบราณ เป็ น เมื อ งที่ มี ข นาดใหญ่ ท่ี สุ ดใน บรรดาเมืองในสมัยทวารวดี ตัง้ อยู่ในบริเวณดินดอนสามเหลีย่ มแม่นำ�้ เจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ในพื้นที่ระหว่างแม่น�้ำแม่กลองและแม่น�้ำท่า จีน โดยมีล�ำน�้ำสายต่างๆ ที่เชื่อมระหว่างแม่น�้ำทั้งสองสายและไหล ไปออกทะเลอ่าวไทยทางทิศใต้ ล�ำน�้ำที่ส�ำคัญ ได้แก่ คลองบางแก้ว และ คลองบางแขม ทั้งสองล�ำน�้ำไหลมาจากแม่น�้ำแม่กลองแล้วไหล มาจรดที่แม่น�้ำท่าจีน

จดหมายข่าว

ลักษณะผังเมืองของเมืองนครปฐมโบราณเป็นเมืองสีเ่ หลีย่ ม มุมมนขนาดใหญ่ ตัวเมืองมีความกว้างประมาณ ๒ กิโลเมตรและยาว ประมาณ ๓.๖ กิโลเมตร ไม่มีคันดินแต่มีคลองคูเมืองล้อมรอบ โดย เมืองนครปฐมโบราณพบโบราณสถาน และหลักฐานทางโบราณวัตถุ ในสมัยทวารวดีเป็นจ�ำนวนมาก ปัจจุบนั ผูท้ ผี่ า่ นมาจังหวัดนครปฐมก็คงไม่พลาดทีจ่ ะไปเยีย่ ม ชม “พระปฐมเจดีย์” เจดีย์องค์ใหญ่ที่เป็นศาสนสถานส�ำคัญและโดด เด่นของจังหวัดนครปฐม สร้างขึ้นครอบพระเจดีย์องค์เดิมในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อย่างไรก็ตาม โบราณสถานที่มีขนาดใหญ่อีกแห่งหนึ่งใน จังหวัดนครปฐม ที่อยู่ไม่ไกลกับพระปฐมเจดีย์มากนัก คือ “เจดีย์พระ ประโทณ” พระมหาเจดีย์กลางเมืองโบราณในยุคทวารวดี ในบริเวณพระประโทณเจดีย์นี้มีศาลที่มีตุ๊กตาเป็ดถวาย แก้บนอยู่จ�ำนวนมาก มีทั้งแบบปูนปั้น กระเบื้อง แทนที่จะเป็นตุ๊กตา ไก่หรือหุน่ ทหารทีน่ ำ� มาแก้บนตามทีเ่ ห็นบ่อยๆ ตามศาลในหลายที่ ศาล แห่งนี้คือ “ศาลยายหอม” ที่เกี่ยวข้องกับ “ต�ำนานพระยากง-พระยา พาน” ต�ำนานท้องถิ่นที่พูดถึงการสร้างพระปฐมเจดีย์และเจดีย์พระ ประโทณและชื่อบ้านนามสถานที่ส�ำคัญของเมืองนครปฐมโบราณ มี จดไว้เป็นลายลักษณ์ ๓ ฉบับ คือฉบับพิมพ์อยู่ในพงศาวดารเหนือ น่าจะเป็นฉบับที่เก่าแก่ที่สุดเพราะเป็นเอกสารสมัยอยุธยา และอีก ๒ 14

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ฉบับ อยู่ในหนังสือเรือ่ งพระปฐมเจดียข์ องเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค ) ได้มาจากตาปะขาวรอตฉบับหนึ่งกับอีกฉบับหนึ่งได้มาจาก พระยาราชสัมภารากร แต่เป็นเรือ่ งเดียวกัน เจ้าพระยาทิพากรวงศ์จงึ คัดรวมขึ้นเป็นเรื่องเดียวกัน พระยากงเป็นผู้ครองเมืองนครชัยศรี (บางแหล่งบอกว่าเป็น เมืองกาญจนบุร)ี เป็นกษัตริยท์ มี่ คี วามสามารถปกครองบ้านเมืองและ ประเทศราชอย่างมีความสุข พระองค์และพระอัครมเหสี ได้บ�ำเพ็ญ ทานและรักษาศีลอย่างหนักแล้วตัง้ จิตอธิษฐานเพือ่ ขอบุตรไว้สบื สันตติ วงศ์ ต่อมาพระอัครมเหสี ได้ตั้งครรภ์และคลอดพระโอรสรูปงามผิว พรรณดี ซึง่ ในพิธคี ลอดนัน้ ได้นำ� พานไปรองรับพระโอรสแต่ศรี ษะของ พระโอรสได้กระทบกับขอบพานทอง เกิดเหตุอัศจรรย์พานทองที่แข็ง แรงนัน้ บุบยุบลงไป โหรจึงกราบทูลว่าพระราชกุมารนีม้ บี ญ ุ มากนัก ใจ ก็ฉกรรจ์ และจะได้เป็นกษัตริยส์ บื ต่อจากพระองค์ แต่ในอนาคตพระ โอรสองค์นี้่จะท�ำ “ปิตุฆาต” พระยากงปริวติ กในค�ำท�ำนาย จึงมีคำ� สัง่ ให้เอาพระกุมารไป ฆ่าเสีย ฝ่ายอัครมเหสีได้ติดสินบนเพชฌฆาตให้ฆ่าเด็กทารกอื่นแทน แล้วให้น�ำพระโอรสของนางไปให้ “ยายหอม” หญิงชาวบ้านผู้มีอาชีพ เลี้ยงเป็ดเป็นคนเลี้ยงดู พร้อมให้ตั้งชื่อว่า “พานทอง” ยายหอมซึ่งได้ รับค�ำสัง่ ของอัครมเหสีจากเพชฌฆาตก็ทำ� ตามด้วยความรักและความ เมตตาในชะตากรรมของพระโอรสน้อยผู้น่าสงสาร เลี้ยงดูพระโอรส อย่างดีเหมือนกับลูกของตนเองและได้พาไปฝากเรียนหนังสือกับพระ อุปัชฌาย์ผู้เก่งกาจในแถบนั้น จนเมื่อครั้นเจริญวัยใหญ่ขึ้น ยายหอม จึงได้เอาพานทองไปให้พระยาราชบุรีเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม (บาง แหล่งบอกสุโขทัย) และได้รับราชการอยู่กับพระยาราชบุรีจนมีความ ดีความชอบมากมาย จนได้ขึ้นเป็นอุปราชเมืองราชบุรี ในปีหนึ่งของเมืองราชบุรีเกิดฝนแล้งไม่ตกต้องตามฤดูกาล ข้าวยากหมากแพง ประชาชนเดือดร้อนอย่างหนัก ไม่มีเครื่องราช บรรณาการดอกไม้เงิน ดอกไม้ทองที่จะส่งให้กับนครชัยศรี พระ อุปราชพานทองเห็นว่าปีนี้ไม่ตอ้ งส่งเครือ่ งราชบรรณาการให้กบั เมือง นครชัยศรี เพราะบ้านเมืองของเราก�ำลังล�ำบากมาก พระยาราชบุรี บอกว่าท�ำอย่างนั้นไม่ได้เด็ดขาด พระอุปราชทรงยืนยันและจะขอ ต่อสู้และปกป้องเมืองราชบุรีเองหากพระยากงยกทัพมา ฝ่ายพระยา กงทราบดังนัน้ ก็พโิ รธจัด จึงสัง่ ยกทัพบุกตีเมืองราชบุรที แี่ ข็งขืนไม่ยอม ส่งเครื่องราชบรรณาการและไม่ยอมอ่อนน้อม ยกทัพใหญ่มาตีเมือง ราชบุรีด้วยพระองค์เอง พระอุปราชพานทองจึงอาสายกทัพออกมาสู้ ศึก ออกมาสูก้ นั อยูท่ แี่ ขวงเมืองนครชัยศรี และทัง้ คูไ่ ด้กระท�ำยุทธหัตถี รบกันบนหลังช้าง พระยากงพลาดท่าเสียทีถกู อุปราชพานทองฟันพระ ศอด้วยของ้าวขาดสิน้ พระชนม์บนหลังช้างศึกกลางสนามรบ ทีอ่ นั นันั้ จึง เรียกว่า “ถนนขาด” มาจนถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันอยู่ต�ำบลถนนขาดทางที่ จะไปเนินโบราณสถานดอนยายหอมทางใต้ของเมืองโบราณนครปฐม เมืองนครชัยศรีจึงต้องตกเป็นเมืองขึ้นของราชบุรี พระยา ราชบุรีจึงยกเมืองนครชัยศรีให้พระองค์ปกครอง ซึ่งทรัพย์สมบัติ ข้า

