จดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ฉบับที่ ๙๘ ประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

Page 1

มู ลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ Lek-Prapai Viriyahpant Foundation ÃรÇวºบÃรÇวÁม ºบÑั ¹น ·ท∙Öึ ¡ก ÈศÖึ ¡ก ÉษÒา¢ข้ Íอ ÁมÙู Åล ·ท∙Òา§งÇวÑั ²ฒ ¹น¸ธÃรÃรÁม Êส¹นÑั ºบ Êส¹นØุ ¹น ¡กÒาÃรÍอ¹นØุ Ãร Ñั ¡ก Éษ์ àเ ¾พ×ื ่ Íอ ¾พÑั ²ฒ ¹นÒา àเ¼ผÂยáแ¾พÃร่ àเ ¾พ×ื ่ Íอ ¡กÒาÃรÈศÖึ ¡ก ÉษÒา¢ขÍอ§งÊสÒา¸ธÒาÃร³ณªช¹น จดหมายข า วรายสามเดื อ น

ป ท ี ่ ๑๗ ฉบั บ ที ่ ๙๘ เมษายน-มิ ถ ุ น ายน ๒๕๕๖

àเ»ปÔิ´ด»ปÃรÐะàเ´ด็¹น : ÈศÃรÕีÈศÑั¡กÃร ÇวÑัÅลÅลÔิâโÀภ´ดÁม

“ตางชาตินิยม” หรือ “ชาตินิยม” การกลาวหาเชิงวาทกรรมในสังคมไทย หน้า ๑

ข อ สั ง เกตจากการไปฟ ง เสวนาเรื ่ อ ง "ตามรอยสมเด็จ เจาฟาอุทุมพรในอมรปุระ เมียนมาร" วลัยลักษณ ทรงศิริ หน้า ๖

สร า งเด็ ก รั ก ถิ ่ น กั บ อยู  เ มื อ งแกลงวิทยา สุดารา สุจฉายา หน้า ๘

“เกลือเปนหนอน” ภั ย ที ่ ค วรระวั ง ของชาวพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท  อ งถิ ่ น ธีระวัฒน แสนคำ หน้า ๑๑

เรื่องเลาจาก “เด็กบานสวน-หนุมนักเรียน” ของ พ.เนตรรั ง ษี อภิญญา นนทนาท หน้า ๑๓

อันเนื่องจากเสวนา “ฟน (ราก) ชาวกรุง?”

àเ»ปÔิ´ด»ปÃรÐะàเ´ด็¹น ÈศÃรÕีÈศÑั¡กÃร ÇวÑัÅลÅลÔิâโÀภ´ดÁม

อภิญญา นนทนาท, ณัฐวิทย พิมพทอง หน้า ๑๖

สรุ ปบรรยายสาธารณะ “ความก า วหนาทางโบราณคดี เรื่องมโหระทึกสองฝงโขง สะหวันนะเขต-มุกดาหาร ปยชาติ สึงตี หน้า ๑๘

สรุ ป บรรยายสาธารณะ “ความรูทางภูมิศาสตรและวัฒนธรรมกับ การทำความเขาใจประเทศเพื่อนบาน” ปยชาติ สึงตี หน้า ๒๐

ประชาสัมพันธ สมัครสมาชิกจดหมายขาวมูลนิธิฯ ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอนศตวรรษ หนังสือใหมของมูลนิธิฯ

“ตางชาตินิยม” หรือ “ชาตินิยม” การกลาวหาเชิงวาทกรรมในสังคมไทย

สังคมไทยทุกวันนี้ไดกาวเขาสูความขัดแยงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ที่แบงผูคนออกเปนสองขั้ว มีทั้งเผชิญหนากันและกลาวหากัน พรอมที่จะดำดิ่งลงสู วังวนแหงความรุนแรงไดทุกเมื่อ การกลาวหาซึ่งกันและกันที่ไดยินไดฟงเปนประจำ ก็คือ ชาตินิยม หรือ คลั่งชาติ กับ ขามชาติ หรือ ขายชาติ P แต ค ำที ่ ข  า พเจ า รู  ส ึ ก ว า ไม น  า จะมี อ ยู  ใ นสั ง คมไทยก็ ค ื อ ชาติ น ิ ย ม และ คลั ่ ง ชาติ เพราะถามองตามความเปนจริงทางสังคมที่ผานมาแลว

หน้า ๒๒-๒๔

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ñ๑


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและคณะผูติดตามในคราวเสด็จเยือนเขาพระวิหาร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ เรสสิเดนตกำปงธมและเมอซิเออร ปามังติเอร นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศสรับเสด็จที่เขาพระวิหาร

P เรื ่ อ งของชาติ น ิ ย มได ต ายจากสั ง คมไทยไปนานแล ว เมื ่ อ สิ้นสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี P ชาตินิยมในประเทศไทยเปนผลผลิตจากการลาอาณานิคม ของชาติมหาอำนาจทางตะวันตก ที่ทำใหเกิดการสรางเสนเขตแดน ทางการเมืองและเศรษฐกิจบนพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เปนพรมแดน ระหวางประเทศของบานเมืองในประเทศไทยกับประเทศใกลเคียง เชน ลาว เขมร พมา และเวียดนาม ทำใหเกิดรัฐชาติและ ประวัติศาสตรชาติขึ้นมาแทนที่ตำนานประวัติศาสตรของบานเมือง ในแตละทองถิ่นที่มีมาแตเดิม P ประเทศไทยแม จ ะไม เ ป น ประเทศราชในอาณานิ ค มของ คนตะวั น ตกก็ ต าม แต ก ็ ร ั บ การกำหนดเขตแดน การสร า ง ประวัติศาสตรชาติเชนเดียวกันกับประเทศอื่นๆ ทั้งนี้เพราะการเขา มามีอำนาจของคนตะวันตกนั้นไมจำกัดอยูเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจ การเมืองเทานั้น ยังกินไปถึงมิติทางวัฒนธรรมดวย P คื อ ได ท ำให ค นตะวั น ออกที ่ เ ป น คนในอาณานิ ค มที ่ ร วมทั ้ ง คนไทยที ่ ไ ม ไ ด เ ป น เมื อ งขึ ้ น ด ว ยนั ้ น นิ ย มชมชอบในอารยธรรม ตะวันตกซึ่งสะทอนใหเห็นจากคำวา Civilization ที่กลายมาเปน คำไทยวา ความศิวิไล แทบทุกคนทุกชาติในเอเชียลวนอยากได ความเป น ศิ ว ิ ไ ลจนต อ งมี ก ารส ง คนรุ  น ใหม ไ ปเรี ย นต อ ใน ประเทศมหาอำนาจทางตะวันตก รับเอาแนวคิดทางโลก ทางวัตถุ โลกทัศน คานิยม และวัฒนธรรมในดานชีวิตความเปนอยูแบบ อยางตะวันตกเขามา P ซึ ่ ง ก็ เ ห็ น ได จ ากผั ง เมื อ งและการสร า งเมื อ งแบบใหม โดยเฉพาะสังคมไทยแตสมัยรัชกาลที่ ๔ ลงมานั้น นับเปน การเริ่มตนของตะวันตกนิยม [Westernization] อย า งแท จ ริ ง พอถึงรัชกาลที่ ๕ คนรุนใหมโดยเฉพาะชนชั้นสูง เจานาย ขุนนาง ข า ราชการ และพ อ ค า คหบดี ต  า งก็ ท ำอะไรเป น แบบตะวั น ตก ไปหมด ดูเปนภาวะสุดโตงเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาประเทศ เพื่อนบานที่เคยเปนอาณานิคม

ò๒

P อิทธิพลทางความคิดและวัฒนธรรมตะวันตกที่ทำใหคนใน เอเชียรวมทั้งไทยดวยรับเอาเขามาก็คือคำวา ชาติ ที ่ ห มายถึ ง Nation หรือ รัฐประชาชาติ ซึ่งมีการสรางประวัติศาสตรและการ กำหนดเขตแดนในอำนาจอธิปไตยชัดเจน P ประวัติศาสตรชาติเกิดขึ้นก็เพื่อเปนเครื่องมือทางการเมือง ในการบูรณาการวัฒนธรรมใหคนในประเทศมีสำนึกรวมกันเปน อันหนึ่งอันเดียวกันทามกลางความหลากหลายทางชาติพันธุ ศาสนา และความเปนมาของผูคนพลเมืองที่มีถิ่นฐานอยูตามทองถิ่นตางๆ ของประเทศ ในขณะเดียวกันก็เลือกเฟนความเปนมาของบาน เมืองในอดีตที่เคยรุงเรืองและยิ่งใหญเขามาประมวลและปรุงแตง ใหเปนเนื้อหาทางประวัติศาสตรเพื่อใหคนไดเรียนรูจักตนเอง และ ภูมิใจในตนเองในฐานะเปนพลเมืองของประเทศชาติหรือรัฐชาติ P การสรางประวัติศาสตรชาติเปนแนวคิด วิธีคิด และวิธีการ ของคนตะวั น ตกที ่ เ คยใช ใ นการหาความชอบธรรมในการล า อาณานิคมโดยใชขอมูลทางโบราณคดี [Archaeological past] กับ ทางชาติพันธุวรรณา [Ethological present] มาวิเคราะหและ ตี ค วามข อ มู ล ทางโบราณคดี ซ ึ ่ ง เป น ข อ มู ล ที ่ เ ป น อดี ต ห า งไกล ไมเห็นคน ไมเห็นความสัมพันธทางสังคมและชีวิตวัฒนธรรม หากเปนขอมูลที่เกี่ยวกับหลักฐานทางโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่มีอยูในเขตแดนและดินแดนของประเทศนั้นๆ เมื่อนำมาวิเคราะห ศึกษาแลวก็พอจะแลเห็นการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในดินแดน นั้น ประเทศนั้น วามีมาอยางไร เจริญรุงเรืองและตกต่ำอยางไร เป น ในยุ ค ใดสมั ย ใด ซึ ่ ง มี ล ั ก ษณะเป น ประวั ต ิ ศ าสตร ท าง วัฒนธรรมโดยตรง P ในขณะที่ขอมูลทางชาติวงศวรรณนา [Ethnography] เปน ขอมูลที่ทำใหรูจักผูคนในดินแดนบานเมืองที่ทำการศึกษาในขณะนั้น เปนใครมาจากไหน และมีชีวิตความเปนอยูอยางใดบาง เปนขอมูล ที่แลเห็นปจจุบันและเปนประวัติศาสตรสังคมที่เปนประวัติศาสตร มีชีวิต [Living history] ตางจากประวัติศาสตรทางวัฒนธรรม ที่เปนประวัติศาสตรที่ตายแลวสิ้นสุดลงตามยุคสมัย ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

P เพราะฉะนั้นจะเห็นไดวาการสรางประวัติศาสตรของนักลา อาณานิ ค มตะวั น ตกก็ เ ป น วิ ธ ี ก ารเช น เดี ย วกั บ การสร า ง ประวัติศาสตรชาติของผูคนในรัฐประชาชาติ เปนแนวคิดและวิธี การของคนตะวันตกโดยตรง เป น การสร า งประวั ต ิ ศ าสตร จ าก หลั ก ฐานความเป น จริ ง ที ่ อ ธิ บ ายได โ ดยตรรกะทางวิ ท ยาศาสตร แบบคนตะวั น ตก ซึ ่ ง ต า งจากประวั ต ิ ศ าสตร แ บบตำนานของ คนตะวันออก P ความตางกันระหวางปญญาชนผูรูที่มีบทบาทในการสราง ประวัติศาสตรชาติของไทยที่โอตัวเองเสมอวาไมเคยเปนอาณานิคม กับประเทศที่เคยเปนอาณานิคมนั้นตางกันมากตรงที่วา ปญญาชน และผูรูของ “ชาติที่เคยเปนอาณานิคม” เรียนรูวิทยาการและ วิธีการของตะวันตกแบบวิพากษวิจารณเพื่อรูทันคนตะวันตกและ สรางความเขมแข็งใหกับตนเอง P ในขณะที่ปญญาชนและผูรูของ “ไทย” สวนใหญเรียนรูแบบ ยอมตามและเชื่อฟงโดยไมขัดแยงและวิพากษวิจารณ เปนการ เรียนรูแบบไมโตและเทาทัน เลยตกเปนเหยื่อของคนตะวันตก ในการที่ตองใหนักวิชาการทางตะวันตกมาคิดให ทำใหตลอดเวลา แมกระทั่งปจจุบันที่บรรดานักวิชาการไทยเปนจำนวนมากจะเขียน อะไร ทำอะไร ก็ตองอางอิงฝรั่งทั้งในเรื่องทฤษฎีและหลักฐาน ขอมูลมีบรรดาเชิงอรรถและบรรณานุกรม กินพื้นที่ในผลงาน มากกวาเนื้อหากวาคอนเลมของหนังสือเปนตน P เรื ่ อ งของการเขี ย นการสร า งประวั ต ิ ศ าสตร ช าติ ไ ทยก็ อยู ่ ใ นทำนองนี้ที่ถูกชักนำโดยนักปราชญ นักวิชาการฝรั ่ ง แต สมั ยอาณานิคม โดยเฉพาะฝรั่งเศส เชน ม. ปาวี และ ยอรช เซเดส ที่ใชหลักฐานโบราณคดีที่เปนประวัติศาสตรศิลปะและศิลาจารึก สรางใหอาณาจักรที่คนไทยและประเทศใกลเคียงรับรูวา กัมพูชา หรือเขมรเคยเปนมหาอาณาจักรที่มีอาณาเขตกวางใหญที่บรรดา ประเทศเพื ่ อ นบ า นทั ้ ง หลายเคยตกเป น อาณานิ ค มเมื อ งขึ ้ น ของ เขมรมากอน โดยเฉพาะประเทศไทยทั้งภาคอีสานและภาคกลาง ที ่ ม ี ศ าสนสถานพุ ท ธมหายานและฮิ น ดู ค ื อ สิ ่ ง ซึ ่ ง เขมรสร า งไว ใ น ฐานะผูมีอำนาจปกครอง P สวนคนไทยคือชนชาติที่เขามาในดินแดนประเทศไทยทีหลัง เพราะถู ก ขั บ ไล ไ ด ถ อยลงมาจากทางตอนใต ข องประเทศจี น เข า มายังที่แควนสุโขทัยที่เปนเมืองที่ขอมหรือเขมรปกครองอยู ตอมา จึ ง เกิ ด วี ร บุ ร ุ ษ เช น พ อ ขุ น ศรี อ ิ น ทราทิ ต ย แ ละพ อ ขุ น รามคำแหง ปลดแอกการปกครองของขอมและตั้งตัวเปนรัฐอิสระที่แผอำนาจ ชนชาติไทยไปทั่วดินแดน P ฝรั่งเศสสรางประวัติศาสตรเขมรใหเปนมหาอาณาจักรหรือ จักรวรรดิ [Empire] แบบยุโรปที่มีเมืองพระนครเปนศูนยกลาง เพื ่ อ ให เ ป น ประโยชน แ ก ต นเองในการขยายเขตแดนเข า มาสู  ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ประเทศไทยและลาว เพราะสามารถอางจากประวัติศาสตรไดวา ทั้งไทยและลาวเคยเปนของเขมรมากอน เมื่อมาถึงสมัยนี้เขมรกลาย เปนเมืองขึ้นของฝรั่งเศสแลว ฝรั่งเศสก็ควรไดมีอำนาจเหนือ ดินแดนที่เคยเปนเมืองขึ้นดังกลาว P ผูนำไทยและปญญาชนไทยสมัยรัชกาลที่ ๕-๖ ดูเหมือนจะ ยอมรับเรื่องราวประวัติศาสตรที่ฝรั่งเศสเขียนขึ้นและแนะนำอยาง ศิ​ิโรราบ คือเชื่อวาเขมรเมืองพระนครเคยเปนจักรวรรดิ [Empire] เชนจักรวรรดิโรมันและยุโรปมากอน รวมทั้งยังเชื่อวาคนไทยเปน ชนชาติที่มาจากจีนมาเปนชนกลุมนอยภายใตอำนาจของชนชาติ ใหญคือขอม แลวมาปลดแอกเปนเอกราชที่เมืองสุโขทัย P ความเชื ่ อ และการยอมรั บ ดั ง กล า วได แ สดงให เ ห็ น ใน บทละครเรื่องพระรวงและการแสดงละครในสมัยรัชกาลที่ ๖ ซึ่ง ไดทรงรวมแสดงละครดวย เพื่อเปนการปลุกสำนึกความเปนชาติ ให ก ั บ คนไทย เพราะคำว า ชาติ ไ ทยเกิ ด ในสมั ย นั ้ น ซึ ่ ง ก็ ม ุ  ง ถึ ง ความเปน Nation หรือประชาชาติ (ประเทศในสวนรวม) เปน สำคั ญ และเพื ่ อ ความทั น สมั ย ให ค นชาติ ต ะวั น ตกยอมรั บ ก็ ไ ด ทรงสรางธงชาติขึ้นใหมแทนธงชางเผือกที่มีมาแตเดิม เพื่อให เป น สั ญ ลั ก ษณ ข องการบู ร ณาการด ว ย สี แ ดงหมายถึ ง ชาติ สี น ้ ำ เงิ น หมายถึ ง พระมหากษั ต ริ ย  และสี ข าวหมายถึ ง ศาสนา อาจกลาวไดวาสิ่งที่รัชกาลที่ ๖ ทรงสรางและทำขึ้นเปนชาตินิยม ก็ ไ ม ผ ิ ด เพราะดู เ ป น ธรรมดาของบรรดาบ า นเมื อ งทั ้ ง หลาย ที ่ เ ป น ประเทศชาติ ท ำกั น ในสมั ย นั ้ น P ความเปนชาตินิยมในสมัยรัชกาลที่ ๖ นั้น มุงเพื่อบูรณาการ จะมีการรังเกียจกลุมชาติพันธุอื่นในบานเมืองก็ดูเล็กนอยกับคน จี น ที ่ ถ ื อ ว า เป น พวกคนยิ ว ตะวั น ออก ซึ ่ ง ก็ ด ู ส อดคล อ งกั น กั บ พระราชนิพนธเรื่องเวนิสวาณิชที่ทรงแปลมาจากเชกสเปยร P การเกิ ด ความรู  ส ึ ก ชาติ น ิ ย มอย า งสุ ด โต ง นั ้ น เกิ ด ขึ ้ น หลั ง เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ มาแลวในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่เปนยุคผูนำที่รับอิทธิพลเชื้อชาตินิยม มาจากนาซี เ ยอรมั น และฟาสซิ ส ต อ ิ ต าลี ต อนสงครามโลกครั ้ ง ที ่ ๒ คนในยุ ค นั ้ น เชื ่ อ ว า การเป น คนไทยมาจากเชื ้ อ ชาติ [Race] เดี ย วกั น ที ่ ส ื บ ต อ กั น มาโดยสายเลื อ ดทางชี ว วิ ท ยา จึ ง ได ม ี ก ารเปลี ่ ย นชื ่ อ ประเทศจากสยามมาเป น ประเทศไทย และเขียนประวัติศาสตรชาติไทยขึ้นมาใหมวาคนไทยเปนสายเลือด เดี ย วกั น เป น เชื ้ อ ชาติ ท ี ่ ย ิ ่ ง ใหญ อ พยพข า มแม น ้ ำ โขงมาจากทาง ตอนใต ป ระเทศจี น แล ว เข า มาเป น ใหญ ใ นดิ น แดนประเทศไทย โดยปราบปรามพวกขอม มอญ และชนชาติอื่นๆ ที่ต่ำตอยกวา เกิดพระมหากษัตริยที่เปนวีรบุรุษทั้งกูชาติและปราบปรามบาน เมืองอื่นเอาไวในอำนาจและสรางเมืองไทยเปนมหาอาณาจักรของ ภูมิภาค มีความรุงเรืองจากสมัยอยุธยาถึงกรุงเทพฯ ไทยเปนใหญ ó๓


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

ถนนทางขึ้นสูปราสาทพระวิหารทางฝงกัมพูชา ถายเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๕๓

ธนะรัชต ยุบกระทรวงวัฒนธรรมที่เปนกลไกสำคัญในการสราง วัฒนธรรมชาตินิยมมาเปนกระทรวงพัฒนาการแหงชาติที่ตอมา คือสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ P รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ไมสนใจสังคมและวัฒนธรรม หากมุง พัฒนาที่ประเทศทางเศรษฐกิจและการเมือง มีการสงคนรุนใหมที่ เป น ข า ราชการและนั ก ศึ ก ษาไปเรี ย นต อ ที ่ อ เมริ ก า อั ง กฤษ ฝรั่งเศส และประเทศแนวหนาทางตะวันตก จนทำใหคนรุนใหมที่ เขามาเปนขาราชการ นักวิชาการ และผูประกอบอาชีพในดานตางๆ ที่สวนใหญเปนชนชั้นกลาง ขาดความเขาใจและขาดการสนใจใน เรื่องชาตินิยมโดยสิ้นเชิง

