จดหมายข่าว
2
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เปิด ประเด็ น : ศรีศักร วัลลิโภดม ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับการพัฒนาจาก“ข้างใน”
การพัฒนาเศรษฐกิจสังคมตามแผนพัฒนาแต่ละยุคแต่ละ สมัยของรัฐทีผ่ า่ นมา นับแต่สมัยต้น พ.ศ. ๒๕๐๐ ทีน่ บั เนือ่ งกว่าครึง่ ศตวรรษแล้วนัน้ เป็นการพัฒนาทีม่ กั ประกาศเสมอว่า เป็นการพัฒนา แบบวางแผน [Planned change] ทีป่ ระชาชนมีสว่ นร่วม แต่โดยการ ปฏิบตั แิ ละการกระท�ำ เป็นการพัฒนาจากบนลงล่าง [Top down] แบบ บังคับให้เปลีย่ นแปลง [Forced change] ในท�ำนองเดียวกับประเทศ สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ และเป็นการพัฒนาทางเศรษฐกิจล้วนๆ แม้วา่ มีคำ� ว่า “สังคม” พ่วงท้ายอยูก่ ต็ าม เป็นการพัฒนาตามต�ำรา แนวคิด ทฤษฎีที่ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศมหาอ�ำนาจในระบบทุนนิยมเสรี ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากการจัดองค์กรการด�ำเนินการเป็นสภา ทบวง กรม กองต่างๆ ที่บุคลากรได้รับการอบรมมาจากตะวันตก รวมทั้ง กระบวนการในการด�ำเนินการตามขัน้ ตอนต่างๆ จนถึงการประเมินผล การพัฒนาคือการเปลีย่ นแปลงทีเ่ ป็นการปะทะสังสรรค์กนั ของคนสอง กลุม่ กลุม่ ทีจ่ ะไปเปลีย่ นแปลงนับเป็นคนจากข้างนอก คือ จากข้างบน ในระดับการก�ำหนดวัตถุประสงค์ การวางนโยบายและยุทธศาสตร์ให้กบั ข้าราชการผูอ้ อกไปปฏิบตั ติ ามหน้าทีข่ องกรม กอง หรือหน่วยงานทีท่ าง รัฐจัดตัง้ เพือ่ เปลีย่ นแปลงชีวติ ทางเศรษฐกิจ คนอีกกลุม่ ทีอ่ ยูข่ า้ งล่างคือ ประชาชนและผูค้ นในชุมชนท้องถิน่ ทีเ่ รียกกันว่า “คนใน” การพัฒนาของรัฐบาลแบบนีแ้ ทบไม่แลเห็น “คนใน” ทีเ่ ป็น เป้าหมายแท้จริงในการพัฒนาเลย แม้วา่ จะมีการอ้างการมีสว่ นร่วมของ คนในท้องถิน่ ก็ตาม แต่เป็นการน�ำเข้ามาเกีย่ วข้องโดยไม่ให้อำ� นาจในการ ตัดสินใจ [Decision making] โดยย่อก็คอื การพัฒนาโดย “คนนอก” ทีจ่ ะไปเปลีย่ นแปลงโดย ไม่แลเห็นคนใน เพือ่ การยกระดับชีวติ วัฒนธรรมให้อยูด่ กี นิ ดี และมีความ สุขทัง้ ด้านกายและใจ การพัฒนาทีม่ งุ่ แต่เนือ้ หาทางเศรษฐกิจเพือ่ การ มีเงิน มีรายได้เป็นส�ำคัญนัน้ สะท้อนให้เห็นจากนโยบายการเศรษฐกิจ เพือ่ การส่งออก เพือ่ ท�ำให้เกิดรายได้ประชาชาติตอ่ หัว [GDP] ทีท่ งั้ ภาค รัฐและเอกชนร่วมกันด�ำเนินการมาจนทุกวันนี้ เป็นการพัฒนามิตทิ าง เศรษฐกิจทีม่ คี ำ� ว่า “สังคม” เป็นค�ำประดับให้สวยงาม เมือ่ ไม่สนใจใน มิตทิ างสังคมทีห่ มายถึงชีวติ วัฒนธรรมของคนในชุมชนท้องถิน่ ซึง่ เคยอยู่ กันมาช้านาน แต่สมัยสังคมเกษตรกรรมแบบชาวนา [Peasant society] และสังคมเกษตรกรรมแบบกสิกร [Farmer] ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง เปลีย่ น ผ่านมาโดยธรรมชาติ
จดหมายข่าว
สั ง คมชาวนาคื อ สั ง คมของคนในท้ อ งถิ่ น ที่ มี ชี วิ ต ร่ ว มกั น ในชุมชนแบบที่มีมาแต่ดั้งเดิมนับพัน ปี เป็นสังคมที่คนอยู่กันด้วย ความสัมพันธ์ทางครอบครัว เหล่าตระกูลและเครือญาติของคนใน หลายชาติพันธุ์ ต่างศาสนาและที่มาทางประวัติศาสตร์ ซึ่งพากันมา ตัง้ ถิน่ ฐานอยู่ในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน ต่างใช้ทรัพยากรร่วมกันในการอยูอ่ าศัย และท�ำกินอย่างมีความเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ ดูแลทุกข์สขุ กันเพือ่ การมีชวี ติ รอด ร่วมกันของมนุษย์ ในฐานะทีเ่ ป็นสัตว์สงั คม ไม่ใช่สตั ว์เดีย่ ว เช่น สัตว์ เดรัจฉานทีเ่ ป็นปัจเจก ทัง้ หมดนีค้ อื การมีชวี ติ ร่วมกันในชุมชน เป็นชีวติ วัฒนธรรมแบบพอเพียง [Self contain] การพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่มมี ติ ทิ างสังคมทีผ่ า่ นมา เน้นรายได้ ทางเศรษฐกิจด้วยปรัชญาแบบ “งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข” เพือ่ ให้เกิดรายได้ตอ่ หัวทีเ่ รียกว่า GDP คือสิง่ ทีท่ ำ� ลายชีวติ วัฒนธรรม ของผูค้ นในชุมชนท้องถิน่ ทีเ่ คยอยูร่ ว่ มกันเป็นครอบครัว เครือญาติ เหล่า ตระกูลและชุมชน ทีส่ มั พันธ์กบั การจัดการทรัพยากรทัง้ ดิน น�ำ้ และพืช พรรณ สิง่ มีชวี ติ ในนิเวศวัฒนธรรมทีเ่ คยมีอยูร่ ว่ มกันอย่างมีดลุ ยภาพ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบล่มสลาย และผลที่ตามมาก็คือความ ทุกข์ยากของประชาชนทั่วไปในระดับล่าง ท�ำให้สังคมไทยอยู่ ใน สภาพความเหลือ่ มล�ำ้ ในชีวติ ความเป็นอยูร่ ะหว่างคนรวยกับคนจน ทีส่ ว่ น ใหญ่อยู่ในภาวะยากจน หิวโหยและเดือดร้อน แต่การพัฒนาตามแนวคิดและแนวทางของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ นัน้ ทรงพัฒนาจากข้างล่าง จากคนในท้อง ถิน่ ทีป่ ระสบความเดือดร้อนให้มาเชือ่ มโยงกับการพัฒนาจากข้างบนหรือ จากข้างนอก เพือ่ ให้เกิดดุลยภาพระหว่างกัน ทรงมุง่ ทีค่ นในซึง่ อยูร่ วม กันเป็นชุมชนในท้องถิน่ เป็นการพัฒนาทีม่ มี ติ ทิ างสังคม และเป็นการ พัฒนาเศรษฐกิจทีอ่ ยู่ในบริบททางสังคมและสภาพแวดล้อมทีเ่ ป็นนิเวศ วัฒนธรรม ในความคิดเชิงมานุษยวิทยาทีข่ า้ พเจ้าได้เล่าเรียนมา คือ การ พัฒนาแบบองค์รวมทัง้ โลกธาตุ ทีแ่ ลเห็นทุกธาตุสว่ นทีเ่ ป็นองค์ประกอบ ของโลก มี ๖ ธาตุ คือ ดิน น�ำ้ ลม ไฟ อากาศ และวิญญาณ ธาตุที่ หมายถึงสิง่ ทีม่ ชี วี ติ อันได้แก่ คน สัตว์ ต้นไม้ ฯลฯ การมีชวี ติ รอดของ สิง่ มีชวี ติ โดยเฉพาะมนุษย์ทเี่ ป็นสัตว์สงั คมจะด�ำรงอยูไ่ ด้นนั้ ทุกสิง่ ทีเ่ ป็น ธาตุตา่ งๆ ทัง้ ๖ ธาตุนจี้ ะต้องสัมพันธ์กนั อย่างมีดลุ ยภาพ แต่การจะพัฒนาได้นนั้ จะท�ำไม่ได้ผลดีโดยการพัฒนาจากข้าง บน หรือจากภายนอกทีท่ ำ� ตามต�ำราแม่บทและแนวคิดทฤษฎี แต่
3
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ต้องเป็นเรื่องของการลงไปศึกษาเก็บข้อมูลกันในพื้นที่ หรือท้องถิ่น ทีม่ ชี มุ ชนมนุษย์อยู่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ต้อง ทรงตรากตร�ำพระวรกายในการศึกษาเก็บข้อมูล ข้อเท็จจริง ด้วย พระองค์ ในท้องถิ่นที่ประชาชนประสบความเดือดร้อน แล้วน�ำมา วิเคราะห์เพือ่ ก�ำหนดเป็นแนวคิด แนวทาง และวิธกี ารแก้ไข เพือ่ ขจัด ทุกข์ยากและความเดือดร้อนของประชาชน ถ้าธาตุใดที่เป็นสาเหตุ ไม่วา่ จะเป็นดิน น�ำ้ ลม ไฟ อากาศ หรือมนุษย์ สัตว์ ต้นไม้ และสิง่ มี ชีวติ อืน่ ๆ ก็จะทรงพยายามแก้ไขให้ เพราะฉะนัน้ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ความรูค้ วามเข้าใจในการพัฒนา เศรษฐกิจสังคมจากข้างล่าง หรือจากคนในชุมชนในท้องถิ่นตามที่ กล่าวมา พระองค์ตอ้ งทรงริเริม่ และท�ำทุกอย่างด้วยพระองค์เอง ด้วย ทุนทางพระสติปญ ั ญาและพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ โดยไม่คาดหวัง ความร่วมมือจากทางรัฐบาล ซึง่ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาจากข้างบน และข้างนอก ซึง่ เป็นสิง่ ทีท่ รงมีพระราชด�ำรัสว่า “ต้องระเบิดจากข้างใน ก่อน” และการเข้าถึงด้วยแนวทางเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ในเรือ่ งนีท้ รงละไว้ให้เข้าใจกันเองว่า การเข้าถึงคือถึงอะไร ซึง่ ในแนวปฏิบตั ขิ องพระองค์กค็ อื เข้าถึงคน แต่ไม่ใช่เป็นคนในฐานะ ปัจเจก หากเป็นคนทีอ่ ยูร่ ว่ มกันในครอบครัว เป็นตระกูล หมูเ่ หล่า ทีแ่ ม้ จะหลากหลายทางชาติพนั ธุ์ ภาษา และศาสนา แต่อยูก่ นั อย่างเป็นชุมชน ในพืน้ ทีห่ รือท้องถิน่ เดียวกัน ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ก็คอื พระองค์ได้แสดงการเข้า ถึงอย่างไร เป็นตัวอย่าง ด้วยการเสด็จพระราชด�ำเนินด้วยพระบาทลงไป ยังท้องถิน่ เป้าหมาย ด้วยแผนที่ สมุดบันทึก และกล้องถ่ายรูปออกไป เก็บข้อมูล ทีเ่ ห็นได้จากการสังเกต ได้ยนิ ได้ฟงั จากการสังสรรค์กบั ผูค้ น ในท้องถิน่ อย่างเป็นกันเอง อย่างคนธรรมดาที่ไม่แสดงอาการเหลือ่ มล�ำ้ ในลักษณะต�ำ่ สูง ท�ำให้ผคู้ นเกิดความไว้วางใจ เคารพรักและให้ขอ้ มูลที่ เป็นข้อเท็จจริงน่าเชือ่ ถือได้ อัน ที่จริงในการใช้แผนที่ ในการเป็นเครื่องมือเก็บข้อมูล ดังกล่าว ก็มีนักวิชาการและนักพัฒนาท�ำกันอย่างกว้างขวาง แต่มี ความแตกต่างอย่างสิน้ เชิงในการปฏิบตั ิ คนทัว่ ไปส่วนใหญ่ใช้แผนที่ใน ลักษณะแบบนก [Bird eyes view] คือกางแผนทีแ่ ล้ววางแผน หรือ ถ้าหากจะต้องลงพืน้ ทีก่ ท็ ำ� อย่างคร่าวๆ แบบขีม่ า้ เลียบค่ายเลียบเมือง อะไรท�ำนองนัน้ แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ทรง ใช้แบบหนอน [Worm eyes view] โดยเสด็จพระราชด�ำเนินเข้าไปใน พืน้ ที่ ไม่วา่ จะเป็นพืน้ ทีท่ รุ กันดารอย่างไร เพือ่ เข้าไปให้เห็นผูค้ นและสิง่ มีชวี ติ ทีส่ มั พันธ์กบั ดิน น�ำ้ ลม และอากาศ ทีม่ รี ะดับสูงต�ำ่ และระดับ อุณหภูมิที่เป็นจริง จึงทรงเข้าถึงและเข้าใจในปัญหาของความเดือด ร้อนทีจ่ ะต้องน�ำไปวางแผนแก้ไขในการพัฒนา ทัง้ หมดนีส้ ะท้อนให้เห็น จากการด�ำเนินการแก้ไขในเรือ่ งการจัดการน�ำ้ ทัง้ เพือ่ การเกษตรกรรม การป้องกันน�ำ้ ท่วม ฝนแล้ง และการส่งเสริมพืชพรรณต่างๆ รวมทัง้ การ สนับสนุน เลือกเฟ้น เน้นใช้ และประดิษฐ์เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมให้แก่
จดหมายข่าว
4
คนในชุมชนทีจ่ ะต้องพัฒนา ความต่างกันในแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ซึง่ เป็นการพัฒนาจากข้างใน กับการ พัฒนาจากข้างนอกโดยรัฐและเอกชนก็คอื การพัฒนาทีท่ ำ� ให้คนช่วย ตัวเองและท�ำเอง ในลักษณะการเป็นพีเ่ ลีย้ ง แนะน�ำแนวคิด แนวทาง และวิธกี ารทีเ่ ป็นไปได้ รวมทัง้ การช่วยเหลือลงทุนทางเทคนิคและค่าใช้ จ่ายบ้าง โดยใช้พระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ ตลอดจนทรงคิดประดิษฐ์ เทคโนโลยีใหม่ๆ ทีเ่ หมาะสม โดยเสด็จไปแนะน�ำให้ความรูด้ ว้ ยพระองค์ เองตามท้องถิน่ ต่างๆ แนวคิดและแนวทาง ตลอดจนวิธกี ารดังกล่าวเรียก ว่า การสร้างพลังทางสติปญ ั ญาและความรูใ้ ห้แก่ผคู้ น ให้สามารถพัฒนา ด้วยตนเอง ดังทีภ่ าษาอังกฤษเรียกว่า Empowerment การเสด็จลงไปถึงผูค้ นทีจ่ ะต้องพัฒนาในท้องถิน่ ด้วยพระองค์ เอง ก็คอื การเข้าถึงและเข้าใจในความต้องการของคน รูถ้ งึ ศักยภาพ ความรูแ้ ละสติปญ ั ญา และความขัดข้องได้อย่างแจ่มชัด อีกทัง้ ได้ทรง เข้าถึงในเรื่องโลกทัศน์และค�ำนิยมของผู้คนที่เป็นเหยื่อของวัตถุนิยม ที่แพร่หลายจากชนชั้นปกครอง ชนชั้นกลาง ในโลกของทุนนิยมเสรี แบบทางตะวันตก ท�ำให้ต้องทรงพระราชทานแนวคิดและปรัชญา เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น เพื่อให้เป็นรากฐานในการด�ำรงชีวิตอย่าง พอเพียงและมีคุณภาพ ไม่ท�ำให้ผู้อื่นเดือดร้อน โดยความเข้าใจของ ข้าพเจ้าคือ ปรัชญาของความพอเพียงในชีวติ ของปัจเจกบุคคล ซึง่ มีทงั้ ความพอเพียงในทางวัตถุที่ได้ดลุ ยภาพ กับความพอเพียงทางจิตใจ อัน เป็นเรือ่ งของจิตวิญญาณ ซึง่ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า Self-sufficiency เพราะความพอเพียงของแต่ละบุคคลนัน้ ไม่เท่ากัน เป็นความพอเพียง ตามอัตภาพของแต่ละบุคคล อันนี้เป็นพื้นฐานที่จะน�ำไปสู่การพัฒนา เศรษฐกิจพอเพียงในระดับส่วนรวมหรือในระดับชุมชน เพราะมนุษย์คอื สัตว์สงั คม ต้องอยูร่ ว่ มกัน จึงจะมีชวี ติ รอด การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นการพัฒนาชีวติ ความเป็นอยูข่ องคนในชุมชนร่วมกัน ทีท่ ำ� ให้เกิด ความพอเพียงและยัง่ ยืน หรือเรียกว่า sustainable economy หรือ sustainable development คือ พอเพียงและยัง่ ยืนของคนในชุมชนร่วม กัน และตัวอย่างทีเ่ ป็นเลิศในความพอเพียงก็อาจแลเห็นได้จากวิถที างใน การด�ำรงพระชนม์ชพี ของพระองค์จากสือ่ วิดโี อและภาพยนตร์ อีกสิ่งหนึ่งในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ทีม่ งุ่ การพัฒนาจากข้างใน แตกต่างไปจาก การพัฒนาจากข้างบนหรือจากข้างนอกของคนในโลกวัตถุนยิ มแบบตะวัน ตก ก็คอื การพัฒนาทางศีลธรรม จริยธรรม ในมิตทิ างจิตวิญญาณ ซึง่ เป็นเรือ่ งของความเชือ่ ศาสนา ประเพณีและพิธกี รรม ทีแ่ สดงออกให้ เห็นจากการสร้างวัด สร้างโรงเรียนทีพ่ ระองค์ทรงพระราชทานทุนทรัพย์ เสด็จไปเยีย่ มประชาชนและร่วมในประเพณีพธิ กี รรมควบคูก่ นั ไป ตลอด จนเสด็จนมัสการพระอริยสงฆ์และแสดงพระองค์เป็นพุทธมามกะในเรือ่ ง สมาธิและวิปสั สนา ทัง้ หมดนีแ้ ลเห็นจากการให้ความส�ำคัญกับโครงสร้าง
