นสพ รักบ้านเกิดนคาศรีธรรมราช ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม ๒๕๕๖

Page 1

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม ๒๕๕๖

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

มูลนิธิรักษ์ไทยจัดเสวนาเรื่องแรงงานข้ามชาติ สร้างความรับรู้ และเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและนายจ้าง ก่อนเปิดประชาคม อาเซียน ในปี ๒๕๕๘

เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรี- ศ.นพ.กระแสร์ ชนะวงศ์

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ นพ.อิสระ หัสดินทร์ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò

แสงตะวัน งามกาหลง

บางส่วนของผู้เข้าร่วมฟังเสวนา

˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

รายงาน

ดร.อลิสรา ก�ำธรเจริญ

ธรรมราช มูลนิธิรักษ์ไทยร่วมกับหลายภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง จัดเวทีเสวนาหัวข้อ ‘สถานการณ์ แรงงานอพยพข้ามชาติในประเทศไทย การ ค้ามนุษย์ กับการช่วยเหลือด้านสังคม ด้าน >> อ่านต่อหน้า ๘ กฎหมาย และมุมมอง

ผู้บริหาร ๖ บริษัทพันธมิตร แจ้ง ปชช. พื้นที่ ปากพนัง-หัวไทร มีศักยภาพก่อสร้างกังหันลมผลิต ไฟฟ้า

เมื่ อ วั น ที่ ๑๑-๑๒ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๖ ณ ศาลาประชาคม อ� ำ เภอ ปากพนั ง กลุ ่ ม บริ ษั ท พั น ธมิ ต ร ๖ บริษัท ได้แก่ บริษัท เพาเวอร์อีเล็คตริคอลวัน จ�ำกัด, บริษัท เพาเวอร์อีเล็คตริคอลทู จ�ำกัด, บริษัท คะเณยะ จ�ำกัด, บริษัท ภัคตร์ แพนนิ่ง ดีเวลลอปเมนท์ คอนชัลแทนท์ จ�ำกัด, บริษัท เพาเวอร์อีเลคตริคอล ทรี จ�ำกัด และ บริษัท วินด์>> อ่านต่อหน้า ๙ เทอร์ไบน์ อีเลคทริคอล จ�ำกัด ร่วมกับ

หอการค้านครฯ จัดโครงการพัฒนา ศักยภาพและสร้างเครือข่ายนักธุกิจรุ่น ใหม่ รับมือ AEC >> อ่านต่อหน้า ๘


หน้า ๒

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

-

ำถามที่ ซ ่ อ นอยู ่ ภ ายในของประชาชนไทย เมื่ อ ‘หลังล้มระบอบทักษิณแล้วอะไรต่อ ?’ ดูเหมือน ยั ง ไม่ มี ค� ำ ตอบที่ ชั ด เจนจาก ‘แกนน� ำ ราชด� ำ เนิ น ’ สมมติว่าหากมีการจัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติ หรือรัฐบาล พระราชทาน มีนายกรัฐมนตรีอยู่เหนือการก�ำกับของ พรรคการเมื อ ง นั ก การเมื อ งอาชี พ หรื อ นั ก การเมื อ ง สังกัดพรรคการเมืองทุกคนคงยอมทนกับสภาพเช่นนี้ ได้ไม่นาน พวกเขาจะเรียกร้องให้กลับมาจัดการเลือก ตั้งเพื่อเข้ามาเป็นเจ้าของอ�ำนาจบริหารประเทศ โดย ค่อยๆ ปฏิเสธนายกรัฐมนตรีพระราชทานและรัฐมนตรี ร่วมรัฐบาล วันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานสถาบันออกแบบอนาคตประเทศไทย ภายใต้ มู ล นิ ธิ ค วง อภั ย วงศ์ วิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ ก ารเมื อ ง ที่ มี ก ารเผชิ ญ หน้ า และเริ่ ม รุ น แรงขึ้ น เรื่ อ ยๆ และเป็ น ตั ว ถ่ ว งรั้ ง การพั ฒ นาอย่ า งส� ำ คั ญ ได้ เ วลาที่ ป ระเทศ จะต้องปรับขบวนครั้งใหญ่ โดยอาศัยความตื่นตัวของ ประชาชนมาผลักดันสู่การปฏิรูปประเทศ และยกเครื่อง การเมื อ ง การปกครองเศรษฐกิ จ และสั ง คมครั้ ง ใหญ่ ก่อนประเทศไทยจะหลงทางและด�ำดิ่งลงสู่หุบเหวแห่ง ความหายนะจนไม่สามารถฟื้นตัวใหม่ได้ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ไม่เปิดเผยวิธีการ แต่เน้น ย�้ำว่าการปฏิรูปประเทศเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่ง และ จะส� ำ เร็ จ ได้ ด ้ ว ยฉั น ทามติ จ ากประชาชน บนพื้ น ฐาน การมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชน และเป็ น ไปอย่ า งสุ จ ริ ต ยุติธรรม พรรคการเมืองทุกพรรคต้องน�ำเสนอนโยบาย และแนวทางปฏิรูปประเทศ ถ้าพรรคการเมืองยังยึดมั่น ในแนวทางเดิ ม ๆ นานาประเทศจะดู ถู ก เหยี ย ดหยาม อดีตเลขาธิการอาเซียนเสนอแนวคิดปฏิรูปประเทศก่อน ‘แกนน�ำราชด�ำเนิน’ ประกาศเผด็จศึก ไม่ว่าจะส�ำเร็จ หรือไม่ส�ำเร็จ ประชาชนจะรอดูว่านักการเมืองอาชีพจะ ร่วมมือปฏิรูปประเทศหรือไม่ หรือจะปล่อยให้กงล้อของ วงจรอุบาทว์หมุนเคลื่อน โดยไม่มีต้นไม่มีปลายแบบนี้ ต่อไปเรื่อยๆ

นี้

๒) การจัดท�ำเอกสารน�ำเสนอ ก็มิใช่กรมศิลปากร เป็นผู้ท�ำ แต่ให้จังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบ และฟังว่ามอบ ให้ฝ่ายวิชาการด�ำเนินการ โดยจะมีการจัดประชุมสัมมนา ๒ รอบ ในต้นเดือนธันวาคมนี้ และ ต้นปีหน้า ซึ่งยังไม่ทราบ ว่าจะเป็นอย่างไร โดยผมที่ได้รับบรรจุเป็นวิทยากรก็ไม่ว่าง และสามารถปลีกตัวมาร่วมได้ โดยเฉพาะประเด็ น ขอบเขตพื้ น ที่ ม รดกโลกครั้ ง นี้ ขนาดไหนแน่ ? เฉพาะองค์พระบรมธาตุเจดีย์ หรือทั้งวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิ ห าร หรื อ ครอบคลุ ม ปริ ม ณฑลรายรอบตลอดจน บริบทอื่นใดขนาดไหน และที่ ส� ำ คั ญ คื อ เงื่ อ นไขของความเป็ น มรดกโลก อี ก มหามงคลส� ำ หรั บ พวกเราชาวนครนั้ น คื อ การ ขึ้ น บั ญ ชี ส� ำ รองเพื่ อ พิ จ ารณาการเป็ น มรดกโลกขององค์ ซึ่งจะผูกพันต่อผู้น�ำเสนอ ว่าจะอนุรักษ์ ปกป้อง ปรับปรุง พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ น ครศรี ธ รรมราช ที่ ท ราบว่ า มี เ วลา พัฒนา อะไร อย่างไร เมื่อไร และ ฯลฯ เพียง ๓ ปีนับจากปีนี้ในการด�ำเนิน การท�ำเอกสารพร้อม ผมนึกไม่ออกจริงๆ ครับว่าจะอย่างไรกันแน่ เพราะเท่า กับสร้างความพร้อมในด้านต่างๆ เพื่อคณะกรรมการของ ยู เ นสโกจะได้ พิ จ ารณา โดยจั ง หวั ด ได้ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะ ที่ไต่ถามกันมา ล้วนแล้วแต่ “ไม่รู้ว่าอย่างไรแน่” ทั้งนั้น แต่ กรรมการและคณะท�ำงานหลายชุด เท่าที่ผมรับทราบจาก มีเสียงออกมาจากหลายท่านที่ผมเคารพนับถือในท�ำนอง อาจารย์ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัย ห่วงใย ด้วยเห็นว่า “พระธาตุนครของเรานั้น เป็นมรดก ราชภัฏนครศรีธรรมราชผู้พ้นต�ำแหน่งมาเป็นประธานสภา ธรรมที่เหนือกว่ามรดกโลกเป็นไหนๆ” วัฒนธรรมจังหวัดและบอกว่าจะทุ่มเทขับเคลื่อนเรื่องนี้นั้น ห่ ว งใยว่ า ความพยายามด� ำ เนิ น การเรื่ อ งมรดก งานนี้ยังมีข้อพิจารณาอีกไม่น้อย อาทิ ๑) การขับเคลื่อนครั้งนี้ ต่างจากเดิมๆ ที่เคยท�ำมา โลกครั้ ง นี้ น อกจากจะด� ำ เนิ น ไปแบบโลกๆ ที่ ติ ด อยู ่ แ ต่ คื อ เป็ น การน� ำ เสนอของทางราชการ กรมศิ ล ปากรหรื อ กั บ “โลกี ย ธรรม” แล้ ว ไปไม่ ไ ด้ เ หนื อ กว่ า นั้ น จนถึ ง ขั้ น กรมป่ า ไม้ (ตามแต่ ก รณี ) และจั ง หวั ด แต่ ค รั้ ง นี้ ฟั ง ว่ า ของ “โลกุตรธรรม” อย่างสมค่า แถมหากน�ำมาซึ่งความ เป็ น การขั บ เคลื่ อ นน� ำ เสนอโดยภาคประชาชนชุ ม ชนชาว ตกต�่ำขัดแย้ง แสวงและแย่งผลประโยชน์เข้าอีก จะกลาย นคร ซึ่งเท่าที่ติดตามมาแต่ต้น ดูเหมือนว่า “ภาคประชาชน เป็นการเสียมงคล ชุมชนชาวนคร” ที่ว่า ไม่ค่อยได้รับรู้หรือมีส่วนร่วมเท่าที่ ผมเองนั้นยินดีมีส่วนร่วมในการขบคิดขับเคลื่อนตาม น่ า จะเป็ น ไม่ ว ่ า จะเป็ น ฝ่ า ยไหนๆ ก็ ต าม โดยเฉพาะพระ สงฆ์องค์เจ้า ชาวบ้านรายรอบ กระทั่งผู้ที่น่าจะมีส่วนด้วย สมควร แต่มิได้ข้องอยู่เพียงการ “ให้ได้รับการพิจารณาเป็น มรดกโลก” >> อ่านต่อหน้า ๙ ทั้งหลาย ก็ก�ำลังจะสิ้นปีอีกแล้ว ส� ำ หรั บ การพระพุ ท ธศาสนานั้ น ปี นี้ ใ นสายตาผม มี ๒ มหามงคล พร้อมกับเกิด ๒ สูญเสียครั้งใหญ่ คือ การ “ดับ” ของ ๒ มหาเถระ คือ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราชสกลสังฆปริณายก (เจริญ สุวัฒโณ) และ สมเด็จ พระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปสโม) ในขณะที่ ๒ มหามงคลนั้น หนึ่งคือการฉลองพระชันษา ๑๐๐ ปี ของเจ้าพระคุณสมเด็จ พระญาณสังวร ที่ถือเป็นโอกาสอันเกิดได้ยากยิ่ง โดยพวก เราหลายฝ่ายได้ร่วมกันจัดกิจกรรมปฏิบัติบูชา “ญาณสังวร” ตลอดมาตั้งแต่ต้นปีด้วยการน้อมน�ำเป็นธรรมาฐิษฐานควบคู่ กับบุคคลาฐิษฐานในพระองค์ท่าน


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

ลายปีนี้ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอสซีท.ี ) ทุง่ สง จัดโครงการ School Visit โดยอาจารย์ลัดดา ประสาร ศิษย์ เก่าคณะวารสารศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าทีมติดต่อประสานกับโรงเรียน มั ธ ยมในจั ง หวั ด นครฯ กระบี่ และตรั ง กว่า ๒๐ โรง เพื่อชักชวนเด็กๆ เข้าร่วม โครงการประกวดงานเขียน การพูด (ไทย และอังกฤษ) และภาพถ่าย หัวข้อ ‘เมือง น่าอยู่’ (ลิกอร์เมืองน่าอยู่, กระบี่เมืองน่า อยู่ และ ตรังเมืองน่าอยู)่ เพือ่ กระตุน้ ความ ส�ำนึกรักบ้านเกิด และความต้องการที่ผู้ บริหารบ้านเมืองควรสนใจ โดยเครือ SCG, ธ.ไทยพาณิ ช ย์ และเครื อ ผาทอง เป็ น ผู ้ สนับสนุนรางวัล พิธีมอบจะจัดที่วิทยาลัย ในวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๗ ทาง เอสซี ที . ให้ เ กี ย รติ ชั ก ชวนผม ไปร่ ว มโครงการเกี่ ย วกั บ การเขี ย น และ บรรยายสั้นๆ เกี่ยวกับ ‘เมืองน่าอยู่’ พอ เป็นแนวทาง และตัดสินผลงาน ส่วนการ พูดวิทยาลัยเชิญ ดีเจ ๒ คน ได้แก่ ณัฐพร การิกาญจน์ จาก อสมท.กับ นัท คลังทรัพย์ จาก คลืน่ ตชด.ทุง่ สง เดื อ นพฤศจิ ก ายน ผมไปเยี่ ย มและ พูดคุยกับนักเรียนโรงเรียนบางขันวิทยา, โรงเรี ย นประที ป ศาสน์ , โรงเรี ย นเมื อ ง นครศรี ธ รรมราช, โรงเรี ย นทุ ่ ง สง และ โรงเรียนทุง่ ใหญ่ เด็กๆ ตืน่ เต้นและให้ความ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวนมาก เรือ่ งเมืองน่าอยู่ ผมบอกเก็บเด็กๆ ว่า แนวคิดนีไ้ ม่ได้เกิดขึน้ ทีป่ ระเทศไทย แต่เป็น ความห่วงใยขององค์การอนามัยโลก (WHO) องค์ ก ารช� ำ นั ญ พิ เ ศษแห่ ง สหประชาชาติ ผู ้ ท� ำ หน้ า ที่ ดู แ ลเรื่ อ งสุ ข ภาพอนามั ย ของ พลโลก ที่มองเห็นว่าในโลกที่ก�ำลังพัฒนา ไปข้ า งหน้ า เมื อ งต่ า งๆ ในโลกเติ บ โตขึ้ น ตลอดเวลา ผู ้ ค นอพยพเข้ า ไปอยู ่ เ มื อ งที่ มี แ หล่ ง งาน ปั ญ หาความเจ็ บ ไข้ แ ละไม่ ปลอดภัยในชีวติ เกิดขึน้ ตลอดเวลา องค์การ อนามั ย โลกจึ ง เริ่ ม โครงการ Healthy Cities ซึ่ ง ฝ่ า ยไทยแปลให้ ไ ด้ ค วามหมาย ครอบคลุมว่า ‘เมืองน่าอยู่’ หรือเมืองที่อยู่ แล้วมีความสุข ซึ่งต้องขยายความต่อไปว่า

เมืองที่สมาชิกอยู่แล้วมีความสุขควรมีองค์ ประกอบอะไรบ้าง เด็กๆ อาจพรรณนาลิกอร์โบราณว่า ในน�้ำมีปลา ในนามีข้าว ทรัพยากรสมบูรณ์ ผู้คนยิ้มแย้มแจ่มใส มีชายทะเลขาวสะอาด และมีพระบรมธาตุเจดีย์เป็นศรีแก่เมือง แต่ นั่นเป็นลิกอร์หรือเมืองนครโบราณที่เราไม่ สามารถกลับไปใช้ชวีิ ติ เด็กๆ อยูใ่ นเมืองนคร ปัจจุบนั และในอนาคตอย่างน้อยคนละ ๕๐ ๖๐ ปี ถ้าไม่เจ็บป่วยสาหัสหรือประสบอุบัติ ด่วนจากไปเสียก่อน บอกกั บ เด็ ก ทุ ่ ง สงไปว่ า ..ทุ ่ ง สงก� ำ ลั ง เติ บ โตเป็ น ศู น ย์ ก ลางเศรษฐกิ จ ทางฟาก ตะวั น ตกของเมื อ งนคร มี แ รงงานต่ า งถิ่ น และคนย้ายถิ่นเข้ามาอยู่มากมาย อาคาร พาณิ ช ย์ แ ละบ้ า นจั ด สรรเกิ ด ขึ้ น มากมาย เมืองที่ก�ำลังเติบโตควรวางแผนหรือผังเมือง ไว้ล่วงหน้า ตรงไหนไว้ท�ำถนนหนทาง และ สาธารณูปโภค ที่ส�ำคัญคือต้องมีพื้นที่ที่จะ จัดเป็นสวนสาธารณะให้ชาวเมืองได้เดินวิ่ง ออกก�ำลังกาย หรือพาครอบครัวไปพักผ่อน หย่อนใจ เมืองใหญ่ๆ ต้องจัดการเรือ่ งการจราจร ให้คล่องตัว ใช้เวลาเดินทางจากบ้านไปยัง แหล่งงานในเวลาไม่นานเกินไป และรณรงค์ ให้เคารพกฎจราจร ทางม้าลายและทางเท้า ใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ จ ริ ง คุ ย อวดเด็ ก ๆ ว่ า ใน เยอรมัน ฝรั่งเศส และญี่ปุ่ น แค่เราแสดง เจตนาว่าจะข้ามทางมาแล้ว ยวดยานพร้อม จะหยุดให้ทันที ไม่ต้องเอาร่างกายไปเสี่ยง

อย่างบ้านเรา แม้เราไปยืนอยู่ในทางม้าลาย กลางถนน รถราก็ยังไม่จอดให้ เมืองน่าอยู่ ต้องเป็นเมืองที่ผู้คนเคารพกฎจราจรซึ่งก่อ ประโยชน์ต่อทุกๆ คน และทุกๆ เมืองต้อง จัดระบบขนส่งมวลชนให้ได้มาตรฐาน รถเมล์ หรือรถสองแถวประจ�ำทางบริการดี ทางเท้ า บนถนนสายนอกควรปลู ก ต้นไม้ให้ร่มรื่นตลอดแนว ถ้าเป็นไปได้ใน เมืองเล็กๆ ที่ก�ำลังเติบโตควรกันพื้นที่ไว้ท�ำ ทางจั ก รยาน และต้ อ งหมั่ น เพิ่ ม พู น ความ เขียวขจีให้แก่เมืองอยู่ตลอดเวลา เพื่อเป็น เครือ่ งกรองอากาศให้กบั ชาวเมือง ปัญหาน�้ำท่วมขังเป็นแหล่งเพาะเชื้อ โรค ขยะเน่าเหม็น อากาศเสีย ซึ่งองค์กร ปกครองมี น โยบายและแนวทางในการ จัดการน�้ำท่วมขัง ลดต้นเหตุการระบาดของ โรค มีรถจัดเก็บขยะทุกวัน พร้อมรณรงค์ให้ ผูอ้ ยูอ่ าศัยรูจ้ กั แยกขยะและทิง้ ลงถัง เมืองน่าอยู่ต้องมีโรงพยาบาล คลินิก และโรงเรี ย นดี ๆ อยู ่ ใ กล้ ๆ ยามป่ ว ยไข้ โรงเรี ย นดี ๆ หมายถึ ง โรงเรี ย นที่ มี ก าร บริหารจัดการให้เกิดการเรียนการสอนเต็ม ประสิทธิภาพ เด็กๆ ไม่ต้องตื่นตั้งแต่ย�่ำรุ่ง ขึ้นรถตู้เดินทางไปกลับวันละ ๑๐๐-๑๒๐ กิโลเมตรมาโรงเรียนใหญ่ๆ ในตัวเมือง การ ศึกษาเล่าเรียนหนักและเหนื่อยเกินความไป จนเด็กๆ เบือ่ หน่าย พ่อแม่ผู้ปกครองน่าจะมีแหล่งงานอยู่ ใกล้บ้าน จะได้ไม่ต้องทิ้งลูกๆ ให้พ่อแม่ไป ท�ำงานในเมืองใหญ่ ซึง่ ผูป้ กครองไม่มโี อกาส