จดหมายข่าว

15

ทาส บาทบริจาริกา สนมนางใน และพระมเหสีของเมืองนครชัยศรี ก็ต้องตกเป็นสมบัติของพระองค์โดยปริยาย ในวันหนึ่งพระยาพานมี พระประสงค์จะเข้าไปบรรทมกับพระมเหสีของพระยากง เทพยดาจึง นิรมิตรเป็นสัตว์ บางแหล่งบอกว่าเป็นแพะ บางแหล่งบอกเป็นวิฬาร์แม่ ลูกอ่อน นอนขวางบันไดปราสาทอยู่ เมื่อพระยาพานเดินข้ามสัตว์แม่ ลูกไป ลูกสัตว์จงึ ว่ากับแม่วา่ ท่านเห็นเราเป็นสัตว์เดรัจฉานท่านจึงข้าม เราไป แม่สัตว์จึงว่ากับลูกว่านับประสาอะไรกับเราเป็นสัตว์เดรัจฉาน “แต่มารดาของท่าน ท่านยังจะเอาเป็นเมีย” พระยาพานได้ยนิ เช่นนัน้ จึงเกิดความสงสัย เมือ่ เข้าไปถึงห้อง พระมเหสีจงึ ตัง้ สัจอธิษฐาน หากพระอัครมเหสีเป็นมารดาของพระองค์ จริงก็ให้ปรากฏว่ามีน�้ำนมไหลออกมาจากถันยุคลให้เห็น ในระหว่าง ที่สนทนากันอยู่นั้น น�้ำนมจากถันของพระมเหสีก็ได้ไหลซึมและไหล ย้อยออกมานอกเสื้อทรงของพระนาง พระยาพานทองเห็นดังนั้นจึง รีบลุกจากพระทีน่ งั่ ลงมานัง่ กับพืน้ แล้วกันแสงแล้วก้มกราบพระมารดา แนบพื้น พระมารดาตกพระทัยแต่พอจะอนุมานได้บ้างว่าเกิดอะไรขึ้น เพราะค�ำท�ำนายโหรบอกว่า ใครคือคนทีจ่ ะฆ่าพระยากง ทัง้ สองแม่ลกู จึงได้สอบถามและบอกเรื่องราวที่มาที่ไปของกันและกัน พระยาพานจึงโกรธยายหอมที่รู้เรื่องทั้งหมดแต่ไม่ยอมบอก จึงเป็นเหตุกระท�ำปิตุฆาต จึงจับยายหอมฆ่าทิ้งเสีย ยายหอมเมื่อจะ ตายนัน้ ก็รำ� เย้ยให้ ครัน้ ตายแล้วแร้งลงกินศพยายหอม คนจึงเรียกทีน่ นั้ ว่าอีร�ำท่าแร้ง บ้านยายหอมจึงเรียกว่า “โคกยายหอม” มาจนทุกวันนี้ ปัจจุบนั คือ ต�ำบลดอนยายหอม อ�ำเภอเมืองนครปฐม ชะตากรรมยาย หอมผู้ซื่อสัตย์ต้องมาจบชีวิตลง คนทั้งปวงจึงเรียกพระยาพานทองว่า “พระยาพาล” ด้วยเหตุฆ่าบิดากับยายหอมผู้มีพระคุณ

ศาลยายหอมที่อยู่ในบริเวณวัดดอนยายหอม ฝ่ายพระยาพานเมือ่ พระทัยเย็นลงแล้ว ก็พจิ ารณาใคร่ครวญ เรื่องราวต่างๆ อย่างแจ่มแจ้ง เมื่อได้สติพระยาพานเสียพระทัยที่ พระองค์ได้ท�ำกรรมอันหนักหนาและใหญ่หลวงต่อผู้มีพระคุณถึงสอง ท่าน ไม่เป็นอันกินอันนอนด้วยเกรงกลัวในบาปอันมหันต์นี้ยิ่งนัก จึง ประชุมพระอรหันต์แลสงฆ์ทั้งปวง ว่าจะท�ำกุศลสิ่งใดกรรมนั้นจะ เบาบางลงได้บ้าง พระอรหันต์จึงว่าให้สร้างพระเจดีย์สูงใหญ่เท่ากับ นกเขาเหิน ถวายเป็นพุทธบูชาเพื่ออุทิศบุญให้กับพระยากงพระบิดา

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ได้กอ่ สร้างพระเจดียค์ รอบพระปฐมเจดียอ์ งค์เก่าให้ใหญ่สวยงามและ สูงเท่ากับนกเขาเหินเพือ่ อุทศิ บุญกุศลให้กบั พระบิดาคือพระยากง และ ได้สร้างพระประโทณเจดียอ์ ย่างสวยงามและใหญ่โตอีกแห่งหนึง่ เพือ่ อุทิศบุญกุศลให้กับยายหอมผู้เป็นแม่เลี้ยงของพระยาพาน ปัจจุบันที่วัดพระประโทณเจดีย์ มี “ศาลยายหอม” ที่อยู่ข้าง กันกับเจดีย์พระประโทณ ภายในศาลมีรูปปั้นยายหอมกับเด็ก และจะ พบผู้คนที่ศรัทธาน�ำตุ๊กตารูปปั้นเป็ดมาถวายเป็นจ�ำนวนมาก สาเหตุที่นิยมน�ำเป็ดมาเป็นของถวายก็ ไ ม่มีอะไรซับซ้อน มากกว่าในต�ำนาน ที่ว่า “ยายหอมมีอาชีพเลี้ยงเป็ด” ทั้งนี้ก็เพื่อความ ศรั ทธาและน�ำมาแก้บนส�ำหรับผู้ที่มาขอกับศาลยายหอม อย่างไร ก็ตามศาลยายหอมยังมีอกี ทีห่ นึง่ คือที่ “เนินพระ” ต�ำบลดอนยายหอม อ�ำเภอเมืองนครปฐม ทีห่ า่ งจากกันประมาณ ๘-๙ กิโลเมตร ชาวบ้าน ศาลยายหอมที่อยู่ในบริเวณวัดพระประโทณเจดีย์ เรียกว่า “วัดโคกยายหอม” ที่เชื่อกันว่ายายหอมผู้เลี้ยงพระยาพานตั้ง แล้วสร้างพระเจดีย์ใหญ่อีกองค์อุทิศให้ยายหอมก็จะท�ำให้ได้บุญกุศล บ้านเรือนอยูบ่ ริเวณนีต้ ามต�ำนาน และทีแ่ ห่งนีก้ เ็ ป็นแหล่งโบราณสถาน มาก และกรรมหนักนั้นจะได้เบาบางลงบ้าง หนังสือบางแห่งว่าพระ ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่ง อรหันต์ที่มาประชุมนั้นท่านชื่อพระคิริมานนท์ ชื่อพระองคุลิมาร และ ศาลยายหอมข้างพระประโทณเจดีย์จึงมีที่มาจากต�ำนาน ที่ประชุมพระอรหันต์นั้นจึงเรียกว่า “ธรรมศาลา” มาจนถึงทุกวันนี้ ท้องถิ่นประจ�ำเมืองนครปฐมโบราณนั่นเอง พระยาพานได้ฟังดังนั้นก็เลื่อมใสศรั ทธา จึงด�ำรัสสั่งให้ เสนาบดีคิดการสร้างพระเจดีย์ใหญ่สูงเท่านกเขาเหิน (นกเขาบิน) จึง

“สามย่านรามา” โรงหนังในย่านตลาดของคนเมืองแกลง จารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์

หากเอ่ยถึงค�ำว่า “สามย่าน” หลายคนคงนึกไปถึงสามย่าน แถบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ แต่สามย่านทีก่ ำ� ลังจะกล่าว ถึงคือสามย่านที่เมืองแกลง จังหวัดระยอง ซึ่งการให้ความหมายของ ค�ำว่า “สามย่าน” ของคนเมืองแกลงนั้นมีอยู่หลายชุดข้อมูล จากการ พูดคุยกับ ครูลำ� ใย วงศ์พทิ กั ษ์ อดีตข้าราชครูผเู้ ป็นทีเ่ คารพนับถือของ คนเมืองแกลงวัย ๙๒ ปี เล่าว่า “การเป็น ‘สามย่าน’ คือ หากยืนตรงจุดกลางสามแยกหน้าที่ ว่าการอ�ำเภอ (หลังเก่า) หันหลังให้ที่ว่าการอ�ำเภอแล้ว ‘หันหน้า’ ไป ยังบ้านดอนเค็ดและบ้านโพธิ์ทอง ซึ่งมีถนนลงไปสู่ท่าเรือ ปัจจุบันคือ หัวสะพานร้อยปีเมืองแกลง ‘ขวามือ’ คือเส้นทางไปสูว่ ดั พลงช้างเผือก และบ้านทะเลน้อย ‘ซ้ายมือ’ คือเส้นทางไปสู่ทางวัดสารนาถธรรมา ราม” แต่ก็มีคนรุ่นต่อมาให้ความหมายของ “สามย่าน” อีกว่า คือ สามแยกที่เป็นถนนสุขุมวิทตัดกับถนนเดิมบริเวณป้ายทันใจและวง เวียนนอกซึ่งเป็นหัวถนนสุนทรโวหาร ปัจจุบันรื้อถอนไปแล้ว บริเวณ ดังกล่าวเคยเป็นที่จอดรถโดยสารส�ำหรับไปมาที่ตลาดสามย่าน