ที่สุดในสุวรรณภูมิ มีเขมร ลาว มอญ ญวน มลายู เปนเมืองขึ้น P ไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงคราม กับฝายพันธมิตร และเมื่อกองทัพญี่ปุนยึดไดดินแดนประเทศราช ที่ฝรั่งเศสยึดครองไปแตครั้งรัชกาลที่ ๕ ทางไทยก็ไดกลับคืนมา แต P แต ห ลั ง จากที ่ ญ ี ่ ป ุ  น แพ ส งครามและไทยเป น ฝ า ยแพ ด  ว ยก็ ตองคืนดินแดนที่ยึดกลับคืนมาใหกับทางฝรั่งเศส ซึ่งในสมัยตอมา บรรดาประเทศราชเหล า นั ้ น ก็ เ รี ย กร อ งเอกราชได ส ำเร็ จ โดยเฉพาะเขมร ภายใตการนำของพระเจาสีหนุ ซึ่งคนไทยทั่วไปก็ แซซองยินดีและชื ่ น ชมสมเด็ จ เจ า สี ห นุ เ พราะเกลี ย ดชั ง ฝรั ่ ง เศส เปนทุนเดิม P แตความเปนเชื้อชาตินิยมในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ไมไดเพนพานออกไปนอกเขตประเทศไปยังเพื่อนบาน เทาใด หากเปนเรื่องภายในประเทศที่มีผูนำคือนายกรัฐมนตรีเปน ศู น ย ก ลางในลั ก ษณะลดความสำคั ญ ของพระมหากษั ต ริ ย  แ ละ สถาบัน และการสรางเอกลักษณทางวัฒนธรรมของความเปน คนไทยเหนือชนกลุมนอยและกลุมชาติพันธุอื่นๆ ในประเทศไทย เปนสำคัญ เชน การออกกฎเกณฑและกฎหมายเกี่ยวกับการ แตงกายของประชาชน ขาราชการ การใหเลิกกินหมาก การบังคับให คนสวมหมวก รวมทั้งการสงวนอาชีพบางอยางเชนถีบสามลอให กับคนไทยเปนตน P แต ป  ญ หาที ่ ม ี ผ ลของความรุ น แรงทางสั ง คมและการเมื อ ง ที ่ ส ำคั ญ ในลั ท ธิ ช าติ น ิ ย มของรั ฐ บาลจอมพล ป. ก็ ค ื อ การไป เปลี ่ ย นแปลงประเพณี ว ั ฒ นธรรมของคนมุ ส ลิ ม ในสามจั ง หวั ด ภาคใตซึ่งจะไมกลาวในที่นี้ แตหลังสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม แล ว ความเปนเชื้อชาตินิยมและชาตินิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็คอยๆ หายไป P รั ฐ บาลต อ มาที ่ น ำโดยจอมพลสฤษดิ ์ ธนะรั ช ต หันมาให ความสนใจกับการพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองเพื่อเปลี่ยนประเทศ จากสังคมเกษตรกรรมใหเปนสังคมอุตสาหกรรมจอมพลสฤษดิ์

ô๔

P คนรุนใหมเหลานี้ไมสนใจอดีตและรากเหงา โดยเฉพาะความ รูทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม คนรุนใหมไมรูจักชาตินิยม แต ก ลายเป น ต า งชาติ น ิ ย มแทน โดยเฉพาะอเมริ ก ั น -นิ ย ม [Americanization] แบบขึ้นสมอง และอเมริกันก็เลยลางสมองคน รุนใหมในสังคมแทบทุกระดับ คำวาประชาธิปไตย และเศรษฐกิจ ทุนนิยมเสรี เมื่อถึงเวลานี้เวลารวมกึ่งศตวรรษ คนไทยที่เขาสูยุค โลกาภิวัตนที่ทุกคนมุงแตเพียงโลกภูมิ [Global] อยางสุดตัว P ในทุกวันนี้ คำวา ชาตินิยม ที่เปนเรื่องของชาติบานเมืองได ถูกฝงดินใหจมไปนานแลว คนรุนใหมในสังคมลวนมองเห็นแต โลกไรพรมแดนที่ขวักไขวไปดวยธุรกิจการเมืองขามชาติ P คนไทยในทุกวันนี้โดยเฉพาะชนชั้นนำปญญาชนและนักวิชาการ แทบไมมีความรูสึกในเรื่อง ชาตินิยม [Nationalism] หากมีแตเรื่อง ตางชาตินิยม โดยเฉพาะอเมริกันนิยมเขามาแทนที่ แถมยังขาด สำนึกในเรื่อง แผนดินเกิด [Patriotism] ซึ่งเปนสำนึกสากลของ ความเปนมนุษยมาแตสมัยกอนประวัติศาสตรดึกดำบรรพ เพราะ เกิดความกระหายในเรื่องโลกไมมีพรมแดนที่มหาอำนาจตะวันตก ครอบงำเอา P แตความรูสึกในเรื่องรักชาติบานเมืองแผนดินเกิดนี้ยังคงอยู ในบรรดาผูคนบางหมู บางคณะ บางพื้นที่ และทองถิ่น ที่จะมีการ เคลื่อนไหวออกมาตอตานเหตุการณหรือขบวนการใดๆ ที่คุกคาม ความมั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรมของประเทศชาติ P เมื่อใดก็ตามที่มีการขัดแยงขึ้นกับฝายที่แสดงออกถึงความ ไมรักประเทศชาติบานเมืองก็จะเกิดการกลาวหา [Accusation] โดยพวกโลกไร พ รมแดนจะเป น ผู  ก ล า วหาว า ฝ า ยตรงข า มเป น พวกชาตินิยม และที่รุนแรงก็คือ “คลั่งชาติ” ในขณะที่ฝายตรง ข า มก็ ก ล า วหาว า เป น พวกต า งชาติ น ิ ย ม และที ่ ด ู ร ุ น แรงก็ ค ื อ “ขายชาติ” P การกลาวหาระหวางกันดังกลาวมีขึ้นบอยๆ ในคนไทยกลุม หนึ่งในภาคประชาสังคม [civil society] ถาเมื่อใดที่มีความ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

ขัดแยงกันขึ้นในกรณีการขึ้นทะเบียนมรดกโลกเขาพระวิหารของ คณะกรรมการมรดกโลกที ่ เ ป น หน ว ยงานย อ ยขององค ก าร UNESCO ก็ใหเอกสิทธิ์ของแหลงมรดกโลกแกทางกัมพูชาฝายเดียว P เหตุ ท ี ่ ส ร า งความขั ด แย ง ที ่ ส ำคั ญ ก็ ค ื อ การที ่ จ ะเป น แหล ง มรดกโลกพระวิหารนั้นตองประกอบดวยตัวปราสาท [Temple] กับพื้นที่โดยรอบที่เปนพื้นที่จัดการและพื้นที่เกี่ยวเนื่องในทาง วัฒนธรรม ทั้งสองพื้นที่นี้เมื่อรวมกันแลวจึงจะเปนแหลงมรดก โลก [Site] ได และทุกฝายดูจะยอมรับวาตัวปราสาท [Temple] ตกเปนกรรมสิทธิ์ของกัมพูชาตามการตัดสินขอพิพาทใน พ.ศ. ๒๕๐๕ ไมมีผูคัดคานเทาใด แตพื้นที่จัดการและเกี่ยวเนื่องเปน พื้นที่เขตอำนาจอธิปไตยของไทยที่ทางศาลโลกไมไดตัดสินและ ทางไทยยึดครองเรื่อยมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๐๕ P พอมามี ก ารขึ ้ น ทะเบี ย นแหล ง มรดกโลกให แ ก ก ั ม พู ช าแต ฝายเดียวโดยคณะกรรมการมรดกโลก จึงสรางความขัดแยงใน เรื่องเขตแดนขึ้น โดยทางกัมพูชานำคดีความไปขึ้นศาลโลกเพื่อ ตีความการตัดสินใน พ.ศ. ๒๕๐๕ อีกวาระหนึ่ง จึงเกิดความ ขัดแยงระหวางคนไทยดวยกันเองคือ P

กลุมนักวิชาการและนักการเมืองที่เห็นวาโลกไรพรมแดน

U และกลุมคนในภาคสังคมที่รักชาติภูมิ [Patriotism] ไมยอม ใหเสียพื้นที่ในอำนาจอธิปไตยของประเทศชาติ P นักวิชาการและนักการเมืองกลุมนี้มักออกมาโตแยงและเขา ขางทางฝายกัมพูชา และใชคำกลาวหาอยางบอยๆ และซ้ำซากวา ฝายที่ตอตานกัมพูชานั้นเปน ชาตินิยมและคลั่งชาติ ในลักษณะ ปลุกระดมใหคนที่ไมรูเรื่องเขาใจผิด P จึงเกิดสงสัยและวิพากษวิจารณกันเปนประจำจากหนาขาว หนังสือพิมพและวิทยุวา มีนักวิชาการบางคนเขาไปรับจางรัฐบาล คอยแกตางใหกับฝายรัฐบาลในดานประวัติศาสตรผานมาถึงสอง รัฐบาลแลวคือ พรรคประชาธิปตยและพรรคเพื่อไทย

P ขาพเจาคิดวานักประวัติศาสตรแบบนี้เปนพวกที่ผูกขาดแบบ ไมมีหัวและหาง เพราะผูกขาดวาเรื่องราวประวัติศาสตรที่คนออกมา อางนั้นเปนความแทจริงไมตองวิพากษหรือคิดแยง หรือถาจะทำการ คนควาเพิ่มเติมก็ควรทำอะไรที่มายืนยันประกอบใหเห็นวาเปนเรื่อง จริงมากขึ้น P ขาพเจาไมไดเลาเรียนมาแบบนักประวัติศาสตรอาชีพที่เปน ดอกเตอรดอกตีนอะไรทำนองนั้น แตเปนนักศึกษาทางมานุษยวิทยา โบราณคดีที่เห็นวา ปราสาทพระวิหารและพื้นที่เกี่ยวของเปนพื้นที่ อยูบนที่ราบสูงในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน แตในอดีตสรางขึ้น เพื่อชีวิตวัฒนธรรมของพื้นเมืองที่อยูในบริเวณนั้น หาไดมีอยูเพียง แตปราสาทที่อยูตรงปลายชะงอนผาที่เมื่อเวลาฝนตกลงมาก็ไหลลง ลาดเขาในเขตประเทศไทย หามีสันปนน้ำที่แบงลงที่ลาดทางฝงเขมร ไม เพราะมีแตผาชันที่เรียกวา เหว P ปราสาทอยูในพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ มีทางเดินและซุมประตูที่เรียกวา โคปุระจากระดับสูงลงระดับต่ำไปจรดสะพานนาคราชที่ทอดยาวไป จรดขอบที่สูง โดยกึ ่ ง กลางของสะพานมี ท างแยกไปสู  บ ริ เ วณ บั น ไดหักที่เปนทางขึ้นมาจากพื้นที่เขมรต่ำซึ่งอยูทางตะวันออก แตปลายสะพานที่มีนาคหัวโลนเจ็ดเศียรขนาบคูนั้นหันหนาลงทิศ เหนือ มีขั้นบันไดลงสูฐานสิงหคูกอนที่จะลงสูเสนทางผานลำตราว ไปลงสระตราวอั น เป น สระบารายหรื อ อ า งเก็ บ น้ ำ ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ซ ึ ่ ง สัมพันธกับปราสาทพระวิหาร P พื้นที่โดยรอบสระตราวเปนที่ราบกวาง มีทั้งแหลงตัดหิน ธารน้ำ รองน้ำ และรองรอยของโบราณวัตถุที่แสดงวาเปนแหลง ที่อยูอาศัยที่เปนชุมชน P ความเกี ่ ย วดองระหว า งปราสาทกั บ สระตราวดั ง กล า วนี ้ สะท อ นให ถ ึ ง ความเป น เมื อ งหาใช ม ี แ ต เ พี ย งศาสนสถานที ่ เ ป น ปราสาทอยางเดียวไม ปราสาทพระวิหารจึงเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ สำหรับผูคนของบานเมืองที่อยูในบริเวณนี้

P ปราสาทพระวิหารและพื้นที่โดยรอบเปนของกัมพูชาตามการ ตัดสินทางศาลโลก อีกทั้งเอาเรื่องราวประวัติศาสตรแบบไมมี หัวและหางที่นักประวัติศาสตรโบราณคดีฝรั่งเศสสมัยอาณานิคม มาอางและยืนยันใหคนในปจจุบันยอมรับ

P เพราะฉะนั้นในการกำหนดแหลงมรดกโลกปราสาทพระวิหาร นั้นคงจะตองเกี่ยวรวมมาถึงบริเวณสระตราวและบริเวณโดยรอบ ดวยในลักษณะบูรณาการที่เรียกวา “เมืองพระวิหาร” ที่เปนเมือง อยูระหวางพรมแดนที่อยูระหวางบานเมืองบนที่ราบสูงกับที่ราบต่ำ ที่ตองมีความสัมพันธทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมไปมาหาสู แลกเปลี่ยนสินคาสิ่งของระหวางกัน

P ดังเชนปราสาทพระวิหารเปนของเขมร เพราะกษัตริยในสมัย เมืองพระนครมีอำนาจเหนือดินแดนที่ราบสูงโคราช และสรางไวเพื่อ แสดงเดชานุ ภ าพ ประชาชนที ่ อ ยู  ใ นเขตเขาพระวิ ห ารก็ เ ป น คน ชาติพันธุเขมร ทุกอยางยิ่งตองเปนของเขมร จึงไมสมควรที่จะโต แย ง อั น ใด เพราะประวั ต ิ ศ าสตร ต อนนี ้ เ ป น ความจริ ง ที ่ ค วรจะ ทองจำเสียดวยซ้ำ

P เมืองพระวิหารมีลักษณะทางภูมิศาสตรแสดงใหเห็นวาเปน เมื อ งใหญ เ มื อ งสำคั ญ ของชนเผ า พั น ธุ  ท ี ่ พ ู ด ภาษามอญ-เขมร กลุ  ม หนึ ่ ง ที ่ อ ยู  ใ นบริ เ วณนี ้ ม าแต ส มั ย ก อ นประวั ต ิ ศ าสตร แ ละ สมัยกอนเมืองพระนครแลว โดยเปนบานเมืองที่มีอิสระในตัวเอง แตมีความสัมพันธทางสังคม เศรษฐกิจ กับเมืองอื่นๆ ทั้ง ที่อยูบนที่ราบสูงและที่ราบต่ำในเขตกัมพูชา

P

ทุกครั้งก็ออกมาอางเหตุผลแบบเดิมๆ และซ้ำซากวา

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

õ๕


Âย ¹น ©ฉ- ºบÑัÁมºบÔิ ¶ถ·ท∙Õี่ Øุ ¹นù๙Òา Âยø๘¹น »ปÕี àเ·ท∙ÕีÁม่ Éษñ๑Òา ÷๗

ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

P ปราสาทพระวิ ห ารสร า งขึ ้ น เป น ศาสนสถานศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ใ น ลั ท ธิ ศ าสนาฮิ น ดู ท ี ่ พ ระมหากษั ต ริ ย  ก ั ม พู ช าสมั ย เมื อ งพระนคร ทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก บริเวณชะงอนเขาที่ตั้งของปราสาท คื อ แหล ง ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ใ นระบบความเชื ่ อ ของคนท อ งถิ ่ น ที ่ ต  อ งมา สั ก การะและทำพิ ธ ี ก รรมโดยเฉพาะในพิ ธ ี เ ปลี ่ ย นผ า นสำหรั บ ผู  ค นที่จะขึ้นมาบนที่ราบสูงและลงสูที่ราบต่ำซึ่งกษัตริยขอมสมัย เมืองพระนครสรางถวายสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในรูปแบบของลัทธิศาสนาฮินดู [Hindunization] โดยเปลี่ยนชื่อใหเปน “ศรีศิขเรศวร” ในรูป แบบการใชศิวลึงคเปนสัญลักษณ์ U หาใชการตีความแบบภาษาของนักลาอาณานิคมฝรั่งเศสที่บอก ว า เป น การแสดงอำนาจทางการเมื อ งเหนื อ ดิ น แดนในเขต ประเทศไทยไม และอยางที่นักประวัติศาสตรที่เปนมือปนรับจาง รัฐบาลและเขมรตีความไม P เพราะการเปนแหลงศักดิ์สิทธิ์คูกับชุมชนบนทางผานเชนนี้ ยังมีพอใหเปรียบเทียบ เชน ปราสาทตาเมือนธมที่กำลังจะเปน ขอพิพาทตอจากปราสาทพระวิหาร เปนปราสาทที่อยูในเขตสันปนน้ำ ที่ปจจุบันคนทั้งฝงเขมรและฝงไทยตางมาไหวผีที่เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ ปราสาทเหมือนกัน แตไมไดมาไหวศิวลึงคซึ่งสรางขึ้นแตสมัยเมือง พระนคร อันเปนประวัติศาสตรที่ตายแลว [Deadwood History] ควบคูไปกับการมาทำพิธีกรรมไหวผีรวมกัน พื้นที่ใกลกับปราสาทก็ เปนแหลงตลาดแลกเปลี่ยนสินคาซื้อขายระหวางกันเชนเคยมีมา แตอดีตในรูปแบบประวัติศาสตรสังคมของคนในพื้นที่ทองถิ่นที่ เปนประวัติศาสตรที่มีชีวิต

P

ทั้งหมดที่กลาวมานี้คือการศึกษาและตีความประวัติศาสตรใน แง ม ุ ม และกระบวนการศึ ก ษาทางมานุ ษ ยวิ ท ยาของข า พเจ า ใน ลักษณะที่เปนจุลภาค คือในระดับทองถิ่นที่แลเห็นทั้งหัว คือการ เริ่มตน สวนกลาง และสวนหางที่มีลักษณะตอเนื่อง แตมักถูก กลาวหาจากบรรดานักประวัติศาสตรที่เปนมือปนรับจางวาเปน แบบชาตินิยมและคลั่งชาติ P ดังนั้นขาพเจาก็จะกลาวหาบางวานักวิชาการมือปนรับจาง เหลานั้นเปนพวก “ตางชาตินิยม” ขายชาติและขามขาติบาง

¤คÇวÒาÁมËหÅลÒา¡กËหÅลÒาÂย·ท∙Òา§ง ÊสÑั§ง¤คÁมáแÅลÐะÇวÑั²ฒ¹น¸ธÃรÃรÁม ขอสังเกตจากการไปฟงเสวนาเรื่อง "ตามรอยสมเด็ จ เจ า ฟ า อุ ท ุ ม พร ในอมรปุ ร ะ เมี ย นมาร " ÇวÅลÑัÂยÅลÑั¡กÉษ³ณ์ ·ท∙Ãร§งÈศÔิÃรÔิ ö๖

U เพราะคนเหลานี้ดีแตอางฝรั่ง อางประวัติศาสตรสมัยเมือง พระนครที่ตายแลวเชนเดียวกับพวกฝรั่งเศสปลุกผีขึ้นมาสรางความ เปนชาตินิยมใหกับคนเขมร เปนประวัติศาสตรที่ตายแลว เพราะไม เห็นที่มาในตอนตนและตอนปลาย เอาแตตอนกลางสมัยเมือง พระนครที่เห็นแตความยิ่งใหญของกษัตริยวรมันที่ฝรั่งเศสสรางขึ้น P และไมเคยใหความเปนธรรมกับประวัติศาสตรสมัยหลังเมือง พระนครลงมาจนถึงสมัยอยุธยาและกรุงเทพฯ ที่กษัตริยไทยและ อาณาจั ก รสยามเคยครอบครองกั ม พู ช าและดิ น แดนในฐานะ ประเทศราช หรือแมแตยุคประวัติศาสตรเชื้อชาตินิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ยังถือวาไทยเคยมีสิทธิ์เหนือดินแดนพระวิหาร และเสียมเรียบมากอน

P

แต ส ิ ่ ง ที ่ น  า สมเพชสำหรั บ การขายชาติ ข ายแผ น ดิ น ของนั ก ประวัติศาสตรมือปนรับจางใหเขมรที่อยากจะทิ้งทายไวในที่นี้ก็คือ P นักประวัติศาสตรกลุมนั้นเขาไปในแดนเขมร อาสาเขมรขึ้น ไปบนปราสาทพระวิหารจากทางฝงเขมร นั่งรถผานหุบผานเหว สองขางทางขึ้นไป แลวบอกวาปราสาทพระวิหารนั้นแทจริงหัน หน า ลงเขมรต่ ำ มาทางตะวั น ออกตามทางบั น ไดหั ก ที ่ เ ป น ของ โบราณและที่สมเด็จเจาสีหนุเคยเสด็จปนขึ้นไป P เพราะตรงขางลางในเขตเขมรมีหมูบานหนึ่งที่ชื่อวา โกมึน ซึ่ง แปลกลับไปตามความหมายเดิมวา โคปุระ คือซุมประตูชั้นที่ ๑ แลว ชักแมน้ำทั้งมหาสมุทรมาอธิบายใหเห็นจริง P ขาพเจาคิดวาเรื่องการตีความเชิงประวัติศาสตรขายชาติที่วา ปราสาทพระวิหารหันหนาลงเขมรทางบันไดหักนี้เปนการคนพบที่ มหัศจรรยเปนอยางยิ่ง ถาหากนักโบราณคดีฝรั่งเศสยุ​ุคอาณานิคม เชน เซเดส, โกลิเยอร หรือบวสเซอริเยร ไดรับรูแลวคงอายแทบ มุดแผนดินหนีก็ได P ส ว นข า พเจ า ในฐานะนั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาที ่ เ คยเล า เรี ย นมา เกี่ยวกับการใชชื่อสถานที่และถอยคำในความหมายทางชาติพันธุ เทียบเคียงกับชื่อและคำในอดีตที่หางไกลทางโบราณคดี เชนการ เทียบชื่อ บานโกมึน เขากับ โคปุระ ก็คงอับอายอยางไมนอยหนา นักโบราณคดีฝรั่งเศสทีเดียว P P เรื ่ อ งเล า จากวงเสวนาเนื ่ อ งในงานสถาปนิ ก ’๕๖ จัดโดย สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ เมื่อ วั น เสาร ท ี ่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ผูรวมเสวนาคือ คุณวิจิตร ชินาลัย ผูอำนวยการโครงการ Thailand Design Consortium Co., Ltd. ร ว มด ว ย คุ ณ มิ ค กี ้ ฮาร ท สถาปนิ ก -นั ก ประวั ต ิ ศ าสตร คุณปองขวัญ (สุขวัฒนา) ลาซูส อุปนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ เปนผูดำเนินรายการP ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