สั่งสอน และโอบกอดให้ความอบอุ่น หรือ เป็นที่ปรึกษาช่วยแก้ปัญหา แหล่งงานใกล้ บ้ า นเปิ ด โอกาสให้ ลู ก ๆ ได้ อ ยู ่ กั บ พ่ อ แม่ และมีเวลาท�ำกิจกรรมร่วมกันอย่างอบอุ่น และเข้าใจความต้องการของกันและกัน เมื อ งน่ า อยู ่ ต ้ อ งมี ค วามปลอดภั ย ทั้ ง ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ไม่ ว ่ า จะออกจาก บ้านหรือเดินไปตามถนนหนทาง เราหวัง ว่าจะปลอดภัยจากโจรผู้ร้ายผู้หมายปอง ทรัพย์สิน ซึ่งอาจเกิดการท�ำร้ายร่างกาย และเข่ น ฆ่ า ลู ก สาวออกจากบ้ า นไป โรงเรียนและกลับถึงบ้านอย่างปลอดภัยทุก วัน เมืองที่ไม่ปล่อยปละละเลยปัญหายา เสพติด ซึง่ เป็นทีม่ าของอาชญากรรมต่างๆ เมื อ งน่ า อยู ่ ต ้ อ งเป็ น เมื อ งที่ ผู ้ ค น สามารถประกอบพิธีทางศาสนาตามความ เชื่อของตนเอง หน่วยงานรัฐหรือองค์กร ปกครองท้องถิ่นต้องสนับสนุนการสืบทอด วัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามให้ยืนยง สืบไป ผู้อยู่อาศัยที่ดีจะช่วยกันท�ำให้เมือง นัน้ ๆ น่าอยู่ เพือ่ นบ้านต่างเกือ้ กูล เมตตา ต่อกัน ยิม้ แย้มแจ่มใส มีความเคารพซึง่ กัน และกัน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนท�ำให้เมืองที่เรา อยูน่ า่ อยูย่ งิ่ ขึน้ อยูแ่ ล้วมีความสุข เมืองน่าอยู่จึงไม่ใช่เรื่อง—ในน�้ำมี ปลา ในนามีขา้ ว หรือเรามีพระบรมธาตุฯ ศักดิส์ ทิ ธิ์ อย่างทีพ่ ดู ตามๆ กันมาเท่านัน้


หน้า ๔

ชวนชควดินคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

มื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายนที่ผ่านมา ตรงกับขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๒ เป็นวันที่ถูกก�ำหนดให้เป็นวันลอยเคราะห์ ลอยกระทง พรรคพวกที่ หิ้ ว ชั้ น ไปวั ด ได้ ช วนให้ ไ ปที่ วัดบ้านดาน ต�ำบลท่าซอม อ�ำเภอหัวไทร จังหวัดนคร เขามีการทอดกฐิน เลยไม่ต้องยกชั้นไป อาหารการกิน ในงานเขามีพร้อมเหลือเฟือ ทางวัดเขามีกิจกรรมใหญ่สามกิจกรรมพร้อมกัน คื อ ทอดกฐิ น แข่ ง เรื อ เพรี ย ว และลอยกระทง วั ด บ้านดานเป็นวัดเก่าแก่ที่ยังสามารถรักษาศาสนสถาน เอาไว้ได้ ขณะที่วัดอื่นรื้อทิ้งแล้วทอดกฐินสร้างขึ้นมา ใหม่ ศาสนสถานที่ว่าคือ ศาลาโรงธรรม กับ หอไตร ศาลาโรงธรรมเพิ่งรื้อกระเบื้องลงมา ก�ำลังมุงขึ้นใหม่ ใช้กระเบื้องแบบเดิม คงท�ำให้แข็งแรงขึ้น ส่วนหอไตร ยังมีสภาพดี ปรับปรุงเรื่องสระน�้ำไม่ให้ดินพังทลายลง ไป เป็นหอไตรที่อยู่กลางสระน�้ำป้องกันปลวกได้ดี แต่ การปรับปรุงสะพานข้ามไปที่หอไตรก็เชื่อมติดกัน มด ปลวกก็จะขึ้นไปที่หอไตรได้ แต่คงจะมีคนดูแลอยู่ ภาคเช้าเขามีการแข่งเรือเพรียวกันก่อน มีเรือ จากต่างถิ่นมาร่วมด้วยมากมาย แม้ทางวัดจัดขึ้นไม่ใหญ่ โต รางวัลก็ไม่มากมาย แต่มีคนเชียร์มากนับพัน งานบุญ ของวัดก็ดีไปด้วย ช่วงเย็นก็ปรับเปลี่ยนเป็น งานลอย กระทงที่ท่าน�้ำของวัดได้อีกงาน การแข่งขันเรือเพรียวที่วัดบ้านดาน แข่งเรือขนาด เล็ก ๗ ฝีพายดูจะท�ำให้วัดต่างๆ หรือหมู่บ้านก็สามารถ สร้างกันได้ เรือก็หาง่ายกว่าเรือใหญ่ ผมเริ่มรู้จักเรือ เพรี ย วเมื่ อ ๒๐ กว่ า ปี ก ่ อ นจากป้ า รุ ่ น แก้ ว หนู ท่ า น เป็นคนแถบลุ่มน�้ำ ท่านเห็นการแข่งเรือทางโทรทัศน์ แล้ววิจารณ์เรื่องลักษณะเรือและวิธีการพาย ท�ำให้ผม สนใจและสงสัยมาก จึงบอกท่านว่า นี่คือเรือยาวจาก พิ ษ ณุ โ ลก และเป็ น แชมป์ ป ระเทศไทย มั น บกพร่ อ ง อย่างไรอีก คุณป้าจึงสาธยายให้ฟังถึงรูปแบบของเรือ ใบพาย การพายให้ฟัง ผมก็เชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่งเพิ่งจะ

มาประจักษ์สายตาเมื่อ ๑๐ ปีก่อนที่มีการขุดเรือเจ้า แม่ตาปีที่น�ำช่างขุดเรือจากนครและสุราษฎร์ร่วมกันขุด และลงแข่งจนปราบแชมป์ของประเทศลงได้ราบคาบ จึ ง เห็ น ความแตกต่ า งของล� ำ เรื อ และเทคนิ ค การพาย อย่างที่ป้ารุ่นเคยวิจารณ์เอาไว้เมื่อสิบกว่าปีก่อนนั่นเอง

นับแต่นั้นมาผมก็เริ่ม สนใจเรื่ อ งเรื อ เพรี ย วมาก ขึ้ น จนได้ มี โ อกาสขอร้ อ ง คุณบุญกิจ ลีเลิศพันธ์ นาย ห้างใหญ่ดอกบัวคู่ ในขณะนั้นท่านท�ำหน้าที่ที่ปรึกษา ของสมาคมการท่ อ งเที่ ย วนครอยู ่ ใ นยุ ค ของคุ ณ มนู ญ เจริญสวัสดิ์ ขอให้คุณบุญกิจสนับสนุนเรือเพรียวของ นคร ให้โด่ดเด่นเหมือนการแข่งเรือยาวของภาคกลาง ภาคเหนือเขา ซึ่งท่านก็ได้ส่งเสริมมาจนปัจจุบัน การ แข่ ง ขั น เรื อ เพรี ย วก็ เ ริ่ ม ยิ่ ง ใหญ่ ขึ้ น เรื่ อ ยๆ สั ก วั น ก็ ค ง เป็นกิจกรรมหลักของเมืองนคร เพื่อเป็นกิจกรรมการ ท่องเที่ยวที่ท�ำรายได้มาสู่ชาวนคร เรือเพรียวเป็นเรือที่ต่อขึ้นเพื่อใช้ในการแข่งขันกัน สนุก แล้วยังใช้ชักพระเรือในประเพณีการชักพระเรือ หรือใช้ชักเรือกฐินได้อีกด้วย จึงถือกันว่าเรือเพรียวถูก สร้างขึ้นมาเพื่อการแข่งขันโดยเฉพาะ ถ้าเป็นรถยนต์ก็ ต้องเป็นฟอร์มูล่าวันเท่านั้น เพราะแม้แต่งานบุญก็ยังใช้ เรือเพรียวมาแข่ง เรือพระ เรือกฐินอีกด้วย นับเป็นการ เล่นสนุกที่มีคุณค่าเป็นอย่างยิ่ง เรือเพรียวมักจะท�ำด้วยไม้ตะเคียน เนื่องจากเป็น ไม้ที่ทนกับน�้ำที่สุด ไม้ตะเคียนมีมากแถบในพรุ แถบ ควนเคร็งในค็อง เมื่อโค่นแล้วล่องมาเป็นแพ ถ้าต้นใหญ่ ก็ผ่าครึ่งซีก ขุดได้สองล�ำ ย่อมลงไปก็ขุดได้ต้นละล�ำ คน ลานสกา (คนเหนือ) ก็ขุดเรือโกลน ก็คือใช้ต้นไม้ทั้งต้น ขุดแต่งหยาบๆ พอเป็นรูปเรือ บรรทุกพืชผลลงมาขาย ถึงแถบลุ่มน�้ำ แล้วขายเรือโกลนไปด้วย เพื่อให้ชาวนอก มาท� ำ เป็ น เรื อ ใช้ ง านหรื อ เรื อ เพรี ย ว เราคงได้ ยิ น คน พู ด ส� ำ นวนว่ า “อื ด เหมื อ นเรื อ เหนื อ ” เรื อ มั น หนา ล�ำเทอะทะ ด้วยเหตุผลที่ขุดเรือโกลนจึงมีที่มาอย่างนี้ การขุดแต่งเรือเพรียวต้องประณีตอย่างยิ่ง ป้ารุ่น เคยอธิบายให้ฟังว่า อกเรือต้องบางแหลมจนแหวกน�้ำ ไปเหมือนกับใบมีด ไม่ปะทะน�้ำ ล�ำเรือต้องลื่นไม่ถูก น�้ำ ทาด้วยไขวัว เทียนไข มันมะพร้าว เก็บไว้ในที่แห้ง วัดต่างๆ จะมีโรงเก็บโดยเฉพาะ ลูกเรือจะมีทั้งผู้ชาย ล้ ว น ผู ้ ห ญิ ง ล้ ว น และผสมกั น ก็ มี เรื อ เพรี ย วที่ มี ก าร แข่งขัน มีตั้งแต่ ๓ ถึง ๓๐ ฝีพาย >> อ่านต่อหน้า ๑๐

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือน ธั น วาคม ๒๕๕๖ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ประสงค์ พิทูรกิจจา เลขาธิการ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ นายกองเอก วิ ล าศ รุ จิ วั ฒ นพงศ์ ประธานฝ่ า ยบรรเทาทุ ก ข์ ฯ อั ญ เชิ ญ ถุ ง ยั ง ชี พ พระราชทาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาบรรเทาความเดือดร้อน ของราษฏรจังหวัดนครฯ

คุณผู้อ่านผู้มีอุปการคุณต่อ ‘รักบ้านเกิด’ บางท่าน อาจรู้สึกว่า ปี ๒๕๕๖ ผ่านไปอย่างรวดเร็ว เมื่อพิจารณา จากจ� ำ นวนเหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ซ�้ ำ ๆ ซากๆ ไม่ กี่ เ หตุ ก ารณ์ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน ปั จ จุ บั น เป็ น ประธานสถาบั น ออกแบบอนาคตประเทศไทย เสนอว่ า ขณะนี้ ป ระเทศไทยต้ อ งการการปฏิ รู ป โดย อาศั ย ความตื่ น ตั ว และการมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชน การ เลื อ กตั้ ง ต่ อ ไปพรรคการเมื อ งควรน� ำ เสนอนโยบายที่ เ ป็ น รูปธรรมว่าจะร่วมปฏิรูปประเทศอย่างไร เขียนขณะ สุเทพ เทือกสุบรรณ และแกนน�ำคนส�ำคัญๆ น�ำมวลชนเข้า ยึดกระทรวงการคลังและกระทรวงต่างๆ มวลชนเข้ายึดศาลา กลางจังหวัดหลายจังหวัด ส่วนตอนจบของการเคลื่อนไหว ต่อต้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ที่ค่อยๆ เพิ่มข้อเรียกร้องในนาม ‘ยกระดับ’ จะยุติ ณ จุดใดยากท�ำนาย แต่ถ้าการ ชุมนุมไม่กระทบรัฐบาล นายกฯ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ไม่ประกาศ ยุบสภา กกต.ต้องจัดการเลือกตั้งซ่อม ส.ส.แทนผู้ที่ลาออก ไป เมืองนครชาวบ้านอยากรู็ว่าใครจะลงสมัครแทน วิทยา แก้วภราดัย รอง หน.พรรค ปชป. ที่ลาออกมาเป็นแกนน�ำ ต่ อ สู ้ กั บ รั ฐ บาล-ผู ้ ว ่ า ฯ อภิ นั น ท์ ซื่ อ ธานุ ว งศ์ เปิ ด ห้ อ งท� ำ งานต้ อ นรั บ ให้ โ อวาท และมอบเงิ น สนั บ สนุ น นักกีฬาวอลเลย์บอลชาย โรงเรียนบ้านขอนหาด อ.ชะอวด


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๐,๐๐๐ บาท เป็นทุนไปแข่งขัน ‘วิทยุการบินฯ มินิวอลเลย์บอล ประจ�ำปี ๒๕๕๖’ ครั้งที่ ๑๔ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระหว่าง ๒๘ พฤศจิกายน ๔ ธันวาคม ณ สนามกีฬาแห่งชาติปทุมวัน กรุงเทพฯ ขอให้คว้า ถ้วยรางวัลกลับมาอีก ความเคลื่อนไหวด้านเศรษฐกิจบ้าง-- ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรีนครนครฯ อนุมัติให้กลุ่มเซ็นทรัล (CPN) ก่อสร้างห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลบริเวณสามแยกนา หลวงเสนในเขตเทศบาล เริ่มก่อสร้างปี ๒๕๕๗ ที่แน่ๆ ปริมาณ การใช้ไฟฟ้าของเมืองนครจะเพิ่มขึ้น ชาวนครจะมีแหล่งจับจ่าย และบริโภคขนาดใหญ่อีกแหล่ง

วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ทนงศักดิ์ วงษ์ลา ผอ.กลุ่ม ราคาไฟฟ้ า และคุ ณ ภาพบริ ก าร ส� ำ นั ก งานนโยบายและ แผนพลั ง งาน กระทรวงพลั ง งาน มารั บ ฟั ง ความความคิ ด เห็นเกี่ยวกับพลังงานในจังหวัดนครฯ ณ ที่ท�ำการผู้ใหญ่บ้าน ม.๑ ต.ทอนหงส์ อ.พรหมคีรี

สกล จันทรักษ์ ปลัดจังหวัดนครฯ เป็นประธานเปิด งาน Horti ASIA และงาน ILDEX Thailand on the Move กิจกรรมความร่วมมือระหว่างจังหวัดนครฯ กับกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เพื่ อ แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ เพิ่ ม พู น ทั ก ษะ ความรู้ และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร ให้พร้อมรับการเปิดประชาคมอาเซียน

นครศรีธรรมราช

โรงเรี ย นจุ ฬ าภรณ์ ร าชวิ ท ยาลั ย ได้ รั บ รางวั ล ทรง คุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS ระดับภาคใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ หลายรางวัล อาทิ ไพรัช วงศ์นาถกุล ผอ.สถานศึกษายอด เยี่ ย มระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาขนาดกลาง ด้ า นบริ ห ารจั ด การ รั บ รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง สมทรง ฝั่งชลจิตร รอง ผอ.สถาน ศึ ก ษายอดเยี่ ย มระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาขนาดกลาง ด้ า นบริ ห าร จั ด การ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ เหรี ย ญทอง เจริ ญ ศรี ฟ ้ า รอง ผู ้ อ� ำ นวยการสถานศึ ก ษายอดเยี่ ย มระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาขนาด กลาง ด้ า นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี เ พื่ อ การเรี ย นการสอน รับรางวัลชนะเลิศเหรียญทอง ขอแสดงความยินดีกับ หอการค้าจังหวัดนครฯ สมัย วาริน ชิณวงศ์ เป็นประธานฯ ในวาระได้ รั บ รางวั ล หอการค้ า ดี เ ด่ น ประจ� ำ ปี ๒๕๕๖ จาก หอการค้ า ไทยตามหลั ก เกณฑ์ ใ หญ่ ๆ อาทิ มี บ ทบาทในการ ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาไการด� ำ เนิ น งานของหอการค้ า จั ง หวั ด ให้มีมาตรฐานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมส่วนรวมอย่างต่อเนื่อง

องค์กรดีเด่น... บ่ายวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ วาริน ชิณวงศ์ ประธานหอการค้าจังหวัดนครฯ พร้อมคณะ กรรมการบริ ห ารและสมาชิ ก โครงการนั ก ธุ ร กิ จ รุ ่ น ใหม่ ร่ ว มน� ำ ถุ ง ยั ง ชี พ ไปมอบแก่ ผู ้ ป ระสบภั ย น�้ ำ ท่ ว ม ต.ท่ า ประจะ อ.ชะอวด โดยได้รับงบฯ สนุนจากหอการค้าไทย ขอแสดงความยิ น ดี กั บ ส ร วิ ศ จั น ท ร ์ แ ท ่ น กรรมการหอการค้ า นครฯ เจ้ า ของโรงแรมราวดี กั บ ต�ำแหน่งนายกสมาคมธุรกิจ ท่องเที่ยวจังหวัดนครฯ ร่วม กั น คิ ด ร่ ว มกั น ท� ำ กระจาย โอกาสสู ่ ก ลุ ่ ม สิ น ค้ า และ บริการอื่นๆ น่าจะได้รับความ สรวิศ จันทร์แท่น ร่วมมือมากยิ่งขึ้น

หน้า ๕

เช้า - บ่ายแก่ๆ วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ฮอนด้า ศรีนครร่วมกับกรมการขนส่งทางบก จัดอบรมขับขี่ปลอดภัย และขอมีใบอนุญาติขับขี่รถจักรยานยนต์ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ แก่นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครฯ ณ ห้องโสต ๒ อาคาร ๔ และสนามบาสเก็ตบอลของวิทยาลัยฯ ข่าวดีรับปีใหม่ ตั้งแต่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗ นครดีซี ลดพิเศษราคาสินค้าพร้อมของ แถมทุกรายการ, ซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า ไอที และเฟอร์นิเจอร์ ทุก ๑,๐๐๐ บาท มีสิทธิ์ลุ้น iPad Mini ๖๐ วัน ๖๖ เครื่อง ส�ำหรับลูกค้าที่จ่ายด้วยบัตรเครดิต UOB รับสิทธิ์เพิ่ม ๓ เท่า พร้ อ มลุ ้ น เที่ ย วเกาหลี ฟ รี ๒ ที่ นั่ ง ใจดี . ..สิ น ค้ า อีเลคโทรลักซ์จัดมอบของขวัญปลายปี ลุ้นรับมอเตอร์ไซค์ ๑ คัน เมื่อซื้อสินค้าอีเลคโทรลักซ์ทุกๆ ๓,๐๐๐ บาท ได้รับ คูปอง ๑ ใบลุ้นรับโชคปลายปี วันที่ ๒๒ ธันวาคม บ.อีเลค โทรลักซ์ จัดประกวด Dancing & Singing Contest by นครดีซี ระดับประถมฯ อายุ ๗ – ๑๒ ปี นักเรียนโรงเรียนใน จังหวัดนครฯ และร่วมประมูล สินค้าเริ่มต้นที่ ๑ บาท ร่วมเล่น เกมส์รับรางวัลเครื่องใช้ไฟฟ้า ร่วมสนุกรับปีใหม่ที่ ‘นครดีซี in the park’ วันที่ ๒๒ ธันวาคม ตั้งแต่ ๑๓.๐๐ น. เป็นต้นไป ระหว่ า ง ๒๓ - ๒๔ มกราคม ม.วลั ย ลั ก ษณ์ จั ด ประชุม วิ ชาการระดั บ ชาติ เวที วิจัยมนุษย์ศาสตร์ไทย ครั้งที่ ๗

ร่วมกับ สกว. หัวข้อ ‘ความกลัว ความหวัง จินตนาการ การ เปลี่ยนแปลง’ มีกิจกรรมน่าสนใจมากมาย ขออาราธนาคุณของพระรัตนตรัย พระบรมธาตุเจดีย์ และสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ นสากลโลก – โปรดปกป้ อ ง คุ ้ ม ครอง ดลบั น ดาล และอ� ำ นวยพรให้ ทุ ก ๆ ท่ า นประสบความสุ ข ความเจริญตลอด ปี ๒๕๕๗ เทอญ

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.