จดหมายข่าว

เดิมเมืองแกลงที่ “สามย่าน” นั้นมีแหล่งการค้าและความ เจริญอยู่เพียงแค่ช่วงถนนสุนทรโวหารและพื้นที่ท่าน�้ำ ผู้คนเข้า มาท�ำการค้าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนจีนที่เล่าว่ามาจากปากน�้ำประแส บริเวณแยกหน้าอ�ำเภอมีร้านค้าและแหล่งบันเทิงต่างๆ เช่น โรงฝิ่น และวิกมหรสพ คนเมืองแกลงเล่าว่า แต่เดิมมีวกิ มหรสพอยูส่ องวิกเท่านัน้ คือ ”วิกของลุงชิว” เป็นวิกเล็กอยู่บริเวณหน้าโรงพักหลังเก่า ซึ่งปัจจุบัน กลายเป็นหอประวัตเิ มืองแกลงส�ำหรับท�ำกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ของชุมชน ส่วนวิกอีกแห่งซึง่ เป็นวิกใหญ่คอื “ไพบูลย์บนั เทิง” เป็นของ คุณอ�ำพล บุญศิริ บุตรชายของหลวงแกลงแกล้วกล้า (บุญศรี บุญศิร)ิ และคุณนายประกอบ ยิ่งภู่ ซึ่งเป็นภรรยาของคุณอ�ำพล ส่วนชื่อวิก นั้นตั้งตามชื่อลูกชาย คือคุณไพบูลย์ บุญศิริ ก่อตั้งเมื่อประมาณช่วง ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ อยู่บริเวณเชิงสะพานร้อยปีในปัจจุบัน วิกหนังไพบูลย์บนั เทิงนัน้ คนสามย่านจะเรียกกันอยูห่ ลายชือ่ บ้างก็เรียกวิกคุณพล บ้างก็เรียกวิกคุณนายประกอบ คนสามย่านที่ เกิดและโตร่วมสมัยกับวิกหนังไพบูลย์บนั เทิงต่างเล่าเป็นเสียงเดียวกัน 16

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ว่า วิกดังกล่าวเป็นสถานที่ที่ทันสมัย แหล่งพบปะสังสรรค์ให้ความ สนุกสนานของคนเมืองแกลง มีทงั้ หนัง ลิเก ละคร เป็นต้น บรรยากาศ ของพื้นที่รอบๆ ก็เต็มไปด้วยความคึกคักของผู้คนที่สัญจรไปมา รวม ทัง้ แรงงานจากโรงเลือ่ ยทีอ่ ยู่อกี ฝั่งคลอง ผูค้ นที่มาจับจ่ายซือ้ ของและ มาต่อเรือที่ศาลาท่าโพธิ์ เพื่อจะเดินทางต่อไปยังปากน�้ำประแส “สามย่านรามา” โรงหนังแห่งเดียวในเมืองแกลง หลังจากที่วิกมหรสพยุคนั้นเริ่มซบเซาได้เกิดแหล่งบันเทิง แห่งใหม่ขึ้นมานั่นคือ “สามย่านรามา” ซึ่งเป็นโรงหนังแบบเดี่ยวๆ หรือ Stand Alone แห่งแรกและแห่งเดียวในเมืองแกลง ตั้งอยู่หน้า ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลเมืองแกลง เดิมพื้น ที่บริเวณนี้คือตลาด เทศบาล ๒ ซึ่งมีร้อยโท นายแพทย์ประณีตและนางกิ่งจันทร์ แสงมณี ได้สร้างและยกให้เป็นสมบัติของสุขาภิบาลทางเกวียนหรือส�ำนักงาน เทศบาลต�ำบลเมืองแกลงปัจจุบัน เพื่อหวังจะขยายเมืองจากทางฝั่ง ถนนสุนทรโวหารออกมา แต่เดิมพืน้ ทีโ่ ดยรอบเป็นป่าและเป็นสวนยาง ไม่ค่อยมีผู้คนอาศัยอยู่ โรงหนังเติบโตและขยายตัวมากตามต่างจังหวัดในช่วงยุคต้น ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ซึ่งเป็นผลมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๔-๒๕๐๙) ในสมัยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ที่ต่างจังหวัดเริ่มมีระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานสะดวก ขึ้น มีถนนหนทาง ไฟฟ้า น�้ำประปา นับจากนั้นเป็นต้นมาท�ำให้ธุรกิจ อุตสาหกรรมภาพยนตร์เติบโตขึ้นตามมาเป็นจ�ำนวนมาก ก่อให้เกิด ธุรกิจการท�ำภาพยนตร์ออกตามภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ “คุณสมพงษ์ โชติวรรณ” ผูเ้ ป็นทายาทของคุณพิพฒ ั น์ โชติ วรรณผูด้ แู ลและผูเ้ ช่าโรงหนังเฉลิมธานีทนี่ างเลิง้ และเป็นผูบ้ กุ เบิกท�ำ ธุรกิจโรงภาพยนตร์ในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกหลายแห่ง หนึง่ ในนัน้ คือโรง หนังสามย่านรามา คุณสมพงษ์เล่าถึงที่มาที่ไปในการก่อตั้งสามย่าน รามาว่า “ประมาณช่วงปี ๒๕๐๐ กว่าๆ ในสมัยของจอมพล สฤษดิ์ หมอประณีต มีนโยบายในการพัฒนาเมืองแกลง จึงได้เชิญชวนไป ลงทุนท�ำโรงหนัง โดยการยกที่ดินใกล้กับตลาดสด พื้นที่เทศบาลเมื่อ ก่อนนั้นเป็นป่ายางก่อนจะพัฒนามาเป็นตลาด และหมอประณีตมอง ว่าถ้าท�ำตรงนี้เจริญแล้วอนาคตข้างหน้าจะมอบให้กับสุขาภิบาล ใน เมื่อมีตลาด ต้องมีโรงหนัง หากมีโรงหนังจะสามารถดึงดูดคนให้เข้า มาตลาดมากขึ้น” ด้วยความที่เป็นเมืองขนาดเล็ก หากมีงานวัดต่างๆ ตั๋วหนัง จะขายดี คนท�ำบุญเสร็จแล้วก็มาดูหนังกันต่อ แต่ละวันฉายเพียงสอง รอบเท่านัน้ คือ รอบบ่ายและรอบค�ำ่ หากหนังดังคนก็ลน้ อยูเ่ หมือนกัน ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นหนังไทยมากกว่าหนังต่างประเทศ เพราะหนังต่าง ประเทศไม่ค่อยเป็นที่นิยมถึงแม้จะมีกระแสดังแค่ไหน ผู้ชมส่วนใหญ่ ก็คือคนในท้องถิ่น ทั้งพ่อค้า ชาวสวน และชาวประมงที่สามย่านหรือ ที่มาไกลจากประแส แม้ประแสจะมีโรงหนังด้วยก็ตาม “โรงหนังทางประแสเป็นโรงเล็กและไม่ค่อยมีหนัง เป็น

จดหมายข่าว

17

เหมือนโรงลิเก โรงมหรสพ” คุณสมพงษ์ให้ข้อมูล ป้ายโฆษณา โปสเตอร์ รถแห่ และการตีตั๋ว การโฆษณาเป็นหนึง่ สิง่ ทีส่ ำ� คัญและขาดไม่ได้ในธุรกิจท�ำโรง ภาพยนตร์เพราะเป็นการกระจายข่าวถึงโปรแกรมหนังทีก่ ำ� ลังฉายและ หนังที่ก�ำลังจะเข้ามา ป้ายโฆษณาหรือโปสเตอร์นั้นมีช่างประจ�ำที่มา รับจ้างเขียนให้ซึ่งเป็นคนท้องถิ่นที่แกลง โดยปกติแต่ละโรงจ�ำเป็นต้องมีชา่ งเขียนประจ�ำ แต่หากช่าง เขียนมีฝีมือดีก็สามารถรับงานได้หลายที่ ก่อนที่จะได้ช่างท้องถิ่นมา ต้องเอาคนทีม่ ฝี มี อื มาถ่ายทอดแล้วเรียนรูต้ อ่ อีกที นอกจากนัน้ ยังต้อง มีการโฆษณาโดยการใช้รถแห่ไปหลายๆ จุด หรือต้องไปฝากโปสเตอร์ ไว้ตามร้านค้าในท้องถิ่น แลกเปลี่ยนโดยการให้บัตรดูฟรี คุณสมพงษ์เล่าว่า “บางทีต้องฝึกเด็กใหม่ๆ ขึ้นมา สมัยก่อน ป้ายโฆษณาหนังต้องติดรถแห่ ทากาวไม่ให้มีรอยย่น โรงหนังมันต้อง ไม่หยุดเรียนรู้ทุกอย่าง สมัยก่อนการท�ำแบนเนอร์ [Banner] ยังไม่มี ต้องอาศัยช่างเขียนเป็นหลัก คนมีฝมี อื ก็เกิดขึน้ รถแห่สมัยก่อนเวลาไป ที่ไหนชาวบ้านก็จะขีม่ อเตอร์ไซค์มาดูกนั ต้องมีเทคนิคการท�ำโฆษณา สมัยก่อนแหล่งบันเทิงนอกจากทีวีก็มีโรงหนังเท่านั้น คนเลยนิยม” ช่วงเวลาในการฉายหนังจะไม่มีการยืนโรงนานนัก แต่ถ้า หนังดีๆ มีคนมาดูมากต้องเบียดแย่งกันตีตั๋วเพราะไม่มีการก�ำหนด หมายเลขที่นั่ง และตัดปัญหาเรื่องค่าตั๋วโดยการขายราคาเดียวกัน ทั้งหมด ผู้ชมจับจองที่นั่งตรงไหนก็สามารถท�ำได้ ก่อนฉายต้องเปิด เพลงหน้าโรงให้ครึกครื้น เช่น เปิดเพลงมาร์ช และเลือกเพลงให้ เป็นเอกลักษณ์ของโรงหนัง โรงหนังสามย่านรามาขนาดของโรงหนัง สามารถบรรจุคนได้ประมาณ ๓๐๐-๔๐๐ ที่นั่ง โดยเป็นเก้าอี้แบบพับ โรงหนังต้องใช้คนหลายหน้าที่ ตั้งแต่พนักงานต้อนรับ คนขายบัตร คนฉายหนัง พนักงานต้อนรับเปิด-ปิดประตู และผู้รักษาความสะอาด ดูแลสภาพแวดล้อมต่างๆ แล้วยังต้องมีนักเลงคุมด้วย เพื่อป้องกันคน มาขอดูหนังฟรี การเลือกหนังมาฉายนั้นตามความเข้าใจของคนทั่วไปคงคิด ว่าโรงหนังสามารถทีจ่ ะเลือกเฉพาะหนังทีค่ ดิ ว่าดังหรือกระแสดีมาฉาย