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ความเป็นชุมชนสมัยใหม่ คือ บ้าน วัด และโรงเรียน ทีเ่ รียกกันย่อๆ ว่า “บวร” ทีต่ อ้ งท�ำให้เกิดขึน้ ได้ดว้ ยการเชือ่ มโยง บูรณาการให้สมั พันธ์กบั การมีชวี ติ ร่วมกันของคนในชุมชน ด้ ว ยการบ� ำ เพ็ ญ พระราชกรณี ย กิ จในการพั ฒ นาสั ง คม เศรษฐกิจ เสด็จเยีย่ มประชาชนทีเ่ ดือดร้อนทุกแห่งหนของประเทศ เพือ่ บ�ำบัดทุกข์บำ� รุงสุขแก่ราษฎรด้วยพระสติปญ ั ญาและพระราชทรัพย์สว่ น พระองค์นนั้ ส่งผลให้ทางรัฐและเอกชนขานรับโครงการพระราชด�ำริ เพือ่ การพัฒนาให้เข้าถึงประชาชนกว่า ๔,๕๐๐ โครงการ ตลอดระยะ เวลา ๗๐ ปีทที่ รงครองราชย์ เกิดหน่วยงานทีเ่ ป็นองค์การรองรับมากมาย โดยทรงเฝ้าดูและทรงติดตามตลอดเวลา บรรดาโครงการใหญ่ๆ ทีท่ รง ริเริ่มและได้ด�ำเนินการให้เป็นผลดีแก่ประชาราษฎร์ ที่ส�ำคัญคือการ พัฒนาดิน น�ำ้ ลม และอากาศ เช่น การเปลีย่ นแปลงพืน้ ทีแ่ ห้งแล้ง ดิน เค็ม ขาดน�ำ้ ให้กลับฟืน้ ขึน้ มาเป็นป่าเขาทีม่ คี วามหลากหลายทางชีวภาพ เป็นไร่ เป็นนา เป็นเรือกสวน แหล่งประมงน�ำ้ จืดและน�ำ้ เค็มทีส่ ามารถ เพาะเลีย้ งพันธุป์ ลา สัตว์เลีย้ ง เช่น วัว ควาย และพันธุพ์ ชื ทีม่ ที งั้ ในท้อง ถิน่ ตามธรรมชาติและน�ำเข้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะพืชและไม้ผลฤดู
หนาวทีน่ ำ� มาให้คนบนทีส่ งู ทางภาคเหนือ ซึง่ เป็นชนเผ่าทีอ่ พยพเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานและปลูกฝิน่ เป็นอาจิณ ผลสัมฤทธิก์ ค็ อื คนต่างชาติพนั ธุเ์ หล่านัน้ กลายเป็นคนไทยทีม่ อี าชีพและท�ำมาหากินอย่างสุจริต ณ พืน้ ที่ใดทีป่ ระชาชนทุกข์รอ้ น จะเสด็จพระราชด�ำเนินไปช่วย เหลือและฟืน้ ฟูให้มชี วี ติ ทีด่ ี มีสขุ ภาพและสวัสดิภาพ สิง่ ทีท่ ำ� ให้พระองค์ ทรงเป็นพระมหากษัตริยท์ ี่ไม่เหมือนใครในโลกก็คอื พระราชวังอันเป็นที่ ประทับหาได้มคี วามโอ่อา่ ตระการตาไม่ หากเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของผูบ้ ำ� เพ็ญ กรณียท์ เี่ ต็มไปด้วยพืน้ ทีท่ ดลองพันธุพ์ ชื ต้นไม้ และปศุสตั ว์ รวมทัง้ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สงิ่ ของจากการเกษตรปลอดสารพิษ ออกมา จ�ำหน่ายอย่างมีมาตรฐานในด้านคุณภาพและความปลอดภัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ทรงเป็นทัง้ ผูน้ ำ� และผูป้ ฏิบตั ิ ในความคิดทีป่ ระเทศไทยต้องเป็นสังคมเกษตรกรรมด้วย เศรษฐกิจพอเพียง จึงจะอยูร่ อดในโลกทีก่ ำ� ลังถูกท�ำลาย ด้วยการเป็น สังคมอุตสาหกรรมทีม่ งุ่ การผลิตจนเกินก�ำลังของดิน น�ำ้ อากาศ และ ทรัพยากรทีม่ คี วามหลากหลายทางชีวภาพ ดังทรงเคยมีพระราชด�ำรัส
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ ๙ และพระราชกรณียกิจเสด็จพระราชด�ำเนินเพื่อด�ำเนินงานพัฒนาพื้นที่อย่างจริงจังและรู้ แจ้งตามแนวพระราชด�ำริที่พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยทั่วไป ไม่เฉพาะเพียงข้าราชการ คือการท�ำงานร่วมกับ “คนใน” เพื่อสร้างพลังทางสติปัญญาและ ความรู้ให้แก่ผู้คน ให้สามารถพัฒนาด้วยตนเอง
จดหมายข่าว
5
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ว่า “ไม่จำ� เป็นต้องเป็นเสือ” ให้กบั คนในวงการของรัฐและธุรกิจเอกชน ที่มุ่งความเป็นเสือ ซึ่งเรียกกันว่า นิกส์ [NIC] อย่างเป็นแฟชั่นนิยม จนประสบความล่มจมหมดตัวเมือ่ เกิดเศรษฐกิจฟองสบู่ใน พ.ศ. ๒๕๔๐ พระองค์ทรงสังเกตว่าก่อน พ.ศ. ๒๕๔๑ คนไทยพอมี พอกิน แต่หลังปี พ.ศ. ๒๕๔๑ แล้วไม่พอกินพอเพียง ซึง่ ในช่วงเวลาของ การพอมีพอกินนัน้ ข้าพเจ้าคิดว่าเป็นช่วงเวลาหลังทรงขึน้ ครองราชย์ที่ พระองค์เสด็จไปพัฒนาเศรษฐกิจพืน้ ฐานตามท้องถิน่ ต่างๆ เพราะก่อน หน้านี้ บ้านเมืองแต่สมัยเปลีย่ นแปลงการปกครองเรือ่ ยมาอยู่ในสภาพ ความเหลือ่ มล�ำ้ ระหว่างชนบทกับเมือง ระหว่างชนชัน้ กลางกับชนชัน้ ล่าง ความยากจนจึงเป็นเรือ่ งของการด้อยโอกาสและไม่พอมีพอกิน ในขณะที่ รัฐบาลแต่สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ พัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ความร�ำ่ รวย ทางวัตถุและเงินตรา เพราะเงินคือความปรารถนาสูงสุด พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ทรงพัฒนา “คนใน” ทีเ่ ป็นรากหญ้าให้มชี วี ติ ทีพ่ อมีพอกินในเรือ่ งอาหารและสิง่ จ�ำเป็นในการบริโภคอุปโภค ไม่เน้น
ความร�ำ่ รวยในเรือ่ งเงินตราและวัตถุ แต่ยุคหลังฟองสบู่ที่คนชั้นกลางซึ่งร�่ำรวยเงินตราประสบ ความหายนะ ภาวะความยากจนอันเนือ่ งจากการไม่มเี งินก็ระบาดทัว่ ไป ในบรรดาคนชั้นกลาง และเมื่อเศรษฐกิจดีขึ้นเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ ที่ ทุนนิยมข้ามชาติครอบง�ำประเทศไทย คนรวยที่เป็นชนชั้นกลางกลับ ฟื้นคืนใหม่ ประเทศไทยก็เข้าสู่การเป็นสังคมอุตสาหกรรมอย่างเต็ม ตัว ความเจริญเติบโตเป็นบ้านเมืองทันสมัยทางวัตถุ แต่ไร้ศีลธรรม และจริยธรรมก็เข้ามาแทนทีก่ ารเกษตรกรรม ซึง่ บรรดาอุตสาหกรรม หนักและเบาทัง้ หลาย ท�ำให้คนในสังคมเกษตรกรรมแต่เดิมไร้ทที่ ำ� กิน ผันตัวเป็นแรงงานเข้าไปท�ำงานในเมืองและแหล่งนิคมอุตสาหกรรมที่ แพร่หลายไปแทบทุกท้องถิน่ ทัว่ ประเทศ ท�ำลายสภาพแวดล้อมธรรมชาติ ท�ำให้เกิดความเหลือ่ มล�ำ้ อย่างซับซ้อน จนเกิดความขัดแย้งและความไม่ พอเพียงไปทัว่
ความ ทางสังคมและวัฒนธรรม หลาก : วลัยลักษณ์ ทรงศิริ หลาย
ข้อสังเกตเรื่อง “ความไม่เข้าใจเมืองประวัติศาสตร์กรุงเทพมหานคร”
การศึกษาประวัตศิ าสตร์ไทยส่วนใหญ่เน้นศึกษาประวัตศิ าสตร์ทขี่ าดช่วงไปแล้ว หมายถึงการค้นคว้าเรือ่ งราวในอดีตทีป่ ฏิเสธข้อมูลจาก ความทรงจ�ำร่วมทางสังคมทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั การเขียนเชิงพรรณาประวัตศิ าสตร์ [Historiography] ในยุคหลังสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี แล้วมักถูกเขียนเชิงพรรณาตามล�ำดับช่วงเวลา [History changes over time] หรือถูกเขียนเป็นกรณีๆ ไป เช่น ประวัตศิ าสตร์การต่อสูท้ ำ� สงคราม
จดหมายข่าว
6
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เพื่อปกป้องดินแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจที่ เกีย่ วเนือ่ งกับสนธิสญ ั ญาเบาวริง่ ประวัตศิ าสตร์ในช่วงเปลีย่ นแปลงการ ปกครอง เป็นต้น แต่ประวัตศิ าสตร์ของผูค้ นทีย่ งั อยูส่ งั คมเมืองกรุงเทพมหานคร ในปัจจุบนั นัน้ มีรากเหง้าทีเ่ ต็มไปด้วยความทรงจ�ำของบุคคลและความ ทรงจ�ำร่วมทีถ่ กู เขียนเป็นบันทึกความทรงจ�ำในช่วงเวลาต่างๆ ซึง่ ปรากฏ ตามงานเขียนบันทึกความทรงจ�ำของผูใ้ หญ่หลายๆ ท่าน ทีเ่ ป็นชิน้ งาน ควรค่าเมือง เช่น “เด็กคลองบางหลวง” “กรุงเทพฯ เมือ่ ๗๐ ปีกอ่ น” ของ “กาญจนาคพันธุ”์ เรือ่ งราวสารคดีชดุ กรุงเทพฯ ของ “เทพชู ทับทอง” และของ “เอนก นาวิกมูล” ฯลฯ แต่ สิ่ง ที่ ก ล่ า วมานั้น ยังไม่ได้ถูก น�ำมาใช้เพื่อ การอธิ บ าย ประวัติศาสตร์ของพื้นที่ทางกายภาพ หรือเขียนประวัติศาสตร์ของ กรุงเทพมหานคร [Bangkok historiography] ทีส่ มั พันธ์กบั ชีวติ ทางสังคม ผูค้ นทีอ่ ยูอ่ าศัยกันเป็นชุมชนต่างๆ ที่ไม่ได้แตกต่างไปจากชุมชนอืน่ ใดแต่ อย่างใด ควรถือว่าเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งศึกษาและช่วยกันเขียนประวัตศิ าสตร์ของ คนกรุงเทพฯ ที่ใช้ชวี ติ อยู่ในย่านต่างๆ ของนครหลวงแห่งนีม้ ามากกว่า ๒๐๐ ปีในแง่มมุ ของการพิจารณาใหม่อย่างยิง่ [History rivisionism] กรุงเทพมหานครในพืน้ ทีด่ งั้ เดิมนัน้ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ภายในระยะเวลาเพียง ๕๐ ปีทผี่ า่ นมา จากนครหลวงขนาดเล็ก [Capital city] กลายเป็นมหานคร [Metropolis] ซึง่ ขยายออกไปเป็นกลุม่ ๆ ตามการจัดการที่ดินแบบอสังหาริมทรัพย์ โดยเริ่มมีการควบคุมการ ใช้ที่ดินและจัดการผังเมืองตามมาภายหลัง รวมทั้งการอนุมัติจัดตั้ง คณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นมาควบคุมการใช้พื้นที่ย่านเมือง ประวัติศาสตร์ที่เริ่มน�ำแนวคิดและวิธีการจัดการเมืองมาจากองค์กร ระหว่างประเทศทีด่ แู ลมรดกทางวัฒนธรรม [Cultural heritage] เช่น ยูเนสโก [UNESCO] หรือ “องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ” [United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization] ทีก่ อ่ ตัง้ มาตัง้ แต่หลังสงครามโลก ครั้งที่ ๒ วัตถุประสงค์ก็เพื่อสร้างสันติภาพ ซึ่งจะต้องวางรากฐาน อยู่บนความร่วมมือทางภูมิปัญญา และจิตส�ำนึกของมนุษ ยชาติ มุง่ เน้นการส่งเสริมสันติภาพด้วยการส่งเสริมความร่วมมือของนานาชาติ ด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม เพือ่ ให้ทวั่ โลกเคารพใน ความยุตธิ รรม กฎหมาย สิทธิ และเสรีภาพ ทีม่ นุษย์พงึ มี โดยไม่ถอื เชือ้ ชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา โดยมีทต่ี งั้ อยูท่ กี่ รุงปารีส ฝรัง่ เศส แนวทางการท�ำงานเพื่อพัฒนาของยูเนสโกในยุคหลังเริ่มที่ จะเพิ่มแนวคิดเรื่องการจัดการดูแลรักษามรดกทางวัฒนธรรม [Cultural heritage] แต่กย็ งั ติดอยูก่ บั การดูและรักษาสิง่ ทีม่ องเห็นชัดและ จับต้องได้ [Tangible] เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ สิง่ ปลูกสร้าง ต่างๆ ซึง่ เป็นผลให้ผทู้ ำ� งานในประเทศไทยโดยเฉพาะ “คณะกรรมการ เกาะรัตนโกสินทร์” ทีเ่ ปลีย่ นชือ่ เป็น “คณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์
จดหมายข่าว
7
และเมืองเก่า” ในภายหลังจัดท�ำแผนงานทีเ่ อือ้ ให้เกิดแต่การดูแลรักษา มรดกวัฒนธรรมที่เป็นสิ่งที่มองเห็นและจับต้องได้ โดยไม่ได้ศึกษา พืน้ ฐานของสิง่ ก่อสร้างหรือโบราณสถานต่างๆ ทีป่ รากฏอยู่ในย่านเมือง เก่า กรุงเทพมหานครว่ามีทมี่ าที่ไปอย่างไร และการมองเห็นแต่เพียง สิง่ ทีป่ ระจักษ์แก่สายตาแบบรูปธรรมเช่นนีท้ ำ� ให้เกิดนโยบายทีต่ อ้ งการ “เปิดพืน้ ทีโ่ บราณสถาน” “สร้างพืน้ ทีส่ เี ขียวหรือสวนสาธารณะ” โดย ย้ายผูค้ น ย้ายตลาดบนริมทางเท้าออกไปจากพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ทงั้ หมดโดย ไม่มีข้อแม้ ท�ำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างผู้คนที่อยู่อาศัยที่ต้องถูก โยกย้ า ยไปเพราะการพั ฒ นาหรื อ การกระท� ำให้ เ กิ ด การอนุ รั ก ษ์ เฉพาะหน้าเฉพาะสิง่ ทีเ่ ห็นเท่านัน้ ราวทศวรรษที่ผ่านมา องค์กรยูเนสโกเริ่มให้นิยามของ การพัฒนา “มรดกทางวัฒนธธรรมใหม่ เช่น ในปี ค.ศ. ๒๐๑๑ จาก “What is Intangible Cultural Heritage?” [http://www.unesco.org/ culture/ich/en/what-is-intangible-heritage-00003] โดยนิยามค�ำ ว่า “วัฒนธรรมจับต้องไม่ได้” [Intangible cultural heritage] ให้หมาย ถึงมรดกทางวัฒนธรรมนัน้ ไม่ใช่เป็นการจบอยูท่ โี่ บราณสถานหรือโบราณ วัตถุตา่ งๆ แต่รวมไปถึงประเพณีและขนบธรรมเนียมหรือการอยูอ่ าศัย ที่แสดงถึงมรดกตกทอดที่ ได้สืบผ่านต่อกันมาจากบรรพบุรุษสู่รุ่นลูก หลาน เช่น ประเพณีบอกเล่า [Oral traditions] ศิลปะการแสดง พืน้ ที่ ทางสังคมและการปฏิบตั กิ ารทางสังคม [Social spaces, Social practices] เหตุการณ์เฉลิมฉลอง ความรูแ้ ละความเข้าในในสภาพแวดล้อม ธรรมชาติ หรือความรูแ้ ละความช�ำนาญในการท�ำงานหัตถกรรม จะเห็นได้วา่ นิยามเหล่านีท้ ถี่ กู ชีน้ ำ� จากองค์กรระหว่างประเทศ ถือเป็นแนวทางปฏิบัติสำ� คัญส�ำหรับการพัฒนาและอนุรักษ์มรดกทาง วัฒนธรรมทัว่ โลกรวมทัง้ ประเทศไทยทีก่ ระทรวงวัฒนธรรมเริม่ ใช้คำ� ว่า “มรดกวัฒนธรรมจับต้องไม่ได้” [Intangible cultural heritage] ในการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และการท�ำโครงการอนุรกั ษ์ตา่ งๆ แต่โดยภาพรวมนั้นก็ยังไม่เห็นโครงการอนุรักษ์เมืองเก่า แห่งใดในประเทศไทยใช้นิยามของการอนุรักษ์วัฒนธรรมจับต้องไม่ ได้นี้อยู่ ในจุดมุ่งหมายเพื่อการอนุรักษ์ของตนเองเป็นประเด็นใหญ่ นอกเหนือจากการอนุรกั ษ์อาคารและสถาปัตยกรรมโบราณสถานต่างๆ ในเมือง โดยเฉพาะคณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่าที่ ยังมุ่งเน้นในการสร้างพื้นที่ ใหม่รอบโบราณสถานต่างๆ โดยมีหน่วย งานของรัฐ เช่นกรุงเทพมหานคร ปฏิบตั กิ ารเวนคืนและรือ้ ชุมชนและ จัดระเบียบผู้ค้าทางเท้า และหน่วยงานเช่นส�ำนักงานทรัพย์สินส่วน พระมหากษัตริย์ที่ปฏิบัติการซ่อมแซมอาคารและบ�ำรุงรักษาพื้นที่ซึ่ง อยู่ในอ�ำนาจจัดการ และเป็นไปในทิศทางเดียวกับแนวนโยบายของ คณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่าที่ต้องการเปิดพื้นที่เพื่อ แสดงถึงสถาปัตยกรรมอันสวยงาม