หน้า ๖

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

อีกไม่กี่วันก็จะถึงวันคริสต์มาส แล้วต่อด้วยเทศกาลส่งท้ายปี เก่า ต้อนรับปีใหม่ ๒๕๕๗ ซึ่ง รั ฐ บาลใจดี ใ ห้ ห ยุ ด ยาวถึ ง ๕ วัน เดื อ นนี้ ‘รั ก บ้ า นเกิ ด ’ สนทนากั บ จุ รี รั ต น์ คงทอง หัวหน้างานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน รพ.มหาราชนครศรี ธ รรมราช พยาบาลวิ ช าชี พ ช� ำ นาญการ พิ เ ศษ ผู ้ ป ระจ� ำ แผนกฉุ ก เฉิ น (ขออนุญาตเรียกสั้นๆ) มาตั้งแต่ ปี ๒๕๒๗ หรือวันแรกเปิดแผนก ประสบการณ์ ๓๐ ปี กับผู้ป่วย ฉุกเฉินไม่ต�่ำกว่า ๕๐๐,๐๐๐ คน จุ รี รั ต น์ เ ล่ า ว่ า ช่ ว งนี้ อ ยู ่ ระหว่ า งเตรี ย มแผนเฝ้ า ระวั ง “เราเน้นมากที่สุดคืออุบัติเหตุ การจราจรซึ่งจะอยู่ในช่วง วันหยุดติดต่อกันนานๆ เป็นช่วงที่คนจะใช้รถใช้ถนนกัน มาก บางคนไม่ท�ำตามกฎจราจร ไม่ใช้เครื่องป้องกัน สาเหตุ การตายมากที่สุดคือขี่มอเตอร์ไซค์ไม่ใส่หมวกกันน็อค” ข้ อ มู ล ของที ม งานวิ ช าการประจ� ำ แผนกระบุ ว ่ า ปี ๒๕๕๖ มี ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารงานเวชศาสตร์ ฉุ ก เฉิ น และนิ ติ เ วช ๒๕,๘๓๔ ราย ในจ� ำ นวนนี้ ๒๙.๔๘ เปอร์ เ ซ็ น ต์ ไ ด้ รั บ บาดเจ็บจากสาเหตุต่างๆ และอีก ๗๐.๕๒ เปอร์เซ็นต์ เป็น ผู้ใช้บริการฉุกเฉินทั่วไป แผนเฝ้ า ระวั ง เป็ น นโยบายระดั บ ชาติ ที่ ก ระจายลง มายั ง ทุ ก โรงพยาบาล โดยเฉพาะโรงพยาบาลศู น ย์ อ ย่ า ง รพ.มหาราชนครฯจะต้ อ งเตรี ย มพร้ อ ม “เราต้ อ งเตรี ย ม แผนรองรับอุบัติเหตุ แผนรับอุบัติภัยมวลชนซึ่งเป็นแผน สาธารณภั ย เช่ น ภั ย ธรรมชาติ และน�้ ำ มื อ ของมนุ ษ ย์ ไ ว้

รองรับทั้งอัตราก�ำลังคน อุปกรณ์ และเวชภัณฑ์” แผนกฉุ ก เฉิ น มี พ ยาบาล วิชาชีพ ๓๗ คน สลับกันเข้าเวร ๓ กะ ๓๒ คน เวรเช้า ๑๒ คน เวรบ่าย ๑๐ คนและเวรดึก ๖ คน แต่ละกะมีพยาบาลหัวหน้างาน ๓ คน มี ค นไข้ วั น ละประมาณ ๒๐๐ คน “เราศึ ก ษาสถิ ติ ย ้ อ นหลั ง เวลาเกิดอุบัติเหตุใหญ่ๆ สมมติว่า มีจ�ำนวนคนไข้สัก ๕๐ คน คนไข้ ๒ ใน ๓ จะหนักมากซึ่งต้องช่วย ชีวิต คนไข้ ๑ คนต้องใช้พยาบาล ๓ คน แผนเหล่ า นี้ เ ราจะเพิ่ ม อัตราก�ำลังในแต่ละเวร แต่เพิ่ม ได้ไม่มาก อาจจะแค่ ๑ - ๒ คน”

การช่วยเหลือตามแผนจะต้องคัดแยกคนไข้ตามล�ำดับ คนไข้เร่งด่วนสุดขีด-สีแดง ปานกลาง-สีเหลือง ไม่สาหัสมากสีเขียว ซึ่งเป็นระบบสากล พวกเร่งด่วนสุดขีด เช่น หัวใจหยุด เต้น พยาบาลและแพทย์ต้องช่วยให้เขาหายใจได้ คนไข้ที่ต้อง ส่งเข้าผ่าตัดด่วน หรือคนไข้ที่เลือดออกมาก เมื่อจัดล�ำดับ อาการเรียบร้อยการช่วยเหลือก็ง่ายขึ้น “คนไข้สีแดงจะมาจากอุบัติเหตุ หรือภาวะฉุกเฉินที่เกิด จากโรคในร่างกาย สาเหตุหลักๆ มีอยู่ ๓ โรค ได้แก่ โรคหัวใจ หลอดเลือดสมองแตกหรือตีบ และ stroke หรือโรคหลอด เลื อ ดแดงสมอง ซึ่ ง เป็ น อาการสมองตายเพราะขาดเลื อ ด หรือเลือดไปหล่อเลี้ยงไม่ทัน คนไข้จะมาด้วยอาการชาซีกใด ซีกหนึ่ง หน้าตาเบี้ยว ปากเบี้ยว บ่งบอกว่าล�ำบาก พูดไม่ได้ เส้นเลือดตีบ หรือแตกในสมอง” เดี๋ ย วนี้ โ รคหลอดเลื อ ดแดงสมองสามารถเกิ ด กั บ คน

หนุ่มสาว “แต่กลุ่มเสี่ยงยังเป็นคนอายุ ๕๐ ขึ้น โดยเฉพาะ คนที่มีโรคความดันโลหิตสูงซึ่งจะเข้ามาวันละ ๑-๒ คน หรือ เดือนละประมาณ ๔๐-๕๐ คน ผู้ป่วยเหล่านี้จะถูกส่งเข้ามา ช่องทางด่วนพิเศษ (fast track) เพื่อให้ยาละลายลิ่มเลือด บางตัวก่อนผ่าตัด” ข้อแนะน�ำพิเศษส�ำหรับญาติๆ ที่คนในครอบครัวเป็น โรค stroke ซึ่งมีอาการคล้ายๆ อัมพฤกษ์ ลูกหลานจะต้อง เฝ้าสังเกตและน�ำส่งโรงพยาบาลอย่างรวดเร็ว อุปกรณ์ส�ำคัญของแผนกฉุกเฉิน ได้แก่ เปลยาว ซึ่งใช้ เป็นรถเข็นขณะนี้ทางแผนกมีอยู่เพียง ๑๐๐ เตียง “ตอนนี้เนื่องจากมีคนไข้มาก แผนกอายุรกรรมจ�ำเป็น ต้ อ งใช้ เ ปลแทนเตี ย งให้ ค นไข้ น อน ท� ำ ให้ เ ปลขาดแคลน บางวันตอนเช้า ๑๐.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. เราจะไม่มีใช้เลย พยาบาลกับพนักงานเปลจะต้องไปหาเปลตามตึกต่างๆ มา บริการและช่วยให้ได้เข้ารับการรักษา” ‘รักบ้านเกิด’ สอบถามจ�ำนวนผู้เสียชีวิตหลังมาถึง แผนกฉุกเฉิน จุรีรัตน์ตอบว่า “หนักๆ แล้ว การเสียชีวิตไม่ เกิน ๑๐ รายต่อเดือน บางช่วงถ้าเกิดอุบัติเหตุมวลชนใหญ่ๆ ถ้าคนไข้อาการหนักพยาบาลจะช่วยชีพจรกลับมา ถ้ากลับ มาได้ก็จะส่งเข้าไปในตึกได้แปลว่ารอด แต่ตายคาที่นี่ก็มีค่ะ เดือนหนึ่งๆ ไม่เกิน ๑๐ ราย ส่วนใหญ่เป็นรถชน” รพ.มหาราชฯ มีระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ผู้ป่วย สามารถใช้บริการโดย--โทร. ๑๖๖๙ “เรามีรถและทีมพยาบาล บางครั้งมีแพทย์ พยาบาล ที่ไปกับรถเป็นผู้ช�ำนาญในการช่วยชีวิตหรือช่วยให้การรักษา เบื้องต้นในบางอย่าง เช่น ให้น�้ำเกลือ การเคลื่อนย้ายที่ถูกวิธี น�ำคนไข้มาส่งโรงพยาบาล ในรถมีพยาบาล ๒ คน เราเตรียมพร้อม ๒๔ ชั่วโมง ส�ำหรับให้บริการ ณ จุดเกิดเหตุภายใน ๑๐ กิโลฯรอบโรง พยาบาล นอกจากนี้เราก็มีเครือข่าย ซึ่งเป็นทีมปฏิบัติการ ระดับ ๑ เรามีโรงพยาบาลชุมชน รายรอบชุมชนก็เป็นมูลนิธิ อย่างประชาร่วมใจ หรือใต้เต๊กเซียงตึ๊ง ที่เข้ามาช่วยเหลือ ชัดเจนมาก บุคลากรของเขาได้รับการฝึกฝนการช่วยเหลือ ผู้ประสบอุบัติเหตุจากเรา” วันฝนตกถนนลื่นมากๆ จะมีผู้ประสบอุบัติเหตุถูกน�ำ ส่งเข้ามามาก แต่บางรายเสียชีวิตในที่เกิดเหตุ ช่วงบ่ายถึง พลบค�่ำจะมีผู้ป่วยมาก ช่วงเทศกาลมักเป็นเวลาดึกๆ ส่วน ใหญ่ดื่มสุรา ส่วนผู้ป่วยหนักจาก รพ. อ�ำเภอ ๒๑ แห่ง รวม ทั้ง รพ.ชุมชน รพ.เอกชน และ รพ.ทหาร อ�ำเภอจะถูกส่ง มายัง รพ.มหาราช “เพราะเราเป็นศูนย์ใหญ่ที่รองรับการส่งต่อคนไข้หนัก โรงพยาบาลต่างๆ พิจารณาแล้วว่าอาการของผู้ป่วยเกิน ศั ก ยภาพในการดู แ ลของโรงพยาบาลนั้ น ๆ เช่ น ไม่ มี ผู ้ เชี่ยวชาญ อย่างอุบัติเหตุการจราจร พอล้มหัวฟาดพื้นเลือด คั่งในสมอง เมื่อไม่มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก็ต้องส่งมาที่เรา” แผนกฉุกเฉินเตรียมพร้อมโดยใช้สถิติในรอบ ๕ ปี เป็น ตัวเลขพยากรณ์เพื่อลดอัตราการตาย โดยร่วมมือกับต�ำรวจ องค์กรท้องถิ่นและมูลนิธิต่างๆ รณรงค์เรื่องเมาไม่ขับ ซึ่ง เป็นการป้องกันที่ต้นเหตุ ขณะเดียวกันทางแผนกฉุกเฉิน ต้องเตรียมพร้อมเปล ชุดช่วยชีวิต ชุดเคลื่อนย้าย เวชภัณฑ์ ได้แก่ น�้ำเกลือ เลือด ยาและอื่นๆ “ทั้งระดับห้องฉุกเฉินและผู้ป่วยในต้องประสานกัน หมด” จุรีรัตน์ย�้ำ รพ.มหาราชมีแผนรับมืออุบัติเหตุมวลชน ๓ แผน คือ แผนมหาราช ๒๐ คนไข้ ๑๐ - ๒๐ แผนมหาราช ๕๐-- คนไข้ ๒๐ - ๕๐ และมหาราช ๙๙ ผู้ป่วย ๕๐ คนขึ้นไป แต่นานๆ จึงจะเปิดแผนมหาราช ๙๙ สักครั้ง ในยามปกติถ้าก�ำลัง พยาบาลไม่เพียงพอ ทางแผนกสามารถขอความช่วยเหลือ ไปยังฝ่ายนิเทศน์การพยาบาลขอพยาบาลมาเสริมได้ เลือดเป็นสิ่งส�ำคัญที่ต้องส�ำรองไว้ >> อ่านต่อหน้า ๑๕


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

ายใต้ ส ถานการณ์ ที่ ก ารแข่ ง ขั น รุ น แรงมากขึ้ น คู ่ แข่งขันจากส่วนกลางและต่างชาติรุกคืบเข้ามาทุก รู ป แบบ และไม่ นั บ รวมการรวมตั ว กั น ของประชาคม อาเซียน (AEC) ในต้นปี ๒๕๕๘ ที่จะมาถึงนี้ ผู้ประกอบ การ SME ในท้องถิ่นที่บริหารแบบเถ้าแก่ ก�ำลังถูกทดสอบ ว่ า จะสามารถน� ำ พาธุ ร กิ จ ของครอบครั ว ให้ เ ติ บ โตและ ยั่งยืนต่อไปได้อย่างไร? ในขณะที่เจ้าของกิจการส่วนใหญ่ เข้าสู่วัยชราใกล้ปลดเกษียณตัวเองเต็มทีแล้ว จึงท้าทาย ความรู้ ความสามารถเป็นอย่างยิ่งว่าได้มีการวางแผนและ เตรียมการไว้อย่างไร? จากประสบการณ์ตรงในการเป็นที่ ปรึกษาธุรกิจขนาดกลางของท้องถิ่นมาเป็นเวลากว่า ๑๕ ปี ในเกือบ ๑๐ บริษัทฯ กลับพบว่าการวางแผนเพื่อการ ถ่ายโอนอ�ำนาจให้กับทายาทยังมีความเสี่ยงอยู่มาก หลาย ครอบครั ว ยั ง ไม่ ไ ด้ ท� ำ แผนงานและทิ ศ ทางในการจั ด ระบบการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อรองรับในวันที่พวก เขาไม่อยู่แล้วธุรกิจยังคงด�ำเนินต่อไปได้ เจ้าของกิจการ หลายท่านลืมไปว่า หากเกิดอะไรขึ้นกับเขาแล้วหลังจาก นี้ธุรกิจที่เขาสร้างมาจะมีหน้าตาเป็นอย่างไร? เท่ากับ เป็นการเสี่ยงครั้งใหญ่ในชีวิต บางธุรกิจ (ครอบครัว) อาจ โชคดีที่ได้มอบหมายให้ทายาทเข้ามารับช่วงต่อบ้างแล้ว และลูกๆ แต่ละคนก็มีความรับผิดชอบ แต่อย่าลืมว่าใน ครอบครัว เมื่อมีลูกในสายเลือดแล้วลูกแต่งงาน มีหลาน ก็จะมีครอบครัวย่อยๆ ในครอบครัวใหญ่ และที่ส� ำคัญ คือลูกจ้างที่เพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นตามการเจริญเติบโตของ กิจการ องค์ประกอบของธุรกิจครอบครัว จะมีการทับซ้อน กันอยู่ ๓ ส่วนด้วยกัน คือ ผู้ถือหุ้น ครอบครัว ธุรกิจ จึงพบว่า ผู้ถือหุ้น, หัวหน้าครอบครัว = ผู้จัดการธุรกิจ

ช่วงแรกของการเริ่มต้นกิจการขนาดเล็กแล้วค่อย เติบโตขยายกิจการมีรายได้ ก�ำไรเพิ่มมากขึ้น สินทรัพย์ เพิ่ ม ขึ้ น ขนาดขององค์ ก รทางธุ ร กิ จ ก็ เ ติ บ โต จ� ำ นวน พนักงานก็เพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว มีการปรับเปลี่ยนระบบ การบริหารจัดการอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้เกิดความยุ่งยาก ซั บ ซ้ อ นจากอดี ต ที่ เ จ้ า ของอาศั ย ศั ก ยภาพของตนเอง สร้ า งระบบขึ้ น จนกลายเป็ น วั ฒ นธรรมของธุ ร กิ จ เจ้าของกิจการคือระบบ ระเบียบ ข้อบังคับ และความ เชื่อ การรับสมัคร การสอนงาน การมอบหมายงาน การ ขึ้นต�ำแหน่ง การจ่ายค่าตอบแทน อ� ำนาจทางธุรกิจใน ทางการเงิน การบริหารบุคคล ธุรการ การขาย การผลิต การตลาด อื่นๆ ล้วนอยู่ในมือของเจ้าของและผู้จัดการ พอธุ ร กิ จ เดิ น ทางมาถึ ง จุ ด หั ว เลี้ ย วหั ว ต่ อ ความจ� ำ เป็ น

นครศรีธรรมราช

ที่ต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างขององค์กรธุรกิจให้เป็นไป ตามหลักการบริหารจัดการแบบสากลและได้มาตรฐาน พู ด ง่ า ยๆ ก็ คื อ ศึ ก ษาแบบอย่ า งจากองค์ ก รที่ ป รั บ ตั ว จากธุรกิจครอบครัว แล้วจัดการบริหารแบบมืออาชีพ จนประสบความส� ำ เร็ จ ความจ� ำ เป็ น ที่ เ จ้ า ของกิ จ การ ต้องหาที่ปรึกษามืออาชีพและผู้บริหารมืออาชีพเข้ามา จั ด ระบบการบริ ห ารจั ด การใหม่ นั บ เป็ น ความท้ า ทาย เพราะเท่ากับเจ้าของก�ำลังถูกผลักให้ไปอยู่ในส่วนของ ผู้ถือหุ้น และหัวหน้าครอบครัวไม่มีอ�ำนาจในการบริหาร จัดการธุรกิจ นับได้ว่าเป็นช่วงของการตัดสินใจที่ส� ำคัญ อีกครั้ง ทุกธุรกิจที่ผมเข้าไปเป็นที่ปรึกษาเพื่อวางแผน ส่งต่อให้ทายาทจึงต้องมีข้อตกลงกันชัดเจน ๑. โครงสร้ า งของธุ ร กิ จ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประกอบด้ ว ย ใครบ้าง มีสัดส่วนการถือหุ้นอย่างไร? กรรมการบริษัท มีกี่คน กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามมีใครบ้าง เพราะนี่คือ ด่านแรกของจัดแบ่งส่วนผู้ถือหุ้น ๒. โครงสร้างครอบครัว ต้องก�ำหนดกฎกติกาของ ครอบครัว เรื่องการจัดสรรผลประโยชน์ สวัสดิการต่างๆ ที่ได้รับ การจัดท�ำพินัยกรรมไว้อย่างชัดเจน จ�ำเป็นต้อง อาศัยที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมายเข้ามาดูแล ๓. โครงสร้ า งธุ ร กิ จ ก� ำ หนดวิ สั ย ทั ศ น์ ไ ว้ อ ย่ า งไร ภายใน ๕ – ๑๐ ปี ธุ ร กิ จ ครอบครั ว จะมี ห น้ า ตาเป็ น อย่ า งไร? มี น โยบายและทิ ศ ทางของธุ ร กิ จ อย่ า งไร? ได้มีการจัดท�ำแผนธุรกิจมีเป้าหมายไว้อย่างไร? มีการ จัดโครงสร้างการบริหารจัดการ การวางผังต�ำแหน่งงาน ของคนในครอบครัวคนนอกลูกจ้างไว้อย่างไร? โครงสร้างทั้ง ๓ ส่วนนั้นมีความจ�ำเป็นและสมควร แล้วหรือยังให้กลับไป ณ จุดเริ่มต้นคือ ครอบครัว มีสมาชิกในครอบครัวกี่คน ตกลงกันให้ชัดเจนจะ ก�ำหนดโครงสร้างผู้ถือหุ้นอย่างไร? พ่อ แม่ ผู้สร้างธุรกิจ จะถือเท่าไร? ลูกมีกี่คนจะแบ่งกันอย่างไร? ถ้ามีหลาน จะแบ่งให้มั้ย? ถ้ามีคนนอกตระกูลถือหุ้นด้วย สมควรที่ จะให้มีหรือไม่? เมื่อตกลงในเรื่ององค์กรของครอบครัว และโครงสร้างผู้ถือหุ้นแล้ว ก็มาถึงโครงสร้างธุรกิจตรงนี้ ส�ำคัญมาก จ�ำเป็นต้องวางแผนบริหารจัดการให้ดี การ เปลี่ ย นแปลงไปสู ่ รู ป แบบ ใหม่ จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งอาศั ย ผู ้ มี ค วามรู ้ จ ริ ง มาเป็ น ที่ ปรึกษา หลักการเลือกก็คือ ให้ดูผลงานว่าเขาท�ำส�ำเร็จ ที่ไหนมาบ้าง? เหมือนเวลา ต้ อ งการสร้ า งบ้ า นก็ ต ้ อ ง อาศัยสถาปนิก และวิศวกร มาออกแบบ ถ้ า ต้ อ งการ สร้ า งอาคารขนาดใหญ่ ก็ ให้ ไ ปหาสถาปนิ ก ที่ มี ผ ล งานออกแบบอาคารขนาด ใหญ่มาก่อน เขาต้องท�ำได้ เท่ า กั บ หรื อ มากกว่ า ที่ เ รา ต้องการ จุดอันตรายของ เถ้าแก่ก็คือการคุ้นเคยกับ