โรงภาพยนตร์สามย่านรามาที่อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ได้ แต่ความเป็นจริงแล้วไม่สามารถท�ำได้เพราะทางบริษัทหนังต้องส่ง หนังคละกันมาให้ฉาย ต้องมีทั้งหนังดังและไม่ดังมาด้วย ส่วนจะฉาย หรือไม่ฉายขึ้นอยู่กับผู้บริหารงานโรงหนังจะจัดการเอง “บรรยากาศรอบๆ โรงหนังเวลาหนังเลิกจะมีรถเข็นมาดัก รอคน ขายของกินต่างๆ บรรยากาศครึกครื้น ช่วงท�ำหนัง ไม่คิดจะ ไปประกอบอาชีพอืน่ เลย เพราะสนุก พ่อเริม่ เห็นลูท่ างจากการบริหาร หนังที่นางเลิ้งก่อน ที่บ้านก็ขายอาหารมาก่อน หน้าโรงหนังบางทีต้อง ท�ำหุ่นโชว์ เพื่อเรียกคน”

เครื่องฉายหนัง โรงภาพยนตร์สามย่านรามา

เกิดการพัฒนา ผมนี่กว่าจะฉายหนังเป็นต้องเรียนรู้ทุกขั้นตอน ตั้งแต่ การปัดกวาดเช็ดถู จึงจะสามารถฉายหนังได้ การติดต่อกับบริษัทหนัง ต่างประเทศต่างๆ มีการตั้งส�ำนักงานหนังอยู่ตึกอาคเนย์แถววังบูรพา หลายบริษัท เราก็ไปเช่าม้วนฟิล์มเขามา พอไปตั้งหลักที่ระยองคนก็ ให้ความเชื่อถือเรา ช่วงที่อเมริกันอยู่เราก็อยู่กันที่ระยองเลย เพราะ บ้านฉางอยู่ใกล้อู่ตะเภามากกว่า” นอกจากทีร่ ะยองแล้ว ยังรวมถึงโรงหนังดาราทีจ่ งั หวัดตราด คุณสมพงษ์ถือว่าเป็นผู้ไปบุกเบิกก็ว่าได้ โดยการเข้าไปช่วยช่วงเริ่ม สร้างก่อนจะไปท�ำโรงหนังที่ระยอง การท�ำหนังนั้นไม่สามารถไปท�ำ ธุรกิจต่างโซนได้ สู่ยุคอ�ำลาโรงหนัง Stand Alone โรงหนังสามย่านรามาปิดตัวมาราวยี่สิบกว่าปีแล้ว เกิดจาก การเติบโตของสื่อสารพัดชนิดทั้งวิดีโอ ทีวีที่เข้าถึงคนได้ถึงในบ้าน รวมทั้งต้นทุนการท�ำโรงภาพยนต์ที่มีราคาสูง หลังจากการปิดตัวไป ของสามย่านรามาแล้วคุณสมพงษ์เปลี่ยนแนวการท�ำธุรกิจโดยการ ไปซื้อที่เพื่อท�ำสวนแถวชานเมืองซึ่งห่างจากเมืองแกลงประมาณ ๑๒ กิโลเมตร และผันตัวมาประกอบอาชีพเกษตรกรและนักธุรกิจผู้ผลิต อุปกรณ์การเกษตร ในนามบริษั ท อีสเทิร์น อกรีเท็ค จ�ำกัด ซึ่งมี ผลิตภัณฑ์เด่นคือ Rain Drop และมินิสปริงเกอร์ ซึ่งมีส�ำนักงานอยู่ บริเวณด้านหลังโรงหนังสามย่านรามาที่เมืองแกลง แม้ทุกวันนี้อ�ำเภอแกลงก็ยังมีโรงหนัง Cineplex ที่ทันสมัย อยู่ที่ห้างโลตัสแกลง แต่โรงภาพยนตร์อันเป็นต�ำนานของท้องถิ่นก็ไม่ สามารถกลับมาได้อีกเลย ตึกเก่าโรงหนังยังเด่นตระหง่านอยู่หน้าส�ำนักงานเทศบาล ต�ำบลเมืองแกลง ปัจจุบันเป็นโกดังส�ำหรับเก็บอุปกรณ์ของบริษั ท

การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสายหนังภาคตะวันออก ก่อนหน้าที่จะมาท�ำโรงหนังสามย่านนั้นคุณสมพงษ์ได้เริ่ม ต้นการท�ำโรงหนังที่เมืองระยองก่อนคือ “โรงหนังเทศบันเทิงระยอง” ปัจจุบันกลายเป็นหอนาฬิกาเมืองระยองไปแล้ว ขณะเดียวกันก็ได้ท�ำ โรงหนังบูรพาเธียเตอร์ทอี่ ำ� เภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ซึง่ ในพืน้ ทีภ่ าค ตะวันออกถือว่าเจ้านีก้ เ็ ป็นแหล่งผลิตหรือให้บริการเกีย่ วกับกิจการหนัง ให้กับภาคตะวันออกทุกโรง จัดจองตั๋วหนัง ทั้งจัดซื้อเข้ามาและทาง บริษัทเองก็ได้มาฝากให้โรงหนังบริหารงานเอง ก่อนหน้านั้นทางคุณ สมพงษ์ท�ำโรงหนังอยู่ที่กรุงเทพฯ แต่เมื่อมีพรรคพวกเข้าไปท�ำธุรกิจ ที่ระยองซึ่งเป็นนักธุรกิจที่ขายเครื่องฉายหนังแต่ไม่มีความรู้ทางด้าน การบริหารโรงหนังจึงชวนทางคุณสมพงษ์เข้าไปช่วยบริหาร หลังจาก นั้นจึงได้ขยายกิจการออกไปตามพื้นที่ต่างๆ การท�ำธุรกิจโรงภาพยนตร์ที่บ้านฉางของคุณสมพงษ์ถือว่า เป็นพื้นที่แรกๆ ที่เริ่มเติบโตโดยการเข้ามาท�ำธุรกิจหนังสายภาค ตะวันออกอย่างเต็มตัว เพราะในช่วงต้นปี พ.ศ. ๒๕๐๐ นั้นอู่ตะเภา เป็นฐานทัพของทหารอเมริกัน จึงคิดไปลงทุนในบ้านฉางเพราะถือว่า เป็นท�ำเลดี มีความเจริญ และได้บริหารงานโรงหนังหลายแห่งในเวลา เดียวกันเพราะถือเป็นโอกาสทางธุรกิจ ขณะนั้นบ้านฉางมีโรงหนังถึง ๒ แห่ง คือบ้านฉางรามาและบูรพาเธียเตอร์ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๑ ฉายทัง้ หนังไทยและหนังฝรัง่ และปิดไปเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ คุณสมพงษ์เล่าว่า “สมัยคุณพ่อต้องเรียนรูง้ านเองจากผูท้ ที่ ำ� ธุรกิจโรง คุณสมพงษ์ โชติวรรณ ผู้ประกอบธุรกิจสายหนังทางภาคตะวันออก หนัง เพราะสมัยก่อนมีการหวงวิชา ไม่เหมือนสมัยนีท้ มี่ กี ารถ่ายทอดให้