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ble cultural heritage ในกลุม่ สมาชิกประเทศในยูเนสโกเป็นการใหญ่ นับแต่สร้างกรุงรัตนโกสินทร์เป็นต้นมา การเปลี่ยนแปลง ภูมทิ ศั น์ทางกายภาพและทางสังคมวัฒนธรรมครัง้ ส�ำคัญนัน้ เกิดเมือ่ ครัง้ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั บ้านเมืองและชุมชน เกือบทัว่ กรุงเทพมหานครและบริเวณใกล้เคียงก็เปลีย่ นแปลงเข้าสูส่ มัย การเป็นเมืองแบบตะวันตก [Urban space และ Urban community] แม้ว่าวัดและศาสนสถานในระบบความเชื่อยังด�ำรงอยู่ แต่สภาพ แวดล้อมและภูมทิ ศั น์ของเมืองเปลีย่ นไป ความเป็นเมืองทางน�ำ้ ใช้เส้น คมนาคมทางน�ำ้ หมดไปหันมาใช้เส้นทางบก คือการสร้างถนนใหญ่เล็ก ขึน้ มาแทนทีถ่ นนใหญ่ๆ เกิดขึน้ จากการถมคลอง สร้างถนนทับ รวม ทัง้ ล�ำคูคลองทีเ่ คยเข้าไปถึงชุมชนและวัดเพือ่ การไปมาทัง้ เดินเท้าและเรือ ขนาดเล็ก รวมทัง้ เป็นทรัพยากรท�ำเพือ่ การบริโภคอุปโภค เกิดการตัดถนนหนทางซึ่งลบเอาชุมชนเดิมที่ส่วนใหญ่เป็น ชุมชนในกลุม่ ชาติพนั ธ์หลายแห่งออกไปด้วย มีการสร้างทีท่ ำ� การรัฐบาล ลงบนวังเจ้านายแต่เดิมหลายแห่ง รวมทัง้ สร้างวังใหม่ๆ พระราชทาน พระเจ้าน้องยาเธอและพระราชโอรสทรงกรมทีท่ ำ� ประโยชน์แก่บา้ นเมือง และเพิง่ ส�ำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ รวมทัง้ การสร้างพระราชวัง นอกเมือง จนกลายเป็นการขยายพืน้ ทีข่ องกรุงเทพฯ ออกไปยังบริเวณ ปริมณฑลอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน หลังจากนัน้ เป็นต้นมา จนถึงช่วงภายหลังการเปลีย่ นแปลงการ ปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย อัน มีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุข มีการสร้างสถานที่สัมพันธ์กับ สัญลักษณ์และปณิธานของคณะราษฎร ทีต่ อ้ งการสร้างสัญลัษณ์ของ รัฐธรรมนูญอันเป็นอ�ำนาจสูงสุดทีเ่ ป็นของประชาชนหลายประการ และ ละทิง้ การดูแลสภาพแวดล้อมของเมืองแบบเดิม โดยปล่อยทิง้ ไม่ได้ชว่ ย เหลือทางการบ�ำรุงรักษาแต่อย่างใด จนถึงยุคสมัยที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรี ก็พยายามสร้างขนบประเพณีหลวงให้กลับมามีหน้าที่คล้ายดังเดิม และยั ง มี ค วามพยายามอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนถึ ง ปั จ จุ บั น แต่ ส ถาบั น พระมหากษัตริยแ์ ละพระราชวงศ์ตา่ งๆ ถูกเพิกเฉยในช่วงเวลายาวนาน จนหลายสิง่ ทีม่ ผี ลต่อกายภาพของเมืองไม่มกี ารสืบทอดต่อไป เช่น วังของ พระราชวงศ์หลายแห่งกลายเป็นสถานที่ราชการและอยู่ในการดูแล ของส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ ความรูค้ วามสามารถของ พระราชวงศ์หลายพระองค์ที่ได้รบั การศึกษาชัน้ เยีย่ มไม่สามารถน�ำมา บริหารประเทศอย่างต่อเนือ่ งต่อไปได้ การดูแลกรมช่างสิบหมูถ่ กู ยกเลิก ไปและกลายมาเป็นหน่วยงานส่วนหนึง่ ของกรมศิลปากร ท�ำให้ทงั้ งาน ฝีมอื ช่างหลวงและช่างชาวบ้านทีอ่ ยูร่ ายรอบพระนครต้องขาดผูอ้ มุ ถัมภ์ และสูญหายไปมาก แม้จะมีการอนุรักษ์ด้วยหน่วยงานศิลปาชีพบ้าง หรือวิทยาลัยในวังบ้าง แต่เห็นได้ชดั ว่าสูญหายไปตามยุคสมัยช่วงหลัง สงครามโลกครัง้ ที่ ๒ เป็นต้นมา และถูกเบียดขับจากผลิตภัณฑ์ผลิตที
แผนที่ราว พ.ศ. ๒๔๗๔ บริเวณกรุงเทพมหานครชั้นในตั้งแต่แรกสร้างพระนคร และการขยายตัวออกไปในบริเวณแนวล�ำคลองขุดที่เป็นคลองคูเมืองในระยะต่างๆ
ตามความเป็นจริงนั้น ถ้าไม่ต้องเดินตามแนวคิดเพื่อการ อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมของยูเนสโกมากนัก หากแต่ใช้ความคิดในการศึกษา พืน้ ทีต่ า่ งๆ ทางวัฒนธรรมทัว่ ไปก็จะพบว่า การศึกษาสังคมมนุษย์นนั้ มุง่ เน้น “การศึกษาอย่างเป็นองค์รวม” [Holistic] ซึง่ ยึดถือว่าในความเป็น มนุษย์นนั้ ต้องอยูร่ ว่ มกันเป็นกลุม่ ทางสังคม และมีโครงสร้างทางสังคม ต่างๆ ทัง้ การปกครอง เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ในระหว่างเครือญาติ และความเชือ่ ซึง่ สิง่ เหล่านีต้ อ้ งมีความสัมพันธ์รว่ มกันในระหว่างมนุษย์ ด้วยกัน ในระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมและในระหว่างมนุษย์กบั สิง่ เหนือธรรมชาติ (อ้างจากศรีศกั ร วัลลิโภดม) ซึง่ เป็นแนวคิดในการศึกษาสังคมมนุษย์ทมี่ มี านานแล้ว ทัง้ ใน การศึกษาทางมานุษยวิทยา สังคมวิทยา และการศึกษาประวัตศิ าสตร์ และโบราณคดี ทีเ่ ป็นงานด้านมนุษย์ศาสตร์กจ็ ะหลีกไม่พน้ แนวคิดในการ ศึกษารูปแบบดังกล่าว จะเห็นได้วา่ หากมีการศึกษาเป็นองค์รวมแล้ว ก็ยอ่ มไม่จำ� เป็น ต้องแยกออกเป็น มรดกวัฒนธรรมทีจ่ บั ต้องได้และมรดกวัฒนธรรมทีจ่ บั ต้องไม่ได้ ซึง่ น่าจะเป็นการแก้ปญ ั หาทีป่ ลายเหตุหลังจากเกิดการเข้าใจ ผิดท�ำให้สงั คมต่างๆ ศึกษาแต่เพียงงานสถาปัตยกรรม โบราณสถาน หรือโบราณวัตถุ ซึง่ เป็นเพียงหนึง่ ในองค์ประกอบในโครงสร้างทางสังคม และละทิง้ ชีวติ วัฒนธรรมในสังคมของมนุษย์ไปโดยสิน้ เชิง เมื่อเกิดปัญหาขึ้นมากมายต่อสังคมของประเทศต่างๆ ที่มี เมืองเก่าและคงจะเช่นเดียวกับทีก่ รุงเทพมหานครประสบอยู่ จนจ�ำเป็น ต้องมีการปรับตัวใหม่ จึงเกิดนิยามและการเผยแพร่แนวคิดเรือ่ ง Intang-
จดหมายข่าว
8
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ละจ�ำนวนมากจากโรงงานต่างๆ เมือ่ เมืองขยายอย่างใหญ่ออกไปทุกทิศทางและอย่างรวดเร็ว หลังก�ำเนิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติในช่วง พ.ศ. ๒๕๐๒-๒๕๐๔ เป็นต้นมา ส่งผลให้ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง นับแต่ โครงสร้างทางสภาพแวดล้อม ทรัพยากรทุกชนิดถูกก�ำหนดให้นำ� มาใช้ อย่างมาก การส่งเสริมโรงงานจนกลายมาเป็นเขตอุตสาหกรรมและเขต เศรษฐกิจพิเศษในปัจจุบนั สร้างให้เกิดการย้ายถิน่ ฐานอย่างขนานใหญ่ ไม่เว้นแม้แต่ชมุ ชนเก่าในกรุงเทพมหานคร ทีผ่ คู้ นส่วนใหญ่ยา้ ยออกไป จากบ้านทีค่ รอบครัวเคยอยูอ่ าศัยภายในระยะ ๕๐ ปีทผี่ า่ นมา จนท�ำให้ บ้านเรือนเก่าเปลีย่ นสภาพเป็นบ้านเช่า คนจากท้องถิน่ อืน่ มาเช่าเพือ่ อยู่ อาศัยจนกลายเป็นส่วนหนึง่ ของชุมชนไป และไม่มีการควบคุมขอบเขตการก่อสร้างและรูปแบบการ อยู่อาศัยของเมืองที่มีอายุกว่า ๒๐๐ ปีนี้ จนเมื่อมีความพยายามจะ อนุรกั ษ์สภาพแวดล้อมและอาคารตลอดจนโบราณสถานดัง้ เดิมในเขต ย่านเก่าของกรุงเทพมหานครชัน้ ใน โดยจัดตัง้ คณะกรรมการดูแลซึง่ ปรับ เปลีย่ นจนเป็น “คณะกรรมการอนุรกั ษ์กรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า” ที่มีหน่วยงานอยู่ ในการก�ำกับดูแลของกระทรวงทรัพยากรและสิ่ง แวดล้อม และมีหน่วยงานร่วมอีกจ�ำนวนมาก โดยการให้คำ� ปรึกษาจาก ผูท้ รงคุณวุฒทิ สี่ ว่ นใหญ่เป็นสถาปนิกและงานผังเมือง งานโบราณคดี และวิทยาศาสตร์ มีนโยบายอนุรกั ษ์พนื้ ทีแ่ ละอาคารโบราณสถานต่างๆ ในปัจจุบนั เห็นได้ชดั ว่าเน้นการจัดการอนุรกั ษ์มรดกวัฒนธรม ตามนิยามขององค์การยูเนสโกว่าเป็นวัฒนธรรมจับต้องได้ หรือการ อนุรักษ์เฉพาะโบราณวัตถุและโบราณสถานโดยขาดบริบทของชุมชน และความเข้าใจในการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม จึงท�ำให้ ผลทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ไม่เข้าใจและหลงลืมย่านเก่าทีถ่ อื เป็นจุดก�ำเนิดชีวติ ทาง สังคมและเศรษฐกิจของคนกรุงเทพฯ ซึง่ เป็นหัวใจของการจัดการเมือง ประวัตศิ าสตร์ ดังนัน้ สภาพแวดล้อมในปัจจุบนั ของกรุงเทพมหานครในย่าน เมืองเก่านั้น จึงปรากฏเป็นความผิดปกติของเมืองที่กลายเป็นการ อนุรักษ์เมืองเก่าเฉพาะงานสถาปัตยกรรมทั้งที่เป็นของเดิมเฉพาะที่ เห็นได้ชัดเจน เช่น ตึกอาคารต่างๆ โดยไม่รวมอาคารของเอกชนที่ ต้องดูแลด้วยตนเอง และสร้างขึน้ มาใหม่เพือ่ ให้เป็นพืน้ ทีส่ าธารณะเช่น สวนสาธารณะ ทางจักรยาน พืน้ ทางเท้า แต่ละเลยมรดกวัฒนธรรม ด้านอืน่ ๆ การสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ไม่เอือ้ ต่อการด�ำเนินชีวติ ในย่านเมืองเก่า เช่น การย้ายสถานทีร่ าชการทัง้ หมดโดยไม่คดั เลือก ให้คงอยูบ่ า้ งกลายเป็นการย้ายผูค้ นออกจากเมือง เศรษฐกิจจากพืน้ ที่ ตลาดแบบดัง้ เดิมถูกขับให้ออกไป การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างทางสังคม ของคนกรุงเทพฯ ทีท่ ำ� ให้เกิดการอพยพโยกย้ายของผูค้ นเจ้าของพืน้ ที่ ในชุมชนต่างๆ ออกไปจากถิน่ ทีอ่ ยูเ่ ดิม และทิง้ บ้านเรือนให้เป็นพืน้ ที่
จดหมายข่าว
เช่าราคาถูก ท�ำให้เกิดความเสื่อมโทรมจากการไม่ดูแลรักษาเพราะ ไม่มแี นวทางในการช่วยเหลือเพือ่ ให้เกิดการอนุรกั ษ์แต่อย่างใด เป็นต้น เหล่านี้ล้วนท�ำให้เกิดปัญหาต่อเนื่องยาวนานในช่วงระยะ เวลากว่ า ยี่ สิ บ ปี ที่ น โยบายของคณะกรรมการกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ และเมืองเก่าถูกน�ำมาใช้งานจนท�ำให้เกิดปัญหาการไล่รื้อชุมชน ในย่านเก่า ดังเช่นกรณีชมุ ชนป้อมมหากาฬทีเ่ คยอยู่ในละแวกทีเ่ รียกว่า “ตรอกพระยาเพ็ชรฯ” มาก่อนและถูกขอให้ยา้ ยแบบเหมารวมออกไป ทัง้ หมด วัตถุประสงค์กเ็ พือ่ เปิดพืน้ ทีโ่ บราณสถานให้เห็นทางฝัง่ นอกเมือง และเพือ่ สร้างสวนสาธารณะและเพิม่ สีเขียวให้เมืองโดยปราศจากชุมชน ปัญหาใหญ่ของนโยบายนี้คือ การไม่ยอมรับผู้อยู่อาศัยใน ปัจจุบนั ว่าจะสืบทอดมาจากชุมชนดัง้ เดิมเพราะไม่เข้าในประวัตศิ าสตร์ ของชุมชน และไม่สามารถเข้าใจแนวคิดเรื่องการอนุรักษ์ที่ให้ชุมชน ดัง้ เดิมอยูร่ ว่ มกันในพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ได้ ปัญหาพืน้ ฐานทางความคิดเรือ่ ง “ความดัง้ เดิม ความแท้จริง” [Authenticity] ในการอนุรกั ษ์เมืองเก่าของประเทศไทยท�ำให้เกิดความ ขัดแย้งในการอนุรกั ษ์และศึกษาเรือ่ งเมืองประวัตศิ าสตร์หรือย่านเก่า ต่างๆ คือ ผูม้ หี น้าทีอ่ นุรกั ษ์เมืองประวัตศิ าสตร์จะเข้าใจว่า ชุมชนเหล่า นัน้ ต้องสืบสายเลือด สืบตระกูลมาจากคนในยุคสร้างบ้านแปลงเมือง และยังต้องท�ำงานช่างหัตถกรรมต่างๆ เช่นเดียวกับชุมชนในต�ำแหน่งที่ ระบุไว้ในเอกสารทางประวัตศิ าสตร์ ในขณะที่ชาวบ้านที่อยู่อาศัยโดยทั่วไปนั้นทราบและรับรู้ว่า ชุมชนนัน้ มีความเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา [Living community] มีผยู้ า้ ย เข้าและย้ายออกไปโดยเหตุตา่ งๆ กลุม่ คนดัง้ เดิมเป็นใคร และกลุม่ คนที่ ย้ายเข้ามาใหม่คอื ใคร โดยยอมรับผูม้ าใหม่ให้เป็นส่วนหนึง่ ของชุมชนจาก การช่วยเหลือและท�ำกิจกรรมในชุมชนร่วมกันจนกลายเป็นการยอมรับให้ เป็นคนในชุมชนเดียวกัน แต่กลายเป็นรัฐเห็นว่าบุคคลทีย่ า้ ยเข้ามาเป็น บุคคลอืน่ แม้จะอยูม่ านานกว่า ๔๐ ปี โดยมีสทิ ธิเต็มทีต่ ามบทบัญญัติ ตามรัฐธรรมนูญ เช่นในรัฐธรรมนูญทีม่ บี ทบัญญัตเิ รือ่ งสิทธิชมุ ชนฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐ ท�ำให้เกิดปัญหาเมือ่ ต้องพิจารณาว่าชุมชนใดควรถูกไล่รอื้ หรือ ชุมชนใดควรได้รบั การสงวนไว้ และมีสทิ ธิโดยชอบธรรมในทีอ่ ยูอ่ าศัย นัน้ แม้จะไม่ได้เป็นเจ้าของทีด่ นิ ก็ตาม และการประเมินคุณค่าของชุมชน ต่างๆ โดยไม่ศกึ ษาค้นคว้าข้อมูลโดยรอบด้านว่ามีกำ� เนิดและทีม่ าตลอด ช่วงเวลาในประวัตศิ าสตร์ของกรุงเทพฯ อย่างไร เมือ่ ไม่เข้าใจ จึงสนใจแต่เฉพาะสิง่ ทีเ่ ห็นประจักษ์ คือ โบราณ สถานหรือโบราณวัตถุ และสิง่ ทีจ่ บั ต้องได้ ตามองเห็นเท่านัน้
9
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
พระนคร บันทึก
: พจนา ดุริยพันธุ์
บันทึกช่วยจ�ำของ “พจนา ดุริยพันธุ”์ แห่ง “บ้านบางล�ำพู” บ้านดนตรีดุริยประณีตเกี่ยวกับความทรงจ�ำย่านบางล�ำพู และยุครุ่งเรืองของดนตรีแห่งกรุงเทพมหานคร พื้นที่ละแวกวัดบางล�ำพู บริเวณใกล้กับป้อมพระสุเมรุเคย เป็นที่ตั้งของต�ำหนักชั่วคราว กรมพระราชวังบวรสุรสิงหนาท วังหน้า ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ก่อนการสร้างพระบวร ราชวังที่บริเวณใกล้กับวัดมหาธาตุยุวราษฎร์รังสฤษดิ์ ส่วนบริเวณ พิพธิ บางล�ำพูในปัจจุบนั นีเ้ คยเป็นทีต่ งั้ ของวังกรมหลวงจักรเจษฎา พระ อนุชา ซึ่งเคยด�ำรงต�ำแหน่งยกกระบัตรในสงครามเก้าทัพ รับผิดชอบ ไปตีเชียงใหม่ ประตูวงั ของท่านส่วนหนึง่ ยังคงอยูบ่ ริเวณใกล้กบั ตรอก ไก่แจ้ในทุกวันนี้ “วัดบางล�ำพู” มีแต่สมัยอยุธยา สันนิษฐานว่าเคย เป็นที่พักแรมเรือส�ำเภาสินค้าจีน มีพ่อค้าจีน ๓ คน ร่วมสร้างวัดเรียก ว่า “วัดสามจีน” ต่อมากรมพระราชวังบวรสุรสิงหนาทปฏิสังขรณ์ให้ “เจ้าจอมมารดานักองอี” ซึ่งเป็นพระธิดาเจ้าเมืองกัมพูชาและเป็นพี่ น้องกับ “นักองเอง” หรือสมเด็จพระนารายณ์รามาธิบดี ที่บวชเป็นชี พ�ำนักทีว่ ดั นี้ ท่านมีพระธิดาคือ พระองค์เจ้ากัมพุชฉัตร และ พระองค์ เจ้าวงศ์มาลาหรือวงศ์กษัตริย์ ได้สร้างก�ำแพงด้านทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศเหนือ เขื่อนริมคลอง, ศาลาท่าน�้ำ ๓ หลัง ต่อมารัชกาลที่ ๓ ทรงปฏิสังขรณ์วัดบางล�ำพูอีกครั้ง จึงมี รูปทรงอิทธิพลสถาปัตยกรรมจีนเป็นส่วนใหญ่ ในรัชกาลที่ ๔ ทรง ปฏิสังขรณ์พระประธานอุโบสถ และพระราชทานนามว่า “วัดสังเวช วิศยาราม” ตามความหมายคือ สังเวช มาจาก “สังเวคะ” หมายถึง การกระตุ้นเตือน “ความจริงแห่งชีวิต” “วิศยะ” แปลว่าอารมณ์ รวม ความหมาย แล้วคือ “อารามที่อยู่ของผู้มีอารมณ์กล้าแข็งในสัจธรรม หนีห่างชีวิตมัวเมา” แต่บ้างก็แปลความหมายเช่น “สังเวชนียสถาน” ว่าเป็นสถานที่ประสูติ ตรัสรู้ ปฐมเทศนา ปรินิพพาน ราว พ.ศ. ๒๔๑๒ ต้นรัชกาลที่ ๕ เกิดไฟไหม้บางล�ำพูครั้ง ใหญ่ จากถนนสิบสามห้าง ตลาดบางล�ำพู แล้วข้ามฝั่งคลองบางล�ำพู ไหม้วัดสังเวชฯ โปรดเกล้าฯ ให้น�ำไม้ที่สร้างพระเมรุพระราชทาน เพลิง ร.๔ มาใช้ซ่อมแซมวัดด้วย
จดหมายข่าว