หน้า ๗

การใช้ศักยภาพของตัวเอง ในอดีตที่ท�ำแล้วส�ำเร็จจน ก่อตัวเป็นความเชื่อมั่นในตัวเองสูง ขาดความเชื่อมั่น ต่อคนอื่นๆ ผมเคยมีบทเรียนเรื่องนี้ที่ชุมพร ในการสร้าง อาคาร ๑๒,๐๐๐ ตารางเมตร และต้องให้เสร็จภายใน เวลา ๒๔๐ วัน หรือ ๘ เดือนด้วยเงินลงทุน ๒๕๐ ล้าน บาท ในฐานะที่ ป รึ ก ษาและรั บ ผิ ด ชอบโครงการนี้ ผม คุยกับเจ้าของกิจการขอให้จ้างที่ปรึกษามาควบคุมการ ก่อสร้างตอนเลือกผู้รับเหมา ผมได้ไปดูบริษัทรับเหมา ก่อสร้างที่สร้างห้าง TESCO LOTUS, ห้าง BIG C และ ROBINSON ในเครือ CENTRAL ก็เลือกบริษัทเหล่านี้มา เป็นบริษัทผู้รับเหมา เวลาเลือกทีมที่ปรึกษาก็ไปดูบริษัทฯ ที่คุมงานโครงการของบริษัทขนาดใหญ่ เลือกบริษัทที่ ควบคุมการก่อสร้างของบริษัทในเครือ ปตท. เพราะมีผล งานเป็นที่ประจักษ์ไม่ต้องสงสัยในความเป็นมืออาชีพ ค่า บริหารจัดการคิด ๔% จากมูลค่าการก่อสร้างทั้งโครงการ ไม่รวมงานตกแต่งภายใน ซึ่งมีมูลค่า ๒๐๐ ล้านบาท ต้อง จ่ายไป ๘ ล้านบาท ผลปรากฏโครงการเสร็จทันก่อนเวลา ๑๐ วัน นี่คือตัวอย่างของการใช้มืออาชีพ ผู้รู้จริง ในท� ำ นองเดี ย วกั น ก็ มี ห ลายโครงการที่ เ จ้ า ของ กิ จ การใช้ ค วามสามารถของตั ว เองท� ำ ทุ ก อย่ า ง แม้ น จะเป็นโครงการขนาดใหญ่ใช้เวลานานมาก มีบางแห่ง ใช้เวลาหลายปี จัดการทุกอย่างตั้งแต่หาผู้รับเหมาเอง จ่ายค่าแรงและเลือกแต่ราคาถูกๆ จัดซื้อวัสดุ-อุปกรณ์ ก่อสร้างเองทุกอย่าง คือติดนิสัยท�ำเองทุกอย่าง เพราะ เชื่อมั่นว่าท�ำได้ดีกว่า ถูกกว่า แต่ลืมเรื่องเวลาว่าจะให้ เสร็จเมื่อไร? คือลืมเป้าหมาย ที่จะเปิดกิจการใหม่เมื่อไร? เห็นภาพหรือยังครับว่าการขาดเป้าหมาย ไม่ได้ LOCK เป้าหมายทางธุรกิจ ก็ไปติดหล่มกับวิธีการท�ำงาน จน ท�ำให้สูญเสียโอกาสทางธุรกิจไป ซึ่งภาพเหล่านี้มีให้เห็น เป็นหลักฐานคาตาอยู่ทุกวันนี้ ไว้ว่ากันต่อนะครับ น่าสนใจตรงที่ว่าคุณอยากจะ ให้กิจการของคุณเดินต่อไป แม้นในวันที่ไม่มีคุณอยู่นั่น หมายความว่า พรุ่งนี้หากไม่มีคุณอยู่ กิจการยังคงอยู่ได้ และเติบโตได้ เพราะมีคนอีกมากมายที่ฝากชีวิต และ ครอบครัวของพวกเขาอยู่กับครอบครัวของคุณและธุรกิจ ของคุณ ไพโรจน์ เพชรคง ๑๙ พฤศจิกายน ๕๖


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

ในการท� ำ งานกั บ แรงงานข้ า มชาติ ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เพื่อการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน’ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและ ทักษะเรื่องแรงงานข้ามชาติ เพื่อเตรียมพร้อมการเข้า สู่ประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ เวทีประชาคมครั้งนี้ผู้เข้าร่วมประกอบด้วย ผู้ปฏิบัติงานของภาคราชการ เอกชน กลุ่มมวลชนและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ต้องการรับทราบถึงสถานการณ์ แรงงานอพยพรวมทั้ ง การท� ำ งานกั บ แรงงานข้ า มชาติ ในพื้นที่จังหวัดนครฯ หัวข้อส�ำคัญในการเสวนา ได้แก่ เรื่องสถานการณ์/สภาพปัญหาแรงงานอพยพข้ามชาติ ที่เข้ามาท�ำงานในประเทศไทย นโยบายและแนวทาง ปฏิบัติเกี่ยวกับแรงงานอพยพข้ามชาติ ในมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ สิทธิมนุษยชนและความมั่นคงภายในประเทศ สถานการณ์การค้ามนุษย์กับการช่วยเหลือขบวนการ ด้านสังคม กฎหมาย และนโยบายที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน ข้ า มชาติ ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด นครฯ แนวทางการน� ำ เสนอ ข่าวประเด็นแรงงานข้ามชาติภายใต้มิติสิทธิมนุษยชน แนวคิ ด ต่ อ แรงงานข้ า มชาติ ใ นประเทศไทย และผล กระทบต่อการย้ายถิ่น รวมทั้งประเด็นประสบการณ์การ เปลี่ยนแปลงด้านนโยบายและการท�ำงานร่วมกับแรงงาน ข้ามชาติของตัวแทนนายจ้าง ปัจจุบัน แรงงานข้ามชาติในประเทศไทยมีประมาณ ๓ ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้หลบหนีเข้าเมือง เนื่องจาก สถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศ ความยากจน แรงงานเหล่านี้ไม่รู้ภาษาไทย จึงถูกเอารัดเอาเปรียบจาก นายจ้างและเจ้าหน้าที่รัฐ ขณะเดียวกันแรงงานข้ามชาติ สร้างผลกระทบต่อแรงงานไทยและส่งผลกระทบด้าน การค้าระหว่างประเทศที่ไม่สนับสนุนการใช้แรงงานทาส จังหวัดนครฯ มีแรงงานต่างชาติทั้งพม่า ลาว และ กัมพูชา ตามแหล่งงานก่อสร้าง แหล่งประมง ประมงต่อเนื่อง โรงงาน และการเกษตร บางครั้งแรงงานต่างชาติ ถูกละเมิดสิทธิ จึงต้องพัฒนากลไกการคุ้มครองแรงงาน

รูปจากเว็บไซต์ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว

โดยอาศัยความร่วมมือจากนายจ้าง และหน่วยงานท่ีมี อ�ำนาจตามกฎหมาย ปัญหาสุขภาพอนามัยของแรงงาน ต่างชาติก็เป็นอันตราย เช่น การติดเชื้อโรคเอดส์ วัณโรค และมาเลเรีย และการเข้าไม่ถึงบริการสาธารณสุข วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๕ มูลนิธิรักษ์ไทยร่วมกับ โครงการประสานชาติพันธุ์อันดามัน จัดสัมมนาหัวข้อ คล้ายๆ กันที่โรงแรมขนอมโกลเด้น บีช และได้รับข้อเสนอ แนะที่เป็นประโยชน์จากที่ประชุม ดังนี้ ๑. มีการจัดการเรื่องระบบฐานข้อมูลของแรงงาน ข้ามชาติอย่างเป็นจริง และเป็นการร่วมมือกันจากหลาย ฝ่าย ทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับแรงงานข้ามชาติ อาทิ แรงงานจังหวัด จัดหางานจังหวัด สวัสดิการ โรงพยาบาล ต�ำรวจ ผู้ประกอบการ ฯลฯ รวมถึงองค์กรพัฒนาเอกชน ๒. มีผู้ประสานงานของแรงงานข้ามชาติเพื่อประสาน งานระหว่ า งภาครั ฐ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ ชุ ม ชน แรงงานข้ามชาติ เพื่อความร่วมมือในทุกด้าน และเพื่อ ลดปัญหาด้านสังคม หากมีคนประสานข้อมูล ข่าวสารให้ แรงงาน ๓. องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เข้ า มามี บ ทบาท จั ด การกั บ ปั ญ หาแรงงานข้ า มชาติ โดยสามารถบรรจุ เข้าไปในเทศบัญญัติ ๔. จัดท�ำประชาคมเรื่องการจัดการแรงงานข้ามชาติ โดยให้อ�ำเภอขนอมเป็น model ในการจัดการปัญหา

แรงงานข้ามชาติในยุคก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ๕. ให้ ส มาคมประมงเป็ น นายจ้ า งของลู ก จ้ า ง ประมง และประมงต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้แรงงานหมุนเวียนท�ำงานได้กับทุกนายจ้างที่อยู่ในสมาคม เพื่อลด ปัญหาช่วงไม่มีงานให้ท�ำ โดยลูกจ้างสามารถท�ำงานกับ นายจ้างที่เป็นสมาชิกสมาคมได้ ช่วยให้ลูกจ้างมีรายได้ ต่อเนื่อง ๕.เน้นการศึกษาและส่งเสริมด้านภาษาและวัฒนธรรมเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการเชื่ อ มความเข้ า ใจระหว่ า ง ชุมชนไทยและชุมชนแรงงานข้ามชาติ การจั ด สั ม มนาเกี่ ย วกั บ แรงงานข้ า มชาติ จ ะต้ อ ง กระท�ำกันต่อไปอีกหลายครั้ง เพื่อต้องย�้ำความเข้าใจ และความตระหนักในการปฏิบัติต่อแรงงานข้ามชาติใน ฐานะมนุษย์ มูลนิธิรักษ์ไทยก่อตั้งเมื่อปี ๒๕๔๐ โดยมี ศ.นพ. กระแสร์ ชนะวงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานฯ คณะกรรมการบริหารประกอบด้วย นายพิภพ พฤกษมาศน์, นาง ดวงใจ อมาตยกุล และ ดร.อลิสรา ก�ำธรเจริญ เป็นต้น ปัจจุบัน นายพร้อมบุญ พานิชภักดิ์ เป็นกรรมการและ เลขาธิการ บทบาทของมูลนิธิคือ สานต่อเจตนารมณ์ของ องค์การแคร์นานาชาติ ประเทศไทย ในการช่วยเหลือ และสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนและกลุ่มคนด้อยโอกาส ในสังคม

เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ หอการค้า จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยนางสาววาริน ชิณวงศ์ ประธานหอการค้ า จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และ คณะกรรมการบริหาร จัดโครงการนักธุรกิจรุ่นใหม่ (Young Entrepreneurs Chamber of Commerce (Nakhonsithammarat) : YEC NAKHON ) โดยรวม กลุ่มนักธุรกิจรุ่นใหม่ประมาณ ๕๐ คน มาร่วมพัฒนา เครื อ ข่ า ยสมาชิ ก และธุ ร กิ จ ของจั ง หวั ด นครฯ ให้ เติ บ โตและมั่ น คง และมี ส ่ ว นร่ ว มในการสร้ า งสรรค์ สังคมจังหวัดนครฯให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น ผ่านกิจกรรมอบรม เพิ่มทักษะการบริหารธุรกิจ ความเป็นผู้น�ำ การท�ำ กิ จ กรรม และแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ป ระสบการณ์ ร ่ ว ม กั น ของนั ก ธุ ร กิ จ รุ ่ น ใหม่ รวมถึ ง ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ คณะ กรรมการ และที่ ป รึ ก ษา ผู ้ น� ำ องค์ ก รที่ มี ชื่ อ เสี ย ง

เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นานั ก ธุ ร กิ จ รุ ่ น ใหม่ ใ นท้ อ งถิ่ น ให้ มี ศั ก ยภาพ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รองรั บ การขยาย ตัวของธุรกิจในท้องถิ่น ระดับจังหวัด รวมถึงระดับ ภู มิ ภ าค และตลอดจนรองรั บ การขยายตลาดธุ รกิ จ เพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ใน อนาคต YEC NAKHON จะสร้ า งและพั ฒ นาบุ ค ลากร ทางการค้ า นั ก ธุ ร กิ จ รุ ่ น ใหม่ ให้ มี ค วามรู ้ ความ สามารถเพื่อขยายฐานธุรกิจในการขยายการค้า การ ลงทุน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่ทายาท ผู ้ ป ระกอบการรุ ่ น ใหม่ จะต้ อ งเรี ย นรู ้ ใ ห้ ทั น ต่ อ ยุ ค สมัยที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เพื่อเป็นส่วนหนึ่ง ในการพัฒนาธุรกิจท้องถิ่น และขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ในจังหวัด


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

รายงาน ศู น ย์ วิ จั ย พลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ ม มหาวิ ท ยาลั ย ทั ก ษิ ณ และส� ำ นั ก งานพลั ง งานจั ง หวั ด นครศรี ธรรมราช จั ด เวที ป ระชุ ม ระดมความคิ ด เห็ น จาก ภาคประชาชน อ�ำเภอปากพนัง และอ�ำเภอหัวไทร เพื่อก�ำหนดทิศทางการน�ำพลังงานลมมาผลิตไฟฟ้า ภายใต้ ‘โครงการกังหันลมผลิตไฟฟ้า’ ในพื้นที่ที่มี ศักยภาพและเหมาะสมต่อการติดตั้งกังหันลมเพื่อ ผลิตกระแสอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดประชุมครั้งนี้ นายธัญญพัฒน์ พัฑฒิคงพั น ธุ ์ นายอ� ำ เภอปากพนั ง เป็ น ประธาน และ มี ตั ว แทนประชาชนในเขตพื้ น ที่ ทุ ก กลุ ่ ม ทุ ก อาชี พ จาก ๒ อ�ำเภอ กว่า ๑,๐๐๐ คน เข้ารับฟังแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ โดยมีคณะกรรมการผู ้ บ ริ ห าร คณะผู ้ เ ชี่ ย วชาญ และผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ร่วมถ่ายทอดความรู้แก่ประชาชน เรื่องโรงไฟฟ้า พลั ง งานลม และปฏิ บั ติ ก ารสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ใน ทุกๆ ด้านอย่างชัดเจน ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทแจ้งต่อที่ประชุมว่า ได้ เข้ า มาติ ด ตั้ ง เครื่ อ งวั ด ความเร็ ว และปริ ม าณลมมา นาน ๓ ปี พบว่ากระแสลมพัดเพียงพอจากทั้งลม มรสุ ม ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ซึ่ ง มี ค วามเป็ น ไปได้ ใ นการก่ อ สร้ า งกั ง หั น ลมผลิ ต กระแสไฟฟ้า ซึ่งมีเงินงบประมาณ ๕๔๐ ล้านบาท คืนทุนภายใน ๖ ปี สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ประมาณ ๓๐ ล้านหน่วย ผู้ลงทุนจะสนับสนุนเม็ด เงินเข้ากองทุนรอบโรงไฟฟ้าปีละ ๓ แสนบาท

<< ต่อจากหน้า ๒

ดังที่ผมได้เคยเขียนในนครดอนพระฉบับที่ ๒ เมื่อเดือน พฤศจิกายน และ ฉบับที่ ๓ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๔ ไว้แล้ว ในท�ำนองอย่างนี้ว่า “ส�ำหรับผมนั้น องค์พระบรมธาตุเจดีย์เมืองนคร นี้ เป็ น สุ ด ยอดมรดกล�้ ำ ค่ า ของเมื อ งงนครอย่ า งไม่ มี

กังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าสามารถสนองความ ต้ อ งการนโยบายผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานทดแทนและ พลังงานทางเลือก ๒๕ เปอร์เซ็นต์ ภายใน ๑๐ ปี (พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๖๔ ) ของส�ำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน กลุ ่ ม บริ ษั ท พั น ธมิ ต รจึ ง ได้ พั ฒ นาโครงการ

ผลิ ต ไฟฟ้ า กั ง หั น ลมในพื้ น ที่ อ� ำ เภอหั ว ไทร อ� ำ เภอ ปากพนัง ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ในรูปแบบ ของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กมาก (very small power producer -VSPP) เพื่อผลิตไฟฟ้าป้อนเข้าสู่ระบบ กริ ด ของการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคส� ำ หรั บ จ� ำ หน่ า ย เชิงพาณิชย์ต่อไป

ข้อข้องใจ สุดยอดกว่ามรดกไหนๆ ในโลกในหลายสถานะ มากเสี ย กว่ า เกณฑ์ บ ่ ง ชี้ เ พื่ อ พิ จ ารณาทั้ ง ๑๐ ข้ อ เป็ น ไหนๆ มากเสี ย จนผมไม่ ไ ด้ ส นใจในเรื่ อ งการได้ ม าซึ่ ง การรั บ รองของยู เ นสโกสั ก เท่ า ใด เพราะถ้ า เรายิ่ ง ต้ อ ง พยายามให้เขารับรองเท่าใด ก็คล้ายกับว่าเราเองต่างหาก ที่ยังไม่ได้เห็นซึ่งคุณค่าอย่างแท้จริง แล้วถ้าเกิดเขาไม่ รับรองอย่างที่เราคิดและเข้าใจขึ้นมา จะว่าอย่างไร ?” หรื อ แม้ ที่ ท างจั ง หวั ด ให้ มี ก ารออกแบบตราสั ญ ลักษณ์ผลิตภัณฑ์สินค้าของเมืองนครเป็นลายนิ้วมือที่ออก มาเป็นรูปองค์พระบรมธาตุนั้น มีหลายคนปรารภกับผมว่า “ไม่บังควร” เพราะทางธรรมนั้น พระบรมธาตุเจดีย์เมือง นคร เป็นของเคารพสักการะบูชาของบรรพชนเพื่อน้อมร�ำลึก

ถึ ง พระรั ต นตรั ย มิ ค วรใช้ เ ป็ น ตราสั ญ ญลั ก ษณ์ เ พื่ อ การ ส่งเสริมการค้าการขาย แม้ที่ผ่านมามีการอัญเชิญภาพ องค์ พ ระมาเป็ น ตราสั ญ ญลั ก ษณ์ ข องจั ง หวั ด หรื อ นานา องค์กรมาก่อนนั้น ส่วนใหญ่มิใช่เพื่อการพาณิชย์อย่างนี้

เดือนธันวาคม ๒๕๕๖ วันจันทร์ที่ ๒ ธันวาคม วันอังคารที่ ๑๐ ธันวาคม วันอังคารที่ ๑๗ ธันวาคม วันพุธที่ ๒๕ ธันวาคม วันอังคารที่ ๓๑ ธันวาคม

๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๒ ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๑ ตรงกับ วันรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๖ เป็นวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑ ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๕ ค�่ำ เดือน ๑ ๒๕๕๖ เป็นวันแรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๑ ตรงกับ วันสิ้นปี

นี้ก็เช่นกัน โลก กับ ธรรม หากไม่ชัดและท�ำไม่ดี มรดกธรรมของพระธาตุที่ก�ำลังเร่งผลักดันเป็นมรดกโลก ก็อาจจะไม่ได้หัวใจของธรรม. ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๖


หน้า ๑๐

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

รศ.วิมล ด�ำศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ประวัติงานเดือนสิบ

เราท�ำบุญสารทให้ผาดผ่อง ที่เราท�ำหนมพองหนมลา พร้อมทั้งหนมบ้า ใส่หมรับ ในวันเดือนดับไทย คืนเดือนวันแรมสิบห้า น�ำหมรับพาไปวัด เราปฏิบัติประเพณี ที่มีมาแต่ไหร บังสุกุลดูก ผู้ล้มหาย โยมยายที่ตายจากไป และให้น�ำดวงใจสู่สุขคติ เรื่องราวมันมีมา ว่าใครที่ท�ำกรรมชั่ว วิญญาณของตัวจะโหยหาย ไปเป็นเปรตอสูรกาย ร้องไห้และร�่ำหา ถึงบุญวันสารทขนาดใหญ่ พวกเราต้องไปวัดวา แผ่ความเมตตาไปให้ พี่น้องที่ตายไป เอาหนมพองหนมลามาตั้งเปรต ที่ตกเป็นปานา ถ้าญาติเราตกเกิดเป็นหมูหมา ก็พลอยได้อาศัย แต่ถ้ายังไม่เกิดกาย พลอยได้รับอายรับไอ ธรรมเนียมของไทยเชื่อบุญกรรม จ�ำเราต้องท�ำตาม เพราะการสร้างบุญไว้ในตัว ไม่เหมือนสร้างวัวให้กินหญ้า ตัวได้มาไม่เหมือนสอบปูน ที่เราต้องแบกต้องทูนหาม ฯลฯ