จดหมายข่าว

18

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


อีสเทิรน์ อกรีเท็ค จ�ำกัด และบริเวณด้านหลังเป็นทีอ่ ยูข่ องพนักงานบาง ส่วนของบริษัทซึง่ บางท่านเคยเป็นผูใ้ ห้บริการต�ำแหน่งต่างๆ ในโรงหนัง และเป็นอนุสรณ์สถานส�ำหรับให้คนรุ่นเก่ามาย้อนวันวานหวนคิดถึง ความรุ่งเรืองวัยหนุ่มสาวที่เคยเพลิดเพลินอยู่กับ “สามย่านรามา” อ้างอิง ธนาทิพ ฉัตรภูติ. ต�ำนานโรงหนัง. ส�ำนักพิมพ์เวลาดี ในนามบริษัท แปลน สารา จ�ำกัด. กรุงเทพฯ, ๒๕๔๗ สนธยา ทรัพย์เย็น และโมรีมาตย์ ระเด่นอาหมัด. สวรรค์ ๓๕ มม. : เสน่ห์วิกหนังเมืองสยาม. ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส), ๒๕๕๗

เทศบาลต�ำบลเมืองแกลง. เมืองแกลงของเราเมืองเก่าของบรรพชน. จังหวัดระยอง, ๒๕๔๖ เทศบาลต�ำบลเมืองแกลง. ๑๐๐ ปีบา้ นตลาดสามย่าน. จังหวัดระยอง, ๒๕๕๒ ขอขอบคุณ คุณล�ำใย วงศ์พิทักษ์, คุณสมพงษ์ โชติวรรณ, คุณสันติชัย ตังสวานิช นายกเทศมนตรีต�ำบลเมืองแกลง

วิถีประมงพาณิชย์ปากน�้ำประแส จังหวัดระยอง จิราพร แซ่เตียว

ตราสัญลักษณ์ประจ�ำเทศบาลต�ำบลปากน�ำ้ ประแสคือรูปเรือ ประมงก�ำลังแล่นมุง่ หน้าออกปากแม่นำ�้ ประแส โดยมีเจดียว์ ดั แหลมสน อยูท่ างฝัง่ ขวาและบ้านเรือนชาวประมงอยูท่ างฝัง่ ซ้าย แสดงให้เห็นถึง อาชีพและศาสนาของประชาชนส่วนใหญ่ในท้องที่ จากการส� ำ รวจและเก็ บ ข้ อ มู ล เพื่ อ ท� ำ ความเข้ าใจนิ เ วศ วัฒนธรรมของคนลุ่มน�้ำประแส จึงเริ่มส�ำรวจความเป็นประแสจาก ข้อมูลเอกสาร และเมื่อช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมาได้เดินทางลงพื้นที่ ถามไถ่ให้ได้รู้วิถีของคนประแสแล้วพบว่า หากอยากจะรู้จักประแส เบื้องแรกต้องเข้าใจวิถีของชาวประมงซึ่งเป็นอาชีพหลักจากอดีตถึง ปัจจุบนั สอดคล้องกับค�ำขวัญ “ก้าวล�ำ้ ประมงไทย” และตราสัญลักษณ์ “เรือประมงแล่นมุง่ หน้าออกปากน�ำ้ ประแส” ซึง่ เป็นรูปแบบการท�ำมา หากินที่เป็นหัวใจของคนถิ่นนี้ ดร.นาวิน เจริญพร อดีตเถ้าแก๋เรือ ผูผ้ นั ตัวมาเป็นรองนายก เทศมนตรีต�ำบลปากน�้ำประแส กล่าวว่า “ประแสถือว่าเป็นไม่ที่หนึ่งก็ สอง สมัยก่อนปากน�้ำระยองก็สู้เราไม่ได้ ถ้าเป็นประมงพาณิชย์ผมว่า ประแสน่าจะติดไม่เกินอันดับ ๓ ไม่รู้เรากับปัตตานีใครใหญ่กว่ากัน แต่กับสงขลาเราใหญ่กว่า แต่ไม่มีประมงเชิงพาณิชย์ที่ไหนใหญ่เท่า สาม ส. คือ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ แถวนั้นเป็น ยักษ์ไปแล้ว แต่สาม ส. เขาไม่ได้ท�ำเรือประมงแบบเรา ของเราท�ำ อวนล้อม สมาคมประมงแห่งประเทศไทยตั้งกรรมการกันชุดแรก ที่ อื่นมีจังหวัดละหนึ่งคน แต่ประแสมีกรรมการ ๒ คน หนึ่งในนั้นก็คือ พ่อของผม” คุณชัชวาลย์ เจริญพร ประธานสภาเทศบาลต�ำบลปากน�้ำ ประแส พ่อที่ ดร.นาวินกล่าวถึง เป็นเถ้าแก๋เรืออีกหนึ่งท่านที่มาช่วย ย้อนเล่าความหลังว่า “ประแสเป็นคนริเริ่มตั้งสมาคมประมงแห่ง ประเทศไทย เราเป็นอันดับต้นๆ ของอวนล้อม”

จดหมายข่าว

19

ดร.นาวิน เจริญพร คุณภาณุ ธนะสาร และคุณชัชวาลย์ เจริญพร ผู้ให้ข้อมูล คุณภาณุ ธนะสาร ก�ำนันต�ำบลปากน�้ำประแส เถ้าแก๋เรือผู้ เกิดและโตมากับกองอวนตั้งแต่รุ่นก๋ง ช่วยเสริมว่า “ตอนนั้นเราใหญ่ กว่า ตอนนี้พวกระยองไปอยู่กับเขา ระยองไปเข้าคลองปัตตานีหมด ประแสเข้าคลองสงขลา สงขลานี่พูดกันตรงๆ เราไปสอนเขานะ คือ สมัยก่อนท�ำเฉพาะอวนลอย ไม่ได้ท�ำอวนล้อมอย่างเรา มีอวนล้อม ล�ำเดียว กิจการประมงเมื่ออดีตสู้เราไม่ได้ แต่ก่อนประแสถือว่าขึ้น สูงสุดของกิจการประมงไทย” เพื่อให้เห็นบางส่วนของคนประแสและ วิถผี ปู้ ระกอบการประมง เชิญทุกท่านมาลงเรือล�ำเดียวกันฟังเรือ่ งเล่า การฝ่าคลืน่ ลมทะเลและการเปลีย่ นผ่าน ทุกข์และสุขคละเคล้าจากชีวติ และมุมมองของเถ้าแก๋เรือชาวประแสทั้ง ๓ ท่าน จากประมงชายฝั่งสู่ประมงพาณิชย์ คุณชัชวาลย์เริ่มต้นด้วยการเล่าว่า “อาชีพหลักของพวกเรา คนประแสท�ำประมง ประมงเราติดระดับประเทศ อย่างเรือผมเองตอน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


นั้นไปท�ำ Joint Venture กับอินโดนีเซีย ไปชุดแรก มีระยอง ปัตตานี รวมกันไป ท�ำมาหากินกันไปถึงเขมร เกาะกง... เริ่มแรกก็เริ่มมาตั้งแต่พื้นฐาน รู้จักจั่นไหมคล้ายๆ ยอ แต่ เล็กๆ สมัยก่อนเป็นประมงพื้นบ้าน ทอดแหบ้าง ยกจั่นบ้าง แล้วเรา มาท�ำประมงนอกน่านน�้ำกัน ทุนใช้มาก ประแสแต่ก่อนอยู่ได้เพราะ ประมง เศรษฐกิจดี” คุณภาณุเล่าต่อในประเด็นนี้ว่า “เพราะหลังจากที่เรือส�ำเภา หมดไปแล้ว กิจการประมงของประแสขึ้นสูงติดระดับประเทศ ใช้ทุน เยอะ เศรษฐกิจดีมากเลย เริ่มมาตั้งแต่สมัยก๋ง เรือไม่มีเครื่อง ใช้ใบ หน้าลมมาเขาก็ลากเรากลับ ท�ำมาหากินอยู่อย่างนี้ หากินใช้แจว ไป ถึงตราด แต่กิจการประมงของเราไปเร็ว สมัยก๋งมีโป๊ะแล้ว มีอวนเฉ แล้วก็ไม่ได้หากินแค่ในอ่าวประแสก็ไปได้ทั่วหมด” ดร.นาวินช่วยสรุปเป็นภาพรวมความเปลี่ยนผ่านแต่ละยุค ดังนี้ “สมัยก่อนผมยังทันนะ เขายังท�ำประมงใกล้ๆ ยังไม่ได้ข้าม จังหวัด ยุคแรก เป็นยุคที่ท�ำกันเฉพาะภายในคืออยู่แถวนี้ไม่ได้ไปไหน ไกล ต่อมาผมไปเรียนกรุงเทพฯ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ประมาณประถม ๔ ประถม ๕ เรือเริ่มข้ามไปสงขลา เพราะตอนเป็นเด็กผมก็ใฝ่ฝันว่า สิ้นปีปิดเทอมได้ไปอยู่เรือไปอยู่สงขลา ผมนั่งรถไปวันนึง ๒๐ ชั่วโมง สมัยก่อนถนนสายเก่า แต่ผมดีใจผมได้ไปเที่ยวไกลๆ ที่ผมจ�ำได้ ผม นัง่ เครือ่ งบินครัง้ แรกก็นงั่ เครือ่ งบินไปจากดอนเมืองไปหาดใหญ่เพราะ เรือข้ามไป รุน่ นีค้ อื รุน่ ที่ ๒ ทีเ่ รือประแสไปหากินต่างจังหวัดไกลๆ แล้ว ก็ รุ่นที่ ๓ ประมงที่จับปลาต่างประเทศ ผมเชื่อว่าประแสเป็นหนึ่งใน กองเรือที่ใหญ่ ติดอันดับหนึ่งในสามของประเทศไทยที่ออกไปหากิน ต่างประเทศ” ความเฟื่องฟูของกิจการประมงประแส จากการสอบถามกับชาวบ้านรุ่นเก่าทั้งในปากน�้ำประแส ตลาดสามย่าน และบ้านทะเลน้อย ซึ่งอยู่ในบริเวณลุ่มน�้ำประแสต่าง พูดเป็นเสียงเดียวกันถึงความคึกคักของผูค้ น การเติบโตของบ้านเมือง และบรรยากาศของร้านรวง ในยุคทีป่ ระแสเคยเป็นเมืองท่าช่วงทีก่ าร ท�ำประมงเฟื่องฟู เช่นเดียวกับภาพประแสจากค�ำบอกเล่าของผู้ให้ ข้อมูลทั้งสามท่าน คุณชัชวาลย์เล่าว่า “พอมีถนนสุขุมวิทคนทางสาม ย่านจะรู้จักเราตรงที่ ประแสร�่ำรวยเหลือเกิน จับปลาดี คนบ้านเราก็ จะไปซื้อของทางนั้น” คุณภาณุช่วยต่อในประเด็นเดียวกันว่า “ละแวกแถวนี้ถ้าว่า เป็นคนประแสเค้าจะร้องว่าคนประแสมีเงิน สมัยนัน้ เศรษฐกิจดีมากที เดียวประมงดี ร้านค้าก็ดี เศรษฐกิจดีหมดในต�ำบลปากน�้ำประแส คน หน้าชื่นตาบานท�ำกิจการประมงกันอย่างเดียว ปีหนึ่งคิดบัญชีกันสอง ครั้ง แต่งทองกันให้แดงเกลื่อนเลย ประแสรวยมาก..... ร้านเต็กไทจั่น ซินตูตัดผ้า ร้านทองตรงข้ามร้านซินตู ร้าน สามย่านกลการ คนประแสทั้งนั้น แต่เขาค้าขาย เขามองการณ์ไกล เมื่อสุขุมวิทตัดผ่านเลยไปอยู่นั่น ที่ร้านเต๊กไทจั่นสมัยยีนส์ออกแรกๆ