10
“วัด วัง ตลาด อยู่ที่ใด คนดนตรีไทยมักตั้งชุมชนอยู่ใกล้ที่นั่น” บริเวณใกล้กับวัดบางล�ำพู มีบ้าน “เจ้าพระยานรรัตนราช มานิต” (โต มานิตยกุล) เจ้ากรมพิณพาทย์หลวง ยุคต้นรัชกาล ที่ ๕ เป็นศูนย์กลางที่คนปี่พาทย์ต้องเข้าใกล้ ไปมาหาสู่ ตั้งอยู่ริม คลองบางล�ำพู ส่วนสะพานนรรัตน์สถานตั้งชื่อตามท่านนั้นสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๘ หลังรื้อประตูเมือง ถัดมาเป็นบ้าน “พระพาทย์บรรเลง รมย์” (พิมพ์ วาทิน) ครูปพ่ี าทย์คนส�ำคัญ มีลกู ศิษย์มาก รวมถึงทายาท ดุ ริ ย ประณี ต ด้ ว ย ในบริ เ วณนี้ น อกฝั ่ ง คลองบางล� ำ พู มี วั ง ของ พระราชโอรสในรัชกาลที่ ๔ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวร ศิววิลาส ซึ่งต่อมา ม.จ. เจ๊ก หรือ ม.จ.ศรีสังข์ นพวงศ์ พระโอรส เปิดโรงละครแสดงเก็บเงินเรียกว่า “วังเจ้าเจ๊ก” ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๔๕– ๒๔๕๖ ต่อจากนั้นจึงเป็นเชื้อพระวงศ์ท�ำโรงละครนี้ต่อ ตลาดบางล�ำพูเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ และเป็นย่าน พลุกพล่านทางการค้าและการแสดงละครอย่างมากเมื่อราวรัชกาล ที่ ๕ สร้างพระราชวังดุสิตใน พ.ศ. ๒๔๔๒ แล้ว จึงมีการตัดถนน จักรพงษ์-สามเสน, ถนนพระอาทิตย์พระสุเมรุ จนท�ำให้ตลาดบาง ล� ำ พู รุ ่ ง เรื อ งกว่ า เก่ า มาก และในปลายรั ช กาลที่ ๕ คนละครปรีดาลัย ซึ่งเป็น คณะละครของกรม พระนราธิปประพันธ์ พงศ์ เช่าวิกตามตลาด เปิดแสดงละครร้องเก็บค่า แสดงจากคนดู
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ศุ ข ดุ ริ ย ประณี ต เป็ น มหาดเล็ ก พิ ณ พาทย์ ใ นรั ช กาล ที่ ๕ ประจ� ำ อยู ่ ที่ วั ง บ้ า นหม้ อ ของเจ้ า พระยาเทเวศร์ ว งศ์ วิ วั ฒ น์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) ที่รับดูแลกรมมหรสพแทนเจ้าพระยานรรัตนฯ ปี พ.ศ. ๒๔๓๖ เย็นค�่ำหลังเลิกงาน ครูศุข หาล�ำไพ่ รับตีปี่พาทย์ ตามโรงละครย่านตลาดบางล�ำพู แถม เชยเกษ นางละครร�ำสังกัด วังเจ้าเจ๊ก พบครูศุขที่บางล�ำพู แล้วแต่งงานอยู่กินด้วยกันในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ แต่เดิมอาศัยเรือนแพของแม่จี่ที่ย้ายขึ้นมาอยู่กับสามี คล้อย เชยเกษ ที่บ้านปี่พาทย์เลขที่ ๑๐๐ คลองล�ำพู หลังวัดสังเวชฯ คล้อย เชยเกษ เป็นครูปช่ี วาจากวังหน้า กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้าย ซึ่งมีฝีมือทางช่างท�ำ เครื่องดนตรี มีคณะปี่พาทย์รับงานบรรเลง แม่จี่ เชยเกษ มารดาแม่ แถม เกิดราว พ.ศ. ๒๔๑๗ อาชีพเดิมค้าข้าวสารจากตาคลีมาที่บาง ล�ำพู ต่อมาจึงตั้งคณะละคร “แม่ลิ้นจี่” ส่งลูกสาวอายุ ๘ ขวบเรียน ร�ำละครตามบ้านขุนนาง เช่น พระภิรมย์ราชาสุทธิภาค พระยาโยธา ไพจิตร และวังเจ้าเจ๊ก ครูคล้อยรับงานปีพ่ าทย์ประจ�ำวัดสังเวชฯ ครูศุข ผู้เป็นลูกเขยมาช่วยงาน เป็นผู้มี อัธยาศัยนอบน้อมใจดีจึงสัมพันธ์กับ พระในวัดได้ดี ขณะนั้นพระปลัด วัน รักษาการเจ้าอาวาส องค์ที่ ๕ ในราวปี พ.ศ. ๒๔๕๑ พระวิ สุทธิสังวรเถร (กล่อม) เป็นเจ้า อาวาสองค์ ที่ ๖ คนในตระกู ล ดุ ริ ย ประณี ต ท� ำ บุ ญ ฟั ง เทศน์ ฟังธรรม สนับสนุนกิจกรรมวัด ถ้อย ทีถ้อยอาศัยกัน ลูกชายของครูศุขและ แม่แถมเรียนหนังสือที่วัดสามพระยาและวัด สังเวชฯ และบวชที่วัดสังเวชฯ ๑ พรรษาทุกคน เหนี่ ย ว ดุ ริ ย พั น ธุ ์ เข้ า มาเป็ น เขยครู ศุ ข ก็ ไ ด้ บ วชที่ วั ด สังเวชฯ ๑ พรรษา เมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ มีสมเด็จ พระวันรัต (ทรัพย์) ทีเ่ ป็นโฆษกมหาเถรฯ เป็นพระอุปชั ฌาย์ และท่าน เป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ ๑๐ ช่วง พ.ศ. ๒๔๗๘-๒๕๒๐ เมือ่ มีงานประเพณี ของวัดจะไปช่วยท�ำปี่พาทย์ เช่น เทศน์มหาชาติ งานสงกรานต์ ส่วน งานศพรับเฉพาะที่จ้างโดยตรง ไม่แย่งวงครูคล้อยที่ผูกประจ�ำอยู่ แม้ จะส่งต่อให้นายชิด เชยเกษ ลูกชายรับช่วงแล้วก็ตาม คนในตระกูลจัดงานศพที่วัดสังเวชฯ เรื่อยมาตั้งแต่ครูช้ัน ดุริยประณีต ที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ครูพุ่ม โตสง่า เสียชีวิต พ.ศ. ๒๔๙๖ ยังน�ำมาทีว่ ดั นี้ ต่อมามีการพัฒนาวัด ตัง้ แต่เจ้าอาวาสเป็น สมเด็จพระวันรัต เมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๕ มีการรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้างเก่าแล้ว ท�ำใหม่ ตัง้ แต่พระอุโบสถทีเ่ คยเป็นแบบจีนก็ทำ� ใหม่ เสนาสนะ หอไตร
จดหมายข่าว
บ่อเต่า รื้อทิ้งแล้วสร้างอาคารใหม่ ก�ำแพงวัดที่เคยสูงไม่ถึง ๒ เมตร พอเห็นสิง่ ต่างๆ ในวัดก็รอื้ ทิง้ สร้างก�ำแพงสูง วัดกับคนในชุมชนรอบๆ จึงค่อยๆ เหินห่างกัน ส่วนวัดสามพระยานั้นไม่มีเมรุเผาศพ แต่มีงานประเพณี พิธีกรรมบ่อยครั้ง เช่น งานบุญ งานบวช เทศน์มหาชาติ งาน ออกพรรษา บ้านดุริยประณีตรับจ้างบรรเลงปี่พาทย์ หากเป็นงาน ประเพณีของวัดจะช่วยงานฟรีๆ ท�ำให้คุ้นเคยกับพระในวัดดี สมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินธโร) เจ้าอาวาสองค์ที่ ๕ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๘๑–๒๕๓๙ สมเด็จฟืน้ เป็นคนอยุธยา เป็นญาติกับย่าทองค�ำ และแม่พูน ที่ท�ำโรงงานตีลูกฆ้องอยู่หลังบ้านตาคล้อย ซึ่งโรงงาน ตีลกู ฆ้องแถบบ้านบางล�ำพู ยังมีเครือญาติอกี ๒ แห่งคือ “จ�ำผูก เขียว วิจิตร” ที่บ้านเนิน บางกอกน้อย และบ้าน “ยายทิ้ง” ข้างกุฎีจีน หลังบวชเณรราวปี พ.ศ. ๒๔๖๕ แม่พนู นิมนต์มาฉันเพลทีบ่ า้ นบ่อยๆ ซึง่ ครูศขุ และแม่แถมร่วมท�ำบุญด้วยจนท�ำให้คนุ้ เคยกับคนบ้าน ดุริยประณีต คราวเมื่อหลังสงครามโลก พ.ศ. ๒๔๘๘ มีคนมาเรียน ปี่พาทย์ที่บ้านบางล�ำพูหลายสิบคน และไม่มีที่พอให้พักนอน ก็ไปขอ สมเด็จฟื้นให้ช่วยหากุฏิพระที่ว่างในช่วงนอกพรรษาหน้าแล้ง ให้เด็ก เรียนปี่พาทย์พักนอน ท่านก็มีเมตตาช่วยเหลือทุกครั้ง สื บ สุ ด ดุ ริ ย ประณี ต (ครู ไ ก่ ) บุ ต รสุ ด ท้ อ งครู สุ ข และ แม่แถม บวชที่วัดสามพระยาคนแรก ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ จากนั้น คนใน ตระกูลก็บวชที่วัดสามพระยาตามมา เช่น ชูใจ ดุริยประณีต สมชาย ดุริยประณีต มนู เขียววิจิตร ฯลฯ งานพระราชทานเพลิงศพ พระธรรมดิลก (ขาว เขมโก) เจ้าอาวาสวัดสามพระยาองค์ที่ ๔ ก็ตั้งเมรุชั่วคราวที่สนามหน้าศาลา สนามสอบเปรียญธรรม มีวงปี่พาทย์ดุริยประณีตไปช่วยตลอดงาน บ้ า นครู โ นรี ปู ่ ข องครู เ หนี่ ย ว ดุ ริ ย พั น ธุ ์ อยู ่ ติ ด กั บ วัดทองนพคุณ คลองสาน หรือที่เรียกกันว่าบางล�ำพูล่าง พื้นเพคน ละแวกนั้นเลยไปถึงวัดอนงคารามเป็นส�ำนักปี่พาทย์ใหญ่มาก่อนบ้าน ดุริยประณีต มีเครื่องดนตรี นักดนตรี มีครูผู้ใหญ่ดูแลคือ ขุนเสนาะ ดุริยางค์ (แช่ม) ในปี พ.ศ. ๒๔๔๙ สมเด็จฯ กรมพระนครสวรรค์ วรพินิต เข้าประทับวังบางขุนพรหม โปรดให้ขุนเสนาะจัดหานักดนตรี จึงน�ำครูโนรีกับศิษย์บางคนเข้าไป เช่น นายอิน คนระนาดเอก เมื่อ ออกพระราชบัญญัตินามสกุล จึงทรงประทานนามสกุล “ดุริยพันธุ์” ให้ครูโนรี ปี่พาทย์บ้านบางล�ำพูล่าง ครูโนรี มีลูกชาย ๖ คน ชื่อ นุช น่วม เนื่อง นุ่ม นาย นวล หญิง ๑ คน ชื่อ ผิน จิตรพันธุ์ ที่มีลูกชายเป็นนักดนตรีฝีมือดี แต่เสีย ชีวติ แต่อายุยงั น้อยด้วยโรคระบาด (กาฬโรค) เป็นเหตุไม่มที ายาทเป็น ผู้สืบทอดกิจกรรมดนตรีไทย ครูเหนี่ยว เป็นหลานปู่ครูโนรี ซึ่งเป็น บุตรครูเนื่องและโกสุม ธิดานายพุฒ รักหน่อทหาร ผู้เป็นเจ้ากรมใน ขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙ พระยาเสนาะฯ บวช 11
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
อุทิศให้ รัชกาลที่ ๖ จ�ำวัดที่วัดทองนพคุณได้ยินเสียงเด็กชายเหนี่ยว ขับร้องในวงครูโนรี หลังจากสึกจึงขอน�ำไปฝึกฝนให้ขบั ร้อง ในทางร้อง ทีท่ า่ นปฏิรปู ขึน้ มาใหม่ ส่งเสริมให้ออกงานจนมีชอื่ เสียง ขณะเดียวกัน ก็รบั เด็กหญิงแช่ม (แช่มช้อย ดุรยิ พันธุ)์ บุตรีครูศขุ -แม่แถม อายุ ๘ ปี เรียนขับร้องอยู่ด้วยกันจนท�ำให้สองท่านรู้จักคุ้นเคย ช่วงเช้าพระยาเสนาะมานั่งสอน ลูกๆ ครูศุข-แม่แถม ที่บ้านดุริย ประณี ต หลั ง ข้ า วกลางวั น จึ ง ลงเรือแจวล่องไปสอน เด็ก ชายเหนี่ยว และคนปี่พาทย์ ที่ บ ้ า นครู โ นรี จนเป็ น ค� ำ คล้องจองที่รู้กันว่า “เช้า นั่ ง บางล� ำ พู บ น บ่ า ยลง บางล�ำพูล่าง” ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๔ เด็กชายเหนี่ยว บรรจุเป็นข้าราชการในวันที่ ๑ กันยายน สังกัดกองปี่พาทย์และ โขนหลวง กระทรวงวังในสมัยรัชกาล แถม ดุริยประณีต ที่ ๗ และครูโนรี ถึงแก่กรรม นักดนตรีกระจัดกระจาย ลูกๆ ตาย เกือบหมด รุ่นหลานไม่มีผู้ใดเก่งกล้าพอเป็นผู้น�ำ หลังเปลี่ยนแปลง การปกครองแล้วจึงน�ำเครื่องดนตรีออกขาย ปิดต�ำนานบ้านปี่พาทย์ “บางพูล่าง” ราว พ.ศ. ๒๔๗๘ ลูกครูศุขและแม่แถม ๕ คน คือ โชติ ชื้น ชั้น เชื่อม แช่ม กับลูกเขย เหนี่ยว โอนงานจากกองปี่พาทย์และ โขนหลวงในรัชกาลที่ ๗ มาทีก่ รมศิลปากร ทีต่ งั้ ขึน้ ใหม่ใน พ.ศ. ๒๔๗๙ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๐ พระยาเสนาะฯ กับคุณหญิงเรือน เป็นเถ้าแก่สู่ขอนางสาวแช่มให้นายเหนี่ยว และครูเหนี่ยวน�ำมารดา ย้ายเข้ามาอยู่ที่บ้านบางล�ำพู เป็นสมาชิกวงดุริยประณีตตั้งแต่นั้น ดนตรีไทยเมือ่ กว่า ๑๐๐ ปี ก่อน อยู่ในอุปถัมภ์ของ วังและวัด หลักฐานทีห่ าได้คอื เมือ่ พ.ศ. ๒๓๙๙ งานสมโภชพระแก้วมรกต มีวง ปีพ่ าทย์เครือ่ งใหญ่ ๑๖ วง ร่วมบรรเลง เจ้านายที่ไม่มชี อื่ วงปีพ่ าทย์ใน หมายถูกกระตุน้ ให้ขวนขวายตัง้ วงปีพ่ าทย์หลายวัง จนปี พ.ศ. ๒๔๓๐ งานฉลองหอพระสมุดวชิรญาณ มีปี่พาทย์เสภาร่วมประโคม ๑๓ วง คนปีพ่ าทย์ ๑๗๙ คน เป็นวงของเจ้านาย ๗ วง ของขุนนางผูใ้ หญ่ ๖ วง ในสมัยรัชกาลที่ ๑ เจ้านาย ขุนนาง ที่มีวงปี่พาทย์ ส่วนมากมักมี คณะละคร (ผู้ชาย) ของตนเอง สืบทอดท่าร�ำละครนอก เมื่อรัชกาล ที่ ๒ พระราชนิพนธ์บทละคร แล้วให้พระอนุชาทรงกรมคิดออกแบบ ท่าร�ำละครหลวง (ผู้หญิง) ท�ำให้มีพัฒนาการต้นแบบการร่ายร�ำที่มี มาตรฐานอ่อนช้อยงดงาม สืบทอดละครต่อมาจนปัจจุบัน รัชกาลที่ ๓ โปรดให้เลิกละครหลวง แต่อนุญาตให้เจ้านายขุนนางมีละครผูห้ ญิงได้
จดหมายข่าว
12
ครูละครหลวงจึงย้ายไปอยู่ตามวังเชื้อวงศ์ขุนนาง เป็นก�ำลังส�ำคัญใน การเผยแพร่และวัฒนาการละครร�ำเป็นล�ำดับมา นักดนตรีล้วนเป็นมหาดเล็ก วงปี่พาทย์สังกัดเจ้านายขุนนาง เหล่านี้ทั้งสิ้น แม้พื้นเพเคยอยู่หัวเมืองมาก่อนแต่ต่อมาก็กลายเป็น คนในพระนคร ส่วนวัดที่มีเจ้าอาวาสชอบปี่พาทย์มักจะสนับสนุนให้ เด็กรอบๆ วัดหัดปี่พาทย์ หาครูเก่งๆ มาสอน เช่น วัดน้อยทอง อยู่ ฝั่งตรงข้ามท่าช้างวังหน้า เจ้าอาวาสขอร้องให้ครูช้อย สุนทรวาทิน ปีพ่ าทย์ชอื่ ดังในสมัยรัชกาลที่ ๔ มาสอนเด็กๆ และปลูกบ้านพักให้ทรี่ มิ แม่น�้ำ ครูช้อยมีความรู้เพลงดนตรีและแบบแผนสืบแต่โบราณ สอน เด็กที่วัดน้อยทองอยู่กว่าสิบคน จนเป็นนักดนตรีที่เก่งกาจและเป็นครู ผู้ถ่ายทอดเพลงไทยสืบช่วงต่อมา นั ก ดนตรี ค นส� ำ คั ญ เช่ น พระยาเสนาะดุ ริ ย างค์ (แช่ ม สุ น ทรวาทิ น ) บุ ต รครู ช ้ อ ย อยู ่ ป ระจ� ำ วั ง บ้ า นหม้ อ ของ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงคฤทธิ์ ส่ ว นคนปี ่ พ าทย์ วั ด น้ อ ยทองอยู ่ สิ บ กว่ า คนถวายตั ว เป็ น มหาดเล็กเรือนนอกในสมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชินนี าถ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช (รัชกาลที่ ๖) ขอพระราชทานไปทั้งวง และทรง ส่งเสริมเป็นวงข้าหลวงในพระองค์ สังกัดกรมมหรสพ ณ วังจันทรเกษม ถนนราชด�ำเนิน ได้บรรดาศักดิ์ อย่างน้อยดังนี้ พระยาประสานดุริยพันธุ์ (แปลก ประสานศัพท์) เป็น เจ้ากรมพิณพาทย์หลวง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๘ พระพิณบรรเลงราช (แย้ม ประสานศัพท์) พระประดับดุรยิ กิจ (แหยม วีณนิ ) หลวงบรรเลง เลิศเลอ (กร กรวาทิน) หลวงพวงส�ำเนียงร้อย (นาม วัฒนวาทิน) หลวงร้อยส�ำเนียงสนธ์ (เพิม่ วัฒนวาทิน) ขุนสังคีตศัพท์เสนาะ (ปลืม้ วีณิน) ขุนเพลินเพลงประเสริฐ (จี่ วีณิน) ขุนเพลิดเพลงประชัน (บุตร วีณิน) ส่ ว นนั ก ดนตรี ช าวบ้ า นส่ ว นใหญ่ ท� ำ ปี ่ พ าทย์ ป ระกอบ ละครนอก ละครชาตรี โขนชาวบ้าน นักดนตรีเหล่านี้ ได้เพลงเก่า สืบทอดมาแต่สมัยอยุธยา บ้างย้ายถิ่นฐานเข้ามาในพระนคร เช่น ครูอุทัย โตสง่า จากอยุธยา ครูข�ำ กลีบชื่น จากสมุทรสงคราม ส่วนเพลงเสภาพัฒนามาจากละครเสภาในพระนคร เช่นเพลง ๓ ชั้น เพลงเถา เกิดขึ้นมากมายนับพันเพลง เพราะผู้คนนิยมปี่พาทย์ ประชันทัว่ ทุกหัวเมืองใช้เพลงเสภาประชัน ปีพ่ าทย์ชาวบ้านต่างจังหวัด จึงส่งลูกหลานเข้ามาเรียนกับครูเก่งๆ ในพระนคร ซึง่ ไม่ใช่เรือ่ งของปี่ พาทย์พระนครรับใช้เจ้านายขุนนาง แล้วไปท�ำลายปี่พาทย์ชาวบ้านที่ นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันเขียนวิจารณ์ แต่ทุกวันนี้ปัจจุบัน นักดนตรี แบบแผนกับนักดนตรีชาวบ้านมีความรู้เพลงดนตรีไทยเท่าๆ กัน ย่านดนตรีวัดสังเวชฯถึงย่านบางขุนพรหม ชุมชนดนตรีไทยย่านบางล�ำพูครอบคลุมตัง้ แต่บางขุนพรหม ตัง้ แต่วดั สังเวชฯ วัดชนะสงคราม วัดบวรนิเวศ บริเวณรอบวัดสังเวชฯ