สถูปที่สันนิษฐานมาแตเบื้องตนวาเปน สถูปที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระเจาอุทุมพร ชานเมืองอมรปุระ ภาพกอนการขุดแตงไมนานนัก

แผนผังโดยรวมเมื่อปรับพื้นที่ หมายเลข ๑๔ คือสถูปองคเดิม สวนหมายเลข ๓ คือเจดียที่พบ ตะลุมพานใสอัฐิที่พบใหม

P กรณีเรื่องสถูปเจาฟาอุทุมพรที่ชานเมืองอมรปุระ ผูเขียนเคย เขียนเรื่องนี้ใน จดหมายขาวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ฉบับที่ ๙๖ (ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๕) กอนที่จะมีการไปขุดคนที่อมรปุระ โดยคณะอาสาสมัครฯ ราวเดือนหรือสองเดือน P โดยสรุ ป ก็ ค ื อ มี โ อกาสอย า งมากที ่ บ ริ เ วณนี ้ จ ะเป น สถานที ่ ถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ ทั้งจากประวัติศาสตรบอกเลาและ ขอมูลแวดลอมที่เปนเรื่องนาสนใจซึ่งมาจากการบอกเลาหรือขอมูล มุขปาฐะจากลูกหลานที่ถือวาตนเองคือเชื้อสายชาวโยดะยาที่รวม ทั้งประเพณี พิธีกรรม และโบราณสถานบางสวน แตจะบงบอกวา สถูปองคใดคือสถูปของเจาฟาอุทุมพรคงยาก จนถึงอาจจะเปนไปไม ไดเลยที่จะบงบอก แตการจัดการเพื่อเปนสถานที่อนุสรณสถาน ไมวาจะมีอยูจริงหรือไมก็ควรทำ กรณีการบูรณะโบราณสถานที่ เกาะเมืองอยุธยานั้นยังไมสามารถจัดการพื้นที่และใหความหมายกับ เจดี ย  ส ั ก องค ไ ด เ ลย การบู ร ณะหรื อ อนุ ร ั ก ษ โ ดยแสดงข อ มู ล การศึกษาอยางชัดเจนก็นาจะสรางความรูและความเขาใจตลอดจน ความสัมพันธในระหวางรัฐยุคใหมทุกวันนี้ไดมากกวาอยูกันเฉยๆ แตกรณีนี้นักโบราณคดีไทยสวนใหญไมคอยเชื่อเพราะ P ๑. มีขอมูลนอยมากเรื่องพระเจาอุทุมพรเมื่อไปพมา โดย เฉพาะเรื ่ อ งคำให ก ารขุ น หลวงวั ด ประดู  ท รงธรรมที ่ ค าดว า ได ตนฉบับที่แปลเปนภาษามอญไปแลวอีกทีกอนแปลเปนไทย แถม ขอมูลอื่นๆ ที่มีก็กลาวถึงการไปอยูเมืองสะกายนมากกวาอมรปุระ ดวย สวนเอกสารที่แปลจากภาษาพมาโบราณ กลาวถึงการถวาย พระเพลิ ง พระบรมศพก็ ไ ปเขี ย นถึ ง เจ า ฟ า เอกทั ศ น ไ ม ใ ช เ จ า ฟ า ดอกเดื่อ นักประวัติศาสตรและโบราณคดีไทยเลยยังคลางแคลง ใจที่จะเชื่อถือเสียทั้งหมด จนถึงไมนำขอมูลสวนนี้มาใชเลย P ๒. ไมเชื่อถือ คุณหมอทิน มอง จี เพราะคิดวาไมรูภาษาไทย และมีลักษณะการผูกเรื่องเองสูง โดยมีประเด็นซอนเรน เชน ความ ตองการใหคนไทยไปเที่ยวกันมากๆ เปนตน เมื่อมีโอกาสมารูจัก คุณหมอ เห็นวาเปนคนที่ตื่นเตนเปนธรรมดาเวลาเจอเรื่องที่นาสนใจ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ตะลุมพานมีฝาปด ประดับดวยกระจกจืนสีเขียวดานนอก นาจะเปนของบุคคลชั้นสูงซึ่งทางคณะทางฝงไทยและพมาลงความเห็นวา ควรจะเปน “บาตรมรกต” ที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระเจาอุทุมพร

และฝกใฝในการแสวงหาความรู แมวาจะอายุเจ็ดสิบกวาปก็ตาม การผูกเรื่องใหเชื่อมโยงกันมีเปนธรรมดาของนักวิชาการที่ขาม สาขา แตก็เปนคนรับฟงเวลาเห็นขอมูลใหมๆ ไมเขาขางตัวเองแบบ ที่วา คุณหมอมีขอมูลนาสนใจในทาง Ethnography อยูมาก โดย เฉพาะการเปนลูกหลานของครอบครัวโขนละครจากโยดะยาหรือ อยุธยา และยังสนใจในดนตรีและนาฏศิลป งานของคุณหมอมาถูก ทางหลายเรื่อง งานจะนาสนใจมากถามีการปรับเติมและคนควาเพิ่ม เติม แตก็ยังอยูในสภาพแวดลอมที่ยังไมสามารถทำไดโดยสะดวกนัก จากสถานการณทางการเมืองที่ผานมา P ๓. สำหรับการศึกษาทางโบราณคดี ถาเนนดูเรื่องอิฐ เรื่อง ขนาด ความหนา ความยาว และเรื่องรูปแบบเจดียคงงงมากถา ใชวิธีนี้ บางทานเห็นวาเอารูปแบบเจดียแบบเมืองไทยไปเปรียบ เทียบอีก ซึ่งนาจะอยูตางพื้นที่ตางวัฒนธรรม คุณมิคกี้ ฮารท ก็ พยายามทำอะไรแบบนี ้ เ หมื อ นกั น แตอยูในบริบทของโบราณ สถานในเมืองอมรปุระ ฟงจากวงพูดคุยคาดวานักโบราณคดีพมา ก็มาทำนองนี้ ดังนั้นการจะไปเห็นดวยวาเจดียที่พบใหมและพบ โบราณวัตถุสำคัญคือสถูปพระเจาอุทุมพรอยางเต็มที่คงไมใชเรื่อง จึงเลี่ยงไปพูดเสียวาการพบภาชนะบรรจุอัฐิของบุคคลชั้นสูงใน เจดียองคหนึ่ง แตไมมีอะไรบงบอกวา "ใช" อยางแนนอน เพราะ อาจจะเปนเจานายในวงศอื่นๆ ก็ได P ๔. วิธีที่ทางหัวหนากลุมศึกษาและอาสาสมัครฯ บอกวาจะนำ ชิ้นสวนกระดูกอัฐิไปพิสูจนทางวิทยาศาสตร เชน ตรวจดีเอ็นเอ เพื่อสืบเชื้อสายโดยหากลุมตัวอยางจากคนที่วาเขาเปนเชื้อสายและ อพยพไปอยูอเมริกา หรือหาคนที่อยูอมรปุระหลายชั่วคนไมยาย ไปไหน หรือคนอยุธยาที่เกาะเมืองอยุธยา นาจะเปนเรื่องที่ยากยิ่ง กวางมเข็มในมหาสมุทรที่จะคนพบ P ๕. มาถึงหลักฐานสำคัญที่ทำใหชาวคณะภาคภูมิ เพราะดูจะ มีเปาประสงคในใจอยูแลววา นี่คือการคนหาหลักฐานของพระเจา อุทุมพร กอนกลับก็ไดคนพบภาชนะที่ทางกลุมเรียกวา “บาตร” ÷๗


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

มีฝาปด แมอาจสันนิษฐานวาเปนภาชนะอื่นๆ ไดเชนกัน ในวงเสวนา บอกกันวาทางคณะพมาเชื่อสนิทใจรอยเปอรเซ็นต เพราะเชื่อวาเปน รูปแบบภาชนะสำหรับคนสำคัญ เปนของพระราชทานแนนอน ตรงนี้ เปนประเด็นสำคัญ คนทางฝงพมารวมทั้งนักวิชาการตางๆ คงตอง คนหาขอมูลมาเพิ่มใหมีความชัดเจน ซึ่งคิดวาไมนายาก เพราะคน ทางพมานั้นนิยมการบันทึกอยูมาก ถึงแมระบบกษัตริยจะสิ้นไปแลว ก็ตาม ภาชนะแบบนี้เปนบาตรหรือไมในวัฒนธรรมพมาก็ไมนายาก การหาขอมูลและศึกษากอนสรุปนาจะดีกวา

ฝงขวาของแมน้ำโขง คนมอญ คนมลายูที่กลายมาเปนสวนหนึ่งของ บานเมืองสยามในปจจุบัน โดยเฉพาะในเขตที่ราบลุมภาคกลาง

P ๖. เปาหมายในใจของทั้งสองฝงเปนเรื่องสำคัญ ฝายคณะ ไทยไมตองพูดถึง เพราะเรื่องแบบนี้จะออกแนวซาบซึ้งไดงายมาก (ประเด็ น เรื ่ อ งการพลั ด พรากจากบ า นเกิ ด เมื อ งนอนเป น เรื ่ อ ง สะเทือนใจในสังคมแบบพุทธศาสนาเสมอ) และพรอมจะปฏิบัติ การเพื่อทำใหตรงนี้เปนอนุสรณสถานอยูแลว ฝงพมาเมื่อนโยบาย ทางการเมืองเปลี่ยนทุกวันนี้ ในวงเสวนากลาววาขาราชการของ เมืองมัณฑะเลยวิ่งเขาไปที่เมืองหลวงใหมเนปดอวบอยๆ จากที่ให ขุดเฉยๆ มาเปนใหปรับปรุงสุสานทั้งหมดของพื้นที่เลย แลว บูรณะเปนแหลงทองเที่ยวอนุสรณสถานตามที่ทางฝงไทยอยากทำ ก็ควรทำ นับเปนความชาญฉลาดของเจาของพื้นที่อยางชัดเจน บาง ทานเห็นวาคลายๆ กับการอธิบายเรื่องวังของพระนางสุพรรณกัลยา ในพระราชวังวังบุเรงนองที่หงสาวดี

P แตการสรุปแบบรวดเร็วอาจทำใหขาวการคนพบครั้งนี้ดูเงียบๆ ไมคอยมีการเผยแพรละเอียดๆ หรือเปนขาวคราวที่ดังพอๆ กับขาว การจะเตรียมรื้อกลุมเจดียที่สุสานนี้ สวนสุสานลานชางชื่อก็บอก แลววาอาจจะเกี่ยวโยงถึงผูคนในกลุมลาว สถูปที่คุณหมอทิน มอง จี คาดวาจะเปนของเจาฟาดอกเดื่อ ทีมคณะไทยไมพบหลักฐานและ เห็นวาไมนาจะมีประเด็นแตอยางใด ทั้งที่เห็นชัดเจนวามีอิทธิพล ของสถูปแบบ "บัว" ซึ่งนิยมทำสำหรับพระผูใหญ เชนที่สถูปพระครู หลวงโพนสะเม็กที่จำปาสักอาจจะไมสามารถจัดกลุมเขาพวกได จึงไมไดกลาวถึงอีกแตอยางใด

P ๗. สรุปวาคณะฝงไทย (หรือรัฐบาลไทย) ตองกลับไปบูรณะ ปรับแตง ฯลฯ ซึ่งก็ขึ้นกับระดับผูนำในรัฐแลว ในความคิดเห็นสวนตัว ของผูเขียนเห็นวา ยังมีความรูเรื่องคนสยามหรือคนโยดะยาในเขต Upper Myanma ทั้งสองฝงแมน้ำอิรวดีไปจนถึงแมน้ำชินดวินอีก มากที่สามารถอธิบายเรื่องราวของคนสยามที่ถูกกวาดตอนไปใน คราวสงครามกับพมาครั้งตางๆ ก็คงเชนเดียวกับผูคนจากทาง

P ในเวทีเสวนา คุณมิคกี้ ฮารท ก็ยังเลาถึงขอมูลผูสูงอายุที่ยัง จำไดวามีการเรียกเจดียที่นี่วา “เจดียอุทุม” รวมทั้งขอมูลจาก คุณหมอทิน มอง จี ในการคนพบเริ่มแรกก็มาจากประวัติศาสตร บอกเลาเสียทั้งนั้น จึงตองอาศัยการทำงานเก็บรายละเอียดทางดาน Ethnography และประวั ต ิ ศ าสตร แ บบมุ ข ปาฐะก็ น  า จะพอเห็ น รองรอยตางๆ ได

P การเผยแพร ข  อ มู ล ในวงเสวนานี ้ จ ึ ง อาจจะไม ใ ช ง านศึ ก ษา อย า งละเอี ย ดนั ก แต เ ป น การทำงานกึ ่ ง กู  ภ ั ย รั ก ษาโบราณ สถานมากกวา [Salvage Archeology] สิ่งเหลานี้มักเกิดขึ้นใน โลกสมั ย ใหม ท ี ่ ค รอบงำไปด ว ยประเด็ น ของกิ จ กรรมและ อุตสาหกรรมเพื่อการทองเที่ยว U จึ ง น า ใส ใ จกั น ว า จะมี ก ารศึ ก ษาเรื ่ อ งคนสยามหรื อ คนโยดะยาในพมากันตอหรือไม อยางใด หลังจากจัดการ พื้นที่เพื่อเปนอนุสรณสถานกันไปไดแลว

ผูสูงอายุจะมีจำนวนมาก ขณะที่ประชากรวัยหนุมสาวเหลือนิด เดียวในถิ่นฐานบานเกิด

ºบÑั ¹น ·ท∙Öึ ¡ก ¨จÒา¡ก·ท∙้ Íอ §ง¶ถÔิ ่ ¹น สรา งเด็กรัก ถิ่นกั บอยูเมืองแกลงวิทยา ÊสØุ´ดÒาÃรÒา ÊสØุ¨จ©ฉÒาÂยÒา

M “ระบบการศึ ก ษาไทยเป น เหมื อ นกั บ การตั ด เสื ้ อ ฟรี ไ ซซ ใ ห ทุกคนใสเสื้อเหมือนกันหมด ฉะนั้นเมื่อจบระดับอุดมศึกษาไมเขา โรงงานก็ไปเขาภาคบริการ จะมีคานิยมอะไรก็ได เพราะการสอน ของบ า นเราก็ ค ื อ สอนให ค นทิ ้ ง บ า นทิ ้ ง ถิ ่ น จึ ง พบว า ประชากร ø๘

U “เราไมไดบอกคุณตองกลับบาน แตเรามีปญหากับระบบการ ศึกษาในปจจุบัน เพราะการศึกษาไมทำใหคนใชถิ่นฐานบานเกิดเปน ตัวเลือกในการใชชีวิต เราเริ่มคิดแลววาความยั่งยืนของเมืองอยูตรง ไหน ถาเขาทิ้งบาน ผลสุดทายเกิดที่ดินรกรางวางเปลา เมื่อมีนักลงทุน อื่นเขามา เขาไมเขาใจราก ไมเขาใจอะไรเลย คงทำอะไรก็ไดที่ทำให ไดเงิน เราพบวาทองนาหลายที่ถูกเปลี่ยนเปนรีสอรต เปลี่ยนเปน โรงแรมมานรูดเปนการลงทุนที่ผิดฝาผิดตัว เราจึ ง อยากสร า ง โรงเรียน มีโรงเรียน มีการจัดหลักสูตรเองและสิ่งที่จะประกาศ ความอหังการของเราก็คือชื่อโรงเรียน “อยูเมืองแกลงวิทยา” คนเรี ย นอยู  ใ นพื ้ น ที ่ แ ละต อ งจำชื ่ อ บ า นเมื อ งของเขาไปตลอด

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

แตเมืองแกลงไดใหชีวิตความเปนอยูกับตัวเขา รวมถึงรุนพอรุน แมดวยซ้ำ...” P สมชาย จริ ย เจริ ญ นายกเทศมนตรี เ ทศบาลตำบล เมืองแกลง จังหวัดระยอง กลาวอยางหนักแนนถึงความตั้งใจ และแนวคิดในนโยบายการศึกษาของเทศบาลตำบลเมืองแกลงที่ แมจะประสบอุปสรรคจากความไมเขาใจของสวนราชการ แตสำหรับ ประชาคมเมืองแกลงแลว นี่คือความเห็นรวมกันที่จะวางรากฐานการ พัฒนาบานเมืองของตนเองอยางยั่งยืน

กว า จะเป น อยู  เ มื อ งแกลงวิ ท ยา P การมี ส  ว นร ว มในการสร า งบ า นสร า งเมื อ งของชาวแกลง หาไดเพิ่งเกิดขึ้นจากโครงการสรางโรงเรียนแหงนี้เทานั้น แตไดมี พั ฒ นาการทางความคิ ด และการลงไม ล งมื อ กระทำมาจาก วิสัยทัศนและเปาหมายที่ชัดเจนของผูบริหารเทศบาล นับแตเมื่อ ครั้ง สมชาย จริยเจริญ เขาดำรงตำแหนงนายกเทศมนตรีเทศบาล ตำบลเมืองแกลงสมัยแรกในป พ.ศ. ๒๕๔๔ ก็เขาสูชวงเวลา แหงการพลิกฟนบานเมือง P จากในอดีตเมืองแกลงหรือที่ชาวบานเดิมเรียกวา สามยาน ดวยเปนชุมทางคาขายที่สามารถติดตอกับผูคนในหลายพื้นที่ทั้ง ทางเหนือ ตอนใต และทางตะวันตกของเมืองระยองได อีกทั้งมี แมน้ำประแสรไหลผานกลางชุมชนเมือง จึงเปนทาเรือขนสงสินคา ไดโดยสะดวก นอกจากนี้ยังดินดำน้ำชุมเปนแหลงทำการเกษตร ปลูกขาวมาแตอดีต กระทั่งเมืองแกลงเขาสูกระแสการพัฒนาสมัย ใหม มีการสนับสนุนใหปลูกยางพารา แกลงจึงเปนแหลงใหญที่มี การทำสวนยาง และกอใหเกิดโรงงานแปรรูปยางขึ้นหลายแหงใน พื้นที่อันสงผลตอสภาพแวดลอมของเมืองตอมา P ขณะเดียวกันแมน้ำประแสรที่เคยเปนเสนทางคมนาคมและ แหลงอาหารใหกับชุมชนก็เสื่อมสภาพ น้ำเนาเสีย กุงหอยปูปลา ลดจำนวนลงอยางมาก รายไดของชาวประมงก็เสื่อมถอยตามไปดวย P โครงการที่เกิดจากหลักคิดวา “เมื่อสิ่งแวดลอมดี สุขภาพ กาย สุขภาพใจ ชีวิตความเปนอยูก็จะดีตามไปดวย” จึงถูก ผลั ก ดั น ออกมานั บ หลายโครงการจากเทศบาลตำบลเมื อ งแกลง ไมวาโครงการพัฒนาแกลงใหเปนเมืองคารบอนต่ำ โดยรวมมือกับ สถาบันสิ่งแวดลอมไทยรณรงคใหชาวบานรักษาสภาพภูมิอากาศ เพื่อใหแกลงเปนเมืองนาอยู และชวยแกไขปญหาการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภู ม ิ อ ากาศโลกด ว ยการที ่ เ ทศบาลจั ด ระบบขนส ง สาธารณะชุมชนหรือ ขสมก. (ขนสงเมืองแกลง) ขึ้น เพื่อลดการ ใชยานพาหนะสวนบุคคล ทำใหปริมาณการใชน้ำมันลดลงและชวย ใหการจราจรในพื้นที่มีความคลองตัวขึ้น ที่สำคัญชวยลดการปลอย กาซเรือนกระจก ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