คติสอนใจวัยรุ่น จึงรวมเรือ่ งราวขึน้ มากล่าวคล่อง เตือนน้องน้องหนูหนู ที่ยังไม่รู้แรกวัยรุ่น ไม่คุ้นกับปัญหา ก่อนจะรักชายไว้ชื่นชม ใช้เอกอุดมด้วยปัญญา เพราะไม่ใช่กีฬาจะทดลอง เดี๋ยวเจ้าจะหมองมัว อย่าคิดท�ำเป็นรักส�ำส่อน ไตร่ตรองเสียก่อนให้รอบคอบ ก่อนที่จะประกอบกามกิจ เจ้าคิดจะมีผัว อย่าท�ำหวานนอกขมใน ให้ด้วยน�้ำใจมัวชั่ว ผู้หญิงเกลือกกลั้วกามโลกีย์ ไม่มีราคาควร หญิงเปรียบมณีที่มีค่า ควรที่จะรักษาบริสุทธิ์ ให้มันผ่องผุดเพียบพร้อม ทั้งหวานทั้งหอมหวล อย่าท�ำเป็นผู้หญิงใจกว้าง เดีย๋ วรักเดีย๋ วร้างเดีย๋ วเรรวน ท�ำแบบเย้ายวนโลกีย์ เดี๋ยวเกียรติจะปี้ป่น

ตอนที่ ๑๗ (จบ) ในสมัยของปัจจุบัน ทุกวันเดี๋ยวนี้ มันเกิดคดีทางเพศจบ พวกเรามาทบทวน เป็นเพราะผู้หญิงมักจะชิงแข่ง มันชอบจะแต่งเนื้อแน่น แต่งให้เปล่งปลั่งอวบอัด ชอบโชว์ทุกสัดส่วน มันชอบส�ำแดงผู้หญิงเขาแต่งตัว ชอบแต่งให้ยั่วยวน จึงกลายเป็นชนวนยวนยุ ทางเพศของผู้ชาย เช่นชอบเปิดส่วนที่ควรปิด ให้มันมิดมันเม้น มันกลับให้เห็นที่พุ่มพวง ของหวงแม่โฉมฉาย บ้างก็เอาของปลอมมาซ่อมเสริม เอามาต่อเติมแต่งกาย เพราะจิตมุ่งหมายที่เปล่งปลั่ง ให้มันเลิศในสังคม ................................. บ้างคนชอบชิงสุกก่อนห่าม เคราะห์ร้ายมันตามมาซ�้ำเติม ชีวิตเราเริ่มมืดมัว เสียเพราะมารหัวขน เช่นการเดินทางเข้าไปในบางกอก ถูกหลอนถูกหลอกให้เสียคน เพราะไปหลงกลค�ำหวาน ไอ้พวกมารของสังคม แทนที่จะได้ประกาศนียบัตร สร้างเกียรติประวัติให้สูงสุด กลับได้ประกาศนียบุตร แสนสุดจะขื่นขม

บรรยากาศงานศพ เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ

ชวนคชวดิ น<<ค(ต่อยุ จากหน้า ๔) แต่ส่วนมากจะมี ๗ ถึง ๑๕ ฝีพาย เพราะเรือขนาดนี้หา ง่ายกว่า นายคล่อง สังข์ชม อายุ ๗๔ ปี ผมมีโอกาสได้นั่งคุย ด้วย ท่านเล่าว่าวัดบ้านดานจะจัดการแข่งเรือแทบทุกปี ขนาดฝีพายคือ ๗ ฝีพาย วัดใกล้เคียงส่งเข้ามาแข่งขัน อบต. หรื อ ต� ำ บลอื่ น ๆจากต่ า งถิ่ น ก็ ส ่ ง มาแข่ ง กั น มาก เรือเพรียวทุกล�ำจะมีชื่อเรียกเป็นผู้หญิง ค�ำสรรพนาม น�ำหน้าเป็นผู้หญิง เช่น นาง สาว อี ตัวอย่างเรือวัดหูล่อง คนเรียก อีหูล่อง ผมไม่แน่ใจว่าเกี่ยวกับแม่คงคาหรือ แม่ ต ะเคี ย น จึ ง มี เ จ้ า แม่ ห รื อ พระแม่ ป ระจ� ำ เรื อ ก่ อ น ออกเรื อ หรื อ ก่ อ นแข่ ง ขั น ก็ จ ะมี ก ารท� ำ พิ ธี เ ชิ ญ ขวั ญ เรือ บวงสรวงเรือ เพื่อเป็นสิริมงคลให้ได้รับชัยชนะใน

การแข่งขัน การแข่งขันเรือเพรียวจากอดีตจนปัจจุบันมีการ ปรั บ เปลี่ ย นเพี ย งเล็ ก น้ อ ย เช่ น การแต่ ง กายจะเป็ น เสื้ อ ของนายทุ น ผู ้ อ อกเงิ น สนั บ สนุ น ผิ ด กั บ สมั ย ก่ อ น วัดอุปถัมภ์หรือชาวบ้านเรี่ยไรสนับสนุนกัน เลือกฝีมือ ที่สูสีกัน แต่ปัจจุบันเป็นการจัดแข่งขันแบบฝรั่ง มีการ คั ด เลื อ กในแต่ ล ะรอบ จนถึ ง รอบชิ ง นายคล่ อ งบอก ว่า คนเมื่อก่อนเขาไม่ได้มีแนวคิดเอายอดแชมป์ แต่มี หลายทีมที่ชนะ เช่นแข่ง ๑๐ คู่ก็มีคนชนะ ๕ คน แต่ ถ้าแข่งแบบเป็นรอบๆ จะมีผู้ชนะ ๑ มีคนแพ้ ๙ ผมว่า เขาคิดเก่งนะ

เมื่อ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ก่อนเวลา ๑๓.๐๐ น. ณ บ้านศิลปิน แห่งชาติ สร้อย เสียงเสนาะ

ถูกพวกจิ๊กโก๋ชาวบางกอก มันชวนกันหลอกโลมลม ครั้นพอได้ชมสายสวาท พวกนั้นนิราศรา อยู่ในวัยเรียนอย่าเพียรรัก เพราะรักมันมักจะเร่าร้อน ท�ำใจให้หล่อนแหลกละเอียด เสียเกียรติการศึกษา ................................. ความสวยความสาวมันหายาก เจ้าอยู่ในวัยพากเพียร จงรีบเคี่ยวเขียนเคี่ยวขับ แข่งขันกับเวลา เพื่ออนาคตที่สดใส ถึงอยู่ที่ไหนก็ได้ดี เพราะเหตุเรามีคุณวุฒิ จบสุดการศึกษา จะรู้สิ่งใดก็ไม่สู้ ไม่เท่ากับรู้วิชา ถ้ารู้รักษาตัวรอด เขาว่าเป็นยอดคน เหมือนดั่งมะพร้าวที่เราใช้ ใช้ได้ทั้งน�้ำทั้งเนื้อ กะลาที่เหลือก็ยังใช้ เอาใส่ไฟก็ได้ผล อีกทั้งล�ำต้นของมันถึงจะตาย ยังเอามาใช้ได้เป็นประโยชน์ทน แต่คนตายพ้นกลับเป็นผี ไม่มีแต่สิ่งใด ฯลฯ

ตามหลักแห่งพุทธธรรม การให้การศึกษาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ มีวิธีการส�ำคัญโดยสรุปอยู่ ๓ วิธี คือ บอกให้รู้ ท�ำให้ ดู (เป็นตัวอย่าง) และอยู่ให้เห็น คือ อยู่อย่างมีความสุข อันเนื่องมาจากการปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบให้เขาเห็นประจักษ์ การอยู่ให้เห็น ดังกล่าวนี้ ท่านว่าเป็นวิธีการสอนหรือการ ให้การศึกษาที่ดีที่สุด การน�ำเสนอเรื่อง เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ ทุก ประเด็นที่กล่าวมา หากเกิดมรรคผลตามหลักแห่งพุทธ ธรรมที่ อ ้ า งถึ ง ก็ จ ะเป็ น คุ ณ านุ ป ระโยชน์ แ ก่ ชุ ม ชนและ สังคม ทั้งในกาลปัจจุบันและอนาคตหาน้อยไม่


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

มืองเก่าในภาคใต้ของไทยมีหลายเมือง ซึ่งแต่ละเมือง มีความเป็นชุมชนมาไม่น้อยกว่า ๘๐๐ ปีมาแล้ว หนึ่ง ในจ� ำ นวนนี้ มี “เมื อ งไชยา” รวมอยู ่ ด ้ ว ย แต่ เ ดิ ม เคย มี ฐ านะเป็ น เมื อ งใหญ่ แ ละส� ำ คั ญ ใกล้ เ คี ย งกั บ “เมื อ ง นครศรีธรรมราช” ปัจจุบันลดฐานะมาเป็นอ�ำเภอขึ้นกับ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นอีกเมืองหนึ่งที่เรียกได้ว่าผ่าน หน้าประวัติศาสตร์มาอย่างโชกโชน ตามอุณหภูมิของการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม ซึ่งถือเป็น “อนิจลักษณ์” คือ ลักษณะแห่งความไม่เที่ยงแท้แน่นอน “ไชยา” เป็ น ชุ ม ชนเก่ า แก่ ใ นภาคใต้ ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ บนสันทราย (Sand Dune) สองสัน เช่นเดียวกับเมือง นครศรีธรรมราชปัจจุบัน คือสันทรายใหญ่และสันทราย เล็ ก ทั้ ง สองสั น มี ค วามยาวประมาณ ๓ กิ โ ลเมตร สันทรายใหญ่เป็นที่ตั้งแหล่งโบราณคดีวัดเวียง วัดหลง วัดแก้ว และบ้านหัวคู ส่วนสันทรายเล็กเป็นที่ตั้งวัดอิฐ วั ด ประสบ และต� ำ บลทุ ่ ง มี ก� ำ แพงเมื อ ง (เป็ น ก� ำ แพง ดิน) และคูน�้ำล้อมรอบตลอดแนวสันทราย มีร่องรอยว่า เคยเป็นชุมชนมาแต่โบราณ มีผู้คนอาศัยสืบต่อกันมารุ่น แล้วรุ่นเล่า จึงเกิดลักษณะการทับถมอย่างเห็นได้ชัด โดย เฉพาะโบราณวัตถุประเภทพระพิมพ์ ลูกปัด เงินตรานโม ภาชนะท�ำกิน เช่น หม้อ ไห ถ้วย ชาม เป็นต้น เมื่อช่วง พ.ศ. ๑๓๐๐ - ๑๖๐๐ ไชยามีฐานะเป็น เมือ งขนาดเล็ก ในศิ ลาจารึ กหลัก ที่ ๒๕ ซึ่ งจารึก ด้ วย ภาษาเขมรใช้ค�ำว่า “สุรุก” เทียบได้กับ “อ�ำเภอ” ใน ปัจจุบัน จากจารึกหลักที่ ๒๕ นี่เอง ท�ำให้ทราบชื่อเมือง ไชยาว่าแต่เดิมชื่อ “คฺรหิ” ประกอบกับมีจดหมายเหตุจีน ในสมัยราชวงศ์ซ้องยืนยันอีกทางหนึ่ง คือจดหมายเหตุ ของเจาชูกัว (Tchao-Jou-koua) ซึ่งเคยเดินทางมาแถบ ทะเลใต้ เรียกเมืองนี้ว่า เกีย-โล-ฮิ (Kia-lo-hi) ซึ่งตรงกับ ชื่อ คฺรหิ นั่นเอง ล่ ว งมาถึ ง ราว พ.ศ. ๑๗๕๐ อาณาจั ก รนครศรี ธรรมราชเริ่ ม มี บ ทบาทในการปกครองหั ว เมื อ งใน แหลมมลายู ไชยามี ฐ านะเป็ น เมื อ งตรี หรื อ เมื อ ง บริ ว ารของอาณาจั ก รนครศรี ธ รรมราช แต่ ศิ ล ปกรรม เนื่ อ งในพุ ท ธศาสนาในเขตเมื อ งไชยาก็ ยั ง คงเกิ ด ขึ้ น ไม่ ขาดสาย โดยเฉพาะความนิยมในการสร้างพระพุทธรูป พัทธเสมา ยอดเจดีย์ด้วยศิลาทรายแดง จนกลายเป็น ลักษณะเฉพาะเรียกว่า “สกุลช่างไชยา” คตินิยมสร้าง ศิลปวัตถุทางพุทธศาสนาด้วยศิลาทรายคงได้แบบอย่าง มาจากศรีวิชัย เหตุที่นิยมท�ำเช่นนี้คงเป็นเพราะศิลาทราย แดงแกะสลักง่าย คงทนถาวรกว่าปั้นปูน และหาวัสดุได้ ไม่ยาก เพราะมีภูเขาหินทรายอยู่ใกล้ๆ ได้แก่ภูเขานางเอ (ซึ่งอยู่ห่างจากตัวเมืองไปราว ๔ กิโลเมตร) ไชยาแม้จะมิใช่เมืองใหญ่ แต่ก็อยู่ในท�ำเลที่เหมาะ สมกั บ ลั ก ษณะภู มิ รั ฐ ศาสตร์ ในสมั ย อาณาจั ก รศรี วิ ชั ย ไชยาท�ำหน้าที่เสมือนเมืองหน้าด่านที่ควบคุมเส้นทางค้า และผลประโยชน์ ดูแลอาณาจักรมิให้ถูกรุกรานได้ง่าย อีกทั้งเป็นฐานส่งก�ำลังช่วยเหลือในการปกครองและเผย แพร่ศิลปวัฒนธรรม ยามใดบ้านเมืองเกิดระส�่ำระสายจาก ศัตรู เจ้าผู้ครองอาณาจักรอาจจะหลบภัยมาประทับที่นี่ เป็นครั้งคราว นอกจากนี้การติดต่อค้าขายเชื่อมสัมพันธ-

ไมตรีหรือท�ำสงครามกับดินแดนแถบลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา ก็ต้องอาศัยเมืองไชยาเป็นฐานส�ำหรับปฏิบัติการ จุดเด่นทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีของไชยา คื อ “แหลมโพธิ์ ” ซึ่ ง เคยเป็ น ตลาดการค้ า หรื อ ย่ า น ธุรกิจการพาณิชย์ และอุตสาหกรรมการผลิตลูกปัดแก้ว เป็นสินค้าส่งออก ผู้ปกครองไชยาบางช่วงมีฐานะเป็น พระราชาตามแบบวั ฒ นธรรมอิ น เดี ย มี พุ ท ธศาสนา มหายานเป็นศาสนาประจ�ำเมือง แต่ก็ยังปรากฏความ หลากหลายของกลุ ่ ม ลั ท ธิ ค วามเชื่ อ และศาสนาอื่ น ทั้งศาสนาพราหมณ์ ไวษณพนิกายและไศวนิกาย ความ แตกต่างในลัทธิความเชื่อทางศาสนาในย่านชุมชนต่างๆ สะท้อนให้เห็นว่าคงมีชาวอินเดียหลายหมู่เหล่าเข้ามา ตั้ ง ถิ่ น ฐานอย่ า งถาวรในดิ น แดนแถบนี้ และเผยแผ่ ศาสนาตามแนวทางของตน การสร้ า งศาสนสถานขนาดใหญ่ ใ นเมื อ งไชยา แสดงถึงการระดมก�ำลังคนที่มีอุดมการณ์เดียวกัน โดย มีเจ้าเมืองเป็นผู้น�ำ ลักษณะศิลปกรรมที่มีรูปแบบคล้าย กับศิลปะในชวาภาคกลาง เป็นหลักฐานชัดเจนที่แสดง ถึ ง การถ่ า ยทอดอุ ด มการณ์ ท างศาสนา ปรากฏในรู ป แบบแผนผังโครงสร้างสถาปัตยกรรมและประติมากรรม ที่ เ รี ย กว่ า ศิ ล ปะศรี วิ ชั ย หลั ก ฐานเหล่ า นี้ แ สดงความ ผูกพันทางเครือญาติระหว่างไชยากับราชวงศ์ไศเลนทร์ ในชวาภาคกลาง ด้วยความเชื่อทางศาสนาในเรื่องพระ มหาจักรพรรดิราช และความผูกพันโดยส่วนตัวหรือความ ผูกพันทางเครือญาติกับกษัตริย์ไศเลนทร์ จึงเป็นการส่ง อิ ท ธิ พ ลทางศาสนาและการเมื อ งเข้ า มายั ง ไชยาตั้ ง แต่ พุทธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๘ ซึ่งจะเห็นได้จากโบราณสถาน วัดแก้ว วัดหลง และพระพุทธรูปนาคปรกส�ำริดซึ่งมีจารึก ที่ฐานพระพุทธรูปที่วัดเวียง เป็นต้น โดยเหตุที่เป็นชุมชนเก่าแก่และพัฒนาขึ้นเป็นเมือง ไชยาจึ ง มี โ บราณวั ต ถุ โ บราณสถานอยู ่ เ ป็ น จ� ำ นวนมาก เฉพาะโบราณวัตถุที่มีคุณค่าในการบอกเล่าประวัติศาสตร์ ของบ้านเมืองมากที่สุด คือศิลาจารึกหลักที่ ๒๓ ซึ่งเป็นเสมือนกุญแจไข ความเป็นมาแห่งอาณาจักรศรีวิชัย นอกจากนี้ยังพบพระ โพธิสัตว์ (ซึ่งมีอยู่ไม่น้อยกว่า ๗ องค์) กลองมโหระทึก (๑ ใบ) ภาชนะดินเผาและภาชนะเครื่องเคลือบอีกจ�ำนวน มาก ส่ ว นใหญ่ ม าจากจี น อิ น เดี ย ชวา อาหรั บ และ โรมัน สิ่งเหล่านี้สะท้อนถึงความเป็นศูนย์กลางด้านศิลป วัฒนธรรมของไชยา เมืองเก่าที่เล่าขานสืบมาถึงวันนี้

ประวัติศาสตร์ชาติบ่งชี้ มหาราชปราชญ์ผู้น�ำ สถิตย์ทศพิธราชธรรม แคว้นเขตพสกเทิดไว้

จดจ�ำ สง่าได้ สยาม ประเทศ จึ่งน้อม ถวายพระพร

นารายณ์อวตารผ่านฟ้า กระจายสุขเจิดจรัส พระภูมิพลชนโสมนัส สง่าศรีทรงท่วมท้น

จอมกษัตริย์ แจ่มล้น มหาศาล บารมี ยิ่งแล้ว

พระชนม์นาน ๕ ธันวา ประชาร่วมน้อม จงรัก ๘๖ พรรษาพระทรงศักดิ์ ห่มหล้า จักรีวงศ์องค์ราชส�ำนัก รัตนะ โกสินทร์ ทรงพระเจริญ ธ ปิ่นฟ้า อุ่นแท้ ไทยเอย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า นายสมเกียรติ ประดู่ (เกียรตินคร) ผู้ประพันธ์


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นพ.อิสระ หัสดินทร์ eitsara@gmail.com

วั ส ดี ค รั บ ฉบั บ ที่ แ ล้ ว ได้ ค ้ า งราย ละเอี ย ดการตรวจทางห้ อ งปฏิ บั ติ การ หรื อ การตรวจเลื อ ดในกรณี ก าร ตรวจเช็คสุขภาพประจ�ำปีเอาไว้ หากไม่ ต่อเนื่องกรุณาย้อนกลับไปอ่านดูอีกครั้ง นะครับ วันนี้จะขอเริ่มเนื้อหาดังนี้ครับ Uric Acid คือการตรวจวัดระดับยูริคในเลือด หากสู ง กว่ า มาตรฐานก็ จ ะมี ค วามเสี่ ย ง เกิดโรคเก๊าท์ โรคนิ่วในไต ไตวาย ส่วน สาเหตุที่ท�ำให้ระดับยูริคสูงขึ้น อาจเกิด จากการบริโภคอาหารที่มีพิวรีนสูง ได้แก่ สัตว์ปีก เครื่องในสัตว์ ยอดผัก หน่ออ่อน เช่นถั่วงอก หน่อไม้ มันแกว เม็ดใน เช่น แตงกวา มะเขือ สะตอ ลูกเนียง ผักบาง ชนิด เช่นชะอม Urine Examination การตรวจปั ส สาวะเป็ น การตรวจ เพื่ อ ดู ก ารท� ำ งานของไตและระบบทาง เดินปัสสาวะ เริ่มตั้งแต่การตรวจสี ความ ใส ความเป็ น กรด ด่ า ง และการตรวจ หาสารต่างๆ รวมทั้งเซลล์ผิดปรกติที่จะ ปนมาในปั ส สาวะ เช่ น กรณี ก ระเพาะ ปัสสาวะอักเสบหรือก้อนนิ่ว หรือมะเร็ง ในระบบทางเดิ น ปั ส สาวะ ก็ จ ะตรวจ พบเม็ดเลือดแดงปนออกมา กรณีมีการ อักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ก็ จ ะพบเม็ ด เลื อ ดขาวปนออกมา มี ข ้ อ พึ ง ระวั ง ในการเก็ บ ปั ส สาวะ คื อ ต้ อ ง เก็ บ และส่ ง ตรวจโดยเร็ ว ที่ สุ ด และใน ผู้หญิง ต้องระวังไม่ให้ปนเปื้อนสารจาก ช่องคลอดออกมาด้วย โดยการท�ำความ สะอาดอย่ า งดี และฉี่ ทิ้ ง ไปก่ อ นเล็ ก น้อย ระหว่างที่รองรับปัสสาวะ ต้องเป็น ปัสสาวะที่ก�ำลังเบ่งออกมาอย่างต่อเนื่อง เป็ น เกลี ย วพุ ่ ง จากท่ อ ปั ส สาวะ โดยไม่ กระทบกระทั่ ง ส่ ว นใดๆของช่ อ งคลอด จึงจะได้ปัสสาวะที่ไม่ปนเปื้อนจริงๆ