จดหมายข่าว

รวยจากคนประแสไม่รู้เท่าไหร่ คนประแสแห่ไปซื้อ นุ่งกางเกงจีนก็ ไม่ค่อยสะใจต้องนุ่งกางเกงยีนส์ ต้องใส่เสื้อมองตะกูร์ สมัยนั้นตัว เป็นร้อย เราเป็นเด็กๆ เราก็ใส่ สมัยก่อนคนประแสไม่มรี ถเพราะบ้าน ไม่มที จี่ อด คนทีม่ รี ถให้เช่าเลยกิจการดี เพราะเช่ารถขนลูกหลานไปดู เวลาเรือเข้า เรือเข้าตราดก็เช่าไปตราด เรือเข้าสัตหีบก็เช่าไปสัตหีบ ตามเรือกัน สงขลาก็ไป ร้านอาหารไหนดีๆ โรงแรมไหนดังๆ พาลูกพา หลานไปกินไปเที่ยวหมด

เรือประมงบริเวณปากน�้ำประแส สมัยปี พ.ศ. ๒๕๑๕–๒๕๑๘ เงินแสนผมว่าเยอะนะ ประแส ท�ำได้ เคยได้กินก๋วยเตี๋ยวชามละสองสลึง คือพวกเราจะมีกิจกรรม อย่างหนึ่งในเดือนหงายหมายถึง ๑๔ ค�่ำ ๑๕ ค�่ำ เราจะออกทะเลแล้ว บนเจ้า เดือนนี้เราขอแค่สิบหมื่น สิบหมื่นคือหนึ่งแสน จะมีหนังแก้บน ดูหนังกันไม่หวาดไม่ไหว ล�ำโน้นก็ได้แสน ล�ำนี้ก็ได้แสน ดูหนังกันทุก คืน ฉายจนกระทั่งแดดออก หลังจากปี ๒๕๒๗ มาเรือเริ่มใหญ่ขึ้นๆ ใหญ่จนน่ากลัว ก็ไปต่างประเทศกัน ล้มมี ลุกมี เด็กประแสไม่มี ใครที่ ไ ม่ได้เรียนกรุงเทพฯ ไม่มี ใครไม่ ได้เรียนอัสสัมชัญ ส่งหมดเพราะว่าเศรษฐกิจดี ผมเองยังไปเรียน กรุงเทพฯ เลย ไปซือ้ บ้านทิง้ ไว้ทกี่ รุงเทพฯ ให้ลกู หลานไปอยูเ่ วลาเรียน หนังสือ คนสมัยนั้นเงินเหลือเฟือ ปี ๒๕๑๙-๒๕๒๐ ผมได้เงินเดือน เดือนละ ๗๐๐ บาท ผมไปเรียนสันติราษฎร์ ผมใช้ ๒,๑๐๐ ทั้งๆ ที่ เค้าให้เดือนละ ๗๐๐ วันที่ ๑๐ ก็เบิกแล้วใช้หมดน่ะ ตอนพายุเกย์ (พ.ศ. ๒๕๓๒) ยังท�ำอยูก่ บั เต๊ะ (พ่อ) กับแม่อยู่ ก่อนแยกออกมาท�ำของตัวเอง จ�ำได้วา่ ปีทพี่ ายุลนิ ดามา (พ.ศ. ๒๕๔๐) ผมมีเรือล�ำแรกเป็นของตัวเอง ท�ำไปท�ำมาผมมีเรือ ๒ ล�ำ เรือท่องเทีย่ ว อีก เป็น ๔ ล�ำ ดีมาก ตอนหลังลมมันแรงตกจากยอดมา เหลือล�ำ เดียวยังติดหนี้เขาอีกต่างหาก” สู่จุดพลิกผัน “จากทะเลมีแต่ทอง สู่ทะเลนั้นถมไม่เต็ม” ประโยคทิ้งท้ายของคุณภาณุท�ำเอาสะดุด รอฟังเรื่องเล่า ที่เหมือนหนังคนละม้วนในช่วงต่อไป ข้อมูลปัญหาและอารมณ์เกี่ยว วิกฤตต่างๆ ที่ผู้ประกอบการต้องเผชิญไหลมาอย่างพรั่งพรูทั้งเรื่อง วิกฤตน�้ำมันแพง ปัญหาแรงงาน ต้นทุนการประกอบการทุกด้านขึ้น ราคาสวนทางกับปัญหาสินในน�้ำ คือ กุ้ง หอย ปู ปลา ที่ปริมาณ ถดถอยจนทุกประเทศต้องตั้งก�ำแพงระบุน่านน�้ำของตัวเองมิให้ใคร 20