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
นอกจากบ้านเจ้าพระยานรรัตนราชมานิต (โต มานิตยกุล) กับพระ พาทย์บรรเลงรมย์ (พิมพ์ วาทิน) บ้านครูแคล้ว เชยเกษ เลขที่ ๑๐๐ ปี่พาทย์วังหน้า กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ อยู่มาแต่ต้นรัชกาลที่ ๕ บ้านครูศุข ดุริยประณีต เลขที่ ๘๓ ๘๕ ๘๗ เข้ามาอยู่ปลายรัชกาลที่ ๕ ต่อเนื่องรัชกาลที่ ๖ สมั ย รั ช กาลที่ ๗ มี ก ารแยกขยายเครื อ ญาติ อ อกเป็ น บ้านครูโชติ ดุรยิ ประณีต อยูห่ วั มุมวัดสังเวชฯ ด้านตะวันออก บ้านครูลม่อม อิศรางกูร ณ อยุธยา นักร้องหุ่นกระบอก ที่อยู่ติดกับบ้านครูโชติ บ้านครูชื้น ดุริยประณีต เลขที่ ๑๑๓ อยู่ในซอยแยกไปวัดสามพระยา เมื่อถึงหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วก็มีบ้านเครือญาติ เช่น บ้านครูชุบ ชุ่มชูศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ บ้านครูชม รุ่งเรือง ตรงข้ามบ้าน
สุพจน์ โตสง่า
ครูเหนี่ยว บ้านครูสืบสุด ดุริยประณีต เลขที่ ๑๑๕ ที่ต่อมาเป็นบ้าน ของครูเผชิญ กองโชค บ้านครูเหนี่ยว ดุริยพันธุ์ เลขที่ ๑๑๑ เข้าอยู่ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ เคยเป็นทีพ่ ำ� นักของบ้านครูบญ ุ ยงค์-บุญยัง เกตุคง ครัง้ ตัง้ คณะลิเก “เกตุคงด�ำรงศิลป์” บ้านครูสุพจน์ โตสง่า และครูณรงค์ฤทธิ์ โตสง่ า (ขุ น อิ น ) บ้ า นครู โ องการ (ทองต่ อ กลี บ ชื่ น ) เข้ า อยู ่ ป ี พ.ศ. ๒๔๙๖ เมื่อเป็นหัวหน้าแผนกดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร บ้านวงเครื่องสาย ส่วนใหญ่อยู่ใกล้แม่น�้ำ เช่น บ้านครูหลุยส์ อุณกุ ลุ ฑล วงนายประพาส สวนขวัญ วงนายพุฒ นันทพล วงนายเสนาะ ศรพยัฆ ในสมัยรัชกาลที่ ๖ บริเวณบางขุนพรหม เป็นแหล่งพ�ำนักของ ครูเครื่องสายเพราะอยู่ใกล้วังจันทร์ฯ ซึ่งเป็นที่ท�ำการกรมมหรสพ มี บ้านของหลวงคนธรรมพวาที (จักร จักรวาทิน) หลวงว่อง จะเข้รับ (โต กมลวาทิน) พระสรรเพลงสรวง (บัว กมลวาทิน) อยู่เรือนแถว ไม้ชั้นเดียวที่ถนนวิสุทธิกษัตริย์ฝั่งซ้ายแถวท่าเกษม หลวงไพเราะ เสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) อยู่กับหลวงคนธรรพวาที ต่อมาย้ายไปอยู่ ข้างวัดใหม่อมตรส หลวงพิไรรมยา (ชิต กมลวาทิน) ญาติผู้น้อง
จดหมายข่าว
พระสรรเพลงสรวง ส่วนย่านวัดเอี่ยมวรนุชและวัดใหม่อมตรสลง มา มีบ้านครูมนตรี ตราโมท บ้านขุนสนิทบรรเลงการ (จง จิตตเสวี) และภรรยา นางละเมี ย ด จิ ต ตเสวี บ้ า นครู ป ลั่ ง วรรณเขจร ครูไปล่ วรรณเขจร บ้านครูหงส์ พาทยาวีวะ ในซอยพระสวัสดิม์ บี า้ นครู เตือน พาทยกุล ย่านใต้คลองรอบกรุงมีบ้านครูอุทัย โตสง่า อยู่เรือน แถวริมถนนข้าวสารท�ำปีพ่ าทย์ละครวังเจ้าเจ๊ก และบ้านครูพมุ่ ทีต่ รอก บวรรังษี แหล่งผลิตนักปีพ่ าทย์ ส่งต่อส�ำนักบ้านบาตร ส่วนบริเวณแถบ ซอยรามบุตรีและชุมชนเขียนนิวาสน์มีบ้านครูเครื่องสายหลายบ้าน นั ก ปี ่ พ าทย์ มั ก พ� ำ นั ก อยู ่ บ ริ เ วณใกล้ ค ลองบางล� ำ พู คนเครื่ อ งสายอาศั ย อยู ่ ล ะแวกบางขุ น พรหม ล้ ว นเป็ น นั ก ดนตรี “แบบแผน” ที่ เ รี ย นมาจากวั ง และบ้ านขุ น นาง มั ก มี ค รู เ ดี ย วกั น ไขว้ซำ�้ ทับซ้อน และมักพบปะกันในงานของเจ้านายท�ำให้รจู้ กั คุน้ เคยกัน ดี ตามบ่อนเบี้ยริมคลองรอบกรุงนอกก�ำแพงเมือง ตั้งบ่อนเบี้ย จ้าง มโหรีปี่พาทย์ การละเล่น เรียกคนให้เข้าบ่อน หลวงไพเราะฯ เคย เล่าว่าไปสีหน้าโรงบ่อนตอนเด็กๆ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ เลิกบ่อนเบี้ย นักดนตรีจึงหันไปรับงานตามโรงละครร้อง วิกลิเก ในสมัยรัชกาลที่ ๖ คนปี่พาทย์ คนเครื่องสาย เข้าท�ำงาน ร่วมกันในกรมมหรสพที่วังจันทร์เกษม จนกระทัง่ โอนไปกรมศิลปากร ในช่วงหลังเปลีย่ นแปลงการปกครอง จึงร่วมสุข ทุกข์ด้วยกัน มีความ สนิทสนมคุ้นเคยกันยิ่งขึ้นเมื่อรับงานมโหรี ผสมปี่พาทย์และเครื่อง สาย ต่างจะจ้างหาระหว่างกัน ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันเมื่อ เดือดร้อน เช่นครั้งเพลิงไหม้แถววัดใหม่หลังวัดตรีทศเทพ ไม่มีที่ อยู่อาศัย จึงได้น�ำครอบครัวบางส่วนไปฝากอาศัยชั่วคราวตามบ้าน ปี่พาทย์ที่เกี่ยวดองทางเครือญาติระหว่างกัน เช่น ครูเฉลา บุตรี พระพาทย์บรรเลงรมย์ (ศิษย์ขบั ร้องพระยาเสนาะฯ) สมรสกับครูปลัง่ วรรณเขจร ครูเครื่องสายย่านวัดใหม่ ครูอนันต์ ดูรยชีวิน กับ ครู ละม่อม สวนรัตน์ น้องสาวนางสนิทบรรเลงการ ฯลฯ ส�ำนักปี่พาทย์บ้านบางล�ำพู คณะดุริยประณีต เป็นส�ำนัก ดนตรีครบวงจรมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๖๙ ซึ่งนับจากพระยาเสนาะฯ เกษียณอายุราชการและรับเป็นครูผู้ใหญ่ประจ�ำบ้าน มีที่ตั้งส�ำนัก ดนตรีเป็นหลักแหล่ง ณ บ้านเลขที่ ๘๓ แห่งนี้ตลอดมา เจ้าของ ส�ำนักมีชื่อเสียงในฝีมือความรู้ ความตั้งใจจริง มีคุณธรรม ที่ผู้คนในวงการนับถือ ระบบบริหารจัดการดี มีนักดนตรี ที่มีฝีมือเป็นที่รู้จักจ�ำนวนมากพอ เพราะมีทายาทนัก ดนตรี นักร้อง ๑๐ คน มีศิษย์เก่งๆ กว่า ๒๐ คน
13
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เปิดสอนแบบโบราณ มีที่อยู่ที่นอนให้ศิษ ย์อาศัยเรียนได้ตามพอใจ เป็นระบบพ่อครู แม่ครู บุพการีต่อเนื่อง มีครูผู้มีความรู้เพลงดนตรี สูงพร้อมสอนศิษย์ได้ทุกระดับ มีครูผู้ใหญ่ดูแลแบบแผน มีเครื่องปี่ พาทย์มากพอให้ศิษย์ได้เรียนทุกเครื่องมือ รับงานพร้อมกันได้หลาย วง มีโรงงานผลิตเครื่องปี่พาทย์คุณภาพสูงจ�ำหน่ายและใช้เอง มีชื่อ เสียงเป็นที่รู้จักมากพอมีคนจ้างหาไปบรรเลง ศิษย์ออกภาคสนาม ทั้ง มีรายได้ มีงานเต็มทุกสัปดาห์ ปี พ.ศ. ๒๔๗๓ มีการประชันวงที่วังลดาวัลย์ ๓ วง หน้า พระที่นั่ง ครูชื้น ดุริยประณีต ถูกก�ำหนดตัวให้ตีระนาดเอกประลอง หน้าพระที่นั่ง รัชกาลที่ ๗ ในนาม “วงหลวง” ต้นสังกัด เป็นจุด เปลีย่ นส�ำคัญท�ำให้บา้ นดุรยิ ประณีตเปลีย่ นจุดขายจากดนตรีพธิ กี รรม เป็น “ปี่พาทย์ประชันวง” แม่แถมมีหัวการค้าขาย กล้าได้กล้าเสีย คาดการณ์วางแผนล่วงหน้า เปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาส เร่งหาครู ปีพ่ าทย์ประชันฝีมอื ตีเข้ามาสอน อาศัยชือ่ ครูชนื้ ในงานประชันครัง้ นัน้ ไม่นานก็เป็นทีร่ จู้ กั ในวงการปีพ่ าทย์ประชันวง มีผจู้ า้ งหาไปประชันทัง้ ในพระนครและหัวเมือง หลังงานพระราชทานเพลิงศพสมเด็จพระศรี พัชรินทราฯ มีปี่พาทย์มอญบรรเลง เจ้านายขุนนางชมชอบจ้างหามา ใช้บ้าง แม่แถมส่งบุตร ๓ คน คือ โชติ-ชื้น-ชั้น ไปกินนอนเรียน เพลงมอญถึงถิ่นปากเกร็ด สามโคก ปทุมธานี ปากลัด ได้เพลงกลับ มามาก น�ำมาพัฒนาท�ำทางร้องใส่เนื้อร้องภาษามอญภาษาไทย ผู้คน นิยมจ้างหาไปประโคมศพกว้างขวาง พ.ศ. ๒๔๘๒ เข้ายุคมืดการดนตรีไทย รัฐออกประกาศนิยม ๑๒ ฉบับ ห้ามใช้ชื่อเพลงต่างชาติ ๕๙ เพลง บ้านดุริยประณีตกระทบ บ้างจากงานจ้างหาน้อยลง แต่เพราะมีทายาทในกรมศิลปากร ๖ คน ช่วยพยุงไว้ มีฐานะพอตัว แม่แถมลงทุนซื้อบ้านที่ดินไว้หลายหลัง รับจ�ำนองจ�ำน�ำทรัพย์สนิ ปล่อยเงินกู้ ช่วงระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๕-๒๔๘๘ สงครามโลกครัง้ ที่ ๒ เข้าไทย กิจกรรมดนตรีไทยดุรยิ ประณีตกระทบ หนัก ลูกผูห้ ญิงและเด็กต้องอพยพไปอยูท่ อี่ ยุธยา ลูกชายอยูท่ ำ� ราชการ พลัดกันเฝ้าบ้านเฝ้าเครื่องดนตรี สังคมไทยเปลี่ยนแปลงตามเศรษฐกิจ ผู้คนให้ความส�ำคัญ กับการศึกษามากขึ้น ลูกครูศุขและแม่แถม ต้องการให้ทายาทเรียน สูงๆ มีอาชีพก้าวหน้าด้านอื่นๆ เป็นปัญหาการสืบทอดคนปี่พาทย์ ทายาทขาดแคลน แต่ลูกครูศุขและแม่แถม ไม่ส่งเสริมให้เรียน ปีพ่ าทย์ จนแม่แถมบังคับอายุครบเกณฑ์ตอ้ งจับมือเรียนเพลงโหมโรง เป็นอย่างน้อย หรือเรียนเพลงมอญพอใช้งานประโคมพิธกี รรมได้ แม่ แถมแอบหลอกล่อให้รางวัลหลานๆ ที่หลบพ่อแม่มาต่อเพลงปี่พาทย์ เรียนขับร้อง ถือมีก�ำลังทรัพย์เหนือกว่า การขัดขวางจึงไม่ได้ผลนัก มีหลานๆ หลุดรอดไปเอาดีทางเรียนหนังสืออย่างเดียวได้น้อยนักและ เอาดีทั้งสองทางมีมากกว่า พ.ศ. ๒๕๑๕ แม่แถมถึงแก่กรรม หลาน
จดหมายข่าว
14
รุ่นที่ ๓ ลงมาได้ดีทางการศึกษามากขึ้น ส่วนคนเรียนปี่พาทย์น้อยลง ในทางกลับกัน ส�ำหรับวิธกี ารท�ำให้ดนตรีไทยถูกสืบทอดต่อไปยังคนรุน่ หลัง คือ อย่างแรกต้องสร้างนักดนตรีมีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถ มี ปริมาณเพียงพอ อย่างที่สอง เก็บเกี่ยวความรู้เพลงดนตรีพิธีกรรม เพลงโขนละคร เพลงเสภา เพลงมอญ สะสมไว้ในบ้าน อย่างที่สาม ถ่ายทอดวิชาจากครูผู้ทรงความรู้สูง มีชื่อเสียง สะสมทักษะจากครูผู้ มีฝีมือเฉพาะทาง อย่างที่สี่ ถ่ายทอดส่งต่อภายในตระกูลจากรุ่นสู่รุ่น ศิษย์ การวางตัวผู้น�ำจิตวิญญาณ อย่างที่ห้า การบริหารจัดการ การ ตลาด จุดขาย ยืดหยุ่นตามสมัยนิยม สภาพแวดล้อมสังคม เศรษฐกิจ อย่างทีห่ ก การเผยแพร่ทางวิชาความรู้ และการเผยแพร่ทางแสดงออก ตามงาน สือ่ สังคมทุกแขนง ติดหูตดิ ตาผูค้ นบ่อยครัง้ ได้ผลทางอนุรกั ษ์ สืบทอด พัฒนาการ และรักษามรดกวัฒนธรรมไทยยาวนานออกไปได้ เสมอ รูปธรรมการปฏิบัตินั้น ครูศุข ดุริยประณีต เป็นครูคนแรก จับมือ (พิธีฝากตัว) ให้ลูกหลานทุกคน เมื่อเห็นว่าพร้อมรับในราว อายุ ๘-๑๐ ปี สอนให้ตีฆ้องใหญ่เพลงโหมโรง เริ่มเพลงสาธุการ เรื่อยไปจนครบ แล้วถึงสอนแยกเฉพาะเครื่องมือเบื้องต้น แม่แถม ส่งเสริมลูกหลานให้ไปเรียนกับครูเก่งๆ เฉพาะทาง เช่น ปี่ ระนาด เอกเรียนกับพระยาเสนาะฯ ระนาดทุ้มและเครื่องหนังกับพระพาทย์ บรรเลงรมย์ เรียนฆ้องวงกับหลวงบ�ำรุงจิตรเจริญ เรียนโน้ตสากล กับขุนส�ำเนียงชั้นเชิง เรียนเพลงโขนละครกับพระยาและคุณหญิง นัฎกานุรักษ์ หม่อมจันทร์ กุญชร หม่อมต่วน วรวรรณ เรียนขับร้อง กับพระยาเสนาะดุริยางค์ พระยาภูมีเสวิน ขุนระทึก แม่ส้มแป้น ครู กิง่ ทัง้ ยังส่งลูกชาย ๓ คน ไปเก็บเกีย่ วเพลงมอญถึงถิน่ ทีต่ งั้ ปากเกร็ด สามโคก ปทุมธานี ปากลัด และบางกระดี่ ในบ้านดุรยิ ประณีตมีการถ่ายทอดกันเองระหว่างลูกสูล่ กู ลูก สู่หลาน หลานสู่หลาน สืบทอดส่งต่อกันไม่ขาดสาย ลูกคนใดเรียนรู้ มาเท่าใด กลับบ้านต้องมาถ่ายทอดให้น้องๆ และ หลานๆ ได้เรียนรู้ ต้องมาปฏิบัติทบทวนให้ฟังทุกวัน สอนทานความรู้ดูความตั้งใจ ท�ำดี ให้รางวัล ท�ำได้ไม่ดีถูกท�ำโทษ และจัดหาครูผมู้ ชี อื่ เสียงมาสอนทีบ่ า้ น เมือ่ “รุน่ ลูก” ท�ำงาน ราชการ ไม่มีเวลาว่างพอสอน “รุ่นหลาน” ก็มีครูหงส์ บ้านปี่พาทย์ ซอยพระสวัสดิ์ มาสอนเพลงช้า เพลงเรื่องได้ครูทองอยู่ คนระนาดวง โรงงานสุราบางยี่ขันสอนเครื่องหนัง หน้าทับพิเศษ ขุนส�ำเนียงชั้นเชิง (มน โกมลรัตน์) สอนทุกอย่างรวมทั้งเขียนโน้ตและสอนเครื่องหนัง หลวงบ�ำรุงจิตเจริญ (ธูป สาตนะวิลัย) สอนฆ้องวงใหญ่ พระประณีต วรศัพท์ (เขียน วรวาทิน) ความรูเ้ พลงดนตรีสงู มากและเป็นกรรมการ ประชันด้วยสอนระนาดเอก และระนาดทุ้ม พระพาทย์บรรเลงรมย์ (พิมพ์ วาทิน) สอนเครื่องหนัง สอนระนาดทุ้ม ครูพุ่ม บาปุยะวาทย์
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ส่งเสริมไปเรียนกับครูตามบ้าน เช่น ครูสอน วงฆ้อง ครูเทียบ คงลายทอง ครูพริ้ง ดนตรีรส ครูนพ ศรีเพชรดี ต่อมาใช้ศิษย์ดุริยประณีต ช่วยสอนรุ่นหลานต่อๆ มา เช่น ครูบุญยงค์ เกตุคง ครูตู๋ (หม่อมหลวงสุรักษ์ สวัสดิกุล) มีการตัง้ วงปีพ่ าทย์ทดแทนรุน่ สูร่ นุ่ สอดรับช่วง เช่นรุน่ พ่อวง ครูศขุ บางล�ำพู นักดนตรีมเี พือ่ นจากวังบ้านหม้อ กรมมหรสพ ร่วมวง รุ่นลูก มีครูโชติ ครูชื้น ครูชั้น ดุริยประณีต ครูเหนี่ยว ดุริยพันธุ์ นักร้อง ครูเชื่อม ครูแช่ม ครูชม ครูทัศนีย์ ครูสุดจิตต์ ดุริยประณีต รุ่นหลานรุ่นแรก พ.อ. วิชาญ ดุริยประณีต ด�ำรง เขียววิจิตร ประไพ ฉัตรเอก นักร้อง ครูวิเชียร ดุริยประณีต รุ่นลูกหลาน ครูไก่ (สืบสุด ดุริยประณีต) ครูสมชาย ดุริยประณีต ครูสุพจน์ โตสง่า ร่วมด้วย ศิษย์ ครูบญ ุ ยงค์ เกตุคง ครูสมาน ทองสุโชติ ครูจำ� เนียร ศรีไทยพันธ์ ครูสมบัติ สุทิม ครูแจ้ง คล้ายสีทอง ครูสุชาติ คล้ายจินดา ครูเผชิญ
ครูโชติ ครูชื้น ครูชั้น ดุริยพันธุ์
กองโชค ครูสมพงษ์ นุชพิจารณ์ นักร้อง ครูสุรางค์ ครูดวงเนตร ดุริยพันธุ์ ครูจ�ำรัส เขียววิจิตร ครูศิริ วิชเวช รุน่ หลานทีเ่ ป็นดุรยิ ประณีตรุน่ เล็ก มีนฤพนธ์ ดุรยิ พันธุ์ พจนา ดุรยิ พันธุ์ ปรีชา ชุม่ ชูศาสตร์ มนัส เขียววิจติ ร ดุรยิ ประณีตรุน่ จิว๋ ทีเ่ ป็น รุ่นหลานมี ครูสืบศักดิ์ ดุริยประณีต ครูทัศนัย พิณพาทย์ ครูธีรศักดิ์ ชุ่มชูศาสตร์ ครูอ�ำนวย รุ่งเรือง ร่วมด้วยศิษย์ครูนิกร จันศร ครูจงกล พงษ์พรหม ครูเฉลิม เผ่าละมูล นักร้อง ครูพจนีย์ ครูวาสนา รุ่งเรือง ซึ่งเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนในส�ำนักต่อ เนื่องตลอดมาจนปัจจุบัน บ้านดุริยประณีตจัดพิธีกรรมไหว้ครูประจ�ำปี ณ ส�ำนัก ปี่พาทย์ดุริยประณีต ทุกปีเพื่อรักษาประเพณีพิธีกรรมของดุริยาง คศิลปินไทย ร�ำลึกพระคุณครูผู้สอนสั่งวิชาความรู้ พระไตรรัตน์ บุพการี ครูเทพ ครูมนุษย์ ครูพักลักจ�ำ ความสามัคคี สมาชิกใน ตระกูล ครู ศิษย์ นักดนตรี นาฏศิลป์ในวงการ ร่วมพบปะแลกเปลีย่ น ประสบการณ์ความรู้ โองการศักดิ์สิทธิ์ที่อ่านอัญเชิญพระพุทธะ เทพยดา ดุรยิ เทพ ในพิธเี ท่ากับประจุสงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิส์ จู่ ติ วิญญาณ เชือ่ มัน่