P จากระบบขนส ง สาธารณะด ว ยรถรางที ่ ไ ม ม ี ก ารคิ ด ค า บริการ จัดเสนทางการขนสงเปนเวลาในชวงเชาและเย็น เพื่อ บริการผูสูงอายุและนักเรียน สงผลใหคนมีวินัยในการเดินทางรวม กัน ทั้งผูปกครองก็ไมจำเปนตองเดินทางไปรับสงลูกหลานเพราะ เป น บริ ก ารขนส ง ที ่ ป ลอดภั ย ซึ ่ ง ทางเทศบาลยิ น ดี ล งทุ น ให ก ั บ ประชาชน P นอกจากนั้นเทศบาลฯ ยังมีนโยบาย “ทำอยางไรของเสียจึงไม เสียของ” ดวยวิธีการจัดการขยะใหไดของดี เนื่องจากตนเหตุสำคัญ ของขยะอยูที่ครัวเรือน จึงเริ่มจากจัดใหมีการคัดแยกขยะและมีการ จัดเก็บขยะตามที่ตางๆ อยางเปนเวลา รวมทั้งรับซื้อขยะรีไซเคิล จากโรงเรียนตางๆ เพื่อปลูกฝงใหนักเรียนและครัวเรือนตางๆ รูจักแยกขยะ รณรงคและออกกฎหมายใหหางราน ครัวเรือน ติดตั้ง ถังดักจับไขมันจากเศษอาหารกอนปลอยทิ้งลงแหลงน้ำ แลวเทศบาล ยังเปนผูรับซื้อไขมันจากบอดัก นำมาทำเปนแทงไขมันอัดกอนที่นำ ไปใชเปนเชื้อเพลิงได สวนเศษอาหารไปผสมเปนอาหารสัตว เชน เลี้ยงเปด หมู แพะ P ซึ่งเมื่อพวกสัตวเหลานี้ถายมูลก็ถูกเก็บเอาไปทำปุย บางสวน อยางผักผลไมเนาเอาไปทำน้ำหมักชีวภาพ สำหรับใสเติมในแมน้ำ ลำคลองเพื่อทำใหระบบนิเวศในน้ำดีขึ้น เศษใบไม กิ่งไม้ ก็จะถูก บดนำไปเปนอาหารของไสเดือนเพื่อผลิตปุยมูลไสเดือน ดวย ระบบดั ง กล า วส ง ผลให เ มื อ งแกลงสามารถลดการปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดไดถึงวันละ ๒๐๐ กิโลกรัม ลดปริมาณขยะจาก ประมาณ ๗ ลานกิโลกรัมเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๙ ใหเหลือประมาณ ๖ ลานกิโลกรัมในป พ.ศ. ๒๕๕๒ และสรางรายไดจากการขายปุยมูล สัตว น้ำจุลินทรีย และเชื้อเพลิงกอนไขมันอีกดวย P ไมเพียงดูแลดานอากาศและน้ำ เทศบาลยังดูแลผืนดินใหกลับ มาอุดมสมบูรณ ไมปลอยใหทิ้งรางวางเปลา โดยการชักชวนให ประชาชนหันกลับมาทำนาและรณรงคใหปลูกพืชผักสวนครัวไวกิน เองในครัวเรือน ตลอดจนทำเกษตรเมืองตามที่วางเปลาในเขตชุมชน และเทศบาล เปนการทำใหประชาชนรูจักพึ่งพาตนเอง ลดคาใชจาย ในครัวเรือน และที่สำคัญเกิดจิตสำนึกในการรูคาและรักธรรมชาติ มากขึ้น อีกทั้งดินดีขึ้นและสะอาด ปลอดจากปุยเคมีตางๆ P กระบวนการเหลานี้จะไมปรากฏผลสำเร็จเลยหากไมไดรับ ความร ว มมื อ จากชาวเมื อ งแกลงซึ ่ ง ตระหนั ก ว า โครงการต า งๆ เปนการฟนฟูสภาพเมืองใหนาอยู และที่สุดทำใหประชาชนชาวแกลง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แผนการการสรางโรงเรียนเพื่อบมเพาะลูกหลาน ชาวแกลงใหรักบานรักเมืองจึงไดรับการขานรับจากชาวเมืองแกลงทุก ครั้งที่มีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นถึงผลผลิตอันเปนความคาด หวังในการจัดตั้งโรงเรียน เพราะทุกความคิดเห็นจะถูกประมวลนำไป สูกรอบการยกรางหลักสูตรและทิศทางการบริหารโรงเรียนตอไป ù๙


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

แมน้ำประแสรที่เคยเนาเสียถูกพลิกฟนให กลับมาใสและเขียวขจีดวยการปลูกไมชายเลนเพื่อ เพิ่มแหลงบริบาลสัตวน้ำ ทำใหจำนวน กุงหอยปูปลาในแมน้ำมีปริมาณมากขึ้น

การเรียนการสอนของโรงเรียนอยูเมืองแกลงวิทยาคม เพิ่งเปดรับนักเรียนมาได ๒ ป (ภาพจาก https:// th.foursquare.com/v/ โรงเรียนอยูเมืองแกลงวิทยา)

ภารกิ จ สร า ง “ครู ” P ใครจะคิดวาภารกิจแรกกอนจะเกิดการสรางโรงเรียนอยูเมือง แกลงวิทยาไดมีการตระเตรียมแนวคิดและการจัดการมากอนหนา ๓-๔ ปแลว นายกเทศมนตรีทานนี้เห็นวาเทศบาลตองมีองค ความรูที่เกี่ยวกับเมืองแกลงใหกับเด็กเพื่อเด็กจะไดรับรูถึงเรื่องราว ตางๆ ของบานเมืองตนเอง ขณะเดียวกันผูที่นายกเทศมนตรีเปรียบ วาเปนเสมือน “ทอ” ลำเลียงความรูไปสูสมองของเด็กๆ นั้น หาใช “ครู” ตามระบบที่สอนกันอยูในโรงเรียน แตตองเปน “ครูเหนือครู” และตองไมจบครูเพราะ P “ผมคิดวาครูสวนใหญมักติดกรอบ การเรียนครูก็ถูกครอบมา แลวชั้นหนึ่งโดยคุณไมรูตัว ผมจึงอยากไดคนจบปริญญาตรี คณะ อะไรก็ได ใหเปนบุคลากรชวยสอนของเทศบาลซึ่งตอนนี้มีอยู ๔ คน เมื่อ ๓-๔ ปกอน ผมใหเขาคนควาหาขอมูลของเมืองแกลง ของ เทศบาล เชน เรามีแมน้ำอะไร มีวัดอะไร เทศบาลมีขยะเทาไร เรา กำลังทำอะไร ทุกสิ่งทุกอยางที่เกี่ยวกับแกลงไปเลาใหเด็กฟงตาม โรงเรียนตางๆ ในเขตเทศบาล U อยางนอยเรื่องราวเหลานี้จะเปนขอมูลของบานเมืองในหัวของ เด็กๆ เมื่อเขาจากไปเรียนยังที่อื่น เราเขาไปสอนตามโรงเรียน ประถม เอาไปเสียบในวิชาสิ่งแวดลอมบาง วิชาประวัติศาสตรบาง เพราะตอนนั ้ น เรายั ง ไม ม ี โ รงเรี ย นของเราเองซึ ่ ง ทางโรงเรี ย น เหลานั้นก็ใหความรวมมือไปอยูกับวิชาเรียน” P ดู เ หมื อ นว า แต ล ะก า วย า งของนายกเทศมนตรี ท  า นนี ้ ด ู จ ะ ราบรื่น ทวาไมเปนเชนนั้น เพราะเมื่อจะขอบรรจุบุคลากรครูเหลานี้ ในเทศบาล กลับถูกทางจังหวัดตีกลับดวยเหตุผลวาเทศบาลไมมี โรงเรียนในสังกัดจึงไมมีอัตราครู P “วันนั้นถาเราหยุดเพราะยึดเอาระเบียบเปนตัวกำหนด ผมจึงดู ระเบียบ ๑๒๐ อัตราที่เทศบาลจางไดมีอะไรบาง รับเด็กปริญญาตรี

ñ๑ð๐

ทุกปในงานบุญกลางบาน องคกรทองถิ่นจัดใหมี เสวนาเผยแพรเรื่องราวของชาวแกลง เชนกระบวนการจัดการใหแกลงกลายเปน เมืองคารบอนต่ำเปนตน

เหล า นี ้ ไ ปอยู  ต ามอั ต ราดั ง กล า วทำให เ ราสามารถทำในสิ ่ ง ที ่ เ รา ตองการได U เราจะรับเด็กตั้งแต ๓ ขวบ ไมถือวาเล็กเกินไป เพราะไมไดมุง เนนการเรียนแตแรก แตจะเนนพัฒนาการของเด็ก เนนพัฒนา กลามเนื้อและความคิด เราจะใชเรื่องราวของบานเมืองแทรกเขาไป ใหเด็กไดรูดวยวิธีการที่สนุกๆ สรางบรรยากาศใหเด็กรักโรงเรียน เพราะหากเด็กยังไมรักโรงเรียน เด็กจะไปรักบาน (เมือง) ของตน ไดอยางไร จะรักชาติไดอยางไร U โรงเรียนอยูเมืองแกลงวิทยาจะมุงที่เด็ก ปแรกจะรับอนุบาลถึง แคประถมหนึ่ง รับชั้นละ ๒๐ กวาคน เอาเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบ กอน เด็กนอกเขตใหโอกาสทีหลัง เราจะเปดรับปละหนึ่งชั้นเพราะผม ไมตองการเห็นผลสัมฤทธิ์เร็ว แลวไมใชเราจะสอนเด็กอยางเดียว เราตองมีการทบทวนหลักคิด ทบทวนความสามารถของบุคลากร U ส ว นหลั ก สู ต รที ่ ท างกระทรวงศึ ก ษาให ม า เราจะให เ ป น หลักสูตรขางเคียงเอาหลักสูตรทองถิ่นของเราเองเปนหลักสูตร แกนกลางแทน ในเมื่อเราใชเงินทองถิ่นเปนคนสรางคนทองถิ่นก็ ตองคิดเอง ถาถามวาเทศบาลไมทำแลวใครจะทำ เทศบาลเทากับ “บาน” ของคุณ บานก็คือประชาชนในพื้นที่ เทศบาลไมใชราชการ เพราะองคกรนี้สูงสุดก็คือชาวบานที่ถูกเลือกขึ้นมา” P ขอสรุปที่ชัดเจนของสมชาย จริยเจริญ บงบอกถึงวิสัยทัศน ในการมองอนาคตของมาตุภูมิตนเอง ซึ่งคน “แกลง” ไดรวมสราง และลงไมลงมือดวยตัวของพวกเขาเอง ภายใตอำนาจที่มีอยูบนพื้นที่ เล็กๆ หากมุงทำงานเพื่อบานเมืองและทองถิ่นแลวยอมไดรับความ สนับสนุนจากชาวบานเชนกัน จึงไมแปลกที่นายกเทศมนตรีผูนี้ จะไดรับเลือกตั้งติดตอมาตลอดตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๔ P และ “แกลง” วันนี้ ไดกลายเปนเมืองตัวอยางในการ ศึกษาดูงานของเทศบาลทองถิ่นอื่นๆ ซึ่งผูบริหารทองถิ่น อื่นๆ ควรเรียนรูถึงสำนึกรักบานเกิดเชนนี้บาง ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

¨จÑัºบ ¡กÃรÐะáแÊส ¾พÔิ ¾พ Ôิ ¸ธ ÀภÑั ³ณ ±ฑ์ ·ท∙ ้ Íอ §ง¶ถÔิ ่ ¹น

เกลื อเปน หนอน

ภัย ที่ควรระวังของชาวพิพิธภัณฑทองถิ่ น ¸ธÕีÃรÐะÇวÑั²ฒ¹น์ áแÊส¹น¤คÓำ ที่ปรึกษากลุมประวัติศาสตรสองขางทาง ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

!

กวาที่จะทำใหเกิดเปนพิพิธภัณฑทองถิ่น ไมวาจะอยูในชื่อ พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท  อ งถิ ่ น พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ เ มื อ ง พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ พ ื ้ น บ า น พิพิธภัณฑชุมชน และพิพิธภัณฑวัด หรือชื่อใดๆ ก็ถือวาเปนการ ยากพอสมควร แตการที่จะทำใหพิพิธภัณฑมีชีวิตมีความนาสนใจ และรักษาวัตถุสิ่งของที่จัดแสดงอยูภายในพิพิธภัณฑ โดยเฉพาะ อยางยิ่งของโบราณมีคาตางๆ ถือวาเปนการยากยิ่งกวา เพราะสภาพ สังคมทุกวันนี้เต็มไปดวยมิจฉาชีพที่จองจะลักขโมยสมบัติแผนดิน สมบัติชุมชนขายเปนอาชีพเริ่มมีมากขึ้น P ช ว งไม ก ี ่ ป  ท ี ่ ผ  า นมามี ข  า วที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ การลั ก ขโมย โบราณวั ต ถุ ห รื อ สิ ่ ง ของมี ค  า ในพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท  อ งถิ ่ น หลายแห ง สวนใหญเกิดจากความไมรัดกุม เลินเลอ ขาดประสบการณและขาด งบประมาณในการป อ งกั น ดู แ ลรั ก ษา ทั ้ ง ที ่ ส ิ ่ ง ของต า งๆ ในพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ล  ว นแล ว แต ม ี อ ายุ ห ลายสิ บ ป จ นถึ ง หลายร อ ยป เปนที่ตองการของผูนิยมชมชอบของผูสะสมของเกา รวมทั้งความ ไมเขมแข็งของชุมชนซึ่งถือวาเปนผูมีสวนสำคัญในการรักษาความ ปลอดภัยของพิพิธภัณฑ แมแตพิพิธภัณฑสถานแหงชาติของทาง ราชการที่ถือวามีทุกอยางพรอมสรรพหมดในการจัดทำและดูแล พิพิธภัณฑก็ยังปลอยใหมิจฉาชีพเขาไปขโมยโบราณวัตถุภายใน พิพิธภัณฑไดทำใหเปนขาวโดงดังไปทั่วประเทศมาแลว P เมื่อเกิดเหตุการณลักขโมยโบราณวัตถุหรือสิ่งของมีคาใน พิพิธภัณฑทองถิ่น เรามักจะสงสัยวาเปนฝมือของบุคคลภายนอก หรือคนแปลกหนาที่แวะเวียนมาในทองถิ่นในชวงเวลาใกลเคียง กับการเกิดเหตุ หรือไมก็สงสัยวาคนในทองถิ่นเองมีสวนรูเห็นกับ การโจรกรรม P จากประสบการณการลงพื้นที่ศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น ตามชุมชนทองถิ่นตางๆ ในลุมแมน้ำนานตอนลางรวมกับสมาชิก กลุมประวัติศาสตรสองขางทาง ภาควิชาประวัติศาสตร คณะ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๙ เปนตน มา ไดมีโอกาสศึกษาและพบปะพูดคุยกับผูที่รับผิดชอบหรือมี ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ส ว นเกี ่ ย วข อ งกั บ การทำพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท  อ งถิ ่ น ในชุ ม ชนต า งๆ ดวย ทำใหเห็นถึงปญหาในหลายดานของการจัดทำและดูแลรักษา พิพิธภัณฑทองถิ่นตลอดจนเห็นความเปลี่ยนแปลงของพิพิธภัณฑ ทองถิ่น โดยเฉพาะอยางยิ่งมีโบราณวัตถุในพิพิธภัณฑ ๒ แหง ถูกลักขโมยไป P แต ส ิ ่ ง ที ่ ไ ม ค าดคิ ด ว า จะได ป ระสบพบเจอก็ ค ื อ คนที ่ ม ี ส  ว น เกี่ยวของกับการดูแลรักษาพิพิธภัณฑทองถิ่นโดยตรง กลายเปน สวนหนึ่งของขบวนการลักขโมย ซึ่งตรงกับสุภาษิตคำพังเพยที่วา “เกลือเปนหนอน” นั่นเอง

! แหงแรกคือ พิพิธภัณฑวัดพระฝาง ซึ่งตั้งอยูภายในวัดพระฝาง สวางคบุรีมุนีนาถ บานพระฝาง ตำบลผาจุก อำเภอเมือง จังหวัด อุตรดิตถ ในพิพิธภัณฑไดจัดแสดงโบราณวัตถุ พระพุทธรูป และ ขาวของเครื่องใชตางๆ จำนวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งพระพุทธรูป ซึ่งลวนแตมีพุทธศิลปเกาแกเนื่องจากวัดพระฝางฯ เปนพระมหาธาตุ สำคัญและสรางมาตั้งแตประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ภายใน พิพิธภัณฑจึงมีพระพุทธรูปเกาแกหลายองคจัดแสดงอยู P การดูแลรักษาพิพิธภัณฑนั้นโดยปกติทางวัดและชุมชนบาน พระฝางไดมีการตั้งคณะกรรมการขึ้นมาดูแล กุญแจพิพิธภัณฑ จะเก็ บ รั ก ษาไว ก ั บ เจ า อาวาสวั ด ส ว นหน า ที ่ ใ นการดู แ ลความ เรียบรอยในการจัดแสดงและนำชมนั้นก็จะมี คุณตาเย็น ภูเล็ก ประธานสภาวัฒนธรรมตำบลผาจุก อดีตครูใหญโรงเรียนวัดพระ ฝาง และ คุณครูอนุสรณ ผลสวัสดิ์ ครูโรงเรียนวัดพระฝาง รับผิดชอบหนาที่ดังกลาว รวมทั้งในบางโอกาสที่มีนักทองเที่ยวมา เยือนเปนหมูคณะก็จะมียุวมัคคุเทศกจากโรงเรียนวัดพระฝางมา ทำหนาที่บรรยายนำชมและดูแลเรื่องความสะอาดเรียบรอยดวย P กลางเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ วัดพระฝางฯ จัดงานเขา ปริวาสกรรมประจำปของพระสงฆ ทำใหมีพระสงฆจำนวนมาก เดิ น ทางมาร ว มเข า ปริ ว าสกรรม ปรากฏว า ในคื น วั น ที ่ ๒๐ กรกฎาคม ฝนตกหนัก ทำใหเกิดความวุนวายขึ้นภายในวัด P ชาวบานเลาวาเจาอาวาสวัดพระฝางฯ จึงเปดอาคารพิพิธภัณฑ วัดพระฝางใหพระสงฆจำนวนหนึ่งเขาไปพักโดยไมไดแจงใหคณะ กรรมการวัดหรือคณะกรรมการพิพิธภัณฑทราบ P รุ  ง เช า ฝนหยุ ด ตกก็ ป รากฏว า พระสงฆ ก ลุ  ม ที ่ เ ข า พั ก ใน พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ น ั ้ น หายไปพร อ มกั บ พระพุ ท ธรู ป ยื น ทรงเครื ่ อ งน อ ย ปางหามสมุทร ศิลปะอยุธยาตอนกลาง สูงประมาณ ๑๕๐ เซนติเมตร น้ำหนัก ๑๕๑ กิโลกรัม ที่ประดิษฐานอยูตรงบันได บนอาคารจัดแสดงชั้นสองก็หายไปดวย P นอกจากนี้ยังพบวาที่หองเก็บรักษาพระพุทธรูปไมแกะสลัก ศิ ล ปะอยุ ธ ยาตอนปลายและพระพุ ท ธรู ป สำริ ด ปางต า งๆ อยู  ñ๑ñ๑


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

ชั้นเดียวกันก็มีรองรอยงัดแงะดวย แตเมื่อตรวจสอบแลวไมมี พระพุทธรูปองคใดหายไป ผูนำทองถิ่น ชาวบาน และคณะ กรรมการวัดจึงไดเขาแจงความกับตำรวจP P ผลจากการสืบสวนและติดตาม พฤติ ก รรมของกลุ  ม คนร า ย ปรากฏว า ตำรวจและชาวบานสงสัย พระมหาณรงค กิติสาโร เจาอาวาสวัดพระฝางนาจะมีสวนรู เห็นกับเหตุการณขโมยพระพุทธรูปดังกลาว เพราะไม ป รากฏร อ งรอยงั ด แงะตามช อ ง ประตูหนาตาง ทั้งยังในชวงเวลาดังกลาว เจาอาวาสวัดเปนผูถือกุญแจ P เมื่อตำรวจและชาวบานสงสัยเจาอาวาส จากนั้นไมนานเจาอาวาสก็หนีหายออกไปจาก วั ด ในช ว งกลางดึ ก พร อ มกั บ รถยนต แ ละ ทรัพยสินสวนตัว และทราบภายหลังวาได สึกไปอยูกินกับหญิงสาวคนหนึ่งที่บานซึ่ง สร า งขึ ้ น เตรี ย มไว ห ลายป แ ล ว แตชาวบาน ไมรูจัก สวนพระพุทธรูปองคดังกลาวจนถึง บัดนี้ก็ยังหาไมพบและไมสามารถตามจับตัว คนร า ยที ่ ท ำการลั ก ขโมยพระพุ ท ธรู ป มาดำเนินคดีได

พระพุทธรูปเกาแกและศักดิ์สิทธิ์ทำใหมีชาวบานเดินทางมากราบ ไหวขอพรอยูเสมอ การเก็บกุญแจไวกับเจาอาวาสวัดจึงเปนการ เหมาะสมและสะดวกที่สุด