Stool Occult Blood การตรวจคั ด กรองการเกิ ด มะเร็ ง ล� ำ ไส้ มี ส ่ ว นช่ ว ยในการวิ นิ จ ฉั ย มะเร็ ง ล� ำ ไส้ ตั้ ง แต่ ร ะยะแรก เป็ น การตรวจหา เม็ดเลือดแดงในอุจจาระ และหากพบว่า มี เ ลื อ ดปนในอุ จ จาระ ต้ อ งท� ำการตรวจ เพิ่มเติมโดยการส่องกล้อง เพื่อตรวจทาง เดิ น อาหารโดย ละเอี ย ด มี ข ้ อ พึ ง ระวั ง ว่าต้องงดอาหารที่มีเลือด หัวกะหล�่ำปลี และเครื่องใน ๓ วันก่อนเริ่มเก็บอุจจาระ เพราะเลือด และเครื่องในจะมีเม็ดเลือด ปะปนอยู่ ส่วนกะหล�่ำปลีจะมีสารคล้าย เลือดปนอยู่ด้วย อุจจาระที่เก็บ ๒ - ๓ วัน ก่อนน�ำส่งตรวจ สามารถเก็บไว้ในตู้เย็น ช่องธรรมดาในตลับที่สะอาด แยกใส่ถุง เฉพาะต่ า งหาก และระมั ด ระวั ง ไม่ ใ ห้ ปะปนกับของในตู้เย็น

หัวใจและหลอดเลือดได้ แต่ส�ำหรับมะเร็ง ปอด การตรวจเอ็ ก ซเรย์ ป อดบางครั้ ง ก็ อาจจะบอกไม่ได้ มาตรวจเดือนนี้ไม่พบ แต่อาจจะตรวจพบในอีก ๑ – ๒ เดือน ถั ด ไปก็ ไ ด้ กรณี เ ช่ น นี้ หากผู ้ ป ่ ว ยคน เดียวกัน เคยมีภาพเอ็กซเรย์เก่าเก็บไว้ จะ มี ป ระโยชน์ ใ นการน� ำ มาใช้ เ ปรี ย บเที ย บ อย่างยิ่ง

Ultrasound Whole Abdomen การตรวจอัลตราซาวน์ช่องท้อง ถ้า เป็นช่องท้องส่วนบนจะดูตับ ไต ตับอ่อน ถุงน�้ำดี ม้าม เส้นเลือดแดงใหญ่ ว่ามีความ ผิดปรกติอะไรบ้างเช่น ก้อน ติ่งเนื้อ หรือ นิ่ว ฯลฯ หรือไม่ และถ้าเป็นช่องท้องส่วน ล่างก็จะดูกระเพาะปัสสาวะ คุณผู้หญิงก็ จะสามารถเห็นมดลูก รังไข่ ส่วนคุณผู้ชาย ก็จะสามารถดูต่อมลูกหมากได้ อย่างไร Chest X-Ray ก็ตามอวัยวะอย่างกระเพาะอาหาร และ การตรวจเอ็ ก ซเรย์ ป อดเพื่ อ ดู ว ่ า ล�ำไส้ จะไม่ค่อยเห็นอะไรชัดเจนมากนัก มี ก ้ อ นหรื อ จุ ด หรื อ ก้ อ นผิ ด ปกติ ใ นปอด ปอดบวม วัณโรคปอด ฝีในปอด น�้ำท่วม การตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็ง ปอด หรื อ ท่ ว มช่ อ งปอด และสามารถ Tumor Marker ที่ส�ำคัญมีดังนี้ ดู ลั ก ษณะของกระดู ก ซี่ โ ครง ขนาดของ Alpha-fetoprotein (AFP) เป็นการตรวจเพื่อคัดกรองมะเร็งตับ ซึ่งถ้าหากพบว่าสูงกว่าค่ามาตรฐานก็ควร จะต้องท�ำการตรวจโดยละเอียดกับแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคตับเพื่อยืนยันอีกครั้ง แต่อย่างไรก็ตามผลการตรวจ AFP อาจ สู ง ขึ้ น กว่ า ปกติ ไ ด้ เ ล็ ก น้ อ ยในผู ้ ป ่ ว ยตั บ อั ก เสบเรื้ อ รั ง และจะไม่ พ บว่ า สู ง ขึ้ น ใน กรณี ที่ เ กิ ด การแพร่ ก ระจายของมะเร็ ง โรงพยาบาลนครพัฒน์ 2/99 ถนนพัฒนาการคูขวาง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จากที่อื่นๆ มาสู่ตับ จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 โทร.075305999

การแพทย์ ยุค ใหม่ วางใจนครพั ฒ น์

Carcinoembrionic Antigen (CEA) เป็ น การตรวจเพื่ อ คั ด กรองมะเร็ ง ล�ำไส้ อาจพบว่าสูงขึ้นได้ใน ผู้ป่วยมะเร็ง ปอด ตั บ ตั บ อ่ อ น และสามารถพบได้ ในผู้ที่สูบบุหรี่จัดมาเป็นเวลานาน ภาวะ ตับแข็ง หากพบว่าสูงกว่าค่ามาตรฐาน ต้ อ งท� ำ การตรวจโดยละเอี ย ด เช่ น การส่ อ งกล้ อ งตรวจล� ำ ไส้ เอ็ ก ซเรย์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น Prostate Specific Antigen (PSA) เป็ น การตรวจคั ด กรองส� ำ หรั บ มะเร็งต่อมลูกหมาก อาจจะพบว่าสูงกว่า ปกติได้ในผู้ป่วยที่มีต่อมลูกหมากโต แต่ อาจจะพบว่าต�่ำลงประมาณ ๑ เท่าใน กรณีผู้ป่วยที่ได้รับยารักษาต่อมลูกหมาก โตกลุ่ ๕ alpha reductase inhibitors ติ ด ต่ อ กั น นานกว่ า ๖ เดื อ น (จึ ง ต้ อ ง คู ณ ผล PSA ที่ ต รวจได้ ด ้ ว ย ๒) ควร จะท� ำ การตรวจ PSA ในผู ้ ช ายที่ มี อ ายุ มากกว่า ๕๐ ปีและควรท�ำการตรวจเป็น ประจ�ำทุกปี CA125 เป็ น การตรวจคั ด กรองส� ำ หรั บ มะเร็ ง รั ง ไข่ และอาจพบว่ า สู ง ขึ้ น ได้ ใ น ผู้ป่วยที่มี ถุงน�้ำที่รังไข่ ก้อนเนื้อที่รังไข่ หรือมีการอักเสบในอุ้งเชิงกราน ซึ่งถ้า หากพบว่ามีค่าสูงกว่ามาตรฐานควรพบ สู ติ น รี แ พทย์ เ พื่ อ ท� ำ การตรวจเพิ่ ม เติ ม เช่นการตรวจอัลตราซาวน์ช่องท้องส่วน ล่าง หรือการส่องกล้องเพื่อตรวจภายใน ช่องท้อง CA15-3 เป็ น การตรวจคั ด กรองส� ำ หรั บ มะเร็ ง เต้ า นม อย่ า งไรก็ ต ามการตรวจ มะเร็งเต้านมที่ได้ผลดีและเป็นที่น่าเชื่อ ถือมากกว่าคือการ ตรวจเอ็กซเรย์ และ อัลตราซาวน์เต้านม (Mammogram) CA19-9 เป็ น การตรวจคั ด กรองส� ำ หรั บ มะเร็งตับอ่อน และทางเดินอาหาร หาก พบว่ า สู ง กว่ า มาตรฐานควรพบแพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นระบบทางเดิ น อาหาร เพื่อท�ำ การตรวจเพิ่มเติม หมอเชื่ อ ว่ า ข้ อ ดี ข องการตรวจ สุ ข ภาพประจ� ำ ปี นั้ น สามารถช่ ว ยใน การป้ อ งกั น โรคหลายโรคได้ และช่ ว ย ให้ แ พทย์ ค ้ น หาโรคตั้ ง แต่ ร ะยะแรก และ/หรือระยะอื่นๆ ได้ สามารถน�ำผล ข้ อ มู ล สุ ข ภาพของท่ า นที่ ไ ด้ ม า เพื่ อ ใช้ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเดิมๆ เพื่อ แก้ ค วามผิ ด ปรกติ ที่ ต รวจพบ ท� ำ ให้ มี สุ ข ภาพและร่ า งกายเข้ า สู ่ ภ าวะปรกติ ข้อมูลที่เกิดขึ้น ก็จะเป็นฐานข้อมูลพื้น ฐานที่จะน�ำไปใช้ในอนาคต หากมีความ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมนะครับ


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๓

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

บั บ ที่ แ ล้ ว ผมต้ อ งขออภั ย ที่ บ ทความ หัวข้อเรื่อง “นครศรีดี๊ดี...ยังต้องเติม เต็ ม อี ก หลายเรื่ อ ง (ตอน๓)” เนื้ อ หาลง ไม่ครบตามที่ผมต้องการให้จบหัวข้อนี้ใน ฉบับนั้นเลย เนื่องจากความผิดพลาดจาก การส่งต้นฉบับผ่าน E-mail แต่ช่างเถอะ ครับเอาเป็นว่าผมต้องการสื่อเรื่องการต้อง มีวินัยของชาวเมืองอย่างน้อย ๓ ด้าน คือ ด้านสุขอนามัย ด้านการสัญจร และด้าน การให้บริการ จึงจะสามารถเติมเต็มให้การ ท่องเที่ยวสมบูรณ์แบบ (ฉบับที่แล้วลงด้าน สุขอนามัยได้เรื่องเดียว) รายละเอียดต่างๆ ที่ ห ายไปนั้ น ผมเพี ย งได้ ย กตั ว อย่ า งของ จริงให้เห็นภาพของการขาดวินัยที่ท่านก็ คงสัมผัสด้วยตัวเองแล้ว ผมจึงขอจบเรื่อง เดือนที่แล้วลงดื้อๆ และก็จะขอว่าเรื่องอื่น ต่อนะครับ ฉบั บ ส่ ง ท้ า ยปี เ ก่ า นี้ ผ มอยากเสริ ม เรื่องการน�ำเสนอวัดพระธาตุสู่มรดกโลก (ผมขอใช้ชื่อเรียกวัดพระธาตุตามชาวบ้าน ที่เขาคุ้นเคยนะครับ) ซึ่งคณะท�ำงานเขา ให้ผมช่วยเป็นที่ปรึกษาการออกแบบงาน ภูมิสถาปัตยกรรม (Architectural Landscape Design) ในเขตพื้นที่หลัก (Core Zone) ของวั ด พระธาตุ โดยส� ำ นั ก วิ ช า สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นผู้รับหน้าที่นี้ จากการได้ร่วมประชุมที่ทางมหาวิทยาลัย ได้ เ สนอแบบเมื่ อ เดื อ นที่ แ ล้ ว ผมได้ เ ห็ น รู ป แบบและแนวความคิ ด ที่ น ่ า สนใจที่ มี การน� ำ เอาข้ อ เท็ จ จริ ง ทางด้ า นกายภาพ ของที่ตั้งและเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มาเชื่ อ มต่ อ เป็ น องค์ ป ระกอบในการ ออกแบบภู มิ ทั ศ น์ และผมก็ คิ ด ว่ า จะมี ค�ำถามจากประชาชนอีกมากต่อแนวความ คิ ด นี้ ที่ จ ะต้ อ งอธิ บ ายให้ ไ ด้ และค� ำ ตอบ ที่ ชั ด เจนจะท� ำ ให้ ช าวเมื อ งสบายใจและ สนับสนุน และช่วยส่งเสริมการน�ำเสนอให้ มีน�้ำหนักเหมาะสมคู่ควรต่อการเป็นมรดก โลกมากขึ้น ผมจึงมีมุมมองเชิงวิจารณ์ตาม ความเห็นส่วนตัวดังนี้ ๑. ภาพรวมของการออกแบบภู มิ ทั ศ น์ ง านนี้ คื อ พื้ น ทรายล้ ว นๆ อาจถึ ง ๘๐% ด้ ว ยซ�้ ำ ไป เป็ น การน� ำ เรื่ อ งหาด

www.nakhonforum.com

ทรายในอดีตที่อยู่ ณ ตรงบริเวณนี้มาเน้น เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ผมเห็นว่าเป็น เรื่องเด่นที่สุด (Highlight) ของงานนี้ (ซึ่ง อาจขัดกับความรู้สึกของคนทั่วไปว่าท�ำไม ไม่มีต้นไม้จัดสวนเหมือนวัดทั่วไป) และ อาจเป็ น วั ด เดี ย วในประเทศไทยที่ มี ล าน ทรายผืนกว้างสะท้อนแสงส่งเสริมองค์พระ ธาตุสีขาวให้ดูเด่นยิ่งขึ้น (ภาพประกอบที่ แสดงในบทความนี้มาจากการน�ำเสนอของ ส�ำนักวิชาสถาปัตย์ฯ ซึ่งแสดงให้เห็นสภาพ ปัจจุบัน และภาพจินตนาการในอนาคตที่ จะมีลานหาดทรายเป็นส่วนใหญ่) ความ จริงในอดีตกาลก็เป็นหาดจริงๆ แหละครับ เป็นสันทราย (Sand dune) ยาวตลอดแนว ถนนราชด�ำเนินตามข้อมูลทางธรณีวิทยา ซึ่ ง ต่ อ มาแผ่ น ดิ น ได้ ง อกออกไปทางทิ ศ ตะวันออกตามสภาพปัจจุบันที่เห็น ผมมี หลักฐานเชิงประจักษ์สัก ๒ เรื่อง คือเมื่อ ประมาณ ๔๐ กว่ า ปี ที่ ค รอบครั ว ผมได้ ก่อสร้างตึก ๓ ชั้นที่ต�ำบลท่าวัง (ห่างจาก วัดพระธาตุประมาณ ๕ กิโลเมตร ตามแนว สันทราย) การก่อสร้างฐานรากแผ่ต้องมี การขุดดินลึกประมาณ ๒ เมตร ผมได้เห็น เปลือกหอยมากมายอยู่ที่ก้นหลุม ตอน นั้นผมยังเป็นเด็กก็ยังนึกแปลกใจว่าใครน�ำ มาฝังไว้ แต่ต่อมาเมื่อไม่กี่ปีนี้เองที่ชมรม รักบ้านเกิดนครศรีธรรมราชเป็นตัวตั้งตัว ตีจัดให้มีงานเดือนสิบย้อนยุคขึ้นที่วัดพระ ธาตุเป็นปีแรก ผมเป็นคนก�ำกับให้ทหาร มาปั ก เสากลมหน้ า วิ ห ารทั บ เกษตรเพื่ อ เล่นกีฬาโบราณปีนเสาน�้ำมัน ต้องขุดพื้น ทรายลงไปกว่า ๒ เมตรได้พบเปลือกหอย อีกเช่นกัน ผมจึงเชื่อมั่นว่าในอดีตเป็นหาด ทรายริมทะเลจริงๆ ที่สอดคล้องกับเรื่อง พระทนธกุมารและพระนางเหมชาลาที่เรือ แตกมาติดริมหาด ความกล้าในแนวความ คิดจินตนาการให้เป็นหาดทรายนี้กลับเป็น

จุดเด่นที่คนอยากมาเห็นเหมือนตัวอย่าง จากวั ด ร่ อ งขุ น จ.เชี ย งรายของอาจารย์ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ที่มีโบสถ์เป็นสีขาว ทั้งหมดแปลกตากว่าโบสถ์ทั่วไป ผมจึงขอ สนั บ สนุ น และตั้ ง ชื่ อ เรื่ อ งนี้ ว ่ า “คื น หาด ทรายแก้วให้วัดพระธาตุ” ๒. การออกแบบทางเดินและการจัด สวนด้วยต้นไม้ ผมได้เห็นแบบในลักษณะ ภาพรวมกว้างๆ ก็เห็นว่าคนออกแบบเขา ช่างคิดนะที่เลือกการปูพื้นทางเดินมาอยู่ ชิดก�ำแพงด้านทิศตะวันออก แล้วให้ผู้ชม ที่เดินมองกลับมาผ่านหาดทรายแก้วไปยัง กลุ่มอาคารของวัดและองค์พระธาตุโดย ไม่มีแผ่นปูทางเดินซีเมนต์สมัยใหม่แปลก ปลอมเข้ามา (ได้อารมณ์ทางประวัติศาสตร์ มากครับ) ที่ผ่านมาผมรับทราบมาว่าที่ต้อง ปูทางเดินด้วยแผ่นพื้นดังกล่าวเนื่องจาก ต้ อ งการอ� ำ นวยความสะดวกให้ นั ก ท่ อ ง เที่ยวที่ใส่ส้นสูงหรือต้องลุยพื้นทรายเข้ามา ในวัด เรื่องนี้ต้องมีจุดยืนให้ชัดนะครับว่า เราต้องการให้นักท่องเที่ยวได้รับอรรถรส ทางประวัติศาสตร์ที่เขาอุตส่าห์เดินทางมา ไกลรวมทั้งคณะกรรมการของ Unesco ด้วย ก็ต้องยอมรับในประเด็นที่ส�ำคัญกว่า ปั ญ หาส่ ว นบุ ค คล มี ก รณี ตั ว อย่ า งสถาน ที่ที่มีชื่อเสียงมากมายที่นักท่องเที่ยวต้อง ปฏิบัติตามระเบียบที่วางไว้ เช่น ที่วัดโพมาลุวะ เมืองอนุราธปุระ ประเทศศรีลังกา ที่ มี พ ระมหาเจดี ย ์ รุ วั น เวลิ ส ยา (เจดี ย ์ สุวรรณมาลิก) ที่องค์พระธาตุของเราได้รับ แบบอย่างมาก็มีกฎระเบียบที่ทุกคนต้อง ถอดรองเท้าตั้งแต่ประตูวัดแล้ว ส�ำหรับ การเลือกต้นไม้เพื่องานจัดภูมิทัศน์ก็น่าจะ พิจารณาจากภาพเก่าๆ ที่มักมีเหตุผลจาก ประโยชน์การใช้งานในอดีต เช่นต้นตาล ต้นหมากที่คนสามารถใช้ได้แทบทุกส่วน ของต้ น ไม้ น� ำ มาประกอบการออกแบบ