จดหมายข่าว
ยุคครูสุดจิตต์ ดุริยประณีต เห็นพระราชจริยวัตรสมเด็จ พระเทพรัตนฯ ทรงรักชอบดนตรี ไทยด้วยน�้ำพระทัยแท้จริง ท�ำให้ ผู้คนหัน มาสนใจดนตรี ไทยมากขึ้น จึงอยากสนองให้อีกทางหนึ่ง ครูสดุ จิตต์เห็นว่า ปีพ่ าทย์ประชันจ�ำกัดอยู่ในวงแคบๆ รูก้ นั เฉพาะผูน้ ยิ ม หากมองกว้างออกไปเห็นคนมารักชอบเล่นดนตรี ไทยมากขึ้นเป็น จ�ำนวนหมื่นแสน จึงเปลี่ยนจุดขายจากวงปี่พาทย์ประชันมาเน้นการ เผยแพร่ ให้ความรู้แทน สถาบันการศึกษาทุกระดับให้ความส�ำคัญ เปิดหลักสูตร ตั้งชมรมดนตรีไทย ครูบ้านดุริยประณีตกระจายออก สอน บ้านดุรยิ ประณีตเปิดกว้างให้ผสู้ นใจทุกเพศทุกวัยเข้าไปหาความรู้ พร้ อ มถ่ า ยทอดให้ ทุ ก ระดั บ ฝี มื อ และสื บ เนื่ อ งมาจนทุ ก วั น นี้ แ ม้ ครูสุดจิตต์ ดุริยประณีตจะสิ้นชีวิตไปแล้ว บ้านดุริยประณีต ตั้งปณิธานจะอยู่ที่บ้านบางล�ำพู เป็น ส�ำนักดนตรีไทยไปจนกว่าครบ ๑๕๐ ปี หรืออีกราว ๓๐ ปีข้างหน้า เพราะยังมีก�ำลัง มีนักดนตรีรุ่นหลานอีกมากมายทยอยกันพัฒนา ฝีมือความรู้ขึ้นมาทดแทน เมื่อหนีไม่ได้ จ�ำเป็นต้องอยู่กับคนรุ่นใหม่ คนต่างชาติ ก็ตอ้ งปรับยุทธศาสตร์หาประโยชน์ทำ� มาหากินกับนักท่อง เที่ยว ซึ่งกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ เป็นไปในทางเผยแพร่ อนุรักษ์ ต้องไม่ ท�ำความเสื่อมเสียถึงการสังคีตไทย ไม่ท�ำในลักษณะหวังก�ำไรสร้าง ความร�่ำรวย ขอเพียงแต่พออยู่ได้ การด�ำเนินชีวิตในสังคมเปลี่ยนไปรวดเร็ว ชุมชนบางล�ำพู ที่เคยมีคนรุ่นเก่าที่ ใช้วิถีชีวิตร่วมกันอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย จิตใจ เกือ้ กูลหมดไป ชีวติ ทีต่ อ้ งแข่งขันต่างคนต่างอยูเ่ ข้าแทนที่ จิตวิญญาณ ร่วมในประเพณีชุมชนถูกทอดทิ้งแทบไม่เหลือให้เห็น สิ่งปลูกสร้าง วัง บ้านเก่า วัด ที่งดงาม ร่มครึ้มด้วยแมกไม้ถูกรื้อทิ้งสร้างแท่งอิฐ อุดอู้ทดแทน รัฐเร่งส่งเสริมการท่องเที่ยวหวังน�ำเงินเข้าหมุนเวียน เศรษฐกิ จ แต่ ไร้ ร ะบบควบคุ ม ที่ ดี ห รื อ เหมาะสมกั บ สภาพชุ ม ชน รัฐทุ่มงบประมาณมากมายเอาใจท่องเที่ยวมองมิติเพียงขยายความ เจริญทางวัตถุ ความสะดวก ขณะเดียวกันละทิ้งความสัมพันธ์ของ ผู้คนที่อยู่ก่อนในชุมชน คิดแต่ระบบแข่งขัน “อยู่ได้อยู่ไป อยู่ไม่ได้หนี ไป” รัฐไม่มองชีวิตเป็นอยู่ของผู้คนในชุมชนเมืองเก่าที่บอกเล่าจารีต ประเพณี ลัทธิความเชื่อ ที่ส่งต่อถึงงานศิลปกรรมได้ สังคมในชุมชนหลังวัดบางล�ำพูหรือวัดสังเวชฯ แห่งนี้ คนเก่า ล้มตาย คนใหม่ย้ายเข้ามา คนดั้งเดิมขายบ้านและที่ดินให้นักลงทุน ซื้อท�ำห้องเช่า เกสท์เฮ้าส์ โรงแรมให้คนนอกเข้าพัก สร้างร้านอาหาร บริการนักท่องเที่ยว จากถนนข้าวสาร รามบุตรี พระสุเมรุ รุกข้าม ฝั่งคลองรอบกรุงถึงชุมชนนี้หลายปีแล้ว บ้านนักดนตรีปี่พาทย์ขาย ทิ้งไปแทบหมด เหลือแต่บ้านดุริยประณีตหลังนี้กับเครือญาติคือบ้าน ครูเหนี่ยวเท่านั้น
15
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
คนย่านเก่า : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
มัสยิด
หลวงโกชา อิศหาก และตระกูลสมันตรัฐ ในท่ามกลางย่านการค้าท่านํ้าราชวงศ์
ผมชื่อชัยรัฐ สมันตรัฐ ตอนนี้อายุ ๗๕ ปี เกิดที่จังหวัดสตูล แต่มาเติบโตอยู่ที่กรุงเทพฯ ผมเป็นรุ่นหลานของหลวงโกชา อิศหาก ชื่อเดิม “เกิด บิลอับดุลลาห์” ท่านเป็นปู่ผม ผมเป็นหลานคนสุดท้อง แล้ว หลวงโกชา อิศหาก ท่านเป็นชาวไทรบุรี ซึง่ เดิมก็เป็นของเมืองไทย ต่อมาก็ไปรวมกับสหพันธรัฐมาเลเซีย และอพยพมาอยู่กรุงเทพฯ ใน ปลายรัชกาลที่ ๑ เท่าที่รู้ท่านล่องเรือมาจากไทรบุรี แล้วก็มาพ�ำนักอยู่ที่ธนบุรี แถบคลองบางกอกใหญ่ใกล้กบั มัสยิดต้นสน จากนัน้ จึงย้ายมาอยูแ่ ถบ บางล�ำพูล่างซึ่งคือบริเวณซอยเจริญนคร ๒๑ ในทุกวันนี้ครอบครัวผม เป็นครอบครัวใหญ่ปลูกบ้านอยู่รวมๆ กันพื้นที่ราว ๑๖ ไร่ ท่านรับราชการในสังกัดของกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์หรือ รัชกาลที่ ๓ ในเวลาต่อมา ต�ำแหน่งนายเรือเรียกว่า “นาโกดา” คนทั่ วไปจึ ง เรี ย กท่ า นว่ า นาโกด อาลี ในต� ำ แหน่ ง ล่ า มสั ง กั ด กรมท่ า ขวา รั บ ราชการจนได้ บ รรดาศั ก ดิ์ เ ป็ น คุ ณ หลวง และ ยั ง ท� ำ หน้ า ที่ ติ ด ต่ อ กั บ ชาวต่ า ง ประเทศ โดยเฉพาะชาวมลายู ที่น�ำเครื่องราชบรรณาการ ต้ นไม้ เ งิ น ต้ นไม้ ท องมา ทูลเกล้าฯ ถวายกษัตริย์ สยาม จึ ง คุ ้ น เคยต่ อ เจ้ า ประเทศราชเป็ น อย่างดี ต่ อ มาได้ ส ร้ า ง มั ส ยิ ด ที่ แ ถบถนน ราชวงศ์ สาเหตุ ที่ ม าสร้ า งสุ เ หร่ า ที่ แ ถ บ ท ่ า น�้ ำ
จดหมายข่าว
16
ราชวงศ์ในใจกลางย่านคนจีน ทั้ง ๔ ด้าน เข้าใจว่ามีพ่อค้าชาว มุ ส ลิ ม มาท� ำ การค้ า มาจอดเรื อ ที่ ท ่ า น�้ ำ ราชวงศ์ จ นถึ ง บางรั ก และขอให้หลวงโกชาฯ ช่วยหาสถานที่เพื่อท�ำการละหมาด ท่าน จึ ง จั ด หาซื้ อ ที่ แ ปลงหนึ่ ง เนื้ อ ที่ ป ระมาณ ๒ ไร่ ใกล้ กั บ ท่ า เรื อ ราชวงศ์และยังไม่มีการตัดถนนทรงวาด แต่แรกสร้างเป็นเรือน ไม้ พ ออาศั ย ได้ ล ะหมาดเท่ า นั้ น จนกระทั่ ง ในสมั ย รั ช กาลที่ ๕ จึงสร้างอาคารเป็นตึกแบบยุโรป โดยเรี่ยไรเงินจากลูกหลานและ มาช่วยกันสร้างด้วย พอสร้างมัสยิดที่เป็นตึกเสร็จจึงมีการตัดถนน ทรงวาด และหลวงโกชา อิศหาก ได้ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐ หลวงโกชาท่านไม่เกี่ยวข้องกับเมืองสตูล ผู้ที่เกี่ยวกับเมือง สตูลคือลูกของท่าน “พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บิลอับดุลลาห์) ไปรับราชการทางใต้หลายที่ เท่าที่รู้คือ เคยเป็นนายอ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา แล้วก็มาได้เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดที่จังหวัดสตูล ตอน นั้นในช่วงรัชกาลที่ ๖ แล้ว หลวงโกชา อิศหาก ท่านมีภรรยา ๖ คน เป็นคนอิสลาม เป็นคนจีนก็มี มีลูก ๑๖ คน พระยาสมันตรัฐฯ เป็นลูกคนที่ ๘ คุณแม่ท่านเป็นคนเชื้อสายจีน พระยาสมันตรัฐบุรินทร์เป็นคุณพ่อ มี เจ้าเมืองไทรบุรีมาหาคุณปู่ แล้วขอคุณพ่อไปเป็นลูก ตอนนั้นคุณ พ่ออายุ ๑๒ ปี ได้เรียนภาษาที่นั่น แล้วก็ได้เรียนรู้ขนบธรรมเนียม ประเพณีการปกครองแบบมลายู พ่อผมเคยเรียนระดับชั้นประถมที่ โรงเรียนวัดเศวตฉัตร เพราะอยู่ใกล้บา้ น แล้วจึงไปอยูม่ าเลเซียก็เรียน จนสูงสุด จบมหาวิทยาลัยเรียนด้านปกครอง แล้วกลับมารับราชการ อยู่กระทรวงมหาดไทยมาตลอด จนเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล หลัง การเปลี่ยนแปลงการปกครองจึงมาเป็น สส. คนแรกของจังหวัดสตูล ต่อมาในตระกูลผม พี่ชายก็เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี ชื่อ เจิม ศักดิ์ สมันตรัฐ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ ตอนนั้นลุกเป็นไฟ ท่านอายุ ๕๓ ปี เท่านั้น เสียชีวิตเพราะหัวใจวายที่ชุมพร “สมันตรัฐ” เป็นนามสกุลพระราชทาน ซึ่งคุณพ่อแต่ก่อนใช้นามสกุล “บิลอับดุลลาห์” คุณพ่อผม คือ พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บิลอับดุลลาห์) เมื่อ รั ช กาลที่ ๖ เปลี่ ย นให้ ม าเป็ น นามสกุ ล ไทย จึงเป็นสมันตรัฐ ท่านเป็นผู้ว่าที่สตูลอยู่จนปลดเกษียณ
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
มัสยิดหลวงโกชาอิศหาก แล้วไปปลูกบ้านอยู่สตูลเลย ผมเกิดสตูล เรียนโรงเรียนเทศบาลที่สตูล ก่อนที่พ่อจะส่งมาเรียนกรุงเทพฯ ตอนอายุ ๑๒ ปี แล้วเรียนโรงเรียน อ�ำนวยศิลป์ ไปต่อโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายแล้วท�ำงานเลย ผมท�ำงานรัฐวิสาหกิจ พอปลดเกษียณแล้วผมก็มาดูแลสุเหร่า ผมพอ พูดภาษาทางมลายูได้ แต่ไม่เก่ง คุณพ่อมาสร้างบ้านอยู่ที่กรุงเทพฯ ในที่ดินของคุณปู่ คือที่ซอยเจริญนคร ๒๑ ลูกหลาน ๑๖ คนของหลวงโกชาฯ อยู่ด้วยกันทั้งหมด ในซอยเจริญนคร ๒๑ แต่มีเครือญาติที่สตูลเยอะ คุณพ่อเอาพี่ ๆ น้อง ๆ ของท่านไปอยู่สตูล ไปรับราชการ ท�ำงานอื่นๆ อีกหลายคน พี่ชายผมชื่อ เสรี สมันตรัฐ เคยดูแลสุเหร่า และก็ตกทอดกันมา มีการท�ำบุญตามประเพณี ทุกวันศุกร์ก็มาละหมาดเหมือนทั่ว ๆ ไป เพียงแต่เราดูแลเป็นกรรมการใช้ลูกหลานหมด ไม่มีคนนอกมาเป็นกรรมการ การบ�ำรุงดูแลรักษามีหลายครั้งแล้ว เรามีผลประโยชน์เราก็มี ตึกแถวที่อยู่หน้าสุเหร่า ๑๑ ห้อง เดือนหนึ่งค่าเช่าห้อง ๑๒,๐๐๐ บาท มี ๑๑ ห้องก็แสนกว่าบาท ได้มาบริหารสุเหร่า ไม่ต้องไปเรี่ยไรคนอื่น เรามีเจ้าหน้าที่ดูแลอยู่ กุโบร์ไม่ใช่ของตระกูลอย่างเดียว เพราะว่าถึงเราจะเป็นของส่วนตัวอะไรก็แล้วแต่ แต่ว่าตามหลักตามกฎแล้วห้ามไม่ ได้ ถ้าคนที่เขามาขอ เขาไม่มีที่ฝังศพ เราก็อนุญาต กุโบร์เนื้อที่ราว ๑ ไร่ ตอนนี้ถมมา ๒ ครั้งแล้ว แต่ก่อนคงเป็นสวน ที่รู้ว่าเป็นสวนเพราะยังคงมีสภาพท้องร่องสวนอยู่บ้าง พื้นที่ใกล้แม่น�้ำเจ้าพระยาเป็นสวนมาก่อนทั้งนั้น เราเปิด โอกาสให้ชาวต่างชาติหรือนักท่องเทีย่ วเข้ามาศึกษาหรือดูมสั ยิดได้ดว้ ย ผูท้ เี่ ข้ามาทีม่ สั ยิดนีก้ จ็ ะเป็นญาติพนี่ อ้ งของเราและมีพวกพ่อค้าแถวใกล้ๆ สุเหร่าบ้าง มาเข้าสุเหร่าวันศุกร์และวันท�ำบุญต่าง ๆ บางคนพ่อแม่เขาเสียก็มาฝังที่นี่ รอบๆ มัสยิดไม่มีชุมชนของอิสลาม เป็นร้านค้าของคน จีนทั้งนั้น และมีพ่อค้าที่เป็นชาวอินเดียมีร้าน มีเพชร มีพลอย เยาวราชที่ค้าขายจิวเวลรี่ เพชรพลอยจะใช้สถานที่ตรงนี้เป็นที่ละหมาด ๕ เวลา คนมุสลิมนานาชาติที่มาซื้อของในส�ำเพ็งพาหุรัดใช้ที่นี่เป็นที่ละหมาด คนอินเดียใช้ที่นี่เป็นร้อยปีแล้ว มัสยิดหลวงโกชา อิศหาก แม้จะถือว่าเป็นสถานที่ส่วนตัว แต่ก็เปิดให้คนที่นี่ฝั่งนี้ที่เป็นพ่อค้าอิสลาม ใครก็ได้ทุกสาย เขาสืบตกทอด กันมาตั้งแต่สมัยปู่ พ่อแม่เขาฝังที่นี่ ส่วนผมและครอบครัวอยู่เจริญนครซอย ๒๑ ทางฝั่งธนฯ เป็นบ้าน แต่เรามาสร้างมัสยิดที่นี่ สมัยก่อนมาเรือ ขึ้นท่าน�้ำราชวงศ์ ทุกวันนี้ก็ขับรถกันมาไม่ได้เดือดร้อนอะไร
จดหมายข่าว
17
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
กิจกรรม “พระนคร ๑๐๑” โดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ : จารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์
“พระนคร ๑๐๑”
เข้าใจพื้นที่และความเป็นชุมชนของกรุงเทพฯ ในฐานะ “บ้านของเรา เมืองของเรา ชุมชนของเรา” มูลนิธเิ ล็ก-ประไพ วิรยิ ะพันธุ์ ได้จดั โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ โดยใช้ชื่อกิจกรรม “พระนคร ๑๐๑” ซึ่งเป็นการต่อยอดจาก โครงการศึกษาวิจยั ประวัตศิ าสตร์สงั คมย่านเมืองเก่ากรุงเทพฯ ที่ได้รบั การสนับสนุนจากส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ โดยใช้ระยะ เวลากว่า ๒ ปีในการศึกษา ตลอดช่วงระยะเวลาการลงพืน้ ทีศ่ กึ ษา ทาง มูลนิธฯิ ได้เปิดเวทีสำ� หรับแลกเปลีย่ นความรูข้ องชาวชุมชนต่างๆ ในเขต ย่านทีอ่ ยูอ่ าศัยหรือย่านเมืองเก่า เดือนละ ๑ ครัง้ เป็นจ�ำนวน ๙ ครัง้ ในพืน้ ทีล่ านกิจกรรมของชุมชนป้อมมหากาฬ จากการศึกษาได้พบปัญหาต่างๆ ของแต่ละพืน้ ทีช่ มุ ชนทีเ่ ป็น ผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของเมือง และประวัติศาสตร์สังคมของ เมืองกรุงเทพฯ นัน้ ยังไม่ได้มกี ารศึกษาเท่าทีค่ วร ท�ำให้ขาดความเข้าใจ อย่างถ่องแท้และสร้างผลกระทบต่อการก�ำหนดนโยบายการพัฒนาเมือง เก่า ซึ่งส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนและการจัดการเมือง ประวัตศิ าสตร์อย่างมาก มูลนิธฯิ ได้จดั กิจกรรมดังกล่าวขึน้ เพือ่ เน้นสร้างความรู้ ความ เข้าใจ ให้กบั ชุมชนได้รจู้ กั ตนเองยิง่ ขึน้ และเปิดโอกาสให้บคุ คลทัว่ ไป เข้าใจถึงความเป็นมาและการเปลีย่ นแปลงของชุมชน โดยจัดกิจกรรม มาจ�ำนวน ๓ ครัง้ ด้วยกันในพืน้ ทีย่ า่ นพระนคร และจะจัดตลอดระยะ เวลา ๒ เดือนต่อครัง้ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ นี้ กิจกรรม “พระนคร ๑๐๑” แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ส่วนแรก คือภาคทฤษฎีเบื้องต้น เป็นการท�ำความเข้าใจความเป็นย่านเก่าของ กรุงเทพฯ ทีม่ คี วามสัมพันธ์ระหว่างผูค้ นกับสถานทีต่ า่ งๆ ด้วยแนวคิด “เมืองประวัตศิ าสตร์ตอ้ งมีชมุ ชน” บรรยายโดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ นัก วิชาการมูลนิธเิ ล็ก-ประไพ วิรยิ ะพันธุ์ ซึง่ การเรียนรูเ้ รือ่ งประวัตศิ าสตร์ ชุ ม ชนนั้ น ต้ อ งเข้ าใจก่ อ นว่ า “ประวั ติ ศ าสตร์ สั ง คมคื อ อะไร?”