อดี ต เจ า อาวาสวั ด พระฝางฯ ก็ ย ั ง ลอยนวลเพราะไมมีหลักฐานที่จะเอาผิด อยางชัดเจนได้ P แหงที่สองคือ พิพิธภัณฑวัดทาตะเคียน ซึ่งตั้งอยูภายในวิหารหลวงพอทองสุข วัดทา ตะเคียน บานทาตะเคียน ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ในพิพิธภัณฑ ไดจัดแสดงโบราณวัตถุ พระพุทธรูป และขาว ของเครื่องใชตางๆ จำนวนมาก โดยเฉพาะ อย า งยิ ่ ง พระพุ ท ธรู ป ศิ ล ปะรั ต นโกสิ น ทร ตอนตนและพระบูชารัชกาลซึ่งชาวบานไดมี ศรั ท ธานำมาถวายวั ด ตั ้ ง แต ส มั ย ที ่ ห ลวงปู  ฤทธิ์เปนเจาอาวาส (ประมาณสมัยรัชกาลที่ ๔-๖) ซึ่งไดรับการทำทะเบียนโบราณวัตถุ ไวเปนที่เรียบรอยแลว

ภาพบน พระพุทธรูปศิลปะรัตนโกสินทรตอนตน และพระบู ช ารั ช กาลอยู  ใ นตู  จ ั ด แสดงภายใน พิพิธภัณฑวัดทาตะเคียน ตำบลจอมทอง อำเภอ เมือง จังหวัดพิษณุโลก ถายภาพเมื่อ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ กอนที่พระพุทธรูปบาง องคถูกขโมยไปเพียง ๓ วัน ภาพขวา พระพุทธรูปยืนทรงเครื่องนอยปางหาม สมุทร ศิลปะอยุธยาตอนกลาง ที่ถูกคนรายขโมย ไปจากพิพิธภัณฑวัดพระฝาง ถายเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

P การดูแลรักษาพิพิธภัณฑวัดทาตะเคียนนั้น โดยปกติทางวัด และชุมชนบานทาตะเคียนไดมอบใหเจาอาวาสและพระสงฆภายใน วัดดูแล กุญแจวิหารหลวงพอทองสุขซึ่งเปนที่ตั้งของพิพิธภัณฑก็ จะเก็บรักษาไวกับเจาอาวาสวัด เนื่องจากหลวงพอทองสุขเปน

ñ๑ò๒

P ภายหลั ง ปรากฏว า มี ก ารแต ง ตั ้ ง พระปลั ด ทวน อาภาธโร มาเปนเจาอาวาสวัดรูปใหม เมื่อ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ สำหรับพระปลัดทวนเดิมเคยจำพรรษาอยูที่ประเทศสิงคโปร ไมใช พระสงฆในพื้นที่ ภายหลังจึงไดรับการแตงตั้งใหเปนเจาอาวาสวัดทา ตะเคียน โดยคำสั่งของเจาคณะจังหวัดพิษณุโลก แตชาวบานไมเห็น ดวยเพราะภายในวัดก็มีพระสงฆที่ทำหนาที่ร ั ก ษาการเจาอาวาส ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

อยูแลว เมื่อมาเปนเจาอาวาสก็เปลี่ยนกุญแจใหมทั้งวัดรวมทั้งกุญแจ วิหารหลวงพอทองสุขดวย ในขณะเดียวกันเจาอาวาสรูปนี้ไมคอยอยู จำวัด ไมออกบิณฑบาตรและไมสนใจในกิจนิมนตชาวบานดวย จึง ทำใหชาวบานไมพอใจในพฤติกรรมเทาใดนัก และเมื่อรองเรียนตอ คณะสงฆเจาคณะปกครองก็ไมมีการดำเนินการใดๆ ตอมาวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ มีขโมยเขามาขโมย พระพุทธรูปหนาตักตั้งแต ๓-๕ นิ้ว และโบราณวัตถุอื่นๆ ที่เก็บ ไวในพิพิธภัณฑวัดทาตะเคียนหายไปรวม ๙๑ ชิ้น แตเมื่อมี เหตุการณขโมยเกิดขึ้น พระปลัดทวนกลับอางวาพระพุทธรูปและ โบราณวัตถุตางๆ หายไปโดยปาฏิหาริย เพราะไมมีรอยงัดแงะ ใดๆ ทั้งสิ้น ทั้งที่เจาอาวาสไดเปลี่ยนกุญแจใหมหมดและถือไวอยู คนเดียว และเปนที่นาสงสัยวากอนหนาที่พระพุทธรูปและโบราณ วั ต ถุ จ ะหายไปนั ้ น ได ม ี ญ าติ โ ยมชาวสิ ง คโปร แ วะเวี ย นมาหา พระปลัดทวน หลายครั้ง !

P จึงเปนที่นาสงสัยวาพระปลัดทวนจะมีสวนรูเห็นกับการขโมย ดังกลาว ชาวบานจึงไดพยายามที่จะปดลอมกุฏิเพื่อจับตัวพระปลัด ทวน ปรากฏวาพระปลัดทวนไหวตัวหลบหนีทันและหายไปจากวัด ทาตะเคียนตั้งแตบัดนั้น P ส ว นพระพุ ท ธรู ป และโบราณวั ต ถุ ท ี ่ ห ายไปก็ ย ั ง ไม ส ามารถ ติดตามกลับมาไดแมแตชิ้นเดียว

P จากเหตุการณทั้งสองที่เกิดขึ้นกับพิพิธภัณฑทองถิ่นในลุม แมน้ำนานตอนลางคือ พิพิธภัณฑวัดพระฝางและพิพิธภัณฑวัดทา ตะเคียน เห็นไดวาผูที่มีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับหนาที่รับผิดชอบ ดูแลรักษาพิพิธภัณฑ ซึ่งเปน “คนใน” ไดกลายเปนขโมยหรือรู เห็นกับขโมยที่เขามาขโมยโบราณวัตถุ การหายไปของพระพุทธรูป และโบราณวัตถุในพิพิธภัณฑทั้งสองแหงไมปรากฏรองรอยงัดแงะ ชองประตูหรือหนาตางที่เปนทางเขาไปสูภายในอาคารพิพิธภัณฑ แตอยางใด ซ้ำยังมีพฤติกรรมที่นาสงสัยหลายๆ อยาง P เหตุ ก ารณ น ี ้ จ ึ ง เป น อุ ท าหรณ ท ี ่ ผ ู  เ ขี ย นอยากฝากถึ ง คณะ กรรมการหรือผูที่กำลังมีสวนในการจัดทำดูแลรักษาพิพิธภัณฑวา ในการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคัดเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งขึ้นมา เพื่อทำหนาที่ถือกุญแจโดยเฉพาะนั้น ตองมีการตรวจสอบประวัติให ถวนถี่ และเปนผูที่ไดรับความไววางใจจากคณะกรรมการและชาว บานทั้งหลายเพื่อปองกันไมใหเหตุการณเชนนี้เกิดขึ้นกับพิพิธภัณฑ ทองถิ่นที่ทานมีสวนรวมอยู P สิ ่ ง ที ่ จ ั ด แสดงอยู  ใ นพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ น ั ้ น แม จ ะเป น เพี ย งของเก า แตก็มีคา มีราคาสูง สำหรับคนบางกลุมที่มีความตองการ และอยา ลืมวาในยุคนี้เงินสามารถซื้อหนาที่ ความรับผิดชอบ และจิต วิ ญ ญาณของคนโลภที ่ แ ฝงตั ว ทำงานร ว มกั น กั บ ทุ ก ๆ ท า น จนทำให “เกลือเปนหนอน” ไดอยางที่ทานไมไมคาดคิดมากอน

เรื่องเลาจาก

“เด็ ก บ า นสวน-หนุม นัก เรียน” ของ พ.เนตรรัง ษี ÍอÀภÔิ­Þญ­ÞญÒา ¹น¹น·ท∙์¹นÒา·ท∙ !

!

!

!

!

!

หนังสือชุด เด็กบานสวน และ หนุมนักเรียน เปนผลงานของ คุณพัฒน เนตรรังษี ในนามปากกา “พ.เนตรรังษี” เขียนหนังสือ ทั้ง ๒ เลมนี้ขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๗๕ เพื่อบอกเลาชีวิตในวัยเด็กที่เกิด และเติบโตขึ้นในยานวัดบุปผารามใกลยานกะดีจีนในชวงปลายสมัย รัชกาลที่ ๕ หรือกวารอยปมาแลว ! ฉากหลังของหนังสือชุดนี้เปนเรื่องราวที่เกิดขึ้นในบานสวน ฝงธนฯ ใกลวัดบุปผารามรวมไปถึงละแวกใกลเคียง ทั้งยานกะดีจีน ยานบานสมเด็จ และยานวัดกัลยาณฯ กับประสบการณการเขาเรียน ครั้งแรกที่โรงเรียนวัดประยุรวงศและโรงเรียนสมเด็จเจาพระยา P นอกจากความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น จากความซุ ก ซนของ เด็กๆ ในสมัยกอนที่ผูอานจะไดรับแลว สิ่งสำคัญอยางหนึ่งที่ถูก สอดแทรกไวอยางแยบคายคือ ประวัติศาสตรสังคมของยานกะดีจีนและวัดบุปผารามที่ถูกบอกเลาไวอยางมีชีวิตชีวา ซึ่งหาไมไดจาก แบบเรียนวิชาประวัติศาสตรในหองเรียน ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

¾พÃรÐะ¹น¤คÃรºบÑั ¹น ·ท∙Öึ ¡ก ภาพจำวันวานของ พ. เนตรรังษี P จากคำบอกเลาของคุณพัฒน ทำใหเห็นสภาพพื้นที่บริเวณยาน วัดบุปผารามและชุมชนใกลเคียงเมื่อราวรอยกวาปกอนยังคงสภาพ เปนเรือกสวน มีแมน้ำลำคลองตัดสลับกันซับซอน บานเรือนที่มีอยูตั้ง กระจายกันหางๆ หลัง สวนบริเวณริมคลองที่ไมมีบานเรือนก็เปนดง ทึบของตนลำพู ดงเหงือกปลาหมอ มีรูปูเปยว ปลาตีน และ กุง ดีดขัน แทรกตัวอาศัยอยูในดินเลนริมตลิ่ง สวนความคึกคักของยาน จะอยูรวมกันที่ตลาดหรือตามวัดวาอารามเมื่อคราวมีเทศกาลงานบุญ หรือมีมหรสพ P สภาพเชนนี้คงไมตางจากยานอื่นๆ ของฝงธนบุรีในสมัยนั้น แตที่ เดนก็คือยังมีเกร็ดประวัติศาสตรสังคมหลายๆ เรื่องแตงแตมเปนสีสัน อยูภายในหยอมยานแหงนี้ ซึ่งสวนใหญแทบไมหลงเหลืออยูอีกแลว จะหยิบยกเรื่องราวบางสวนที่นาสนใจมานำเสนอ เพื่อเปรียบเทียบ ใหเห็นถึงความแปรเปลี่ยนของสภาพยานเหลานี้ในปจจุบัน ñ๑ó๓


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

ทาน้ำรับเสด็จ / สมั ย ก อ นมี ส ะพานพระพุ ท ธยอดฟ า คนในชุ ม ชนบริ เ วณ ปากคลองสานและย า นกะดี จ ี น หากต อ งการข า มฟากไปยั ง ฝ  ง พระนคร ตองใชบริการทาเรือจางซึ่งมีกระจายอยูตามจุดตางๆ เชน ทาเรือปากคลองสานขามไปยังทาเรือวัดกาลหวารฝงตลาด น อ ย ท า เรื อ กะดี จ ี น ข า มไปยั ง ท า กลางหรื อ ท า ปากคลองตลาด และทาเรือวัดประยุรวงศหรือวัดรั้วเหล็กขามไปยังทาเรือโรงยาเกา เปนตน P สำหรับทาเรือวัดประยุรวงศนอกจากทำหนาที่เปนทาเรือจางในยาม ปกติแลว ยังถูกปรับเปนทาน้ำรับเสด็จเมื่อคราวมีพระราชพิธีสำคัญที่ เกี่ยวกับวัดประยุรวงศาวาสดังเชน พระราชพิธีเสด็จพระราชทานพระ กฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค P ในหนังสือ “หนุมนักเรียน” มีความบทหนึ่งกลาวถึงการจัด เตรียมพิธีการรอรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๖ ซึ่ง รวมถึ งการปรั บปรุ งศาลาท าน้ ำและทางเดิ นเข าสู  วั ดประยุ รวงศ P “...สมัยเมื่อผมอยูที่โรงเรียนวัดประยุรวงศนั้น ดูเหมือนจะมี พระราชพิธีเชนนี้ ๓ ป ตอ ๑ ครั้ง เพราะเปนงานใหญ ตองเตรียม กันเหนื่อยมาก และเสียเวลามาก” P “...ระยะทางจากท า น้ ำ วั ด ประยุ ร วงศ ก ็ ต กแต ง สะอาดตา สำหรับทาเรือจางขามฟากดูเหมือนจะหยุดรับสงผูโดยสารหนึ่งวัน เขาเอาโปะใหญมาทอด ทำทางเสด็จพระราชดำเนินใหมเรียบรอย ศาลาทาน้ำริมแมน้ำก็ทาสีสะอาดสะอาน ถนนหินจากทาน้ำเขาสู ตัววัดก็ถากถางหญาเตียน ไมมีขยะกุมฝอยและสิ่งสกปรกรกรุงรัง ดานขวางของถนนเปนตึกเกาๆ หันหลังใหถนน ตึกนี้เปนที่ทำการ กองบังคับการตำรวจน้ำ...ดานซายของถนนเปนบานของเจาพระยา ภาสกรวงษ” P จนเมื่อมีการสรางสะพานพระพุทธยอดฟา ถนนไดเขามามี บทบาทแทนที่ศาลาทาน้ำ และเมื่อเวลาผานไปเสนทางรับเสด็จ กลายสภาพเปนเพียงซอยเล็กๆ เขาสูสำนักเทศกิจ กทม. และอยูใน สภาพทรุดโทรม จนกระทั่งไดมีการบูรณะเพื่อฟนฟูเสนทางและ ทาเรือประวัติศาสตรแหงนี้ขึ้นมาอีกครั้ง เริ่มตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยการดำริของพระพรหมบัณฑิต เจาอาวาสวัดประยุรวงศาวาสและ การสนับสนุนจากกรมเจาทาและกรมศิลปากร

สวนที่วัดประยุรวงศ ปาชาอยูทางดานหลังวัด มีทั้งที่ฝงศพและโรง ทึมเก็บศพทำเปนอาคารชั้นเดียว ภายในเก็บโลงเกาๆ และเครื่อง ประกอบเมรุเผาศพ เชน เชิงตะกอนที่ทำจากเศษไมหลายขนาด P ทั้งเชิงตะกอนและเมรุปูนเผาศพกลางแจงเหลานี้ เมื่อทางวัด เปลี่ยนมาใชเตาไฟฟาจึงถูกทำลายไป ปจจุบันไมเหลือรองรอยของ สามสางที่วัดบุปผารามอีกแลว สวนปาชาที่วัดประยุรวงศก็ถูก เทคอนกรีตปรับใหเปนลานอเนกประสงคของวัด และไมมีโรงทึม เก็บศพอีกแลว เหลื อ เพี ย งการทำช อ งบรรจุ อ ั ฐ ิ ไ ว ต ามกำแพง เหมือนกับวัดทั่วๆ ไปเทานั้น P ทางดานชุมชนชาวคริสตใกลกับโบสถซางตาครูสก็เคยมีปาชา ฝงศพอยูดวย กอนที่จะถูกยายออกไปตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๙ P “...ตรงปากตรอกกุฎีจีนตรงขามโรงเรียนมัธยมวัดประยุรวงศ ปจจุบันนี้ เดิมเปนกุฏิพระเกาๆ และมีคลองขนานกับถนนซึ่ง กลางคืนไมมีคนผาน พอเขาตรอกกุฎีจีนก็ถึงปาชาโรมันคาทอลิก... ตรอกเล็กๆ นั้นเมื่อ ๕๐ ปกอนมีปาชาอยูฝงขวา ขาเขาไปสูโบสถ มีไมกางเขนปกระเกะระกะ บนหลุมดินพูนขึ้นมานูนเปนหีบศพ บางหลุมกออิฐถือปูนมีไมกางเขนปก เวลาเดือนมืดแลเห็นขาวสลัวๆ ถาเดือนหงายก็ขาวโพลง...”

โรงมะเกลื อ ลานมะเกลื อ / ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ทั้งชาวจีนและชาวไทยตางนิยมสวม กางเกงผ า แพรดำ ซึ ่ ง การย อ มผ า แพรดำในอดี ต นั ้ น ไม ไ ด ใ ช สีสังเคราะห หากแตใชสีดำจากผลมะเกลือจึงทำใหเกิดกิจการ “โรงยอมมะเกลือ” ขึ้นอยางแพรหลาย P เจ า ของโรงย อ มมะเกลื อ ส ว นใหญ เ ป น ชาวจี น บ า งก็ เ ป น เจาของรานขายแพรในตลาดสำเพ็ง ซึ่งพวกนี้ไดเขามาเชาที่ในฝง ธนบุรีเพื่อเปดโรงยอมมะเกลือ เพราะในสมัยนั้นยังคงมีพื้นที่โลง กวางเหลืออยูมาก อีกทั้งมีคูคลองหลายสายที่เอื้อประโยชนตอ กระบวนการยอมลางผา โรงยอมมะเกลือจึงเกิดขึ้นหลายแหงในฝง ธนบุรี สำหรับในยานบานเกิดของคุณพัฒนก็มีโรงยอมมะเกลือ ขนาดใหญ อ ยู  ด  ว ยเช น กั น คื อ ที ่ ล านด า นหน า วั ด ดอกไม ห รื อ วัดบุปผารามและลานใกลวัดกัลยาณฯ

สามส างเผาศพกับปาชา คาทอลิก

P ในหนังสือ “เด็กบานสวน” ไดปรากฏคำบอกเลาของคุณ พัฒนเกี่ยวกับโรงยอมมะเกลือวาประกอบดวย ๒ สวนสำคัญคือ โรงยอมและลานตากผายอม

P สมั ย ก อ นการเผาศพจะทำกั น บนเชิ ง ตะกอนในที ่ โ ล ง แจ ง เชิงตะกอนสำหรับเผาศพของวัดบุปผารามหรือวัดดอกไม ตั้งอยูใกล ถนน ติดคลองวัดดอกไม โดยกอเปนเพิงงายๆ มีหลังคาคลุมกันฝน ชาวบานเรียกกันวา “สามสาง” เพราะใชเสาปกเปนเพิงแค ๓ ตน

P “โรงงานปลูกโดยใชไมรวกหรือไมไผผาซีกขัดแตะเปนฟาก ยกพื้นบริเวณโรงงานใหสูง มิฉะนั้นเวลาฝนตกหรือฤดูน้ำ น้ำจะทวม จนอยูไมได...โรงมะเกลือทำงานไดปละ ๕-๖ เดือน ระยะหนึ่งเทาลูก มะเกลือออกเทานั้น...ฤดูยอมผามักจะเริ่มตอนเดือนกุมภาพันธไป

ñ๑ô๔

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

สิ้นสุดราวกลางเดือนกรกฎาคมเปนเชนนี้ทุก ๆ ป” M เมื ่ อ ย อ มผ า เรี ย บร อ ย คนงานจะนำผ า แพรมาตากไว ท ี ่ ลานมะเกลือซึ่งเปนลานกวาง โดยมีการทำคันกั้นน้ำรอบบริเวณ และ ขุดคูเล็กๆ เพื่อระบายน้ำยามฝนตก เพราะที่ดินในฝงธนบุรีเปน ที่ลุม สวนคนงานที่โรงมะเกลือนี้มีทั้งคนไทย คนจีน ถาเปนงาน ในโรงงานสวนใหญเปนแรงงานชาย สวนงานตากผายอมมะเกลือนั้น เหมือนวาเปนงานเฉพาะสำหรับผูหญิง P เมื่อหมดหนามะเกลือแลว ลานตากผายอมมะเกลือที่วางเปลา กลายเปนพื้นที่เลนวาวของเด็กๆ สวนพวกผูใหญพัฒนาเปนการเลน วาวพนันกันไป โดยใชสนามหนาวัดบุปผารามเปนสนามวาวจุฬา สวนสนามปกเปาเปนลานมะเกลือวัดกัลยาณฯ ซึ่งปจจุบันเปน โรงเรียนแสงอรุณ P การทำกิจการลานมะเกลือดำเนินเรื่อยมา จนกระทั่งคนไทย เลิกนิยมนุงกางเกงปงลิ้นหรือกางเกงแพร แตบางเจายังคงรับจาง ย อ มแพรให ร  า นผ า ที ่ ส ำเพ็ ง เพื ่ อ ส ง กลั บ ไปยั ง ประเทศจี น และ ฮองกงจนกระทั่งจีนปดประเทศ จึงคอยๆ เลิกกิจการกันไปเมื่อราว พ.ศ. ๒๕๐๐ สวนลานโลงแปรเปลี่ยนเปนพื้นที่รองรับชุมชน และบานเรือนที่แออัดมากขึ้นในยุคตอมา