ให้ดูดี หรือไม้พุ่มตกแต่งที่มีค�ำกล่าวถึงใน บทกลอนค�ำร้องต่างๆ ในอดีต เช่นต้นแก้ว เป็นต้น จะเพิ่มคุณค่าการเน้นเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร์มากขึ้น ๓. พื้ น ที่ แ สดงเรื่ อ งราวประวั ติ ศาสตร์และสิ่งสักการะที่เกิดขึ้นมาในยุค หลั ง ทางผู ้ อ อกแบบได้ เ สนอให้ ย ้ า ยไป ไว้ในบริเวณเดียวกันกับพิพิธภัณฑ์ จะมี ความชัดเจนของพื้นที่ใช้งานเฉพาะเรื่องที่ ไม่กระจัดกระจายกัน รวมทั้งเป็นพื้นที่จัด กิจกรรมประเพณีต่างๆ ได้ เช่น พิธีกวน ข้าวมธุปายาส เป็นต้น ซึ่งแต่ละบริเวณ อาจมีส่วนตกแต่งให้มีเนื้อหามากขึ้นและ ดู ส ง่ า งาม เช่ น ประติ ม ากรรมเรื อ พระ ทนธกุมาร อาจวางในสระน�้ำที่จ�ำลองขึ้น เป็นทะเล ๔. ทีต่ งั้ ร้านค้าของทีร่ ะลึก ผูอ้ อกแบบ ได้ เ สนอทางเลื อ กหลายแนวทางที่ เ ป็ น ทางออกให้ ซึ่งเป็นข้อดีที่ผู้ที่มีส่วนได้ส่วน เสียจะได้แสดงความคิดเห็นและเป็นการ ท� ำ งานร่ ว มกั น เพื่ อ ให้ ก ารเสนอวั ด พระ มหาธาตุเป็นมรดกโลกสามารถเดินหน้าต่อ ไปได้ และผมเชื่อว่าคนนครเป็นผู้มีเหตุผล ในทางสร้ า งสรรค์ ห ากผู ้ อ อกแบบและ คณะท�ำงานได้ชี้แจงความจ�ำเป็นและผล ประโยชน์ของทุกฝ่ายทีจ่ ะตามมาในอนาคต เรื่องราวเหล่านี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่น�ำ ไปพูดคุยกันในการสัมมนาเรื่อง “ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช ครั้งที่ ๘ มุ่งเน้น พระธาตุเจดีย์สู่มรดกโลก” ในวันที่ ๑๓ – ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทวิน โลตั ส จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช จั ด โดย เจ้ า ภาพเก่ า คื อ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรีธรรมราช ผมเข้าร่วมด้วยและจะ เก็บข้อมูลและเรื่องราวต่างๆ มาเล่าสู่กัน ฟังอีก สุดท้ายนี้ผมขอให้ทุกท่านโชคดีปี ใหม่ ๒๕๕๗ นะครับ


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

บับนี้ขอคั่นเรื่องกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ไว้ก่อนสักเดือนนะคะ เนื่องจากเป็นอีกครั้งที่..ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธ รรมราช ได้ รั บ รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยครั้งที่ ๙ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ รางวัลดีเด่นประเภท แหล่งท่องเที่ยวนันทนาการเพื่อการเรียน รู้ ภายใต้ชื่อผลงาน “เที่ยวเพลิน เพลิน Play & Learn @ศูนย์วิทย์เมืองคอน” ซึ่งเป็นการได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัล “กินรี” ติดต่อกันเป็นครั้งที่ ๒ นับจาก การประกวดรางวั ล อุ ต สาหกรรมท่ อ ง เที่ยวไทย ครั้งที่ ๘ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ โดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตามแนวคิดที่ว่า “เราสามารถน�ำ เทคโนโลยีมาไว้ที่เขาขุนพนมได้ แต่มี สิ่งหนึ่งที่ทดแทนกันไม่ได้นั่นก็คือ เราไม่ สามารถน�ำธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และ ชุ ม ชนอั น มี ค ่ า ของเขาขุ น พนมไปไว้ ที่ อื่นได้” ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา นครศรี ธ รรมราชจึ ง เป็ น สถานที่ อั น ดั บ แรกๆ ของภาคใต้ที่เข้าไปอยู่ในใจของ ผู้เข้ามาสัมผัสและร่วมเรียนรู้เก็บเกี่ยว ประสบการณ์ ตั้ ง แต่ ป ี ๒๕๓๘ จนถึ ง ปัจจุบันเกือบล้านคน ด้วยเหมาะที่จะเป็น

ขุมทรัพย์แห่งประสบการณ์ เพื่อสร้างสรรค์ พลังคิด ปลูกฝังความรักต่อวิทยาศาสตร์ได้ อย่างดีเยี่ยม ในปัจจัยหลายๆ ด้าน ทั้งด้าน สื่ อ /เทคโนโลยี กิ จ กรรมนิ ท รรศการที่ มี จ�ำนวนมากในพื้นที่อันจ�ำกัด และมีความ โดดเด่นในด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่

ในท้องถิ่นอย่างหลากหลายสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้รับบริการ มีเว็บไซต์ ในการด�ำเนินงานของศูนย์ฯ ที่เอื้ออ�ำนวย ต่ อ การประชาสั ม พั น ธ์ ง านและเอื้ อ ต่ อ การเข้าถึงความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ด้าน บุ ค ลากรที่ มี ผู ้ บ ริ ห ารมี ส มรรถนะสู ง มี การบริหารจัดการที่สามารถดึงศักยภาพ

ามีมานานกว่า ๔,๗๐๐ ปี นอกจาก ดื่มแก้กระหาย แก้ง่วง ยังช่วยต้าน โรคที่ เ กิ ด จากอนุ มู ล อิ ส ระ เราจะดื่ ม อย่างไรให้ได้ประโยชน์ต่อสุขภาพ และ ดื่มอย่างไรไม่ให้เกิดโทษ เราเพียงทราบ กันแค่ว่าในกาแฟมีสารคาเฟอีน แต่ใบชา ก็มีสารกาเฟอีนสูง อาจสูงกว่ากาแฟด้วย ซ�้ ำ เพี ย งแต่ ช ามี ส ารแทนนิ น ที่ ป ้ อ งกั น หรื อ ลดการดู ด ซึ ม ของกาเฟอี น เข้ า สู ่ ร่างกาย ท�ำให้ฤทธิ์การกระตุ้นหัวใจและ สมองน้อยกว่ากาแฟมาก บ้ า นเรานิ ย มดื่ ม น�้ ำ ชา กาแฟกั น มาก มีทั้งร้านที่เป็นรูปแบบสากล และ ร้านรถเข็นที่มีอยู่ทุกหนทุกแห่งในเมือง นคร ทราบกั น ไหมว่ า ในน�้ ำ ประเภทนี้ โดยเฉพาะชาเย็นนั้นหากดื่มมากๆ อาจ เป็ น อั น ตรายต่ อ ร่ า งกายได้ ทางการ แพทย์ ไ ด้ เ ตื อ นว่ า …ไม่ ค วรดื่ ม ชาเย็ น

เป็นประจ�ำ หรือดื่มมากๆ เพราะอาจจะ ท�ำให้เป็นนิ่วในไตได้ เนื่องจากในชาเย็นมี ปริมาณ “กรดออกซาลิก” สะสมอยู่มาก ซึ่งเป็นสารเคมีที่ส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดเป็นนิ่ว ในไต (ในชาร้ อ นก็ จ ะมี ก รดออกซาลิ ก เหมือนกัน แต่โอกาสที่จะท�ำให้เป็นนิ่วได้ นั้นจะยากกว่าการดื่มชาเย็น) ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นนิ่วในไตง่าย คือ

ผู้หญิงในวัยหมดประจ�ำเดือนจะมีฮอร์โมน เพศเอสโตรเจนน้อย และสตรีที่ได้ท�ำการ ผ่าตัดมดลูกออกไปแล้วไม่ควรดื่มชาเย็น เป็ น อั น ขาด เพราะมี โ อกาสที่ จ ะเป็ น นิ่ ว ได้ ง ่ า ย นิ่ ว ในไตมี ลั ก ษณะเป็ น ก้ อ นผลึ ก เล็ก ซึ่งเกิดจากแร่ธาตุและเกลือที่มีอยู่ใน ปัสสาวะมักเกิดขึ้นในไต หรือท่อซึ่งเป็นท่อ ปัสสาวะจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะโดย ปกติแล้วมันจะหลุดออกไปได้เอง แต่ถ้ามี ขนาดโตมันจะติดค้างอยู่ในท่อ ส่งผลท�ำให้ เป็นอันตรายต่อร่างกายหากเป็นมาก ต้อง ท�ำการผ่าตัดเลยทีเดียว มาเรื่ อ งของชาร้ อ นกั น บ้ า ง ความ ร้อนจะท�ำให้สารที่เป็นประโยชน์ในชา คือ

ของบุคลากรในศูนย์ฯ ให้เกิดการท�ำงาน ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และด้ า นนโยบาย กศน. ปี ๒๕๕๕ ที่ส่งเสริมให้การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาให้เป็นแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วของชุ ม ชน ทั้ ง หมดคื อ องค์ ประกอบที่ ท� ำ ให้ ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธ รรมราชเป็ น พิ พิ ธ ภัณฑ์ที่มีชีวิตชีวา เกิดการเรียนรู้ตลอด ๒๔ ชั่ ว โมง เน้ น ให้ ผู ้ เ รี ย นค้ น พบด้ ว ย ตนเองด้วยทักษะและกระบวนการทาง วิ ท ยาศาสตร์ มี อิ ส ระในการสร้ า งและ เชื่ อ มโยงองค์ ค วามรู ้ กั บ ธรรมชาติ แ ละ ที่ ส� ำ คั ญ ความรู ้ เ หล่ า นั้ น สอดคล้ อ งกั บ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ตามหลักสูตรฯ ไม่ แปลกแยกจากวิถีชีวิต ตามปรัชญาที่ว่า “สร้างระบบคิด ปลูกจิตวิทยาศาสตร์” จัดการเรียนการสอนในรูปแบบการเล่น เหมาะสมกับทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการ ศึกษา ความสนใจ เรียนโดยไม่เรียน เกิด การซึมซับฝังแน่นโดยไม่รู้ตัว พื้ น ที่ เ ล็ ก ๆ แห่ ง นี้ ที่ จึ ง กลายเป็ น แหล่งท่องเที่ยวและเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับ การแบ่ ง ปั น ความสุ ข ต่ อ กั น ความงาม เล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่ในความรู้สึกก่อตัวขึ้นและ สะสมอยู่ตลอดเวลา ผู้ผ่านพบต่างสัมผัส ได้และน�ำความรู้สึกดีที่ได้รับไปบอกเล่า กล่าวขานขยายวงกว้างขึ้นเรื่อยๆ เป็น ก�ำลังใจส�ำคัญในความมุ่งมั่นสร้างสรรค์ สิ่งที่ดีงามเพื่อสังคมไทยไปอย่างต่อเนื่อง ณ ที่แห่งนี้...ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการ ศึกษานครศรีธรรมราช...อ�ำเภอพรหมคีรี “พื้ น ที่ เ ล็ ก ๆ ความสุ ข แห่ ง การ เรียนรู้” “คาเทคชินส์” ถูกท�ำลายไปเกือบหมด คงเหลือแต่ความหอมและรสชาติ ถ้าผู้ที่ ชอบดื่มชาร้อนๆ ต้องการให้ได้ประโยชน์ ต่อสุขภาพก็ควรดื่มน�้ำชาที่เข้มข้น ผู ้ รั บ ประทานวิ ต ามิ น เสริ ม เช่ น ธาตุเหล็ก เกลือแร่ หรือยาที่คล้ายคลึง กั น ควรหลี ก เลี่ ย งการดื่ ม น�้ ำ ชาร่ ว มไป ด้วย เพราะสารส�ำคัญจากใบชาจะไปตก ตะกอนธาตุเหล็กหรือเกลือแร่ไม่ให้ถูกดูด ซึมเข้าสู่ร่างกายได้ ส�ำหรับเด็กๆ ไม่ควรให้ดื่มอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะเป็นชาเขียวแช่เย็นหรือชาร้อน เพราะในชามีสารส�ำคัญอีกตัวคือ “แทน นิน” จะไปตกตะกอนโปรตีนและแร่ธาตุ ต่างๆ จากอาหารที่รับประทาน ท�ำให้ลด การดู ด ซึ ม ของสารอาหารที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ ร่างกาย และจะท�ำให้ขาดสารอาหารได้ ทราบอย่างนี้แล้วต่อไปเราก็จะได้ เลือกถูกว่าจะดื่มชาแบบไหน หรือไม่ดื่ม เวลาใดให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ข้อมูลจาก www.ความรู้รอบตัว.com


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช หน้า

๑๕

อาจารย์แก้ว ชีวิตประจ�ำวันของคนเมืองหลาย ท่านคงคุ้นเคยกับระบบการซื้อขายสินค้า ตามศูนย์การค้าที่มีความสะดวกรวดเร็ว ระบบรักษาความปลอดภัยของส�ำนักงาน บริษัท โรงแรม ธนาคารและสนามบิน ที่ จ� ำ กั ด บริ เ วณคนเข้ า -ออก รู ้ ห รื อ ไม่ ว ่ า อุ ป กรณ์ ที่ ท� ำ ให้ ร ะบบดั ง กล่ า วมี ค วาม สะดวกรวดเร็ ว นั้ น มั น คื อ อะไร แค่ แ ตะ บัตรที่เครื่องอ่านโดยไม่ต้องสัมผัสก็เสร็จ ขั้นตอน บ้างก็มีเสียงร้อง ตี๊ดๆ ประตูก็ เปิดล็อก บ้างประตูก็เปิดให้เองอัตโนมัติ เทคโนโลยีดังกล่าวเรียกว่า RFID (อาร์เอฟ ไอดี) อยากทราบแล้วใช่ไหมครับว่ามีหลัก การท�ำงานอย่างไร มีการใช้งานอย่างไร บ้าง เรามาหาค�ำตอบกันเลยครับ

RFID คืออะไร

RFID ย่อมาจากค�ำว่า Radio Frequency Identification เป็นระบบระบุ ลั ก ษณะของวั ต ถุ ด ้ ว ยคลื่ น ความถี่ วิ ท ยุ ที่ ไ ด้ ถู ก พั ฒ นามาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.๒๕๒๓ โดยที่อุปกรณ์ RFID ที่มีการประดิษฐ์ขึ้น ใช้ ง านเป็ น ครั้ ง แรกนั้ น เป็ น ผลงานของ Leon Theremin ซึ่งสร้างให้กับรัฐบาล ของประเทศรัสเซียในปี พ.ศ.๒๔๘๘ ซึ่ง อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาในเวลานั้นท�ำหน้าที่ เป็ น เครื่ อ งมื อ ดั ก จั บ สั ญ ญาณ ไม่ ไ ด้ ท� ำ หน้าที่เป็นตัวระบุเอกลักษณ์อย่างที่ใช้งาน กันอยู่ในปัจจุบัน วัตถุประสงค์หลักของ RFID เพื่อน�ำ ไปใช้งานแทนระบบบาร์โค้ด (Barcode) จุดเด่นอยู่ที่การอ่านข้อมูลจากแท็ก (Tag) ได้หลายๆ แท็กแบบไร้สัมผัสและสามารถ อ่านค่าได้แม้ในสภาพที่ทัศนวิสัยไม่ดี ทน ต่ อ ความเปี ย กชื้ น แรงสั่ น สะเทื อ น การ กระทบกระแทก สามารถอ่านข้อมูลด้วย ความเร็ ว สู ง โดยข้ อ มู ล จะถู ก เก็ บ ไว้ ใ น ไมโครชิปที่อยู่ในแท็ก RFID ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นป้าย อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (RFID Tag) ที่ ส ามารถ อ่านค่าได้โดยผ่านคลื่นวิทยุจากระยะห่าง เพื่อตรวจ ติดตามและบันทึกข้อมูลที่ติด อยู่กับป้าย ซึ่งน�ำไปฝังไว้ในหรือติดอยู่กับ

ต่ า งๆ ที่ เ ราต้ อ งการ โดยแท็ ก จะบั น ทึ ก ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุนั้นๆ เอาไว้ ส่วนที่สอง คือเครื่องส�ำหรับอ่าน / เขียนข้อมูลภาย ในแท็ ก (Interrogator/Reader) ด้ ว ย คลื่นความถี่วิทยุ เพื่อความเข้าใจและให้ เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้นผมจะเปรียบเทียบ กับระบบบาร์โค้ด แท็กในระบบ RFID คือ ตัวบาร์โค้ดที่ติดกับตัวสินค้า ส่วนเครื่อง อ่านในระบบ RFID คือเครื่องอ่านบาร์โค้ด (Scanner) ข้อแตกต่างคือ RFID จะใช้ คลื่นความถี่วิทยุในการอ่าน / เขียน ส่วน ระบบบาร์โค้ดจะใช้แสงเลเซอร์ในการอ่าน ระบบ RFID มีข้อได้เปรียบเหนือกว่าระบบ บาร์โค้ดดังนี้ ๑. มี ค วามละเอี ย ด และสามารถ บรรจุข้อมูลได้มากกว่า ซึ่งท�ำให้สามารถ แยกความแตกต่างของสินค้าแต่ละชิ้นแม้ จะเป็น SKU (Stock Keeping Unit – ชนิดสินค้า) เดียวกันก็ตาม ๒. ความเร็ ว ในการอ่ า นข้ อ มู ล จาก ส่วนประกอบของระบบ RFID องค์ประกอบหลักมีด้วยกัน ๒ ส่วน แถบ RFID เร็วกว่าการอ่านข้อมูลจากแถบ ส่ ว นแรกคื อ ทรานสปอนเดอร์ ห รื อ แท็ ก บาร์โค้ดหลายสิบเท่า ๓. สามารถอ่ า นข้ อ มู ล ได้ พ ร้ อ มกั น (Transponder/Tag) ที่ ใ ช้ ติ ด กั บ วั ต ถุ วัตถุต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ กล่อง หรือสิ่ง ของใดๆ สามารถติดตามข้อมูลของวัตถุ ๑ ชิ้นว่า คืออะไร ผลิตที่ไหน ใครเป็นผู้ ผลิต ผลิตอย่างไร ผลิตวันไหน และเมื่อไร ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนกี่ชิ้น และแต่ละ ชิ้นมาจากที่ไหน รวมทั้งต�ำแหน่งที่ตั้งของ วัตถุนั้นๆ ปัจจุปันว่าอยู่ส่วนใดในโลก โดย ไม่จ�ำเป็นต้องอาศัยการสัมผัส (ContactLess) หรือต้องเห็นวัตถุนั้นๆ ก่อน ท�ำงาน โดยใช้ เ ครื่ อ งอ่ า นที่ สื่ อ สารกั บ ป้ า ยด้ ว ย คลื่นวิทยุในการอ่านและเขียนข้อมูล และ มีการประยุกต์ใช้งานในด้านอื่นๆ เช่น บัตร ส�ำหรับใช้ผ่านเข้าออกสถานที่ต่างๆ บัตรที่ จอดรถตามศูนย์การค้าต่างๆ ที่เราพบเห็น อยู ่ ใ นรู ป ของแท็ ก สิ น ค้ า มี ข นาดเล็ ก จน สามารถแทรกระหว่างชั้นของเนื้อกระดาษ ได้ หรือรูปแบบแคปซูลขนาดเล็กฝังไว้ใน ตัวสัตว์เพื่อเก็บข้อมูลประวัติ เป็นต้น

หลายๆ แถบ RFID ๔. สามารถส่ ง ข้ อ มู ล ไปยั ง เครื่ อ ง รับได้โดยไม่จ�ำเป็นต้องน�ำไปจ่อในมุมที่ เหมาะสมอย่างการใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Non-Line of Sight) ๕. ค่ า เฉลี่ ย ของความถู ก ต้ อ งของ การอ่านข้อมูลด้วยเทคโนโลยี RFID นั้นจะ อยู่ที่ประมาณ ๙๙.๕ เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ ความถูกต้องของการอ่านข้อมูลด้วยระบบ บาร์โค้ดอยู่ที่ ๘๐ เปอร์เซ็นต์ ๖. สามารถเขี ย นทั บ ข้ อ มู ล ได้ จึ ง ท�ำให้สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ซึ่งจะลด ต้นทุนของการผลิตป้ายสินค้า ซึ่งคิดเป็น ประมาณ ๕% ของรายรับของบริษัท ๗. สามารถขจัดปัญหาที่เกิดขึ้นจาก การอ่านข้อมูลซ�้ำที่อาจเกิดขึ้นจากระบบ บาร์โค้ด ๘. ความเสียหายของป้ายชื่อ (Tag) น้ อ ยกว่ า เนื่ อ งจากไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งติ ด ไว้ ภายนอกบรรจุภัณฑ์ ๙. ระบบความปลอดภัยสูงกว่า ยาก ต่อการปลอมแปลงและลอกเลียนแบบ ๑๐. ทนทานต่อความเปียกชื้น แรง สั่นสะเทือน การกระทบกระแทก (อ่านต่อฉบับหน้า)