เป็นศูนย์กลางของชุมชน ซึง่ จะแตกต่างจากความเป็นชุมชนแบบใหม่ที่ แบ่งตามเขตพืน้ ทีก่ ารปกครอง การบริหารของส่วนราชการ แนวคิดเรือ่ ง พืน้ ทีช่ มุ ชนนัน้ คือความเป็นย่านต่างๆ ทีม่ คี วามส�ำคัญกับประวัตศิ าสตร์ เมืองกรุงเทพฯ ความเข้าใจในแนวคิดเรื่องภูมิวัฒนธรรม ในความเป็นมา และจุดก�ำเนิดของพระนครทั้งสองฝั่งแม่น้�ำเจ้าพระยาในลักษณะของ การเป็น Delta หรือ สามเหลีย่ มปากแม่นำ�้ จุดก�ำเนิดของความเป็น กรุงเทพฯ มีความอุดมสมบูรณ์มาตั้งแต่อดีต ความเป็น “เมืองท่า” ศูนย์รวมของผู้คนหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ เกิดย่านการค้าส�ำคัญ ต่างๆ และเป็นแหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัยในความเป็นชุมชนคนจีน ชุมของชาว มุสลิม และอืน่ ๆ ท�ำให้กรุงเทพฯ เป็นสังคมพหุลกั ษณ์มาตัง้ แต่แรกเริม่ ความเปลีย่ นแปลงไปในรูปแบบต่างๆ ส่งผลกระทบต่อความวิถี ชีวติ วัฒนธรรมของผูค้ น ชุมชนลุม่ น�ำ้ ค่อยๆ เลือนหายไปตามยุคสมัย จากอิทธิพลของตะวันตกเปลีย่ นวิถที างของการสัญจรจากการคมนาคม ทางน�ำ้ เป็นทางบก การถมคลองน�ำ้ ตามธรรมชาติ การเปลีย่ นแปลงใน ระยะต่างๆ ทีม่ ผี ลต่อวิถชี วี ติ ของผูค้ น การประกอบอาชีพ หรือแม้แต่ รูปแบบอาคารบ้านเรือน ฯลฯ สิง่ ต่างๆ เหล่านีค้ อื ประวัตศิ าสตร์สงั คม ของกรุงเทพฯ ซึง่ ต้องท�ำความเข้าใจเพือ่ ให้เห็นพัฒนาการเมือง เห็นถึง ความเปลีย่ นแปลง และเห็นถึงรากเหง้าความเป็นชุมชนบางแห่งในย่าน เก่าของกรุงเทพมหานคร
“พระนครชวนชม” เป็นกิจกรรมการเรียนรูใ้ นเชิงปฏิบตั กิ าร โดยการน�ำกลุม่ ผูเ้ ข้า ร่วมกิจกรรมเข้าไปสัมผัสในพืน้ ทีจ่ ริง สอดรับกับความรู้ ความเข้าใจใน ภาคทฤษฎี “ประวั ติ ศ าสตร์ สั ง คม” ในทั ศ นะของอาจารย์ ศ รี ศั ก ร “การเดิน” คือหนึง่ ในกระบวนการการศึกษาทีท่ างมูลนิธฯิ ได้ วัลลิโภดม ทีป่ รึกษามูลนิธเิ ล็ก-ประไพ วิรยิ ะพันธุ์ คือ ประวัตศิ าสตร์ ใช้ในการศึกษาเรือ่ งราวของกรุงเทพฯ จึงเห็นว่าวิธกี ารดังกล่าวจะท�ำให้ ทีม่ เี รือ่ งราวของผูค้ นในชุมชนเดียวกัน เรียกว่า “ภูมวิ ฒ ั นธรรม” คือ เกิดการเรียนรูไ้ ด้มากขึน้ ความเป็นชุมชนตามแบบธรรมชาติ รูจ้ กั หน้าค่าตา และมีศาสนสถาน
จดหมายข่าว
18
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
“พระนคร ๑๐๑” ครัง้ ที่ ๑ พืน้ ทีย่ า่ นบางล�ำพู ชุมชนวัดสามพระยา บ้านพาน บ้านบาตร “ชุมชน เก่าย่านวังหน้า ย่านการค้าส�ำคัญของพระนคร บ้านดนตรีและย่าน หัตถกรรม” จัดขึน้ ในวันที่ ๑๖-๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ มีวทิ ยากรใน พืน้ ทีช่ มุ ชน ท่านแรกคือ คุณอรศรี ศิลปี หรือ “ป้านิด” ตัวแทนของย่าน บางล�ำพูที่อยู่อาศัยมาดั้งเดิมและเป็นผู้อาวุโส กล่าวถึงเรื่องที่มาของ ตรอกไก่แจ้ การเปลีย่ นแปลงของบางล�ำพู และประวัตคิ วามเป็นมารวม ไปถึงบทบาทของสายตระกูล “ศิลปี” จากนั้นได้มีการเข้าชมและศึกษาชุมชนมุสลิมเก่าแก่ในย่าน พระนคร คือ “มัสยิดจักรพงษ์” มัสยิดนีน้ อกจากจะเป็นพืน้ ทีป่ ระกอบ ศาสนกิจแล้ว ยังเป็นสถานทีท่ ชี่ าวบ้านใช้สำ� หรับท�ำกิจกรรมต่างๆ ของ ชุมชนร่วมกัน ไม่วา่ จะเป็นชาวมุสลิมหรือชาวพุทธ ได้พบปะพูดคุยกับ คุณโอภาส มิตรมานะ หรือครูซนั ผูอ้ าวุโสของชุมชนมัสยิดจักรพงษ์ ในประเด็นการอยูอ่ าศัย การปรับตัวของชุมชนมุสลิมท่ามกลางความ เปลีย่ นแปลงของสังคม และผลกระทบจากการพัฒนาเมืองทีม่ ตี อ่ คนใน ชุมชน ก่อนออกนอกพระนครไปทางฝั่งวัดสังเวชวิศยารามวรวิหาร และวัดสามพระยา ได้รบั ความรูจ้ าก คุณพจนา ดุรยิ พันธุ์ เกีย่ วกับบ้าน ดนตรีแบบโบราณในย่านบางล�ำพู รวมถึงกิจกรรมการอนุรกั ษ์ดนตรีไทย ของมูลนิธดิ รุ ยิ ประณีตที่ได้มกี ารเปิดบ้านสอนดนตรีไทยมาอย่างยาวนาน จนถึงปัจจุบนั มีกระบวนการฟืน้ ฟูและอนุรกั ษ์โดยใช้ความผูกพันทางสาย ตระกูลทีเ่ หนียวแน่นเป็นแกนหลักในการดูแลกิจการของครอบครัว และ กล่าวถึงความสัมพันธ์ของคนกับศูนย์กลางของชุมชน คือ วัดสังเวชวิศยา รามวรวิหารและวัดสามพระยา ตลาดต่างๆ ในย่านบางล�ำพูและวิถชี วี ติ ของคนบางล�ำพูทผี่ กู พันกับแม่นำ�้ ล�ำคลอง กิจกรรมช่วงบ่ายว่าด้วยการไขข้อสงสัยในความเข้าใจคลาด เคลื่อนของการขึ้นป้ายข้อมูลเพื่อการท่องเที่ยว “บ้านพานถม” ของ กทม. ซึง่ ความจริงแล้วค�ำว่า “บ้านพาน” กับ “บ้านพานถม” แตกต่างกัน อย่างสิน้ เชิงทัง้ พืน้ ทีแ่ ละกรรมวิธกี ารผลิตงานหัตถกรรมดังกล่าว การท�ำ พานของบ้านพานใช้การตีขนั น�ำ้ พานรองทีเ่ ป็นเครือ่ งเงิน น�ำมาดุนให้เกิด ลวดลายต่างๆ ตามต้องการ ส่วนการท�ำเครือ่ งพานถมใช้วธิ แี กะลายลง ไปในเนือ้ โลหะเช่นเงินแล้วถมด้วยน�ำ้ ยาเคลือบสีดำ� คนปัจจุบนั เข้าใจว่า “เครือ่ งถม” ของร้านไทยนคร ซึง่ ตัง้ ร้านอยูต่ รงข้างวัดตรีทศเทพ จึงมี การเหมารวมเป็นค�ำว่า “บ้านพานถม” นอกจากนัน้ ยังมีปา้ ยชือ่ ซอย “ตรอกบ้านหล่อ” ตัง้ อยูท่ ซี่ อย บ้านพานหรือตรอกบ้านพานเดิม ทัง้ ทีบ่ า้ นหล่อนัน้ อยูบ่ ริเวณด้านหลัง ของตรอกบ้านพานทีต่ ดิ กับคูคลองเดิมคัน่ กับวัดปรินายก จากนัน้ เป็นการ พูดคุยให้ความรูเ้ รือ่ งการท�ำพานเงิน โดยวิทยากรทีท่ า่ นเป็นลูกหลาน “นายเตา” คือ คุณละออศรี พิพธิ ภัณฑ์ (รัชตะศิลปิน) ในเรือ่ งของการ ท�ำพาน ความนิยมของเครือ่ งเงินจนถึงยุคตกต�ำ่ ของอาชีพท�ำพานจนหาย
จดหมายข่าว
ภาพกิจกรรมพระนคร ๑๐๑ ครั้งที่ ๑
ไปในทีส่ ดุ แห่งสุดท้ายของกิจกรรม “พระนครชวนชม” คือ บ้านบาตร ทีท่ ราบกันอยูแ่ ล้วว่าว่าชาวบ้านมีอาชีพหลักในการตีบาตร นอกจากนัน้ ยังอยู่ใกล้กบั เมรุปนู วัดสระเกศฯ และประตูผี ซึง่ เมรุปนู นัน้ มีไว้สำ� หรับ ปลงศพเจ้านายและผูม้ ฐี านะ จึงมีมหรสพตามมา เรียกว่า “วิกลิเกเมรุปนู ” มีการเล่นโขน ลิเก ละคร หุน่ กระบอก และเป็นการออกร้านขายของกิน มาตัง้ แต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ จากค�ำบอกเล่าของ คุณกฤษณา แสงไชย ว่าบ้านบาตรยัง อยูต่ ดิ กับบ้านหลวงประดิษฐ์ไพเราะ หรือ ศร ศิลปบรรเลง เป็นส�ำนัก ดนตรีทมี่ ชี อื่ เสียง โดยท่านอาศัยอยู่ในย่านบ้านบาตรตลอดจนท่านสิน้ ช่วงสงครามและหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ชาวบ้านบาตรมีกิจกรรม “ร้องเพลงร�ำวงบ้านบาตร” อยูท่ กุ เย็น ณ ลานบริเวณศาลากลางบ้าน และในปัจจุบนั มีการรือ้ ฟืน้ ประเพณีรอ้ งเพลงร�ำวงกันขึน้ มาใหม่ ชือ่ คณะ “บ้านบาตรสามัคคี” นอกจากนัน้ ยังได้พบกับ คุณสรินยา สุทดิศ ซึง่ เป็นคนรุน่ ใหม่ที่ หันมาฟืน้ ฟูอาชีพตีบาตรอีกครัง้ และผลักดันให้บา้ นบาตรเป็นแหล่งท่อง เทีย่ วชุมชนเชิงอนุรกั ษ์ ก่อนจะเป็นการสรุปปิดกิจกรรมและการถอดบท เรียนจากผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ถึงประเด็นการน�ำความรูท้ ี่ได้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจ�ำวันและสามารถน�ำไปถ่ายทอดอย่างไรได้บา้ ง พร้อมทัง้ ยัง พูดคุยถึงปัญหาของแต่ละสายอาชีพทีเ่ ข้าใจในประเด็นการท่องเทีย่ วที่
19
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เข้าใจไม่ตรงกันและหาทางออกร่วมกันในวงเสวนา “พระนคร ๑๐๑” ครัง้ ที่ ๒ พืน้ ทีย่ า่ นนางเลิง้ “การขยายตัวพระนครและย่านการค้า” จัดขึน้ ในวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ ห้องประชุมชัน้ ๖ ส�ำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย และ “พระนครชวนชม” ในวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๙ เป็นการลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ท�ำความเข้าใจและเห็นสภาพความ เปลีย่ นแปลงของพืน้ ทีย่ า่ นนางเลิง้ โดยการรับฟังข้อมูล ปัญหาของทาง ชุมชนซึ่งได้รับผลกระทบจากการพัฒนาเมืองสมัยใหม่ และเรื่องราว ประวัตศิ าสตร์จากการบอกเล่าผ่านเรือ่ งราวชีวติ ของคนในชุมชน ความ เป็นชุมชนริมคลองครัง้ อดีตทีต่ อ้ งรับเปลีย่ นสภาพบ้านเรือน วิถชี วี ติ มา เป็นชุมชนริมถนน และเตรียมรับมือกับสิง่ ใหม่ทกี่ ำ� ลังจะเข้ามานัน้ คือ ทางรถไฟฟ้า ในช่วงแรก ณ แยกจักรพรรดิพงษ์ตัดกับถนนนครสวรรค์ เป็นการอธิบายความเป็นมาของการขยายตัวเมือง โดยการขุดคลอง ผดุงฯ หรือคลองขุดใหม่ การสร้างหรือตัดถนนนครสวรรค์ และ พัฒนาการเรือ่ ยมา โดยวลัยลักษณ์ ทรงศิริ และเรือ่ งราวของถนนจักร พรรดิพงษ์ ความส�ำคัญของพืน้ ทีซ่ งึ่ มีความเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว และความเป็นชุมชนของย่านนางเลิง้ โดยวิทยากรท้องถิน่ คุณรดาวรรณ ศิลปโภชากุล เจ้าของร้านกาแฟน�ำ่ เฮงหลี “จุลนาค” ซึง่ เป็นทัง้ ชือ่ คลองและชือ่ โรงเรียนทีต่ งั้ อยูร่ มิ คลอง
ภาพกิจกรรมพระนคร ๑๐๑ ครั้งที่ ๒
บัดนีน้ ำ�้ เน่าสนิทและตืน้ เขินแทบไม่เหลือสภาพล�ำคลองในอดีต แล้วจึงชม โรงเรียนสตรีจลุ นาคและบ้านของเจ้าพระยาธรรมศักดิม์ นตรี รับฟังการ บอกเล่าชีวประวัตแิ ละความส�ำคัญของท่านทีม่ ตี อ่ วงการการศึกษาไทย ผลักดันให้เกิดสถานศึกษาในระดับต่างๆ รวมถึงเป็นผูก้ อ่ ตัง้ สถานศึกษา หลายแห่ง เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผลงานการประพันธ์ของ ท่านในนามปากกา “ครูเทพ” โดย คุณครูมรกต เทพหัสดิน ณ อยุธยา
จดหมายข่าว
20
และคุณครูอรุณี เทศสุวรรณ นอกจากนัน้ ยังได้พบกับแบบเรียนอ่านออกเขียนได้โดยเริม่ ต้น จากการใช้อกั ษรกลางทีม่ เี ฉพาะโรงเรียนสตรีจลุ นาคทีท่ า่ นเจ้าพระยาฯ คิดค้นขึน้ เป็น “แบบเรียนเร็วใหม่” ปัจจุบนั โรงเรียนยังมีการเรียนการ สอนแบบเดิมอยูเ่ พราะคิดว่าการอ่านออกเขียนได้เป็นพืน้ ฐานส�ำคัญใน การเรียนของเด็กไทย แต่ยงั มีเด็กไทยอีกหลายคนยังอ่าน เขียนช้า อาจ จะเป็นเพราะการรับวิธกี ารเรียน การสอน เปลีย่ นไป เน้นการทดลอง ใช้วธิ ตี า่ งๆ ให้ดทู นั สมัย จนลืมไปว่าต�ำราเก่าๆ ทีค่ นโบราณคิดไว้นนั้ สามารถใช้ได้ดี ยังมีโรงเรียนในต่างจังหวัดให้ความส�ำคัญในการเรียน เขียน อ่านในแบบต�ำราของท่านเจ้าพระยาฯ มาติดต่อขอซื้อกับทาง โรงเรียนอยูห่ ลายแห่ง เดิมโรงเรียนสตรีจุลนาคเป็นโรงเรียนเอกชนที่ ได้รับความ นิยมจากผู้คนโดยเฉพาะในแถบย่านนางเลิ้ง และในหมู่ผู้มีฐานะทาง สังคมดี เพราะครูมีความใส่ใจในรายละเอียดของเด็กนักเรียนและมี บางท่านจบการศึกษาจากต่างประเทศ ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของ ครอบครัวเทพหัสดิน ณ อยุธยา ซึง่ เป็นเชือ้ สายของท่านเจ้าพระยาฯ จากนั้ น เดิ น ทางไปยั ง บ้ า นละครโขนคณะดํ า รงนาฏศิ ล ป์ พ บกั บ คุณฐานิยา โรหิตาจล บอกเล่าความเป็นมาของบ้านละครโขนและ การปรับตัวในความเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบัน ก่อนจะไปถึง วัดสิตาราม (วัดคอกหมู) พูดคุยกับ คุณครูประทับใจ สุนทรวิภาต และ ชมการแสดงของเด็กและเยาวชนที่สร้างชื่อเสียงให้กับชุมชน ทั้งยัง เป็นการสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชุมชนนางเลิง้ ให้คงอยูต่ อ่ ไป และเข้าชมย่านการค้าของนางเลิง้ ทีเ่ ป็นหัวใจของย่าน รวมถึง โรงหนังไม้นางเลิง้ หรือศาลาเฉลิมธานี ได้มกี ารสรุปเนือ้ หากิจกรรม แลกเปลีย่ นกิจกรรมระหว่างผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมทัง้ รุน่ ๑ และ ๒ กับ วิทยากรในพืน้ ที่ เพือ่ จะหาทางออกในการท่องเทีย่ วแบบใหม่ไม่ทำ� ลาย วิถีชีวิต วัฒนธรรมของคนในท้องถิ่น และแนวทางในการรับมือกับ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปจากปัจจัยภาคนอกเข้ามาสู่ชุมชน หาวิธกี ารร่วมกันว่าจะท�ำอย่างไรให้ชมุ ชนมีความเข้มแข็ง สามารถรับมือ กับการเปลีย่ นแปลงได้ดว้ ยตัวของคนในชุมชนเอง “พระนคร ๑๐๑” ครัง้ ที่ ๓ ความส�ำคัญของป้อมค่ายคูประตูเมือง และชุมชนชานพระนครจากป้อม มหากาฬ ประตูผี ถึงชุมชนชาวตรอกศิลป์ ตรอกตึกดิน ตรอกบวรรัง ษี และมัสยิดบ้านตึกดิน ในวันเสาร์ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ในภาคทฤษฎี ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์เจ้าฟ้า และในวันที่ ๒ กิจกรรม “พระนครชวนชม” วันอาทิตย์ที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ในภาคเช้า ณ บริเวณสวนในป้อมมหากาฬ เป็นการตัง้ วงคุย ท�ำความเข้าใจกับความเป็นชุมชนชานพระนครเริม่ จากการขุดคลองใน