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


มาแย่งชิง และที่หนักหนาสาหัส จนเถ้าแก๋เรือที่เคยออกทะเล ถือตัว เป็นชาวประมงอาชีพที่รักดังชีวิต ถึงกับออกปากว่า “พูดถึงทะเลแล้ว ช�้ำใจ” คือกฎระเบียบที่รัฐบาลก�ำหนด การอิงตามกรอบกฎหมายทั้ง การค้าและการท�ำประมงระหว่างประเทศก็ต้องมี ความยั่งยืนทางสิ่ง แวดล้อมก็ต้องมา คุณภาณุเล่าถึงความขมขื่นของชาวประมงประแสทุกวันนี้ ว่า “๗ กระทรวง ออกกฎหมายมาควบคุมชาวประมง เช่น มหาดไทย กลาโหม พม. (พัฒนาสังคมฯ) แรงงาน คมนาคม ทุกอย่างมาอยู่ใน ปีโป้ (ศูนย์แจ้งเข้า-แจ้งออกเรือประมง PIPO Port In Port Out) รัฐบาลกดดันชาวประมงทุกอย่าง ไม่เคยส่งเสริม ไม่เคยช่วยเหลือ แต่ ห้ามทุกอย่าง ที่ไปเปิดตลาดหากินต่างประเทศก็ดนิ้ รนไปกันเอง ทีท่ ำ� กันอยูท่ กุ วันนี้ไม่รจู้ ะไปท�ำอาชีพอะไร คนประแสทีม่ อี าชีพประมงเป็น พื้นเพ มีเงินนี่ไม่เคยจะคิดท�ำอาชีพอย่างอื่น ไม่เคยคิดจะไปซื้อที่เก็บ ไม่เคยคิดจะไปท�ำสวน ท�ำไม่เป็น อย่างผมเป็นตัวอย่าง มีเงินซื้อเรือๆ ไม่เคยคิดซือ้ ที่ แต่กอ่ นไปเกาะช้าง เกาะพงัน ตอนนัน้ ยังไม่มอี ะไรเลย มีคนเอาที่มาขายถูกๆ ก็ไม่เอา จนกระทั่งพอเรือล้มทีเดียว ก็เหมือน ตัวแรกล้มก็ล้มไปตลอด หวานอมขมกลืน ตอนนีด้ อี ย่างตรงลูกเรียนจบแล้ว ถ้าลูกไม่ จบจะท�ำอย่างไร รุ่นลูกไม่มีใครมาท�ำแล้ว คนประแสส่งลูกเรียน ลูก ไม่ได้คิดมาท�ำทะเล พอเรียนจบก็ไม่กลับบ้าน ไม่ว่าง ไปมีครอบครัว ไปมีบ้านอยู่ข้างนอก ก็ดึงคนในบ้านไปเฝ้าลูกเฝ้าบ้านให้” คุณชัชวาลย์เสริมต่อว่า “ไม่ใช่ล้มอย่างเดียว เรือจอดหน้า บ้าน มีจดหมายมา จอดหน้าบ้านไม่ได้ จมเรือหน้าบ้านไม่ได้ จะถูก ปรับเป็นแสน ถ้าเอาไปทิ้งก็ต้องไปแจ้งก่อนก็โดนปรับอีก อย่างแพ วีระเอาไปเกยแล้วสองล�ำ ขายหมด ผมเชื่อว่าเจ๊งแน่ ออกเรือไม่ได้ ก็ต้องอยู่อย่างนี้ รอวันตาย ตอนนี้ใครๆ ก็อยากขายเรือทั้งนั้น” ดร.นาวินร่วมให้ความเห็นว่า “ชาวประมงท�ำแบบนักการพนัน คือเกหมดหน้าตัก เรียนแต่วิธีการท�ำประมง แต่ไม่ได้เรียนการท�ำ ธุรกิจ ไม่ได้สนใจเรือ่ งเศรษฐศาสตร์ คิดว่าทรัพย์ในดิน สินในน�ำ้ ผมว่า สมัยก่อนเขาสอนผิดด้วย ถึงเวลาอยากได้เงินก็ลงไปทะเล ทะเลมีทอง มีปลา จับปลา เราเคยท�ำประมงอย่างสะดวกสบาย ผมพูดอย่างเป็น กลางนะ สมัยผมเรียนผมก็ออกทะเล ผมเรียนนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัย กรุงเทพ ออกกับเรือทีบ่ า้ น พวกเราก็จบั ปลากันอย่างเดียวไม่มรี ะเบียบ ไม่โดนบังคับเหมือนขณะนี้ เขาปล่ อ ยเรามานาน เรื อ ที่ อ ยู ่ ใ นอ่ า วไทยผมว่ าไม่ เ กิ น ๒๐-๓๐% ที่อาญาบัตรตรงกับชนิดเรือ เครื่องยนต์ตรงกับเรือ ผม เชื่อว่าน้อยมากที่จะตรง ตอนนัน้ ชาวประมงประสบปัญหาแรกคือน�ำ้ มัน เราก็ผา่ นพ้น ก็ต้องทน ใครมีเรือก็ต้องท�ำ เพราะว่าไม่ท�ำจะไปไหน เขาบอกว่า ถ้า เรือจอด เพรียงกินข้างล่าง ลูกจ้างกินข้างบน ถ้าเรือไม่ออก ลูกจ้าง ก็กนิ อยูข่ า้ งบน ไม่ออกก็ตอ้ งจ่ายเงิน เพราะฉะนัน้ คนประมงต้องออก อยู่ไม่ได้ ช่วงปัญหาน�้ำมันแพงมีส่วนน้อยที่ประแสจะหยุดจับปลา แต่

จดหมายข่าว

21

ส่วนใหญ่จะเปลี่ยนชนิดเครื่องมือเพื่อประหยัดน�้ำมัน ตอนนี้มีเรื่องกีดกันทางการค้า ข้อก�ำหนดจากทางอียู พอให้ ใบเหลือง รัฐบาลท�ำอย่างแรกเลยคือเรื่องแรงงานต่างด้าวก่อน เราก็ ว่าเหลือทนแล้วนะ สมัยก่อนแรงงานต่างด้าวยังมีเถื่อนบ้าง เดี๋ยวนี้ พอรัฐบาลขึ้นทะเบียนที่จะออกทะเลเถื่อนไม่ได้ เราก็คิดว่าน่าจะหยุด อยู่แค่นั้นแล้ว ไม่ใช่อีก อาญาบัตรต้องตรง อาญาบัตรไม่ตรงก็ต้อง จอด แรงงานต่างด้าว ผมยกตัวอย่างเรือน้อย ลูกน้อง ๗ คนต่างด้าว หายไป ๒ คน มีแรงงาน ๕ คนผมท�ำประมงไม่ได้ รับ ๒ คนอื่นมาใส่ ก็ไม่ได้ เนื่องจาก ๒ คนเถื่อนก็ออกไม่ได้ ปัญหาค่อยๆ บีบมา ผมว่า รัฐบาลรู้ปัญหา พอรัฐบาลบีบตรงไหนเกือบตายทั้งนั้นเลย” แรงงานต่างด้าวในอุตสาหกรรมประมงมักถูกน�ำไปผูกกับ ประเด็นการค้ามนุษย์ซึ่งเผยแพร่ทางสื่อสาธารณะจนแยกไม่ออกว่า ข่าวไหนจริง ข่าวไหนเท็จเป็นอีกหนึ่งประเด็นปัญหาที่ทั้ง ๓ ท่านช่วย กันสะท้อนมุมมอง ดร.นาวิน “ถ้าเป็นสมัยก่อนหยุด ๒๐ วัน ยังไม่ต้องจ่ายลูก น้อง แต่ตอนนี้ไม่ได้เงินเดือนต้องครบ แต่รัฐบาลไม่รู้หรอกว่าที่บอก ให้เอาเงินเดือนใส่บัญชีลูกน้องให้ครบหมื่น ลูกน้องกินใช้เบิกไปก่อน แล้ว แต่จริงๆ ผมยอมรับว่าเรือที่ ไปอินโดฯ สมัยก่อนก็มีข่าว หลายล�ำเหลือแต่ไต๋ (ไต้ก๋ง) และยี่ชิ้ว (ผู้ช่วยไต้ก๋ง) กลับมา ไม่ได้ กลับก็มี เนื่องจากสมัยก่อนออกครั้งหนึ่ง ๓ ปี คนหนึ่งต้องได้สัก ๔-๕ แสน สมัยนั้นไม่ใช่เจ้าของเรือกับลูกน้อง เจ้าของเรือกับไต๋เท่านั้น ถ้า ๓ ปีต้องจ่ายเงินไต๋ ๔-๕ ล้าน ไต๋แย่ๆ บางคนก็ไม่เอาลูกน้องเข้ามา ถ้าดีหน่อยก็ฝากเรืออีกล�ำเข้ามา ที่เลวร้ายกว่านั้นคือถีบลงน�้ำ แต่มี ไต๋หลายคนที่ตายลงน�้ำ เข้ามาแต่เรือเฉยๆ ก็มีนะ ถึงบอกว่าคนมีทั้ง ดีและไม่ดี ก็อยู่ที่คน ไต๋ดี ลูกน้องไม่ดี ฆ่าไต๋เอาเรือวิ่งเข้าเขมรขาย ก็เยอะแยะไป ก็เหมือนเหรียญมีสองด้านทุกอย่าง” ก�ำนันภาณุ ช่วยเสริมว่า “วิถีชีวิตไม่เหมือนกัน ครอบครัว เค้าเราก็ต้องดูแล ผัวออกทะเล เมียเบิกเงิน ก็ต้องให้ เพราะลูกเมีย เขาอยู่ ทางบ้านก็ต้องกิน เมื่อสองวันมานี้ผมถาม พม. (กระทรวงพัฒนาสังคมฯ) คุณ แก้ถูกทางไหมเรื่องค้ามนุษย์ หนึ่งคุณบังคับไม่ให้ไปต่างประเทศ สองคุณบังคับไม่ให้มเี รือทัวร์ สามเวลาเรือเข้าเรือออกก็ตอ้ งผ่านพวก คุณ คุณเช็กไม่ได้เหรอ ค้ามนุษย์หรือไม่ค้ามนุษย์ ก็ในเมื่อคุณไม่ให้ ไปต่างประเทศแล้ว ระบบต่างประเทศคือค้ามนุษย์เรายอมรับเพราะ อวนลากอย่างที่ว่าไปกันเป็นปีๆ เรือไม่รั่วไม่จมไม่เข้า แต่พวกเรือใน ต�ำบลปากน�ำ้ ประแสไม่มีใครท�ำเรืออวนลาก ปลาทีค่ ณ ุ ได้ที่ไปอินโดฯ อยู่ไม่เกิน ๒๐ วัน ถ้าไม่ได้ปลาคุณต้องเข้า หนึ่งข้าวไม่มีกิน สองน�้ำ ไม่มีกิน คุณอยู่ไม่ได้คุณก็ต้องเข้า เรือประแส เรืออวนล้อมที่ไปอินโดฯ ไม่ว่าจะได้ปลาไม่ได้ ปลา ก็ไม่เกิน ๒๐ วันถึง ๑ เดือน ถ้าคุณได้ปลาเร็ว สมมติคณ ุ เดินทาง ไป ๗ วันแล้ว ภายใน ๕ วันคุณได้ปลาเยอะ คุณต้องเข้าแล้ว เพราะ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