วั ว หมู และคางคาว P หากเป น คนยุ ค ป จจุ บันคงนึกภาพไมออกวา วัว หมู และ ค า งคาวมี ส  ว นเกี ่ ย วข อ งกั บ ละแวกนี ้ อ ย า งไร แต ใ นยุ ค ของ คุณ พัฒนเมื่อกวา ๑๐๐ ปมาแลว สัตว ๓ ชนิดนี้เปนสัตว เศรษฐกิจของคนบางกลุม P วัว เปนสัตวเลี้ยงของพวกแขกซึ่งเปนกลุมคนที่มาตั้งถิ่นฐาน กระจายอยูในยานดังกลาว แขกเลี้ยงวัวคนสำคัญที่คุณพัฒนกลาว ถึงบอยครั้งในหนังสือคือ “แขกหมอ” ผูปลูกโรงวัวอยูใกลกับ ปาชาวัดบุปผาราม บริเวณเชิงสะพานขามคลองวัดดอกไมซึ่งชาว บานเรียกกันวา “สะพานโคสถิตย” ตามฝูงวัวของแขกหมอที่อาศัย อยูบริเวณนี้ P นอกจากแขกหมอแลว บริเวณไมไกลกันยังมีกลุมแขกเลี้ยง แพะซึ่งมาเชาที่ดินของทานเจาคุณทานหนึ่ง เพื่ออยูอาศัยและ เลี้ยงแพะ ชาวบานจึงพากันเรียกวา “สวนแขก” แขกกลุมนี้ใน เวลากลางคืนยังรับจางเปนแขกเฝายามตามหางรานหรือสถานที่ ราชการตางๆ อีกดวย P จากยานวัดบุปผารามขามมายังยานวัดกัลยาณฯ ในสมัยกอน เคยมีโรงฆาหมูของเถาแกชาวจีน ตั้งอยูริมคลองวัดกัลยาณฯ ถือเปนกิจการขนาดใหญ เพราะมีการขนสงหมูลงเรือเอี๊ยมจุน มาขังไวคราวละ ๘๐–๑๐๐ ตัวเลยทีเดียว ขณะที่หมูบางตัวเตรียม ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

คนที่ทำอาชีพลาหมูวัด มาพรอมกับกระชุใสหมู (ภาพลายเสนจาก พัฒน เนตรรังสี, หนุมนักเรียน) โดนเชือด แตในละแวกนั้นก็มี หมูวัด ที่อาศัยอยูอยางเสรี เที่ยว หากินตามสวนของชาวบานหรือคุยเขี่ยเศษอาหารตางๆ หมูเหลานี้ มีอยูจำนวนไมนอย แตก็ตองเผชิญกับคนที่ทำอาชีพลาหมูวัดสง โรงเชือด สุดทายหมูวัดจึงคอยๆ หายไปในที่สุด P สัตวชนิดสุดทายคือ คางคาว เนื่องดวยสมัยกอนบริเวณยาน วัดบุปผารามยังคงเปนเรือกสวนอยู จึงเปนแหลงอาศัยชั้นดีสำหรับ ฝูงคางคาวแมไก จึงเกิดอาชีพดักคางคาวขึ้น โดยลักษณะของ เครื่องมือสำหรับใชดักคางคาว คุณพัฒนไดเลาไววา P “...ลานดินมีเสาไมไผจีนตอกันสูงประมาณ ๓๐ วา เสา ๒ เสานี้ ปกเต็มความกวางของที่ดิน ดูรูปรางเหมือนจอหนังกลางแปลง ยอดเสา มีรอก และมีตาขายถักใชดายสีขาวขนาดแห...ตาขายนี้ ชักรอกจากโคนเสาขึ้นไปสำหรับดักคางคาวแมไก...เวลาที่เริ่มดัก ประมาณแต ๓ ทุม ถึง ๒ ยาม” U ค า งคาวที ่ จ ั บ มาได เ หล า นี ้ จ ะนำไปส ง ขายที ่ ท  า เตี ย น โดยประโยชนของมันอยูที่เลือด เชื่อวาหากนำมาผสมกับเหลาโรง แลวดื่มในชวงเชามืดจะเปนยาชูกำลังและคลายความหนาว เปนที่ นิยมในหมูชาวจีนอยางมาก สวนเนื้อคางคาวก็สามารถนำมาปรุง อาหารไดดวยเชนกัน ñ๑õ๕


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

ลัดเลาะเขาตรอกวัดกัลยาณฯ P นอกจากนี้ที่วัดกัลยาณมิตรยังมีเทศกาลที่ถือเปนงานใหญ่ ประจำป ข องคนในย า นนี ้ นอกไปจากงานวั ด ประยุ ร วงศ ค ื อ งานไหว ห ลวงพ อ โตหรื อ หลวงพ อ ซำปอกงและงานทิ ้ ง กระจาด ซึ่งจัดขึ้นชวงปลายกรกฎาคมถึงตนสิงหาคม โดยมีคนจีนจาก แถวสำเพ็ง ราชวงศ รวมไปถึงชาวสวนจากตลาดบานสมเด็จ บางลำภูลาง บางไสไก ดาวคะนอง พากันเดินทางมารวมงานดวย P ถึงแมวาปจจุบันหากเขาไปในชุมชนวัดกัลยาณฯ คงไมไดเห็น สภาพเชนนี้แลวดวยคลองบางสวนถูกถมทำเปนถนน สะพานไม เคี่ยมถูกรื้อไปจนไมเหลือรองรอย แตชุมชนวัดกัลยาณยังคงรักษา ความเป น ชุ ม ชนชาวตรอกซึ ่ ง เป น ลั ก ษณะของชุ ม ชนดั ้ ง เดิ ม ใน กรุงเทพฯ ไวได P นอกจากหนังสือเรื่อง เด็กบานสวน และ หนุมนักเรียน แลว ยังมีวรรณกรรมในทำนองเดียวกันนี้อีกหลายเลม เชน เด็กคลอง บางหลวง ของ ขุนวิจิตรมาตรา หรือ สงา กาญจนาคพันธุ, เด็กบาน สวน ของ แกวแกมทอง หรือนวนิยายที่ใชฉากชีวิตของคน ฝงธนฯ เชนเรื่อง คูกรรม ของทมยันตีที่ใชฉากของคนยาน บางกอกนอยในชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ หรือเรื่อง แวววัน ของโบตั๋น ที่กลาวถึงบรรยากาศของสวนพลูฝงธนบุรี เปนตน P ผูที่สนใจประวัติศาสตรของฝงธนบุรี หากมีโอกาสลองเลือก หยิบวรรณกรรมเหลานี้มาอานดูสักครั้ง จะเห็นภาพประวัติศาสตร สังคมของคนกรุงยานฝงธนฯ ไดอยางชัดเจน มากไปกวาการเรียน ประวั ต ิ ศ าสตร ก ารเมื อ งและการสงครามสมั ย กรุ ง ธนบุ ร ี ท ี ่ เ รา คุนเคยในระบบการเรียนการสอนตามโรงเรียนก็เปนได

อันเนื่องจากเสวนา “ฟน (ราก) ชาวกรุง?” ÍอÀภÔิ­Þญ­ÞญÒา ¹น¹น·ท∙์¹นÒา·ท∙, ³ณÑั°ฐÇวÔิ·ท∙Âย์ ¾พÔิÁม¾พ์·ท∙Íอ§ง

! เมื ่ อ วั น พุ ธ ที ่ ๒๗ กุ ม ภาพั น ธ พ.ศ. ๒๕๕๖ ที ่ ผ  า นมา เครือขายอนุรักษมรดกวัฒนธรรม ประกอบดวยสยามสมาคมใน พระบรมราชูปถัมภ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ (ในสวนความ รับผิดชอบของสุดารา สุจฉายา), สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่ง แวดล อ ม สถาบั น อาศรมศิ ล ป คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ ร ี และหอศิ ล ป วั ฒ นธรรมแห ง กรุ ง เทพมหานคร ร ว มกั น จั ด เสวนาเรื ่ อ ง “ฟน (ราก) ชาวกรุง?” เพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับปญหาของ ชาวกรุงเทพฯ โดยเฉพาะดานการพัฒนาเมืองที่อาจทำลายมรดก วัฒนธรรมและชุมชน ñ๑ö๖

เวทีเสวนาประกอบดวย (จากซายมาขวา) คุณพงษสวัสดิ์ อักษรสวาสดิ์ อุปนายก ฝายกฎหมาย สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอม กรรมการเลขานุการมูลนิธิ ศาสตราจารยคะนึง ฦๅไชย กรรมการผูอำนวยการมูลนิธิศูนยกฎหมายสิ่งแวดลอม ประเทศไทย คุณศิริณี อุรุนานนท คณะทำงานกลุมอนุรักษและฟนฟูชุมชน เจริญไชย รองศาสตราจารยชูวิทย สุจฉายา จากสถาบันอาศรมศิลป รองศาสตราจารย ดร. กิตติศักด์ิ ปรกติ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คุณวรวิมล ชัยรัต กลุมรักษบานรักษเมืองเชียงใหม และคุณวิมล อังสุนันทวิวัฒน กรรมการสมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอมเปนผูดำเนินรายการ

Z การเสวนาเริ่มตนดวยปาฐกถาโดย อาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ที ่ ป รึ ก ษามู ล นิ ธ ิ เ ล็ ก -ประไพ วิ ร ิ ย ะพั น ธุ  มี ส าระสำคั ญ ดั ง นี ้ ประวัติศาสตรสังคมของกรุงเทพฯ ถูกหลงลืมไป เพราะที่ผานมา เราเห็นแตประวัติศาสตรชาติ ปราสาทราชวัง วัดวาอาราม แตมอง ไมเห็นวิถีชีวิตของผูคนและชุมชน แตขณะนี้ทองถิ่นตางๆ กำลังถูก คุกคามดวยกลุมทุนและอำนาจรัฐที่พยายามเขามาจัดการ โดยไม คำนึงถึงเสียงของ “คนใน” Z เมื ่ อ ชุ ม ชนท อ งถิ ่ น เหล า นี ้ ไ ด ร ั บ ผลกระทบจึ ง เกิ ด ปฏิ ก ิ ร ิ ย า ตอบโต ซึ่งความเคลื่อนไหวของผูคนในทองถิ่นตางๆ กำลังเกิดขึ้น ทั่วราชอาณาจักร ดังกรณีตัวอยางในกรุงเทพฯ ที่เห็นถึงผลกระทบ ดังกลาวไดชัดเจนคือ กรณีไลรื้อเจดียทรงไทยวัดเลงเนยยี่ ซึ่งเปน เจดียที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรสังคมของยานเยาวราช เพราะ เปนเจดียบรรจุอัฐิของชาวไทยเชื้อสายจีนที่เขามาตั้งรกรากแบง ออกเปนหลายเหลาหลายตระกูล สุดทายแลวพวกลูกหลานไมยอม ใหรื้อและเกิดปฏิกิริยาตอบโตออกมา Z ดังนั้นการพัฒนาที่ดีตองไมใชอำนาจบังคับและควรรับฟงความ เห็ น ของคนในชุ ม ชน โดยเฉพาะการให ค วามสำคั ญ กั บ พื ้ น ที ่ ทางวัฒนธรรมที่ไมใชการแบงตามเขตการปกครอง โดยทำความ เขาใจจากการศึกษาประวัติศาสตรสังคมและความสัมพันธของผูคน เชน ความสัมพันธระหวางชุมชนกับวัดที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน การ มีสำนึกรวมในความเปนยาน ความเปนตรอกเดียวกัน เชนที่ ยานบางลำพูซึ่งประกอบดวยตรอกตางๆ ไมวาจะเปนตรอกบวรรังษี ตรอกมะยม ตรอกไกแจ ฯลฯ ที่ตางก็มีสำนึกรวมใน “บาน” เดียวกัน สะทอนออกมาเปนความหวงแหนและรักษาพื้นที่ของตนเอง ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - Áม Ôิ ¶ถ Øุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

Z ขณะนี้หลายๆ ชุมชนกำลังตื่นตัว หากไดนำเอารากเหงาทาง วัฒนธรรมมาปรับใชจะสามารถฟนไดอยางรวดเร็ว อีกทั้งวัฒนธรรม ที่หลากหลายของกรุงเทพฯ ยังถือเปนเสนหอยางหนึ่งที่ดึงดูดความ สนใจไดเปนอยางดี และขอสำคัญอีกสิ่งหนึ่งคือ การจะฟนรากเหงา นั้นตองเริ่มจากคนใน โดยลงไปจัดเวทีในพื้นที่เพื่อดึงความรูจากคน ทองถิ่น กอนผลักดันใหผูมีอำนาจเขามารับฟง Z การเสวนาในลำดับตอมาเปนเรื่อง “บทเรียนจากประชาคม บางลำพู” รวมพูดคุยโดย คุณอรศรี ศิลป ประธานประชาคมบาง ลำพู และ อาจารยปองขวัญ (สุขวัฒนา) ลาซูส จากสมาคม สถาปนิกสยามฯ โดยมี คุณวิมล อังสุนันทวิวัฒน กรรมการ สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอมเปนผูดำเนินรายการ Z คุณอรศรีไดกลาวถึงการฟนฟูยานบางลำพูวา เปนยานเกาแกที่มี เอกลักษณและตนทุนทางวัฒนธรรมสูงคือมีประวัติศาสตรความเปน มาสืบยอนไปไดตั้งแตชวงเริ่มสรางกรุงรัตนโกสินทร และเปนแหลง รวมผูคนหลายชาติพันธุ เชน ชาวมอญ ชาวมุสลิม ชาวจีน ซึ่งสะทอน ออกมาเปนวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทั้งวัดวาอาราม อาหาร และวิถี ชีวิต อีกทั้งยังเปนยานการคาสำคัญตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน แตที่ผาน มาคนบางลำพูจำนวนไมนอยไดยายถิ่นฐานออกไป เนื่องจากที่ดินมี มูลคาเพิ่มสูงขึ้น ดวยเหตุนี้จึงเปนจุดเริ่มตนในการกอตั้งประชาคม บางลำพู เพื่อทำใหคนกลับมาเห็นคุณคาของยานอีกครั้ง Z การดำเนินงานของประชาคมบางลำพูไดทำตอเนื่องมาเปนเวลา กวา ๑๐ ป โดยมีหัวใจหลักเปนการฟนฟูวัฒนธรรมของยาน และสรางกลุมเยาวชน “เกสรลำพู” เพื่อปลูกฝงสำนึกรักทองถิ่น โดยการสรางประวัติศาสตรชุมชนจากการเก็บขอมูลคำบอกเลาของ ผูใหญในชุมชน รวมถึงการจัดกิจกรรมในยานอยางตอเนื่อง Z อาจารยปองขวัญไดเสนอแนวความคิดดานการพัฒนาเมืองวา ชุ ม ชนจำเป น ต อ งสร า งความเข ม แข็ ง เพื ่ อ ต อ รองกั บ อำนาจรั ฐ ตัวอยางเชนการพัฒนายานเกาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร จะเห็นวาใน เวลาที่ผานมาการพัฒนายังไมไดมีความคืบหนามากนัก อาจเปน เพราะที่ผานมาเรารอพึ่งแตรัฐอยางเดียว ในความเปนจริงแลวคนใน ชุมชนควรสะทอนบอกความตองการของตนเองออกไป ดังนั้นแตละ ทองถิ่นจึงตองรูรากเหงาของตนเองวา เรามีตนทุนอะไรบางที่จะนำมา พัฒนาตอยอดได Z นอกจากนี้อาจารยปองขวัญยังไดกลาวถึงความคืบหนาหลังจาก ไดยื่นจดหมายไปยังคณะกรรมการผังเมืองกรุงเทพฯ เพื่อพิจารณาให พื้นที่ตอเนื่องกับเขตรัตนโกสินทรชั้นใน ดังเชนยานเยาวราชซึ่งเปน พื้นที่พาณิชยกรรมใหมีขอยกเวนในดานการพัฒนาเพื่อรักษายานและ อาคารเก า แก เ อาไว คณะทำงานของเครื อ ข า ยอนุ ร ั ก ษ ม รดก วัฒนธรรมไดยื่นขอเสนอขอมีสวนรวมในการรางขอเทศบัญญัติ ทองถิ่นของกรุงเทพฯ ในดานการวางแผนเพื่ออนุรักษและพัฒนา

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

เมื อ งเก า ซึ ่ ง ถื อ ว า เป น ก า วแรกที ่ อ งค ก รภาคประชาชนได เ ข า ไปมี สวนรวม Z ชุมชนเจริญไชยแถบเยาวราชเปนพื้นที่หนึ่งที่ไดรับผลกระทบ จากความเปลี ่ ย นแปลงจากภายนอกที ่ ข ยายวงเข า มาภายในย า น ดังกรณีรถไฟฟาใตดิน [MRT] ซึ่งมีตนทางอยูที่หัวลำโพงไดตัดผาน พื้นที่เยาวราชและเกาะรัตนโกสินทรไปยังบางแคสงผลกระทบตอ ชุมชนหลายดาน Z หนึ ่ ง ในนั ้ น คื อ การไม ไ ด ร ั บ การต อ สั ญ ญาที ่ อ ยู  อ าศั ย จาก สำนักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย คุณศิริณี อุรุนานนท เปน หนึ่งในคณะทำงานกลุมอนุรักษและฟนฟูชุมชนเจริญไชยไดพูดถึง เรื่องนี้วา ชุมชนเจริญไชยเปนพื้นที่หนึ่งที่ยังคงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม แบบดั้งเดิมอยู จึงนาเปนหวงอยางยิ่งหากในอนาคตยานชุมชนเกา แหงนี้จะสูญสิ้น Z การวางผังเมืองใหเปนพื้นที่อนุรักษที่ผานมาเราเขาใจวาอยู บริเวณเกาะรัตนโกสินทรเทานั้น แตในความเปนจริงแลวพื้นที่ ตอเนื่องเชนเยาวราชก็มีคุณคาควรแกการอนุรักษเชนกัน แมใน ป พ.ศ. ๒๕๔๒ จะมีกฎเทศบัญญัติออกมาควบคุมความสูงของตึก แลว แตเมื่อเวลาผานไปไดมีโครงการกอสรางรถไฟฟาใตดินเกิดขึ้น จึงขอเรียกรองใหมีการอนุรักษตึกโบราณของยานชุมชนเกาแกแถบนี้ ที่สามารถสืบยอนไปไดถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ การเกิดขึ้นของรถไฟฟา ใตดินจึงมีความเปนไปไดที่จะกอใหเกิดผลกระทบโดยตรงกับผูคน ที่อาศัยอยูในยานเยาวราช Z รศ.ดร. กิตติศักดิ์ ปรกติ จากคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ไดใหแงคิดดานกฎหมายเพื่อใชตอสูและตอรองอำนาจ รัฐวากฎหมายนั้นจะมีผลเกิดขึ้นไดตอเมื่อถูกหยิบยกขึ้นมาใชใน การตอสู ไมเชนนั้นแลวก็เปรียบเสมือนเปนแคกฎเกณฑที่ไมไดถูก บังคับใช ผูที่จะตอสูใหกฎหมายไมเปนเพียงแคแผนกระดาษเทานั้น คือประชาชนหาใชตำรวจหรือนักการเมือง ดังมีตัวอยางใหเห็น เชน ชาวสะเอียบ จังหวัดแพร ไดลุกขึ้นมาใชกฎหมายตอสูปกปองพื้นที่ ของเขา ชาวเลก็เชนกัน ไดใชกฎหมายการปกปองพื้นที่ทำกินไมใหถูก รุกโดยคนนอก Z เกี ่ ย วกั บ เรื ่ อ งผั ง เมื อ งนั ้ น ชุ ม ชนมี ส ิ ท ธิ ์ ร  ว มรั บ รู  แ ละแสดง ความคิดเห็นวามีความเหมาะสมหรือไม หากเห็นวาไมเหมาะสมก็ สามารถยื่นเรื่องคัดคานได เพราะเปนสิทธิชุมชนที่เราสามารถรวม จัดสรรทรัพยากรใหอยูในสภาพที่สมดุล และเกี่ยวกับพื้นที่ชุมชน เจริ ญ ไชยซึ ่ ง ได ร ั บ ผลกระทบจากการไม ต  อ สั ญ ญาจากสำนั ก งาน ทรั พ ย ส ิ น ส ว นพระมหากษั ต ริ ย  น ั ้ น ต อ งทำความเข า ใจก อ นว า ทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ไมใชของสวนรวมและไมใชของ สวนตัว แตเปนของแผนดิน Z ดังนั้นตามหลักการสำนักงานดังกลาวจึงมีหนาที่หารายไดให