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
สมัยรัชกาลที่ ๑ มีการขุดคลองคูโดยรอบเพือ่ เป็นการคมนาคม ชุมชน แถบนี้ข้างนอกก�ำแพงพระนครนั้นถูกเรียกว่า “ชุมชนชานพระนคร” หรือ “ชานก�ำแพงพระนคร” แถบนีม้ ที งั้ ตลาดผลไม้ ทัง้ ชุมชน เป็นเรือ่ ง ปกติทผี่ คู้ นสร้างบ้านเรือนแถบชานพระนคร ซึง่ ระบบนีม้ มี าตัง้ แต่สมัย อยุธยา ติดก�ำแพงบ้าง ติดป้อมบ้าง ปัจจุบนั นีเ้ หลือป้อมเพียง ๒ แห่ง เท่านัน้ ในเกาะรัตนโกสินทร์ คือป้อมพระสุเมรุและป้อมมหากาฬ สาเหตุ คือ ในสมัยรัชกาลที ่ ๕ มีการรือ้ ป้อมก�ำแพงออกเพือ่ สร้างถนน ขยายตัว เมือง อีกส่วนหนึง่ คือพังลงมาไม่นานนี้ในสมัยรัชกาลที่ ๗ ส่วนเรือ่ งของคลองท่อคือ คลองขุดระบายน�ำ้ เดิมอยุธยามี คลองแบบนีจ้ ำ� นวนมากแต่พงั ลงไปหมด เมือ่ ก่อนใช้ในการชลประทาน และการคมนาคม การขุดคลองผดุงกรุงเกษมเกิดขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ การก่อสร้างเมืองสอดรับเกีย่ วกับยุทธศาสตร์ คลองเล็กๆ ย่อยๆ นัน้ พอเสร็จหน้าสงครามแล้วเปิดพืน้ ที่ให้เป็นแหล่งเศรษฐกิจ เกษตรกรรม พร้อมทัง้ ยังร่วมพูดคุยกับ คุณธวัชชัย วรมหาคุณ หรือ “พีก่ บ” ประธาน
เดินข้ามถนนมหาไชยไปยังฝัง่ วัดเทพธิดาราม เข้าชมกุฏขิ อง สุนทรภู่ ครัง้ มาจ�ำพรรษาอยูว่ ดั เทพธิดา ถือเป็นโอกาสดีของ “พระนคร ๑๐๑” ครัง้ ที่ ๓ ได้เป็นเจ้าแรกในการเยีย่ มชมหลังการบูรณะและท�ำ เป็นพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูข้ น้ึ เป็นครัง้ แรก เรือ่ งราวของสุนทรภูท่ มี่ คี วาม สัมพันธ์กบั ย่านชุมชนวัดเทพธิดาราม ทีม่ าของ “การเล่นแร่แปรธาตุ” ซึง่ หลายท่านอาจจะนึกภาพไม่ออก วิทยากรท้องถิน่ คือ “ป้าเอือ้ ง” เป็น คนในชุมชนนีแ้ ละเป็นคณะกรรมการมูลนิธวิ ดั เทพธิดาราม ได้อธิบาย กรรมวิธตี า่ งๆ ในการร่อนทองของคนในสมัยก่อน จากนั้นป้าเอื้องได้น�ำพาคณะไปยังพื้นที่ต่างๆ ของชุมชน ค่ายมวยอันโด่งดังในอดีตหลังวัดเทพธิดาราม บ้านเดิมของดาราหนัง หลายท่าน ไม่นา่ เชือ่ ว่าจะยังคงหลงเหลืออยูม่ าจนถึงปัจจุบนั เป็นเพราะ การจัดการพื้นที่ของชุมชนนั้น ขึ้นอยู่กับวัด ที่ทางวัดให้ความเมตตา ช่วยเหลือ ท�ำให้เห็นถึงบรรยากาศของความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับชุมชน ยังคงอาศัย เกือ้ กูลกันอยูเ่ ป็นอย่างดี ออกมาด้านหน้าวัดคือ ส�ำราญราษฎร์ รูจ้ กั กันดีในปัจจุบนั คือ “ประตูผ”ี เป็นสถานทีส่ ำ� คัญยิง่ อย่างหนึง่ ในพระนคร เนือ่ งจากเป็นเส้น ทางน�ำศพออกจากพระนคร ผ่านประตูผีไปยังวัดสระเกศ ส่วนชาวมุสลิม ก็ผา่ นออกไปยังกุโบร์ มัสยิดมหานาค ป้าเอือ้ งเล่าว่า “ชือ่ ส�ำราญราษฎร์” เป็นชือ่ ทีเ่ ปลีย่ นความน่ากลัวของประตูผี ในอดีตหากบอกว่ามาประตู ผี จะรูส้ กึ ถึงความกลัว จึงให้ชอื่ ใหม่ใช้เรียกมาจนถึงปัจจุบนั เดิมพืน้ ที่ ตรงนีเ้ คยมีตลาดประตูผี แต่ปจั จุบนั ถูกรือ้ ถอนแล้ว เหลือเพียงร้านค้า เล็กๆ น้อยๆ ในพืน้ ที่ใกล้เคียงก็มวี งั กรมพระสมมตอมรพันธ์ เดิมเป็นวังของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์ พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ซึง่ ปัจจุบนั บริเวณวัง กรมพระสมมตฯ นีเ้ ป็นชุมชนมีผอู้ ยูอ่ าศัยโดยรอบ อยู่ในการดูแลของ ภาพกิจกรรมพระนคร ๑๐๑ ครั้งที่ ๓ ส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ จากนั้นได้พบกับ คุณพิเชษฐ ปัทมิน ทร หรือ น้าเชษฐ ชุมชนป้อมมหากาฬ เกีย่ วกับชุมชนย่านเก่าในของกรุงเทพฯ และบริเวณ โดยรอบป้อมมหากาฬ พีก่ บเล่าว่า “ใครมาอยูแ่ ถบนีต้ อ้ งมาไหว้พอ่ ปูป่ อ้ ม พาเข้าชมวัดราชนัดดาฯ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงสร้าง มหากาฬ ให้ปกป้องคุม้ ครอง ภายในป้อมมหากาฬมีศาลปูต่ า และบ่อน�ำ้ พระราชทานให้กบั พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าโสมนัสวัฒนา บาดาล ไว้สำ� หรับทหารเวรทีป่ ระจ�ำอยูห่ นีขา้ ศึกในเวลาจวนตัว ภายหลัง มีนกั วิชาการให้ความเห็นว่า บ่อน�ำ้ มีไว้เพือ่ ดับไฟ เพราะในป้อมเป็นที่ ส�ำหรับเก็บดินปืน เผือ่ ไฟไหม้ แต่ปจั จุบนั นี้ไม่มบี อ่ น�ำ้ บาดาลและศาล พ่อปู่ เพราะรัฐบาลได้เอาสถูปมาสร้างทับไว้หมด เดือนเมษายนของทุก ปีจะมีประเพณีของชาวป้อมมหากาฬ คือพิธกี รรมสมาพ่อปู่ รวมถึงแนะน�ำกิจกรรมของทางชุมชนที่ได้จดั พืน้ ทีเ่ ป็นแหล่ง เรียนรูเ้ กีย่ วกับประวัตศิ าสตร์ จัดแสดงข้าวของเครือ่ งใช้ตา่ งๆ ทีเ่ คยใช้ ในอดีตเช่น เครือ่ งมือของการผลิตเครือ่ งดนตรีไทยซึง่ บอกเล่าความ สัมพันธ์ของบ้านดนตรีในยุครุง่ เรืองของพระนคร การชมบ้านเก่า ตรอก พระยาเพ็ชรปาณี และเรือ่ งราวของย่านมหรสพที่ได้รบั ความนิยม
จดหมายข่าว
21
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
วดี และทรงสร้างเพื่อเป็นสถานปฏิบัติธรรมและเผยแพร่ศาสนาเพื่อ ต้านทานอ�ำนาจของตะวันตกทีเ่ ข้ามามีอทิ ธิพลต่อพุทธศาสนาในขณะ นัน้ บนพืน้ ทีท่ เี่ คยเป็นสวนผลไม้ น้าเชษฐเล่าเรือ่ งความส�ำคัญของวัดกับชุมชนผูกพันในฐานะ เติบโตทีน่ ี่ พร้อมทัง้ พาเดินเข้าไปในชุมชน ชมบ้านของพระศรีสาคร ข้าราชการในสมัยรัชกาลที่ ๖ ทีค่ งความสวยงามและยังมีทายาทอยู่ อาศัยในปัจจุบนั บริเวณด้านหน้าบ้านเดิมเป็นคลอง สามารถใช้สญ ั จร และเป็นคูนำ�้ ของ “ตึกดิน” ซึง่ ยังมีทางน�ำ้ ต่อลงคลองให้เห็นอยู่ ลักษณะ คลองเล็กแบบนีม้ ีให้เห็นอยูม่ ากตามตรอกซอกซอยของชุมชนในย่านเก่า หลังจากออกจากชุมชนวัดราชนัดดาฯ หรือ ชุมชนหลัง ศาลาว่าการ กทม. แล้ว ข้ามฝัง่ ไปยังตรอกศิลป์ ตรอกตึกดิน เข้า กราบนมัสการหลวงพระร่วงทองค�ำ ประดิษฐานอยู่ ในวิหารของ วัดมหรรณพารามวรวิหาร ซึง่ เป็นพระพุทธรูปศักดิค์ ชู่ มุ ชน มีความเชือ่ ว่า หากน�ำตระกร้อมาถวาย สิง่ ทีข่ อจะสมหวังดัง่ ใจปรารถนา ก่อนจะข้ามถนนราชด�ำเนินไปยังตึกดินอีกแห่ง เป็นชุมชน มุสลิมทีม่ คี วามเก่าแก่แห่งหนึง่ ในพระนคร ซึง่ หลายท่านอาจจะไม่เคย ทราบมาก่อนว่ามีชมุ ชนมุสลิมทีเ่ ข้มแข็งอยู่ใจกลางของเมืองอย่างมัสยิด บ้านตึกดิน มีความส�ำคัญในการเป็นแหล่งรวมช่างทอง ช่างแกะเหล็ก รวมไปถึงเหรียญพระดังต่างๆ ทีอ่ อกมาจากฝีมอื ของชาวมุสลิมในชุมชน มัสยิดบ้านตึกดิน คุณท�ำนุ เหล็งขยัน ประธานชุมชนมัสยิดบ้านตึกดินเล่าว่า “เดิมชุมชนตึกดิน นั้น มีพื้น ที่ขนาดใหญ่ กิน พื้น ที่สองฝั่งของถนน ราชด�ำเนิน ก่อนจะตัดถนนและสร้างโรงเรียนสตรีวิทยา” ตึกดินใน สมัยก่อนคือทีส่ ำ� หรับเก็บดินปืน มีระยะห่างจากวังพอสมควร ในยุค สมัยรัชกาลที่ ๕ ได้ตดั ถนนราชด�ำเนิน ตัดผ่านชุมชนตึกดิน ปัจจุบนั จึง แยกออกเป็นสองข้างทางถนนราชด�ำเนิน ในฝัง่ ของโรงเรียนสตรีวทิ ยา แห่งหนึง่ และฝังตรอกตึกดินอีกแห่งหนึง่ ซึง่ คนทีอ่ าศัยอยู่ในชุมชนตึกดิน สมัยก่อนจะเป็นกลุม่ ของข้าราชบริพารทีร่ บั ราชการในวัง ชุมชนหลังวัดบวรนิเวศฯ ในตรอกบวรรังษีเป็นชุมชนขนาด ใหญ่ มีคนหลายกลุม่ ทัง้ ชาวมุสลิม ชาวพุทธ ชาวมอญ สามารถอยู่ ร่วมกันได้เป็นอย่างดี พบกับ คุณยายอุษา มีเสียงศรี อดีตครู อาศัย ในพืน้ ทีม่ าตัง้ แต่อายุ ๑๒ ปี บอกเล่าถึงบรรยากาศของชุมชนทีม่ คี วาม เรียบง่าย มีบา้ นเหล่าขุนนาง ข้าราชการหลายท่านในชุมชนนี้ บางบ้าน ได้ย้ายออกไปอยู่ข้างนอกเพราะพื้นที่ถูกเวนคืน แต่มีบางบ้านยังคง อาศัยอยู่ เช่นบ้านของพระญาณเวท ซึง่ เป็นโหรหลวงในสมัยรัชกาลที่ ๖ ชุมชนมัสยิดบ้านตึกดินนัน้ ถือเป็นชุมชนทีม่ คี วามเข้มแข็ง จาก ประวัตศิ าสตร์บอกเล่าของชุมชนทีเ่ คยถูกไฟไหม้ครัง้ ใหญ่ แต่ชมุ ชนยัง สามารถด�ำรงอยูไ่ ด้มาถึงปัจจุบนั และมีความสัมพันธ์อนั ดีมาโดยตลอด ทัง้ ในชุมชนมุสลิมเองและชุมชนชาวพุทธหลังวัดบวรฯ ในช่วงสุดท้ายเป็นการตั้งวงเสวนาสรุปกิจกรรม “พระนคร
จดหมายข่าว
๑๐๑” ครั้งที่ ๓ ที่มัสยิดบ้านตึกดิน ต้อนรับอย่างอบอุ่นโดย ท่าน โต๊ะอิหม่ามกฤษฎา ศรีผล และชาวชุมชนมัสยิดบ้านตึกดิน ภายในวง เสวนาเป็นการแลกเปลีย่ นพูดคุยถึงความเข้าใจและน�ำเสนอปัญหาของ การเทีย่ วชุมชนทีก่ ำ� ลังเป็นประเด็นน่าสนใจในขณะนี้ ทางกลุม่ ของผู้ ประกอบอาชีพด้านการท่องเทีย่ วพบโจทย์ของชาวต่างชาติทตี่ อ้ งการ ท่องเทีย่ วชุมชนในแบบที่ได้เห็นถึงวิถชี วี ติ วัฒนธรรมของผูค้ น ไม่ใช่ เพียงการชมวัด ชมวัง อย่างทีเ่ ราเข้าใจกันอีกต่อไป แต่หลายส่วนยัง ขาดความรูค้ วามเข้าใจในการท่องเทีย่ วแบบชุมชน พระนคร ๑๐๑ ครัง้ ที่ ๓ ได้พบประเด็นใหม่ทแี่ ตกต่างจาก ครัง้ ก่อนๆ ทีพ่ ดู ถึงประเด็นของการท่องเทีย่ ว คือปัญหาด้านการศึกษา ประวัตศิ าสตร์ชมุ ชน คุณครูหลายท่านทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมต่างกล่าวว่า ปัญหาของการศึกษาประวัตศิ าสตร์นนั้ เป็นเรือ่ งเข้าใจยากเพราะเรียน รูเ้ รือ่ งที่ไกลตัว ควรจะให้เด็กศึกษาประวัตศิ าสตร์ในท้องถิน่ ของตนเอง ก่อน ส่วนปัญหาการศึกษาประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ คือ ในปัจจุบนั รูปแบบ ของโรงเรียนไม่เหมือนอดีตทีม่ โี รงเรียนใกล้บา้ น การทีโ่ รงเรียนกับบ้าน อยูห่ า่ งไกลกัน ท�ำให้ไม่สามารถเข้าถึงเนือ้ หา เนือ่ งจากเด็กไม่มสี ำ� นึก ความเป็นท้องถิน่ ของพืน้ ทีน่ นั้ ๆ กิจกรรม “พระนคร ๑๐๑” เน้นการสร้างความเข้าใจต่อ พื้นที่ชุมชนต่างๆ ในย่านเมืองเก่าของกรุงเทพฯ เพราะในปัจจุบัน หลายภาคส่วนให้ความหมายของ “เมืองเก่า” แตกต่างกันออกไป การท่องเทีย่ วเป็นสิง่ สร้างรายได้ทสี่ ำ� คัญในตอนนี้ แต่จดุ ขายมีเพียง วัด พิพธิ ภัณฑ์ หากแต่มองข้ามวิถชี วี ติ ของคนในชุมชนทีม่ เี สน่ห์ และสิง่ ควร ค�ำนึงเป็นส�ำคัญ คือโครงสร้างของคนในชุมชนว่ามีความพร้อมมากน้อย แค่ไหนส�ำหรับการรองรับการท่องเทีย่ ว เพราะอาจจะส่งผลท�ำให้หลาย พืน้ ที่ หลายอาชีพต้องเปลีย่ นสภาพไป พื้นที่มัสยิดบ้านตึกดินคือตัวอย่างที่ดีที่น�ำไปสู่การเรียนรู้ใน ฐานะเป็นชุมชนเข้มแข็ง และสามารถด�ำรงความเป็นชุมชนทีม่ โี ครงสร้าง ไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ทางมูลนิธฯิ ยังคงจะท�ำการศึกษาและเผยแพร่ ข้อมูลดีๆ ต่างๆ เหล่านี้ เพือ่ ท�ำให้เกิดความเข้าใจต่อไป และสามารถ ติดตาม “พระนคร ๑๐๑” ครัง้ ต่อไปได้เร็วๆ นี้
22
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
จดหมายข่าว
23
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์