หนึ่ง กลัวปลาเน่า เพราะเราไม่ใช้ยา เราไม่มีระบบยา เราไม่มีระบบ ฟรีซ เราใช้น�้ำแข็ง คุณต้องเข้าเพื่อมาขายปลา ถ้าทิ้งเอาไว้มากกว่า นั้น เน่า ขายไม่ได้ ธรรมชาติของพวกเราท�ำแบบนี้ แต่อวนลากเขาไม่ได้ทำ� อย่าง นั้น อวนลากจะมีชุดของเขาจะลากอยู่ต่างประเทศ มีเรือของเขาไป ถ่ายปลา ไปขนสินค้ามาขาย จะมีเรือที่ไปยาวๆ แล้วมีเรือส่งเสบียง เพราะฉะนั้นลูกน้องก็ต้องทนอยู่ในเรือเป็นปี

อนุสรณ์เรือหลวงประแส บทใหม่ของการท่องเที่ยวชุมชน ไม่ใช่ใจร้าย คือเรือที่ไปอินโดนีเซียที่เป็นข่าวใหญ่โตนี่ เรือ ไปจอดข้ามเกาะ ลูกไปอยูบ่ นเกาะแล้วไม่ยอมลงเรือ ไปชอบผูห้ ญิง มี ลูกมีเมีย ก็อยู่บนเกาะ ลืมเมืองไทย ถามว่าพวกนี้ที่ไป ไม่มีตายเหรอ ก็ไปถ่ายหลุมทีค่ นไทยตาย ไปกันกีร่ อ้ ยคน ก็เหมือนเขมรอพยพมาเรา นี่ล่ะก็มีตาย เอาข่าวตายมาพูดแล้วก็หาว่าค้ามนุษย์ ไม่ใช่ ที่ลงข่าว มาสองวันว่าสามสิบปีไม่เคยขึน้ ฝัง่ อย่าไปเชือ่ อย่างน้อยขาลีบเดินไม่ ได้แล้ว เรายอมรับอย่างหนึ่ง พวกอวนลากที่ลากกันเป็นปีๆ ถ้าตาย โยนทิ้งน�้ำก็ฝังไม่ได้” ดร.นาวินเสริมว่า “อยู่บนเรือ มีน�้ำกับฟ้า ไปเข้าเกาะสุ่มสี่ สุ่มห้าไม่ได้ ทหารยิงอีก” นอกจากปัญหาแรงงานดังทีก่ ล่าวไป ผูป้ ระกอบการยังเผชิญ กับต้นทุนการผลิตที่ราคาขยับขึ้นสูงทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการต่อเรือ ใหม่หรือการซ่อมแซมเรือเก่า อุปกรณ์และเครือ่ งมือในการหาปลาจับ ปลาแต่ละชนิด เช่น โซนาร์ เรดาร์ อวน และอีกจิปาถะ ขณะที่การ ก�ำหนดราคาไม่ได้ท�ำโดยผู้ประกอบการ แต่ผู้ก�ำหนดทั้งน�้ำหนักและ ราคา คือ “เจ้าของแพปลา” ซึ่งทั้ง ๓ ท่านบอกว่า คือคนที่ได้ก�ำไร ที่แท้จริง ประมงซบเซา มองหาโอกาสใหม่ๆ กับการท่องเที่ยว หลังจากนั่งคุยกันอยู่นาน คุณชัชวาลย์ไม่ทิ้งความเป็นผู้น�ำ ท้องถิน่ หันมาถามว่า “เอาข้อมูลไปแล้วจะมีผลอะไรให้ทางประแสได้ บ้าง ตอนนีก้ จ็ ะมีเรือ่ งการท่องเทีย่ วเพิม่ คนทีเ่ ป็นตัวตัง้ ตัวตีเอาเรือรบ หลวงประแสเข้ามาก็หวังจะน�ำมาขายเพือ่ การท่องเทีย่ ว ตอนนีร้ ฐั บาล ยิง่ ส่งเสริม เราจึงได้มาขนาดนี้ จริงๆ ก็คดิ ว่าตรงนีเ้ ริม่ หอม ท�ำยังไงจะ เก็บความหอมไว้นาน เพราะเราท�ำการท่องเทีย่ ว แต่ยงั บริหารจัดการ

จดหมายข่าว

ไม่ดเี ท่าทีค่ วร ผมเชือ่ ว่าคนในพืน้ ทีเ่ ขาอยูม่ านานเขาไม่ได้นกึ ถึง แต่คน ข้างนอกมา ผมเชื่อว่าเขามองเห็น ประแสถ้าไม่มีท่องเที่ยวก็ป่าช้าดีๆ เช่นเดียวกับทางพังราดที่เผชิญปัญหาเรื่องการท�ำประมงเหมือนกัน” ดร.นาวินในฐานะรองนายกเทศมนตรีต�ำบลปากน�้ำประแส เสริมถึงความเคลื่อนไหวของเทศบาลขณะนี้ว่า “ตอนนี้เรายังไม่ได้ ขายเรื่องข้อมูลชุดประวัติศาสตร์เลย ขายเฉพาะทุ่งโปรงทอง ผมว่า เรื่องของเรื่องคือคนยังไม่เชื่อมั่นว่าประวัติศาสตร์ขายได้ อย่างพวก เรือนไม้อะไรพวกนี้ มีอาจารย์ท�ำวิจัยที่แม่ฮ่องสอนท่านหนึ่งบอกว่า บ้านไม้ที่นี่ไม่เหมือนที่อื่น บานประตูอะไรแบบนี้ ถ้าอยากด�ำเนินการ ปรับปรุงหรือจ�ำลองขึน้ มาต้องให้เทศบาลอุดหนุนเเรือ่ งนี้ แต่เราเองก็ อุดหนุนเขาไม่ได้ เรื่องท�ำชุดบ้านไม้เลยไม่เกิด ผมยังเสียดายว่าถ้าได้ เขามาก็จะขายได้เรือ่ งบ้านไม้ได้อกี ผมว่าการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม ไม่ต้องลงทุน บ้านทะเลน้อยเข้มแข็ง เขาขายประวัติศาสตร์ได้อย่าง พระเจ้าตาก แต่ประแสเหมือนเอาเร็วๆ ก็พยายามจะขายอะไรที่ง่าย ก่อน ผมอยู่กรุงเทพฯ มาพอสมควร มุมมองที่คนพื้นที่มองกับคนข้าง นอกมองตอนนี้ มองคนละอย่าง คนประแส อยากได้แบบคนประแส แต่พอนักท่องเทีย่ วมาก็อยากได้แบบนักท่องเทีย่ ว เลยยังไม่สำ� เร็จ มอง กันคนละชุดการมอง” คุณภาณุกล่าวว่า “ประแสเพิ่งจะมีคนเดินเพราะเป็นแหล่ง ท่องเทีย่ ว ถ้าเราไม่ดงึ แหล่งท่องเทีย่ วเข้ามา ประแสก็ปดิ ประตูเหมือน พังราด เกาะเปริดที่จันทบุรี เคยไปไหม เงียบหมด เกาะเปริดร้าง พังราดก็ร้าง แต่ประแสได้ท่องเที่ยว” แต่ไม่ว่าจะอย่างไรคุณภาณุก็ยังย�้ำว่า “คนประแสรวย ย�้ำ หลายหนแล้ว รวยจริงๆ” ขอบคุณ คุณชัชวาลย์ เจริญพร อายุ ๗๔ ปี ประธานสภาเทศบาลต�ำบลปากน�ำ้ ประแส คุณภาณุ ธนะสาร อายุ ๕๕ ปี ก�ำนันต�ำบลปากน�้ำประแส ดร.นาวิน เจริญพร อายุ ๔๖ ปี รองนายกเทศมนตรี พี่ลูกน�้ำ เจ้าของลูกน�้ำโฮมสเตย์ ผู้ใหญ่เจี๊ยบ เจ้าของร้านผู้ใหญ่เจี๊ยบ ทุ่งโปรงทอง

22

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์



มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมเสวนาสาธารณะเผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ โบราณคดี มาโดย ตลอด ในยุคสมัยที่เทคโนโลยีก้าวไกลทางมูลนิธิฯ จึงมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเผยแพร่ข้อมูล โดยการบันทึกเป็นวิดีโอ สามารถรับชมผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ ทุกเวลา ใช้ชื่อรายการว่า “อดีตในอนาคต” ซึ่งเป็นการเชิญแขกรับเชิญที่อยู่ ในชุมชนต่างๆ นักวิชาการ และผู้คนที่มีเรื่องราวที่น่าสนใจ เฉลี่ย ๑ เดือน ต่อ ๑ เรื่องราว . ที่ผ่านมาการศึกษาข้อมูลของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ เป็นการศึกษาเรื่องราวในอดีต และจะไม่มีประโยชน์เลยหากไม่มีการเปรียบเทียบเรื่องราวในอดีตกับเหตุการณ์ปัจจุบัน เพื่อปรับใช้ ในอนาคต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.