ñ๑÷๗


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

กับสถาบันพระมหากษัตริยเพื่อความมั่นคง แตตองถามกลับไปวาสิ่ง ที่ทำนั้นกอใหเกิดประโยชนอยางไรกับแผนดินบาง ขอตอสูอันหนึ่ง ของชุมชนก็คือตองไปศึกษาวาประโยชนที่จะกอใหเกิดกับแผนดินนั้น คืออะไร แลวจึงใชเปนขอตอรองในการแกปญหาที่เกิดขึ้น Z คุณวรวิมล ชัยรัต กลุมรักษบานรักษเมืองเชียงใหมเสนอ แนวทางการรับมือกับความทันสมัยที่เขามากระทบชุมชนและพื้นที่ วัฒนธรรมยานวัดเกตุกลาววา ชาวเชียงใหมไดตื่นตัวตั้งแตทราบวา มีการวางผังเมืองรวมเปนตนมา ชุมชนยานวัดเกตุมีการรับมือใน ผังเมืองรวมดวยการกระตุนใหคนในชุมชนตระหนักถึงการพัฒนาทั้ง ผลดีและผลเสียที่จะตามมา แลวจึงรวมตัวเพื่อเสนอแนะใหมีการ ควบคุมความสูงของอาคาร รวมถึงระงับการขยายถนนภายในยาน และเรียกรองใหมีการคุมครองดานสิ่งแวดลอมและศิลปกรรมเพื่อ แสดงสิทธิ์และเสียงตอรองกับภาครัฐ Z ลำดั บ ต อ ไปเป น ข อ เสนอเกี ่ ย วกั บ การจั ด การพื ้ น ที ่ เ มื อ ง วัฒนธรรมโดย รศ. ชูวิทย สุจฉายา จากสถาบันอาศรมศิลป กลาว วาการจัดการเมืองเชิงวัฒนธรรมใหมีความเหมาะสมและสัมพันธกับ บริบทของเมืองนั้นสามารถใชแมแบบซึ่งเปนเมืองใหญๆ ในตาง ประเทศมาปรับได เชนที่เมืองอัมสเตอรดัม ประเทศเนเธอรแลนดเปน เมืองทาสำคัญแหงหนึ่งของยุโรปไดมีการวางแผนรองรับการทอง เที่ยวเอาไวอยางเปนระบบ เมืองบารเซโลนา ประเทศสเปน เปนเมือง ตากอากาศไดมีการบริหารจัดการเมืองเพื่อรองรับผูคนจากภายนอก เขามาทองเที่ยวเปนอยางดี อีกทั้งอาคารเกาแกมีอายุนับรอยปยังได อนุรักษใหอยูรวมกับอาคารสมัยใหมอยางลงตัว Z สำหรับบานเราแลวการคงวิถีชีวิตชาวเมืองกรุงแตเดิมเอาไว สามารถสรางมูลคาในทางการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไดรวมถึงตึก รามบานชองเกาแกมากก็ควรอนุรักษ หากสามารถทำเชนนี้ไดความ เปนเมืองอนุรักษและมีวิถีชีวิตของผูคนเขามาเปนสวนประกอบจะ สามารถรองรับนักทองเที่ยวที่นำรายไดมายังบานเราได Z ช ว งท า ยของงานเสวนา คุ ณ พงษ ส วั ส ดิ ์ อั ก ษรสวาสดิ ์ อุปนายกฝายกฎหมาย สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอม ไดเสนอขอสรุปทางกฎหมายในเรื่องนี้วา สิทธิ์ของชุมชนเกิดขึ้นตั้งแต ประชาชนไดรวมตัวขึ้นเปนชุมชนมีสิทธ์ิรวมกับรัฐในการอนุรักษและ รวมใชประโยชนในทรัพยากรสิ่งแวดลอม นั่นหมายความวา ชุมชน เปนประธานแหงสิทธ์ิเสมอหรือเทียบเทากับรัฐและสิทธิ์นั้นไดเกิด ขึ้นพรอมกับความมีอยูของชุมชนทุกๆ แหงในประเทศไทยตั้งแต เริ่มแรกแลว Z การใชสิทธิ์ตอรองกับอำนาจรัฐนั้นควรเริ่มตนจากใชกฎหมาย ให ม ี ผ ลบั ง คั บ ใช ด  ว ยตั ว เราเอง มิ เ ช น นั ้ น แล ว กฎหมายต า งๆ ที่รองรับ สิทธิชุมชนก็จะเปนเพียงแผนกระดาษที่ไมมีความหมาย แตอยางใดZ ñ๑ø๘

ºบÃรÃรÂยÒาÊสÒา¸ธÒาÃร³ณÐะ สรุป บรรยาย สาธารณะ

“ความก า วหน า ทางโบราณคดีเรื่อง “มโหระทึ กสองฝ ง โขง สะหวัน นะเขต-มุกดาหาร” »ปÔิÂยªชÒาµตÔิ ÊสÖึ§งµตÕี

วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๖ ที่ผานมา มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ จัดใหมีการบรรยายสาธารณะเรื่อง “ความกาวหนาทาง โบราณคดีเรื่องมโหระทึกสองฝงโขง สะหวันนะเขต-มุกดาหาร” โดยเชิญ สุกัญญา เบาเนิด นักโบราณคดีชำนาญการ ประจำ หนวยศิลปากรที่ ๑๑ อุบลราชธานี กรมศิลปากร เปนวิทยากร บรรยาย P สุกัญญา เบาเนิด นักโบราณคดี ทำงานที่สำนักศิลปากรที่ ๑๑ จังหวัดอุบลราชธานี มีโอกาสในการลงพื้นที่ขุดคนศึกษางาน ทางโบราณคดี บริเวณภาคอีสานโดยเฉพาะเขตทุงกุลารองไหใน เรื่องพิธีกรรมเกี่ยวกับการฝงศพของมนุษยกอนประวัติศาสตร P การทำงานโบราณคดีในพื้นที่ “ริมแมน้ำโขง” บริเวณรอยตอ ระหวางจังหวัดมุกดาหารกับจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งการทำงานใน พื้นที่ริมน้ำโขงไดพบกับหลักฐานทางโบราณคดีใหม เชน การ คนพบแหลงผลิตมโหระทึกที่โนนหนองหอ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ซึ่งนับเปนการคนพบครั้งสำคัญสำหรับงานศึกษาเรื่องมนุษย กอนประวัติศาสตรในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน เพราะที่ผาน มาความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องกลองมโหระทึกตั้งอยูบนฐาน คิดขอเสนอที่วาเปนสิ่งของที่ถูกนำเขามาจากตางถิ่น ไมไดมีการ ผลิ ต ขึ ้ น เองภายในชุ ม ชนมนุ ษ ย ก  อ นประวั ต ิ ศ าสตร ใ น ประเทศไทย P กลองมโหระทึ ก เป น วั ฒ นธรรมสั ม พั น ธ อ ยู  ก ั บ การทำ เกษตรกรรม เปนการแสดงออกถึงความอุดมสมบูรณ มักใชใน การประกอบพิธีกรรมตางๆ ทั้งเกี่ยวของกับการเพาะปลูกไป จนถึงพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายและการสงครามที่มีอยูรวมกัน ของผูคนในภูมิภาคนี้นับตั้งแตจีนทางตอนใต ปรากฏหลักฐานที่มี การขุ ด ค น พบทางโบราณคดี ต ั ้ ง แต จ ี น ตอนใต บ ริ เ วณมณฑล ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

ยูนนาน กวางสี กลุมวัฒนธรรมดองซอนในตอนเหนือของเวียดนาม บริเวณลุมแมน้ำแดงแมน้ำดำ และสงออกไปยังดินแดนตางๆ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้งภาคพื้นทวีปและหมูเกาะ

P นอกจากนั้นยังมีการคนพบทอลม เศษกอนโลหะ และแมพิมพ ใชในการหลอสำริดอีกดวย จึงทำใหมีการสันนิษฐานวานาจะตองมี แหลงหลอสำริดในบริเวณนี้

P ซึ่งกลุมวัฒนธรรมซาหวิ่งหในบริเวณภาคกลางของเวียดนามมี สวนสำคัญอยางมากในการสงออกวัฒนธรรมของมโหระทึกออกไปยัง ดินแดนตางๆ ภายนอก

P ดวยกอนดินที่มีการคนพบจากลวดลายภายในกอนดินที่เปน ลายเสนหนามโหระทึก จึงทำใหสันนิษฐานวานอกจากการหลอสำริด เครื่องมือ เครื่องประดับแลว ในบริเวณนี้ยังไดเคยมีการ หลอ มโหระทึกขึ้น ซึ่งนับวาเปนการคนพบที่มีความสำคัญอยางมากใน การทำงานโบราณคดีในประเทศไทย ที่ทำใหเปลี่ยนแปลงความรูที่ เคยมีมาแตเดิมวามโหระทึกเปนสิ่งของนำเขามาจากภายนอกเทานั้น มาเปนการผลิตขึ้นเองภายในชุมชนมนุษยกอนประวัติศาสตรใน ประเทศไทย

! ในปจจุบันมโหระทึกยังถูกนำมาใชรวมในพิธีกรรมตางๆ ของ คนในภูมิภาคนี้ ดังเห็นไดจากการใชในพิธีกรรมขอฝนของชาวจวง ในมณฑลกวางสี ประเทศจีน และงานพระราชพิธีตางๆ ใน ประเทศไทย P มโหระทึ ก ที ่ ม ี ก ารพบในประเทศไทยพบในทั ่ ว ทุ ก ภู ม ิ ภ าค โดยพบมากที่สุดในภาคใต รองมาเปนภาคเหนือ ภาคอีสาน และ ภาคกลางตามลำดับ ทวามโหระทึกในประเทศไทยที่คนพบและมี ความโดดเดนคือ มโหระทึกพบที่อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ที่ถือวามีขนาดใหญมากที่สุดที่มีการพบในประเทศไทย คือมีขนาด เสนผานศูนยกลาง ๘๖ ซม. สูง ๖๕ ซม. เก็บรักษาไวที่วัดมัชฌิมาวาส อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร P สำหรับแหลงสำริดและความกาวหนาในการศึกษามโหระทึก ที่คุณสุกัญญา เบาเนิด นำเสนอในวันนี้คือ แหลงโบราณคดีโนน หนองหอ บานงามอุดม ตำบลนาอุดม อำเภอนิคมคำสรอย จังหวัดมุกดาหาร เริ่มมีการคนพบเมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๔๐ เมื่อคุณประสาน งามสารบำรุง ผูใหญบานงามอุดม ขุดหลุมเผาถาน และไปพบกระบวยสำริด ลูกปด เครื่องปนดินเผา จึงแจงมาที่ สำนักงานศิลปากรที่ ๑๑ นำไปสูการเขาไปทำงานขุดคนซึ่งไดพบ โบราณวัตถุจำนวนมาก แตเมื่อเจาหนาที่ไดออกไปจากพื้นที่ก็ไดมี พอคาของเกาเขาไปกวานซื้อโบราณวัตถุจากชาวบาน ทำใหมีการ ลักลอบขุดคนของเกาครั้งใหญ จนสุดทายทางเจาหนาที่โบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๑๑ ก็ไมสามารถปองกันการลักลอบขุดไปได P จากนั้นทางทีมคุณสุกัญญายังไดรับการสนับสนุนขอมูลจาก ทีมงานของคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย รศ. สุรพล นาถะพินธุ ทำการขุดคนทางโบราณคดีอยูในบริเวณเดียวกัน ซึ่งได พบว า มี ร  อ งรอยของตะกรั น โลหะในชั ้ น ดิ น อยู  อ ย า งหนาแน น ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

P ประเด็ น สื บ เนื ่ อ งจากการค น พบแหล ง ผลิ ต มโหระทึ ก อยู  ท ี ่ วัตถุดิบนำมาใชในการผลิตสำริด แหลงเหมืองทองแดงโบราณใน ประเทศไทยนั้นมีอยู ๒ แหลง คือ ภูโลน จังหวัดหนองคาย และ เขาวงพระจันทร จังหวัดลพบุรี ซึ่งอยูหางจากแหลงผลิตในแหลง โนนหนองหอ จึงสันนิษฐานไดวาทองแดงอาจถูกสงมาจากทาง ฝงประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หากทวาก็มี การพบก อ นโลหะสำเร็ จ รู ป ท่ ี ห ล อ ส ว นผสมมาให พ ร อ มใช แ ล ว สงมาจากพื้นที่อื่นๆ ก็เปนได ถึงแมจะหาจุดยุติในเรื่องนี้ไมได หากทว า ก็ ท ำให เ ห็ น ได ว  า แหล ง ผลิ ต สำริ ด โนนหนองหอย อ ม มีความสัมพันธกับชุมชนอื่นๆ ภายนอกที่มีการผลิตวัตถุดิบเพื่อ นำสงมาสำหรับการหลอมเปนเครื่องใช เครื่องประดับ ตลอดจน มโหระทึกที่โนนหนองหอ P การทำงานของนักโบราณคดีในประเทศไทยยังดำเนินตอไป เพื่อคนพบความรูขอมูลหลักฐานใหมที่ยังรอการคนพบ และชวย เปลี่ยนความรูความเขาใจทางวิชาการหลากหลายประการ กอใหเกิด ประโยชนตอการทำความรูจักบานของเราเองใหไดเพิ่มมากขึ้น ทวา ดวยขอจำกัดทางงบประมาณและจำนวนบุคลากรในการทำงานยอม เปนเรื่องหนักหนวงตอไปสำหรับการทำงานโบราณคดีเพื่อคนหา รากเหงาของสังคมไทย อานรายละเอียดเพิ่มเติมพรอมภาพประกอบและตัวอยางวีดีโอการ บรรยายไดที่ http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=1002 ñ๑ù๙


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

สรุป บรรยายสาธารณะ “ความรู  ท างภู ม ิ ศ าสตร แ ละวั ฒ นธรรม กับการทำความเขาใจประเทศเพื่อนบาน” »ปÔิÂยªชÒาµตÔิ ÊสÖึ§งµตÕี

P P วันพุธที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ผานมา มูลนิธิเล็กประไพ วิริยะพันธุ ไดจัดใหมีการบรรยายสาธารณะในหัวขอ “ความรู  ท างภู ม ิ ศ าสตร แ ละวั ฒ นธรรมกั บ การทำความเข า ใจ ประเทศเพื่อนบาน” โดยไดรับเกียรติจากคุณศรัณย บุญประเสริฐ นักเขียนสารคดี นักเดินทาง ที่มีความสนใจในเอเชียตะวันออก เฉียงใตมาเปนวิทยากรรวมบรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น P คุณศรัณย บุญประเสริฐ เริ่มการบรรยายดวยการนำพาผูฟง เขาไปรูจักกับการศึกษาภูมิศาสตรซึ่งเปนศาสตรพื้นฐานที่คุณศรัณย ใช เ ป น เครื ่ อ งมื อ สำคั ญ ในการเรี ย นรู  แ ละทำความรู  จ ั ก กั บ โลก โดยเสนอวาภูมิศาสตรคือการศึกษาภาพรวมของโลก ศึกษามนุษย ศึ ก ษาสั ต ว ภู ม ิ ศ าสตร เ ป น ศาสตร ท ี ่ เ รี ย นรู  ท ุ ก อย า งจากโลก จากพื้นดิน จากพืช จากสิ่งแวดลอม จากมนุษย และจากวัฒนธรรม P

ในการศึกษาภูมิศาสตรดำเนินไปใน ๒ แนวทาง คือ

P ๑. ธรณีวิทยา เปนการศึกษาเกี่ยวกับแผนดิน น้ำ แรธาตุ ภูเขา กลาวรวมๆ คือ การศึกษาแผนดินทุกสิ่งปรากฏอยูบนและใตผืนดิน ของโลก เพื่อทำความเขาใจกับสภาพแวดลอม ซึ่งชวยใหเขาใจกับสิ่ง แวดลอมที่อยูและการคาดการณปรากฏการณธรรมชาติ P ๒. แผนที่ เปนเครื่องมือสำคัญสำหรับภูมิศาสตรในการ จดบันทึกสิ่งที่พบเห็นบนพื้นโลกลงไปบนกระดาษ ฉะนั้นแผนที่จึง เปนการวาดตำแหนงที่ผูทำแผนที่สนใจ พบเห็นแลวบันทึกลงไป บนกระดาษ

ò๒ð๐

P “แผนที่” มีความสำคัญสำหรับการเริ่มตนศึกษาภูมิศาสตร ประวัติศาสตรของแผนที่มีมาอยางยาวนาน แผนที่เกาที่สุดในโลก พบในผนังถ้ำในประเทศสเปน (ถ้ำอัลตามีรา-Cueva de Altamira) แรกเริ่มคนที่เขาไปพบเขาใจวาเปนการเขียนภาพผนังถ้ำธรรมดา แตตอมากลับพบวามันเปนแผนที่รูปดาว เพราะมีการเขียนจุดตางๆ ใหญนอยเปนเหมือนกับทองฟาและดวงดาว P กาวกระโดดครั้งสำคัญของแผนที่เกิดขึ้นภายหลังการคิดวาง เสนระบุตำแหนงลงไปบนแผนที่ คือ เสนละติจูด [Latitude] เสน ลองจิจูด [Longitude] เสนสมมติถูกลากลงไปบนแผนที่เพื่อชวย ในการระบุตำแหนงของสิ่งตางๆ บนพื้นโลก P สำหรับแผนที่ในประเทศไทย เดิมแผนที่ของไทยก็จะเปนไป แบบเดียวกันกับแผนที่สมัยโบราณของโลกคือ ไมมีทิศทางและ อัตราสวนที่แนชัด เขียนขึ้นภายใตโลกทัศนของผูวาดแผนที่ กลาว คือเห็นอยางไรก็เขียนขึ้นมาอยางนั้นตามจินตนาการไมไดมีการ คำนึงถึงความถูกตองของทิศทางหรืออัตราสวนใดๆ อยางแผนที่ สมัยอยุธยามีการวาดภูเขา แมน้ำ ลงไปบนผาไหม มีการเขียนระบุ สถานที่ เชน แมกลอง เพชรบุรี นครศรีธรรมราช เปนตน P สวนความรูในการทำแผนที่แบบปจจุบัน ไทยเริ่มใหความ สนใจกับแผนที่แบบใหมจากการเขามาของจักรวรรดินิยมตะวัน ตก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งชาว ตะวันตกเริ่มเขายึดครองอาณานิคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทำใหตองมีการแบงสันปนสวนพื้นที่ระหวางรัฐตามแบบรัฐสมัย ใหม [Modern State] ที่รัฐมีขอบเขตที่แนนอนชัดเจน มีเสน พรมแดน ตางจากรัฐกอนสมัยใหม [Pre-Modern State] ที่เคยเปน มาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต รัฐไมเคยมีเสนเขตแดนชัดเจน มีแต “ปริมณฑลทางอำนาจ” ระหวางรัฐรับรูระหวางกันและขอบเขต ของอำนาจดั ง กล า วมี ก ารเลื ่ อ นไหลไปตามสถานการณ ข อง ศูนยอำนาจ P พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดวาจาง นายเจมส เอฟ. แมคคารธี ชาวอังกฤษ ใหเขามาจัดทำแผนที่สยามแบบ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

สมัยใหมชุดหนึ่ง ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว โปรดเกลาฯ ใหมีการตั้งโรงเรียนแผนที่ขึ้นเพื่อผลิตบุคลากร ในการทำแผนที่ขึ้นตอมาดวย P ในเรื ่ อ งของแผนที ่ เ ป น ประเด็ น หนึ ่ ง ทำให ไ ทยมี ป  ญ หากั บ ประเทศเพื่อนบานเรื่องเขตแดนอยูเสมอ ดวยเพราะเราใชแผนที่ อัตราสวน ๑ : ๒๐๐,๐๐๐ แตเพื่อนบานใกลเคียงอยางกลุม อินโดจีน กลับใชแผนที่อัตราสวน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ตามอยาง ฝรั่งเศสเคยทำไว อัตราสวนที่คลาดเคลื่อนกันเชนนี้ทำใหการ กำหนดเส น พรมแดนบนแผนที ่ ร ะหว า งไทยกั บ เพื ่ อ นบ า นเป น ปญหา ดังเห็นไดจากกรณีขอพิพาทพรมแดนปราสาทพระวิหาร กับประเทศกัมพูชา พ.ศ. ๒๕๐๕ และยืดยาวมาจนปจจุบัน ตลอด จนขอพิพาทกับประเทศลาวในพรมแดนที่บานรมเกลา เปนตน P ลักษณะภูมิศาสตรพิเศษคือ สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติที่มี ความพิเศษแตกตางจากสภาพแวดลอมโดยรอบ เชน วัดภู ประเทศ ลาว พระธาตุอินแขวน ประเทศพมา เขาพระวิหาร ประเทศกัมพูชา ซึ่งพื้นที่เหลานี้คือพื้นที่ภูมิศาสตรพิเศษที่ธรรมชาติรังสรรคขึ้น เมื ่ อ ผู  ค นผ า นเข า มาพบเห็ น จึ ง เกิ ด จิ น ตนาการว า พื ้ น ที ่ เ หล า นี ้ ม ี ความพิเศษหรือความศักดิ์สิทธิ์ จึงทำการอุทิศใหกับผีหรือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ P ภายหลังเมื่อศาสนาจากภายนอกเขามาทั้งพราหมณและพุทธ พื้นที่พิเศษเหลานี้จึงไดถูกสถาปนาใหมอีกครั้งใหกลายเปนพื้นที่ ศักดิ์สิทธิ์ของเทพเจาในศาสนาใหมนั้น P เมื ่ อ เป น เช น นี ้ แ ล ว ข อ พิ พ าทเรื ่ อ งเขตแดนระหว า งไทยกั บ กัมพูชา “เขาพระวิหาร” จึงไมควรดำเนินไปเชนนี้ เนื่องจาก เขาพระวิหารมีภูมิศาสตรพิเศษเปนจะงอยผายื่นออกไปจากเทือก เขาพนมดงรัก จึงไดรับการสถาปนาจากผูคนที่อาศัยอยูในพื้นที่ รวมกันอุทิศใหเปนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์แกผีตนน้ำ ตอมาเมื่ออาณาจักร พระนครไดขยายอำนาจเขามาถึงก็ไดมีการเขารวมสรางปราสาท หินถวายใหกับผีตนน้ำแหงนี้ P ฉะนั้นหากมองในดานของประวัติศาสตรและภูมิศาสตรเชนนี้ แลว จะเห็นไดวาพื้นที่แหงนี้ไมใชของประเทศใดประเทศหนึ่งภายใต เสนพรมแดน แตเปนพื้นที่พิเศษสำหรับคนทองถิ่นทั้งสองฝงของ เทือกเขาพนมดงรักไดรับประโยชนรวมกัน P P “คนไทยมั ก ไม ร ู  เกี ่ ยวกั บภูม ิศาสตร เรารูแ คแ ผนที่เมือง หลวง แต ไม ร ู  จั ก พื ้ น ที ่ เ ลย” P