<< ต่อจากหน้า ๖

ที่แผนกฉุกเฉินตลอดเวลา “เราขอเลือดมาส� ำรองไว้ เป็นกรุ๊ปโอที่ สามารถให้ได้ทันที เราส�ำรองไว้ ๖ ยูนิต ให้คนไข้เสียเลือดมากกว่า ๓ ลิตรขึ้นไป บางคนให้ ๑ ยูนิตก่อนส่งเข้าห้องผ่าตัด” เลือดในตู้เย็นของแผนกอาจหมุนถ่ายไปยังธนาคารเลือดของ โรงพยาบาล และน�ำเลือดใหม่กลับมาส�ำรอง “ปี ๕๖-๕๗ เราพร้อม รองรับในหน้าที่ของการดูแล คน อุปกรณ์ ยา แต่ระบบส�ำรองจะอยู่ ที่คลังยา คลังเลือด คนอยู่ที่กลุ่มการพยาบาล” จุรีรัตน์รับประกัน ให้เกิดความสบายใจ แต่ไม่เชิญชวนให้ใครสักคนมาใช้บริการของ แผนก สิ่งที่อยากกล่าวคือ ขอให้ทุกคนหลีกเลี่ยงห้องฉุกเฉิน “ขับขี่ มอเตอร์ไซค์คุณต้องสวมหมวกกันน็อค รถยนต์คุณต้องคาดเข็มขัด มี ลูกเล็กๆ ต้องใช้อุปกรณ์ที่ปลอดภัย คนที่เป็นโรค คนเดินถนนต้อง ระวังตัว คนมีภาวะเสี่ยงต้องระวังตัวเอง ร่างกายคุณต้องแข็งแรง ต้องกินยาตามสั่ง มาตรวจตามนัด ควบคุมความดันของคุณ กินยา สม�่ำเสมอ ลดอาหารที่จะเพิ่มความเสี่ยง ลดบุหรี่ หรือเลิกไปเลย ถ้า ไม่เลิกคุณจะอยู่ท่ามกลางระเบิดเวลา” เวลาผู้ป่วยมาถึงแผนกฉุกเฉิน ปัญหาที่พยาบาลและแพทย์มัก พบเป็นประจ�ำ คือ อารมณ์ของญาติๆ ที่รักห่วงจนพยาบาลท�ำงานไม่ ถนัด “ความจริงเราต้องการความร่วมมือจากญาติที่สามารถบอกเล่า ข้อมูลของผู้ป่วยอย่างรู้จริง มาช่วยปลอบใจช่วยดูแล และญาติควร เข้าใจระบบบริการเฉพาะหน้า ซึ่งบางครั้งพยาบาลต้องเปิดอวัยวะ บางส่วนที่น่าหวาดเสียวในม่าน เราขอให้ญาติเข้าใจ ใจเย็นๆ รอสัก

ประเดี๋ยว ถ้ามีอะไรข้องใจขอให้ถาม.. ถ้าญาติไม่ร่วมมือการท�ำงาน จะล�ำบาก...เป็นการรบกวน ท�ำให้การท�ำงานติดขัด...การเปิดแผล อาจติดเชื้อ ถ้าเขาไม่ไปแตะต้องไม่เป็นไร..ญาติบางคนเป็นวัณโรค เป็นหวัด เป็นโรคเรื้อรังติดได้โดยไอหรือจาม การมะรุมมะตุ้มท�ำให้ การท�ำงานยุ่งยาก ใน ๑ เปลเราต้องการพื้นที่ ถ้าญาติเข้ามาล้อมมัน จะติดขัด การช่วยเหลือจะช้า” ญาติบางคนอาจมองว่าพยาบาลที่ ก�ำลังช่วยชีวิตผู้ป่วยเหมือนไม่รู้ร้อนรู้หนาว หรือหยาบกระด้าง “เราดูว่าพยาบาลเดินหน้าเฉยเหมือนไม่ทุกข์ร้อน เรื่องนี้กรุณา เข้าใจว่าเขาต้องเตรียมตัวช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินซึ่งต้องมีสติมั่นคง และนิ่งพร้อมรับมือกับอาการป่วย ทุกเช้าเรามีการประชุมถอดบท เรียนกัน คุยกับคนไข้บนเตียงเป็นห้องเรียนจริง..พยาบาลอุบัติเหตุจะ ต้องกระฉับกระเฉงมาก” จุรีรัตน์เป็นชาวต�ำบลโพธิ์ทอง อ�ำเภอท่าศาลา ได้รับทุนเรียน พยาบาลของ กทม. หลังเรียนจบเมื่อปี ๒๕๒๑ เข้ารับราชการเป็น พยาบาลประจ�ำแผนกผ่าตัดสมองที่โรงพยาบาลวชิระ ๕ ปี ย้ายมา เป็นพยาบาลทั่วไป รพ.มหาราชนครฯ ปี ๒๕๒๕ “การท�ำงานช่วยชีวิตคนในห้องฉุกเฉินเราต้องกระตือรื้อร้น ตลอดเวลา”


หน้า ๑๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

Tarzanboy

กทายท่ า นผู ้ ติ ด ตามหนั ง สื อ พิ ม พ์ รักบ้านเกิดทุกท่านครับ โดยเฉพาะ ขาประจ�ำคอลัมน์นี้ ผมขอบังอาจคิดว่ามี แฟนคลับนิยายประจ�ำป่าหลายท่าน น่า จะตั้งตารอคอยนิยายเรื่องต่อไปอย่างใจ จดจ่อ บางครั้งผมก็ขบขันตัวเองเล็กน้อย ครั บ เพราะว่ า แท้ จ ริ ง บก. ให้ ผ มเขี ย น สาธยายเรื่องท่องเที่ยวเมืองคอนมากกว่า ไปๆ มาๆ เกือบสองปีเต็ม ผมกลับเป็นนัก เขียนแนวนิยายประจ�ำฉบับไปซะงั้น แบ่งรับแบ่งสู้ครับ ! ต้องกราบเรียน ตามตรงว่า ผมเขียนบทวิชาการแนวท่อง เที่ยวไม่เป็นจริงๆ คงต้องเล่นแบบเรื่อง เล่าริมกองไฟลุ่นๆ ...ไม่ใช่นิยายหรอก ครับ...ผมยืนยันตามนี้ ทั้งหมดเป็นบันทึก เรื่องจริงของการเดินป่าท่องไพร ในพื้นที่ ป่าเขาหลวง เมืองคอนบ้านเราเนี่ยแหละ โดยเฉพาะเรื่องล่าสุดที่ก�ำลังจะเอ่ยชวน แฟนคลับประจ�ำหน้า ๑๖ เข้าสู่บทบันทึก ที่ถ่ายทอดจากป่า จากใจพรานเถื่อนตีน เขาคนหนึ่ง หาใช่นักเขียนผู้มีชื่อเสียงเรียง นามใดไม่ !! เรื่องมันเกิดขึ้นเมื่อ ๗ ปีก่อน ในวันที่ ลูกชายผมถือก�ำเนิด ...ในวันที่ผมอหังการ ตั้ ง ชื่ อ ภู เ ขาลู ก หนึ่ ง ให้ เ ป็ น สั ก ขี พ ยาน แห่งรัก และเป็นชื่อเดียวกับเด็กชายสาย เลือดพรานป่าแห่งขุนน�้ำแดนใต้ “ลมฝน” แห่ง “เนินลมฝน” ................................................. “ พี่บอย ตกลงวันเสาร์ที่จะถึงนี้ พี่ จะเข้าป่า ๗ วันจริงเหรอพี่” “อืม..” “อ่า ...ผมขอไปด้วยได้มั้ยพี่ ผมอยาก

ลองอยู่ในป่านานๆ มั่ง” “...อืม” “เอ่อ แล้วต้องเตรียมของไปมากแค่ ไหนพี่” “.. เตรียมเสื้อผ้าเท่ากับไป ๒ วัน เตรี ย มอาหารเท่ า กั บ ไป ๘ วั น แค่ นั้ น แหละ” “เอ...อ๋อ แต่...อืม ..ใช่ ตกลงพี่ ... “ ............มีดต้องคม............” แล้ ว มี อ ย่ า งอื่ น อี ก มั้ ย พี่ ” โต๊ ด เหมื อ นจะ น้อยชายหัวฟูของผมคนหนึ่ง ตื่นเต้น ลังเลสงสัย กับการร่วมผจญภัยที่จะถึงในอีกไม่กี่วัน ข้างหน้า ใช่… ผมมีเป้าหมาย ๗ วัน บน เส้ น ทางที่ ชิ ด แนบกั บ ขอบฟ้ า ทริ ป นี้ มี การตกลงกันข้ามปี โดยไม่กล้าเอ่ยชวน หลายๆ ท่าน เหตุเพราะว่า การเดินทางใน ป่า ๗ วัน ย่อมต่างจากการท่องเที่ยวเจ็ด วันโดยรถยนต์เป็นแน่ ผมตั้งค�ำถามในใจอยู่นานว่า ...ผม แกร่งพอ รู้จักป่าดีพอที่จะไปในที่ๆ ไม่มี ใครเคยเข้าไปนั่นหรือไม่ แน่ใจว่าอีก ๗ วันนับจากวันเดินทาง ผมจึงจะได้ค�ำตอบ และวั น นั้ น ผมอยากจะเขี ย นบั น ทึ ก เรื่ อ ง ยาวสั ก เรื่ อ งหนึ่ ง และคงจะเริ่ ม ประโยค แรกของบทบันทึกฉบับนี้ว่าด้วยบทเพลง นี้... “โอ้ยอดรัก...ฉันกลับมา จากขอบฟ้า ที่ไกลแสนไกล ..... ................................................. ...ล้า !! นั่นคือความรู้สึกในยามนี้ แค่ไม่กี่ก้าวนับจากเริ่มเข้าสู่ป่าดิบ ทั้ ง ที่ รู ้ ตั ว ว่ า นี่ เ ป็ น เพี ย งวั น แรกของการ

เดินทางอีก ๗ วันข้างหน้า .....ท� ำ ไมรู ้ สึ ก ล้ า อ่ อ นแรงซะ ปานนี้.... ดงมหาสด�ำแน่นขนัดในหุบธาร โขด หินน้อยใหญ่ สายน�้ำใสลดหลั่นจากดงทึบ เบื้ อ งหน้ า เสี ย งสายน�้ ำ ตกอั น ยิ่ ง ใหญ่ ดั ง มาจากดงดิบด�ำนั่น สะท้อนความสมบูรณ์ ของผืนป่าเขาหลวงได้ดี ทริปนี้เราตั้งใจ จะเดินป่ากันร่วม ๗ วัน นัดแนะกันโดยมี สมาชิกเก่าและใหม่ได้ ๗ คนพอดิบพอดี บางคนถึงกับหมายมั่นปั้นมือว่า ๗ วันนี้ อลังการงานสร้างแน่ ...แต่หลังจากเดิน มาได้ครึ่งวัน ผมกลับเห็นว่า หน้าตาแต่ละ คนสะท้อนความขี้เกียจอ่อนแรงเหมือนๆ กันไม่มีผิด “นอนนี่เหอะ อีกตั้ง ๗ วันน่า” พี่ กอล์ฟนักเดินป่าขาประจ�ำจากระยอง ยืน ผึ่งพุงอยู่กลางล�ำธารสองสายที่บรรจบกัน เป็นล�ำธารสายหลัก “อืม ผมเห็นด้วยนะ แฮ่กๆ” เบิร์ด หนุ่มร่างยักษ์แต่อายุน้อยสุดในทริปนี้ เพิ่ง มาถึงออกเสียงมาโดยไม่ลังเล ผมได้แต่ยิ้ม หันไปมอง เทียนและ


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ โต๊ด สองหนุ่มที่เลือกมาช่วยน�ำทางด้วย ในครั้งนี้ ผมพยักหน้าเป็นอันบอกใบ้ว่า ตรงนี้ก็ได้ ดูเหมือนสมาชิกคนอื่นๆ รอฟัง รหัสฟันธงนี้อยู่แล้ว เราจึงหัวเราะออกมา แทบพร้อมกัน “อีก ๖ วันที่เหลือ ถัดไปนอนพรหมโลก ถัดไปยอดพันแปด ข้ามไปยอดตาฝัน ยอดสองนม ถึงมั้ยบอย....” แผนการใหญ่ ของเราถูกงัดออกมากางริมกองไฟ “....แล้ ว ปกติ ค นอื่ น ๆ เริ่ ม เดิ น จนมาถึ ง ตรงนี้ ใ ช้ เ วลาเท่ า ไหร่ บ อย” พี่ กอล์ฟจอมวางแผนเจ้าของคอนเซประห�่ำ หมายเลข ๗ ซักถามต่อ “ก้อ....๒ ชั่วโมง” “อ้าวเหรอ !!! งั้นเราเปลี่ยนที่เหลือ เป็น เดือนครึ่งแล้วกัน ฮ่าๆ ๆ” แผนการ เราขยายใหญ่ขึ้นกะทันหันจนเรียกเสียงฮา จากวงอีกรอบ เสียงอึกทึกครึกโครมของสายน�้ำตก สองสายที่นัดเจอกลางดงดิบ สร้างความ ชุ่มชื้นให้แก่หมู่ไม้บริเวณนี้ได้ดี ต้นเหรียญ ทองใหญ่ สู ง ชะลู ด ร่ ว ม ๔๐ เมตร ตาม ล�ำต้นมีเฟิร์นอิงอาศัยประดับประดาแต่ง แต้มอย่างกลมกลืน ในเงาสลัวนั้นพวกเรา กระจัดกระจายกันนอน ผูกเปลบ้าง นอน พื้นบ้าง ผ่านไปเมื่อเราเริ่มกลมกลืนกับ รอบข้าง...เสียงน�้ำตกที่ดังก้องในหุบเขา ค่อยๆ ฟังดูเงียบสงัดอย่างประหลาด “ลมฝน กลับมาตั้งแต่เมื่อไหร่บอย” ใครบางคนส่ ง ค� ำ ถามแทรกความสลั ว เข้ามา “เมื่อสองวันก่อนนี่เองครับ” ผู้ถาม หมายถึง ลูกชายคนแรกของผม ซึ่งเพิ่งจะ ลืมตาดูโลกได้ไม่นาน “เหรอ เออแนะ ลูกเพิ่งกลับมา พ่อ กลับต้องเข้าป่า ๗ วัน มิน่า !!! วันนี้ดูล้าๆ” แว๊ บ หนึ่ ง ผมรู ้ สึ ก อ่ อ นล้ า ราวเดิ น มา ร่วม ๗ วัน “ช่ ว งนี้ เ ขาหลวงฝนตกมั้ ย บอย ดู มั น แห้ ง ๆ ชอบกล” ใครคนเดิ ม เหมื อ น จะเปลี่ยนเรื่อง ช่วงนี้ป่าเขาหลวงแล้งผิด ปกติ แล้งยาวถึงขนาดไม้ใหญ่อย่างต้นไทร ใบเหี่ยวเฉา สัญชาตญาณป่าท�ำให้ผมอด กังวลไม่ได้ ทว่าใจที่ล้าและห่วงกังวลของ ยามนี้กลับเป็นบางสิ่งที่เพิ่งเดินจากมา “...นานมากแล้วครับ เขาหลวงไม่มี ลมฝน...มันนานมากแล้ว” ไม่มีแสงดาวในดงทึบของคืนนี้ หลัง ตอบค�ำถามที่ผู้ฟังอาจไม่เข้าใจ ท่ามกลาง ราตรีมืดมิด ผมรู้สึกเหมือนจะหลับไปทันที

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ประวัติศาสตร์อีกหน้าหนึ่ง ของคนคอน ภาพถ่ายท�ำหน้าที่บันทึกสิ่งที่เห็น สิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ของแผ่นดิน เป็นสิ่งที่ช่างภาพคนหลังกล้อง ต้องพึงตระหนักว่านี่คือ “ภาระหน้าที่ที่พึงต้องกระท�ำ”


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นภสร มีบุญ

อิ่

มอร่ อ ยกั บ อาหารเช้ า ใกล้ ๆ บ้ า น โอลั่ ล ล้ า ฉบั บ นี้ ไ ด้ แ อบมาแวะมา ทั ก ทายพู ด คุ ย กั บ หนุ ่ ม สาวรุ ่ น ใหม่ น้ อ ง ที่น่ารักทั้งสองคน น้องนก และ น้องเอ๋ ดี เ จเอ๋ สมา หนุ ่ ม หล่ อ ของเราจากร้ า น โอคูเลเล่ ชั้น ๔ โรบินสัน กับอีกหนึ่งย่าง ก้าวธุรกิจครอบครัว ..ในวันที่ยังมีตัวเลข อยู่ในวัยต้นๆ ธุรกิจการบริการเล็กๆ อีก หนึ่งกิจการที่ประสบความส�ำเร็จจากการ เปิดร้านมาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ “ร้านราชพฤกษ์ติ่มซ�ำ” โดยเน้น สาระส�ำคัญให้กับความส�ำคัญของอาหาร เช้า มื้อเร่งรีบของชีวิตคนเมือง ..อาหาร มื้อส�ำคัญที่บางคนอาจมองข้าม ทราบกัน บ้างมั๊ยคะ ว่าอาหารมื้อเช้าเป็นอาหารมื้อ ที่ส�ำคัญมาก ต่อการใช้ชีวิตประจ�ำวันของ เรา เพราะนอกจากอาหารเช้ า จะท� ำ ให้ เราอิ่มท้องแล้วยังท�ำให้เรามีความสดชื่น เปี่ยมไปด้วยพลัง ..อารมณ์ดี และยังท�ำให้ ลดความเสี่ ย งจากการเป็ น โรคอี ก ด้ ว ย

ก็ เ ริ่ ม ถามหากั น แบบถี่ ขึ้ น อาจเป็นเพราะย่างเข้าหน้า มรสุ ม กั น อี ก แล้ ว ส� ำ หรั บ ภาคใต้บ้านเรา เช้าๆ แบบ นี้จึงเหมาะที่จะเริ่มต้นด้วย อาหารอุ่นๆ เบาๆ ท้อง เป็น อาหารประเภทอิ่ ม อุ ่ น อี ก หนึ่งทางเลือกค่ะ.. เริ่มกัน ด้วยข้าวต้ม หมู, ไก่, ทะเล ปลา ฯลฯ แต่ ผู้บริโภค ที่ส�ำคัญทุกจานของเมนูติ่มซ�ำ เช้านี้ขอเริ่มด้วยข้าวต้มปลากะพงร้อนๆ จะมี ผั ก ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ร่ า งกายเป็ น ใส่ ไ ข่ อุ ่ น ๆ สบายท้ อ ง เป็ น เมนู แ รก ส่ ว นประกอบอย่ า งลงตั ว ไม่ ว ่ า จะเป็ น เห็ดนานาชนิด ข้าวโพด บล็อคโคลี่ ฯลฯ หากชื่ น ชอบอาหารหนั ก ๆ ท้ อ ง อาหาร

และหมู ่ ค ณะ ส่ ว นท่ า นใดที่ จ ะมาเป็ น คณะ ห้ อ งรั บ รองเล็ ก ด้ า นในติ ด แอร์ เย็นฉ�่ำ สามารถรองรับลูกค้าได้ประมาณ ๒๐ คนแบบสบายๆ ร้านราชพฤกษ์ติ่มซ�ำ หมู่บ้านราชพฤกษ์ ๒ อยู่ทางซ้ายมือ ก่อน ถึงทางเข้าหมู่บ้านราชพฤกษ์ ๒ โทรศัพท์ ๐๗๕-๓๔๕๒๐๕ และ ๐๘๖-๙๔๘-๖๖๒๗ เปิดบริการตั้งแต่ ๐๖.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. (เปิดบริการทุกวันเว้นวันอังคารค่ะ) ส่ง ท้ายปีมะเส็ง แล้วพบกันใหม่ปีมะเมีย ขอ ให้มีความสุข สุขภาพดี ทั้งกาย ใจ และ ทรัพย์กันถ้วนหน้านะคะ อย่าลืมแวะไปชิมกันนะคะ ..

ส�ำหรับแฟนสมาชิก นสพ.รักบ้าน เกิ ด และผู ้ อ ่ า นคอลั ม น์ โอลั่ ล ล้ า รั บ สาวๆ ที่เป็นห่วงเรื่องความอ้วน แนะน�ำให้ ตามมาด้วยเครื่องดื่มชาชักรสอร่อยฟอง จานหนัก อาทิ ข้าวมันไก่ ข้าวขาหมูให้ได้ ส่วนลดกันเช่นเดิมค่ะ เข้าใช้บริการใน รับประทานอาหารเช้าเพื่อจะได้ห่างไกล นุ่ม กับเมนูติ่มซ�ำหลากหลายที่เรียงราย อิ่มท้องอีกเช่นกัน.. เดือนธันวาคมนี้ ลดทันที ๑๐ % โรคอ้วนนะคะ ช่วงนี้อากาศเริ่มครึ้มๆ ฝน รอให้ เ ลื อ กหยิ บ ได้ ต ามความชอบของ เรียกว่าอิ่มอร่อยกันได้ทั้งครอบครัว

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

เปิดบริการมื้อกลางวันและมื้อค�่ำทุกวัน ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ 332 ถ.ราชด�ำเนิน เชิงสะพานสวนหลวง ใกล้พิพิธภัณฑ์ โทร.081-734-4583


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.