เปนคำกลาวของคุณศรัณยในชวงทายของการบรรยาย

P “ภู ม ิ ศ าสตร เ ป น สิ ่ ง ที ่ เ ราควรจะรู  เพราะความไม ร ู  ท าง ภูมิศาสตรทำใหเราไมเขาใจที่เราอยู อยางพื้นที่ลุมน้ำเจาพระยา แผนดินเกิดใหมจากการทับถมของตะกอนดินปากแมน้ำ ดานลาง ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ของชั้นดินมีกำมะถันและแทรกพรอมกับไอน้ำหรือน้ำใตดินขึ้นมา บนผิวดินอยูตลอด คนสมัยกอนการปลูกขาวปละครั้ง เก็บเกี่ยว เสร็จน้ำมาก็ปลอยน้ำใหทวมนาทวมซังขาวจนเปอยกลายเปนปุย ใหกับดิน พอน้ำลดจึงไถกลบและเริ่มทำนาใหม แตการทำเชนนั้น นอกจากให ป ุ  ย แล ว ยั ง เป น การละลายกำมะถั น ในดิ น ที ่ ท ำให ด ิ น เปรี้ยว U ฉะนั้นเมื่อทุกวันนี้เราทำนาหลายครั้งตอป เราก็ไถกลบ เผานา เลยจึงทำใหเกิดปญหาดินเปรี้ยวตามมาตองใสปุย กลายเปนปญหา อื่นๆ ตามมาอีกมาก” P ความไมรูในเรื่องภูมิศาสตรมีปญหาสำหรับสังคมไทยมาก โดยเฉพาะในเรื่องของ “พรมแดน” เพราะคนไทยไมเคยรูและ ถูกชักชวนใหเขาใจผิดและมีปญหาขอพิพาทระหวางประเทศ อยาง ในกรณีของ “เขาพระวิหาร” ที่ถูกนำไปกลายเปนประเด็นเรื่อง ปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ ถูกชักนำดวยสำนึกชาตินิยม จนทำใหคนมีความเกลียดชังกับเพื่อนบาน ทั้งที่จริงแลวเสน เขตแดนเพิ่งมีขึ้นแตก็ทำใหคนเกิดปญหากันมาก หากมีความ เขาใจในภูมิศาสตรประวัติศาสตร เราจะเขาใจไดวาพรมแดนตอง จัดการดวยปริมณฑลทางอำนาจที่มีความเลื่อนไหลเคลื่อนไหวได ไมใชไมบรรทัดมาตั้งวัดแบงพื้นที่บนพื้นโลก P “เวลาคุณไปทองเที่ย ว คุณตองมีความรู คุณจะมองโลก เปลี่ยนไป มองภูเขาลูกหนึ่งเราก็จะไมไดมองใหเห็นแคความ สวย แตจะมองเห็นถึง ความหมายแฝงไวในสิ่ง นั้น เราจะสนุ ก มากขึ้นเขาใจเพื่อนบาน เขาใจดินแดนตางๆ ไดมากทีเดียว” P การมองโลกเชนนี้เปนการบูรณาการทำใหเขาใจสิ่งตางๆ รอบ ตัวไดดีขึ้นดวย P “ความรู ความเชื่อมโยง การบูรณาการเปนสิ่งสำคัญสำหรับ การเรียนประวัติศาสตรและโบราณคดี ในทุกวันนี้ผูเรียนมีความ เขาใจที่แยกสวนมากเกินไปจนขาดการบูรณาการความรูดานอื่นๆ โดยเฉพาะความรูทางภูมิศาสตร ความเขาใจในแผนที่ทำใหเรา มองเห็นภาพตางๆ ไดชัดเจน การเดินทางดวยความเขาใจในผูคน และพื้นที่ซึ่งเราเดินทางไปจะทำใหเดินทางไดสนุก เขาใจและเทา ทันโลกไดมากขึ้น” P วลั ย ลั ก ษณ ทรงศิ ร ิ กลาวปดทายการบรรยายสาธารณะ ครั้งนี้ พรอมกับขอเสนอเปดโลกทัศนในการเดินทางของคนไทย ที่ควรเปลี่ยนไป อานรายละเอียดเพิ่มเติมพรอมภาพประกอบและตัวอยาง วีดีโอการบรรยายไดที่ http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=1007

ò๒ñ๑


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

»ปÃรÐะªชÒาÊสÑัÁม ¾พÑั¹น¸ธ์ วันพุธที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๖

เรื่อง “สถาปตยกรรมมลายูในทองถิ่นสาม

จังหวัดภาคใต” บรรยายโดย ณายิบ อาแวบือซา

กิจกรรมบรรยายเชิงวิชาการ ของมูล นิธิ เ ล็ก -ประไพ วิริยะพันธุ

“บรรยายสาธารณะประจำป ๒๕๕๖” วันพุธเดือนเวนเดือน เวลาบายโมงถึงบายสี่โมง ติดธุระหรืออยูไกล ไมตองมา เพราะทุกวันนี้รถติดเหลือใจ เพราะสามารถรั บ ชมถ า ยทอดสดได จ ากทางเว็ บ ไซต ข องมู ล นิ ธ ิ ฯ www.lek-prapai.org การบรรยายเริ่มเวลา ๑๓.๐๐ น.-๑๖.๐๐ น. ติดตอไดที่มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, ๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ หรือสำรองที่นั่งไดทาง https://www.facebook.com/lekfound

áแ¼ผ§งËห¹นÑั§งÊส×ืÍอ Êส×ื่ÍอÊสÒาÃรÐะ

สถาปนิกและผูสนใจศึกษาเรื่องราวทางนิเวศวัฒนธรรมใน สามจังหวัดชายแดนใต Z พื้นเพของ “คุณณายิบ อาแวบือซา” อยูที่อำเภอ รือเสาะ จังหวัดนราธิวาส แตไดรับการศึกษาในระบบที่ กรุงเทพมหานครตั้งแตชั้นมัธยม ชั้นอาชีวศึกษาที่อุเทนถวาย ใชชีวิตทำงานในบริษัทตางชาติอยูหลายป ภายหลัง เมื่อกลับบานเกิดก็ศึกษาตอเนื่องที่จังหวัดยะลาพรอมๆ ไปกับทำงานธุรกิจสวนตัว Z เพราะเกิดในครอบครัวของผูมีรากเหงาทั้งของฝายบิดาและมารดา จากเมื อ งป ต ตานี ท ี ่ ไ ด ร ั บ การศึ ก ษาจากตะวั น ออกกลางในยุ ค แรกๆ จนกระทั ่ ง เป น พื ้ น ฐานในการเป ด โรงเรี ย นในระบบของรั ฐ ไทยเป น กลุมแรกในพื้นที่สามจังหวัด ทำใหณายิบสามารถเขาถึงผูคนและขอมูล แบบลึกซึ้งไดไมยาก Z ความสนใจในเรื่องราวของภูมิวัฒนธรรมบานเกิดเมืองนอนโดย เฉพาะงานทางสถาปตยกรรมแบบมลายูที่เริ่มสูญหายไปอยางรวดเร็ว รวมทั้งการมีโอกาสเดินทางไปสำรวจเยี่ยมชมชุมชนชาวมลายูในประเทศ เพื่อนบานหลายแหง ทำใหการศึกษาทางดานสถาปตยกรรมมลายูที่ณา ยิ บ กำลั ง ทำอยู  น ี ้ เ ป น สิ ่ ง ที ่ ค วรนำมาบอกเล า เผยแพร เพราะใน สถานการณปจจุบันงานศึกษาเชนนี้ทำไดยาก และที่มีอยูก็มีเรื่องราวอยู ไมมากนัก

พิเศษ! สมัครสมาชิกจดหมายขาว สั่งซื้อหนังสือและดีวีดีเฉพาะของมูลนิธิฯ ลดราคาหนังสือและดีวีดีทุกประเภททันที

P ผูสนใจสมัครสมาชิกจดหมายขาวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ เพียงเขียนรายละเอียดในใบสมัครจากเว็บไซต www.lek-prapai.org สงมายังที่อยูหรืออีเมลของมูลนิธิฯ รับสิทธิพิเศษทันที Z ๑. สั ่ งซื ้ อ หนั งสื อ และดีว ี ดี เ ฉพาะของมูลนิธิฯ ไมว า ใหม หรือ เก า ลดราคาทุกปกทุกชิ้น ๒๐ % (เฉพาะสั่งซื้อกับมูลนิธิฯ เทานั้นไมรวม กรณีซื้อจากงานหนังสือตางๆ หรือรานหนังสือ) ò๒ò๒

๒๐%

Z ๒. สามารถบอกรับจดหมายขาวแบบออนไลนฟรีหรือสมัครรับ จดหมายขาวแบบสิ่งพิมพคาใชจายปละ ๑๐๐ บาท จำนวน ๔ ฉบับ Z ๓. สามารถรับรหัสสมาชิกเพื่ออานจดหมายขาวแบบออนไลน ตั้งแตฉบับที่ ๑ ถึงฉบับปจจุบันฟรี และสามารถ Download จดหมาย ขาวในรูปแบบไฟล pdf ไดทุกฉบับ Z ๔. สามารถรับขาวสารกิจกรรมของมูลนิธิฯ ไดกอนใครอื่น หรือ สามารถเขารวมกิจกรรมตางๆ ไดในราคาพิเศษ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอนศตวรรษ ๑. ดี ว ี ด ี เ สวนาสั ญ จรคน ค อ นศตวรรษ "ส อ งซอด สอดสอง เมืองสกล" ฟงความผูหลักผูใหญในบาน เมือง ฝกฟนใจเพื่ออนาคต เมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ เทศบาล เมืองสกลนคร เปดประเด็นโดย ร ศ . ม . ร . ว . อ ค ิ น ร พ ี พ ั ฒ น์ อาจารยศรีศักร วัลลิโภดม และ พอเล็ก กุดวงศแกว ผลิตเพื่อผูสนใจรับรูการเสวนาในเมืองสกลนครโดย อาจารยผูหลักผูใหญและปราชญอาวุโสชาวสกลนครและผูเขารวมเสวนา หลากหลาย รวมทั้งสารคดีสัมภาษณประกอบการเสวนาตลอดกวาสาม ชั่วโมง แผนแรกสีฟาเขมเปนรายการเสวนาและสารคดีแบงเปนตอนยอย ๕ ตอน ในประเด็นตางๆ ๕ ชวงที่จะนำทานไปรูจักเมืองสกลนคร ใหลึกและกวางกวาที่เคย สวนแผนสีบานเย็นเปนบันทึกการเสวนา อยางเดียวราวสามชั่วโมง ] ๒. ดี ว ี ด ี เ สวนาสั ญ จรคน

ค อ นศตวรรษที ่ ก รุ ง เทพฯ “ไลรื้อชุมชน : ความขัดแยง ระหวางกรรมสิทธิ์โดยกฎหมาย และสิทธิชุมชน ภาวะลาหลัง ทางวัฒนธรรมในเมืองไทย” Z บั น ทึ ก การเสวนาฉบับเต็มเปด ประเด็นโดย ศ.ดร.เสนห จามริก, รศ. ดร. ม.ร.ว. อคิน รพีพัฒน และรศ.ศรีศักร วัลลิโภดม สวนอีกแผน

นำเสนอสารคดีสั้นความผูกพันของผูคน ยานบานเมือง และการรื้อ ทำลาย บันทึกการเสวนาพรอมสารคดีประกอบสัมภาษณผูมีสวนไดสวน เสียจากกรณีไลรื้อหลายแหงไดแก ๑. ยาน...ความเปนชุมชน ๒. สิทธิ ชุมชน ๓. ความขัดแยง

๓. ดีวีดีเสวนาสัญจรคน ค อ นศตวรรษที ่ แ ม ก ลอง : “แม ก ลองวิ ว ั ฒ น ” หรื อ “ท อ งถิ ่ น วิ บ ั ต ิ ” ฟ ง นั ก วิ ช าการผู  เ ป น ราษฎร อาวุ โ ส รศ. ม.ร.ว. อคิ น รพีพัฒน และอาจารยศรีศักร วั ล ลิ โ ภดม ร ว มกั บ สมาชิ ก วุฒิสภาจังหวัดสมุทรสงคราม คุณสุรจิต ชิรเวทย ซึ่งเปนผูที่ทำงาน คลุ ก คลี ก ั บ การศึ ก ษาท อ งถิ ่ น และมองเห็ น สั ง คมไทยเปลี ่ ย นผ า น มาอย า งยาวนาน เป น การกระตุ  น เตื อ นให เ กิ ด การฉุ ก คิ ด และเกิ ด แรงบั น ดาลใจที ่ ส ำคั ญ เพื ่ อ สร า งภู ม ิ ค ุ  ม กั น ในการตั ้ ง รั บ กระแส ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นอยางรุนแรง

บั น ทึ ก การเสวนาและสารคดี ป ระกอบสั ่ ง ได ใ นราคา แผ น ละ ๖๐ บาท และจั ด ส ง ทั ่ ว ประเทศ "ฟรี " ผูสนใจสั่งซื้อไดท ี่ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ E-mail : vlekprapaifoundation@gmail.com หรือ https://www.facebook.com/lekfound โทรศัพท ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, ๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ รานหนังสือริมขอบฟา วงเวียนอนุสาวรียประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน กรุงเทพฯ โทร. ๐๒-๖๒๒-๓๕๑๐ หมายเหตุ: มูลนิธิฯ ไมมีวัตถุประสงคในการแสวงหากำไรแตมุงเผยแพรความรู เพื่อเปนประโยชนสูสาธารณะ จึงมีคาใชจายเฉพาะคาผลิต DVD เทานั้น

ดีวีดีสารคดี “พอเพี ย งเพื่อ แผน ดิน เกิด” ราคาพิ เ ศษ ! สำหรับผูสมัครสมาชิกจดหมายขาวของมูลนิธิฯ

งานสารคดีพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด จัดทำขึ้นโดยความรวมมือของเมืองโบราณ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ และบริษัท เอเชีย แซทเทิลไลท ทีวี จำกัด เพื่อสรางความเขาใจในทองถิ่นและความรักในมาตุภูมิ ผูสนใจสั่งซื้อไดที่ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ E-mail : vlekprapaifoundation@gmail.com หรือ https://www.facebook.com/ lekfound โทรศัพท ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, ๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ รานหนังสือริมขอบฟา วงเวียนอนุสาวรียประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน โทร. ๐๒-๖๒๒-๓๕๑๐ หมายเหตุ คาจัดสง ๑-๑๐ แผน ราคา ๕๐ บาท ๑๑ แผนขึ้นไปราคา ๑๐๐ บาท

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ò๒ó๓


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

หนังสือใหมชุดพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด

จากเนื้อหาของวิดีโอสารคดี “พอเพียงเพื่อแผนดินเกิด” ผลิตเปนหนังสือและ E-book

เพื่อแผนดินเกิด

ผูเขียน ศรีศักร วัลลิโภดม และ วลัยลักษณ ทรงศิริ ราคา ๒๒๕ บาท

ผู  น ำทางวั ฒ นธรรม

ผูเขียน วลัยลั กษณ ทรงศิร ิ ราคา ๒๑๕ บาท

นิเวศวัฒนธรรมใน ความเปลี ่ ย นแปลง

ฟ น พลัง ความหลาก หลายทางวั ฒ นธรรม ในสั ง คมสยาม

ผูเขียน วลัยลั กษณ ทรงศิร ิ ราคา ๒๗๐ บาท

มู ล น ิ ธ ิ เ ล็ ก -ป ร ะ ไพ ว ิ ร ิ ย ะ พั น ธ ุ ์ จัดทำหนังสือชุด “พอเพียงเพื่อแผนดินเกิด” จากเนื้อหาในสารคดีในชื่อชุดเดียวกัน หนังสือ “ชุดพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด” มี ๔ เลม

พิเศษสำหรับสมาชิกจดหมายขาวฯ ลดราคาจากปก ๒๐ %

ผูเขียน วลัยลักษณ ทรงศิร ิ ราคา ๓๐๐ บาท

เมืองหนองหาร หลวงและภูพาน มหาวนาสี

ผูเขียน ศรีศักร วัลลิโภดม วลัยลักษณ ทรงศิริ และ รัชนีบูล ตังคณะสิงห์

เมื่อสั่งซื้อกับมูลนิธิฯ โดยตรง

ºบ·ท∙ºบÃรÃร³ณÒา¸ธÔิ¡กÒาÃร¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÏฯ นั บแต เริ ่ มมี การทำจดหมายข าวเพื ่ อบอกเล าข าวสารและสาระน ารู  จากบุคลากรของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ฉบับแรกเผยแพรเมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนตนมา ไมเคยปรากฏบทบรรณาธิการผูรับผิดชอบการ ผลิตจดหมายขาวฯ แตอยางใด จนถึงวันนี้เวลาผานไปกวา ๑๖ ป ฉบับที่ ๙๘ จึงปรากฏบทบรรณาธิการชิ้นนี้ขึ้นเปนปฐม ] หลังจากผานการทำจดหมายขาวฯ รายสองเดือนมาจนลวงขึ้นปที่ ๑๖ จึงได ปรับเปลี่ยนใหเปนจดหมายขาวฯ รายสามเดือนในฉบับที่ ๙๑ เปนตนมา อันเนื่องมา จากจดหมายขาวของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ทุกฉบับนั้น มีคอลัมน “เปดประเด็น” โดยอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม เปนผูเขียน จะขาดไปก็อาจเพียงฉบับ หรือสองฉบับในระยะเริ่มแรกเทานั้น ระยะเวลาที่ผานไปและวัยที่มากขึ้นทำใหจำเปน ตองปรับระยะการเขียนงานของอาจารยศรีศักรใหไดมีเวลาพักบาง เพราะอาจารยทำงานเขียนหลายชิ้นเชนนี้ อยางตั้งใจเสมอมา การผอนคลายบางก็นาจะถือวาเปนการสมควร ] นอกจากงานเขียน “เปดประเด็น” ของอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ที่สรางขอคิดและพร่ำเตือนสติแก สังคมไทยเสมอมานับสิบป จนถึงทุกวันนี้เหตุการณบานเมืองเปนไปในทางวิบัติคลายคลึงกับที่อาจารยไดคาด คะเนและบอกกลาวไว ทานผูเปนสมาชิกจดหมายขาวฯ นับแตแรกเริ่มคงไดรับรูถึงสารที่สงผานอยางตอเนื่อง ตลอดมา จึงอยากขอเชิญชวนทานผูเปนสมาชิกใหมๆ ไดทดลองอานจดหมายขาวฯ ฉบับที่ผานมา โดยเขาไป อานไดในเว็บไซตของมูลนิธิฯ นอกจากมีเนื้อหาตางๆ นาสนใจในสาระความรูที่คงจะเปนประโยชนแลว ยังจะได ทบทวนถึงเหตุแหงความวิบัติของสังคมไทยที่พวกเรากำลังเผชิญ ณ ขณะนี้ได โดยลองพิจารณาดูวาเปน !

ดังเชนในบทความตางๆ ทีผ่ า นมาของอาจารยศรีศกั รหรือไม?

ÇวÅลÑัÂยÅลÑั¡กÉษ³ณ์ ·ท∙Ãร§งÈศÔิÃรÔิ ò๒ô๔

ÁมÙู Åล¹นÔิ ¸ธ Ôิ àเÅล็ ¡ก -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิ Ãร Ôิ Âย Ðะ¾พÑั ¹น ¸ธØุ ์ ประธานกรรมการ ดร. ไพโรจน พงศพิพัฒน รองประธานกรรมการ อรพรรณ พงศพิพัฒน กรรมการและเหรัญญิก สุวพร ทองธิว กรรมการและเลขานุการ อมร ทองธิว กรรมการ พิจารณ วิริยะพันธุ, ตุก วิริยะพันธุ, รับพร วิริยะพันธุ ที่ปรึกษา ศรีศักร วัลลิโภดม, ดร.ธิดา สาระยา เจาหนาที่ สุดารา สุจฉายา, ลาวัลย ธรรมนิรันดร, ศรีสมร ฉัตรแกว, มรกต สาตราคม, วลัยลักษณ ทรงศิริ, รัชนีบูล ตังคณะสิงห, อรรถพล ยังสวาง, พรพิมล เจริญบุตร, ณัฐวิทย พิมพทอง, วันชนะ ศีระพัฒน, สวรรยา ดวงสำราญ, อภิญญา นนทนาท มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ที่อยู ๓๙๗ ถ.พระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท : ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, แฟกซ :๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ E-mail :vlekprapaifoundation@gmail.com เฟสบุค https://www.facebook.com/lekfound เวบไซต www.lek-prapai.org

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.